SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
บทที่ 3 การเคลือนที่ในหนึ่งมิติ
                                ่
3.1 ตาแหน่ งและการกระจัด
ตาแหน่ง (position) คือ การบอกให้ ทราบว่า วัตถุหรื อสิงของที่เราพิจารณาอยูที่
                                                     ่                  ่
ใด เทียบกับจุดอ้ างอิง
วัตถุอยูที่ตาแหน่ง x = x1 ที่เวลา t1 หมายถึง วัตถุอยูที่ระยะทาง x1 จากจุด O
         ่                                          ่
(จุดอ้ างอิง) ที่เวลา t1
ถ้ าวัตถุเลื่อนที่ไปอยูที่ x2 ที่เวลา t2 แสดงว่า วัตถุได้ มีการเคลื่อนที่ไประหว่างเวลา
                      ่
t1 และ t2

-X                                                                               +X
                O                   x1                     x2
การกระจัด (displacement)
การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุจาก x = x1 ไปเป็ น x = x2 หรื อ x2 – x 1
การกระจัด หมายถึง การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุไปจากตาแหน่งปกติ (สมดุล)

2.2 ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย
ความเร็ว (velocity) คือ การกระจัดต่อเวลา
ความเร็วเฉลี่ย (average velocity) คือ การกระจัดหารด้ วยช่วงเวลา
อัตราเร็ว (speed) เป็ นปริมาณสเกลาร์ หมายถึง ระยะทางของการเคลื่อนที่
ทังหมดโดยไม่คานึงถึงทิศทางหารด้ วยเวลา
  ้
อัตราเร็วเฉลี่ย (average speed) คือ ระยะทางทังหมดที่เคลื่อนที่หารด้ วยเวลา
                                             ้

พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุจาก x1 ไป x3 และจาก x3 กลับมา x2 ใช้ เวลา
ทังหมด (t2 – t1)
  ้

-X                                                                       +X
                   O       x1                           x2          x3

 อัตราเร็วเฉลี่ย       =        (x3 – x1) + (x3 – x2) / (t2 – t1)

 ความเร็วเฉลี่ย        =        (x2 – x1) / (t2 – t1)
ตัวอย่ าง โยนลูกบอลขึ ้นในแนวดิ่ง ลูกบอลลอยขึ ้นไปได้ สง 5 เมตร แล้ วตก
                                                       ู
กลับมายังมือในเวลา 2 วินาที
อัตราเร็วเฉลี่ย   =        ระยะทางทังหมดที่เคลื่อนที่ / เวลา
                                    ้
                  =        (5 เมตร + 5 เมตร) / 2 วินาที
                  =        5 เมตรต่อวินาที
ความเร็วเฉลี่ย    =        การกระจัดทังหมด / เวลา
                                      ้
                  =        0/2
                  =        0 เมตรต่อวินาที
(การกระจัดเป็ นศูนย์เพราะ ลูกบอลกลับมาที่เดิม)
2.3 ความเร็วและอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
ความเร็วขณะใดขณะหนึง (instantaneous velocity) คือ ความเร็วของวัตถุใน
                    ่
ช่วงเวลาสันมากขณะผ่านจุดจุดหนึงหรื อที่เวลาใดเวลาหนึง
          ้                   ่                     ่


     X
    x2                                Q
                                           ความชันเป็ นความเร็วที่ผ่าน Q
                                          ความชันเป็ นความเร็วเฉลี่ย
    x1   P
O            t1                     t2     t
     O
ความเร็วเฉลี่ย
ความชันของเส้ นตรงที่ลากผ่าน PQ คือ (x2 – x1) / (t2 – t1)
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
ความเร็วของวัตถุที่ Q เป็ นความเร็วขณะใดขณะหนึงที่เวลา t2 หรื อ ที่จด Q
                                              ่                     ุ
หาได้ จากลิมิตของความชัน


ตัวอย่ าง ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งกับเวลาเป็ นไปตามสมการ x = 5t2 เมตร
ให้ Q เป็ นตาแหน่งที่ 2.00 วินาที ค่าของตาแหน่ง P ที่เวลาต่างๆ ใกล้ Q และค่าของ
ความชันของเส้ น PQ ดังตาราง ลิมิตของความชันที่ Q เป็ น 20.00 เมตรต่อวินาที
ตารางแสดงค่า x ของ P และ Q ที่เวลาต่างๆ และค่าความชันของเส้ น PQ
   t (s)       P (m)          Q(m)        ความชันของ PQ (m/s)
   1.50        11.25          20.00              17.50
   1.80        16.20          20.00              19.00
   1.90        18.05          20.00              19.50
   1.98       19.602          20.00              19.90
   1.99       19.8005         20.00              19.95
  1.995       19.9001         20.00              19.98
  1.999       19.9800         20.00              20.00
  1.9999      19.9980         20.00              20.00
จากตาราง แสดงว่าความชันไม่เปลี่ยนเมื่อ t เข้ าใกล้ 2.00 วินาทีมาก
2.4 ความเร่ ง
ความเร่ง (acceleration) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อเวลา
ถ้ าที่เวลา t2 วัตถุมีความเร็ว v2 และที่เวลาก่อนนันคือ t1 วัตถุมีความเร็ว v1
                                                  ้

ความเร่งเฉลี่ย     =


ความเร่งขณะใดขณะหนึง =
                   ่

กราฟของความเร็วกับเวลา ความชันของเส้ นสัมผัสที่จดต่างๆ คือ ความเร่ง
                                                ุ
ของวัตถุที่จดนันๆ
            ุ ้
อัตราเร่ง เป็ นปริมาณสเกลาร์ ไม่คิดทิศทางเช่นเดียวกับอัตราเร็ว
กราฟระหว่ างการกระจัดกับเวลา (x-t)
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบตกอิสระระหว่าง x กับ t จะได้ กราฟเส้ นโค้ งพาราโบลา
ความเร็วที่ตาแหน่ง x0 = ความชันของเส้ นสัมผัสเส้ นกราฟ ณ ตาแหน่ง (0, x0)

การกระจัด (x)
                                 T1
     x                                              ความชันของ T1 = v(t) = v
                              (t, x)
     x0                                             ความชันของ T0 = v0
T0
          (0, x0)
     O                    t            t (วินาที)

       ความเร็วขณะใดขณะหนึง = ความชันของเส้ นสัมผัสเส้ นกราฟ
                           ่
กราฟระหว่ างความเร็วกับเวลา (v – t)
     v                          ความชันของเส้ นกราฟ = (v – v0) / (t – 0)
v                               a = (v – v0) / (t – 0)
                       at        v = v0 + at
v0
                       v0       ระยะทาง x หาได้ จาก
O                  t        t x = พื ้นที่สี่เหลี่ยม + พื ้นที่สามเหลี่ยม




 ความเร่ ง = ความชันของเส้นกราฟระหว่าง v กับ t ขณะเวลา t ใดๆ
กราฟระหว่ างความเร่ งกับเวลา (a – t)
วัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วเพิ่มขึ ้นหรื อลดลงอย่างสม่าเสมอ
  v                               a
         ความเร็วเพิ่มขึ ้น
                                a                            a = v / t
                                                             vav = a t
                        t       O                        t
O                                                  t
                                                             หาความเร็วเฉลี่ย
v                                    a
       ความเร็วลดลง
                                                             ได้ จาก
                                                   t
                                O                        t   พื ้นที่ใต้ กราฟ a - t

O                       t       -a
สมการการเคลื่อนที่กรณีความเร่ งเป็ นค่ าคงตัว
วัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วแบบ            ความเร็ว
เพิ่มขึ ้นหรื อลดลงอย่างสม่าเสมอ กราฟ
ความเร็วกับเวลาเป็ นกราฟเส้ นตรง                 v
ความชันทุกจุดบนเส้ นตรงเท่ากัน
                                                 v0
ความชัน =         มีคาเท่ากับความเร่ง ( a0 )
                     ่                                        เวลา (t)
                                                 O        t




                 ................สมการ (1.1)
ความเร็ ว
การหาระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ได้ พิจารณาจาก
                   ั
กราฟ ช่วงเวลา t สันๆ วัตถุมีความเร็ว v
                     ้                             v1
ระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ได้ ในช่วงเวลา t คือ v
           ั                                       v
t
ระยะทางของการเคลื่อนที่ทงหมด ได้ จากการรวม v0
                         ั้
vt ทังหมด โดยเริ่มจาก t = 0 จนถึง t = t1
      ้                                    O                        t    t1 เวลา
ระยะทางทังหมดสมมติวาเป็ น (x1 – x0)
         ้         ่

                                            ................สมการ (1.2)
ความเร็ ว
จากกราฟ vt เป็ นพื ้นที่ใต้ กราฟ
                                                      v1
การรวมพื ้นที่ vt ทังหมดจะได้ พื ้นที่ใต้ กราฟ
                       ้
ทังหมดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มีคาเท่ากับ
  ้                                 ่                 v
(1/2)(v0+v1)(t1-0)
                                                       v0
ระยะทางทังหมด
         ้                                             O          t       t1 เวลา

                                ........สมการ (1.3)

แทนค่า v จากสมการ (1.1) จะได้
                                                                  ........สมการ (1.4)
v – v0 = a0t ดังนัน t = (v – v0)/a0
                  ้
แทนค่า t ลงในสมการ (1.3) จะได้


                          ........สมการ (1.5)

สรุ ปเป็ นสูตร




สูตรทัง้ 4 สูตรนี ้ใช้ ได้ ถกต้ องเฉพาะกรณีที่ a มีคาคงตัวเท่านัน
                            ู                       ่           ้
ตัวอย่ าง ถ้ าการเคลื่อนที่ของก้ อนหินในแนวดิ่ง เกิดจากการโยนขึ ้นด้ วยความเร็วต้ น
5.0 เมตรต่อวินาที ซึงจะมีความเร่งคงตัวในทิศลงมีคา 10 เมตรต่อ (วินาที)2 ก้ อน
                      ่                              ่
หินจะใช้ เวลาเท่าใดจะถึงจุดสูงสุด และใช้ เวลาอีกเท่าใดจึงจะกลับถึงจุดที่โยน
ความเร็วเฉลี่ยของช่วงขาขึ ้นเป็ นเท่าใด และระยะทางถึงจุดสูงสุดเป็ นเท่าใด กราฟ
ของความเร็วสาหรับช่วงเวลาทังขึ ้นและลงจะเป็ นอย่างไร
                                 ้
วิธีทา กาหนดให้ x เป็ น การกระจัดในทิศขึ ้น
                    v เป็ น ความเร็วในทิศขึ ้น
                    a เป็ น ความเร่งในทิศขึ ้น (a = -10 m/s2)
จากสมการ v = u + at
ความเร็วที่จดยอดจะเป็ น 0 และความเร็วต้ น 5.0 m/s จะได้
            ุ
              0 = 5.0 + (-10 )t
              t = 0.50 s
ก้ อนหินใช้ เวลา 0.50 วินาที จะถึงจุดสูงสุด           ANS1
เวลาในช่วงขาลง = เวลาในช่วงขาขึ ้น เท่ากับ 0.50 วินาที เพราะการเคลื่อนที่ของ
ก้ อนหินเคลื่อนที่ด้วยความเร่งอย่างเดิมในระยะทางเท่ากันกับขาขึ ้น
 ก้ อนหินใช้ เวลาอีก 0.50 วินาทีจงจะกลับถึงจุดที่โยน
                                    ึ                                 ANS2

ความเร็วเฉลี่ยของช่วงขาขึ ้น
                  (v + v0) / 2 = (0 + 5.0)/2
                               = 2.5 m/s                              ANS3

ระยะทางถึงจุดสูงสุด = ความเร็วเฉลี่ย เวลา
                    = 2.5 0.5 = 1.25 m                              ANS4
และกราฟของความเร็วกับเวลาจะเป็ นดังรูป         v(m/s)
อาจตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบได้             5.0
จากสมการ
                                               O         0.5         1.0 t(s)

    ใช้ คาเวลาของคาตอบ 1 แทนค่าจะได้
         ่                              -5.0
    x = 5.0 0.5 + (1/2) (-10  (0.50 )2 m
        = 1.25 m ตรงกับคาตอบที่ 4

    หากใช้ สตรระยะทางนี ้ หาเวลาการเคลื่อนที่ขาลง ซึงการกระจัดขาลงเป็ น
            ู                                       ่
-0.125 เมตร เพราะ การกระจัดมีทิศลง ใช้ ความเร็วต้ นเป็ นศูนย์ (จากจุดยอด)
แทนค่าจะได้
                 -0.125 = 0 – (1/2)(-10) t2
                      t = +0.5 , -0.5 s ตรงกับคาตอบที่ 1 และ 2
ตัวอย่ างที่ 1 วัตถุก้อนหนึงมีการกระจัดเป็ นไปตามสมการ x = 10t2 + 5 เมตร
                           ่
จงคานวณหาค่า ก. ความเร็วที่เวลา t = 2 วินาที ข. ความเร่งที่เวลา t = 3 วินาที
วิธีทา
ก.       ความเร็วขณะใดขณะหนึง
                            ่        =      dx =          d (10t2+5)
                                            dt            dt
         v(t)     =        20 t       เมตรต่อวินาที
         t = 2 วินาที , v = 20 x 2 = 40 เมตรต่อวินาที

ข.       ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง       =      dv     =      d (20t)
                                            dt            dt
         a(t)    =        20 เมตรต่อวินาที 2
         t = 3 วินาที , a = 20 เมตรต่อวินาที 2
ตัวอย่ างที่ 2 อนุภาคอันหนึงเดิมอยูนิ่ง แล้ วทาให้ เกิดความเร่ง = 3t เมตรต่อวินาที 2
                           ่      ่
เมื่อ t คือ เวลา จงหาความเร่ง ความเร็ว และการกระจัด ภายหลังเมื่อเคลื่อนที่ได้
นาน 5 วินาที
วิธีทา
ก. ความเร่ง a = 3t = 3x5 = 15 m/s2
ข. ความเร็ว
เมื่อ t0 = 0 , t = 5 s และ a = 3t จะได้
ค. การกระจัด
เมื่อ t0 = 0 , t = 5 s และ v = 3t2 / 2 จะได้
ตัวอย่ างที่ 3 รถยนต์คนหนึงเคลื่อนที่ได้ 30 กิโลเมตร ในครึ่งชัวโมงแรก และ
                        ั ่                                   ่
เคลื่อนที่ได้ ระยะทาง 50 กิโลเมตร ในครึ่งชัวโมงต่อมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชัวโมง
                                           ่                               ่
มีคาเท่าใด
   ่

วิธีทา            อัตราเร็วเฉลี่ย    =         ระยะทาง
                                                 เวลา
                                     =         30 กิโลเมตร + 50 กิโลเมตร
                                               1/2 ชัวโมง + 1/2 ชัวโมง
                                                     ่             ่
                                  =            80 กิโลเมตร/ชัวโมง
                                                             ่
คาตอบ อัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตร/ชัวโมง
                                    ่
ตัวอย่ างที่ 4 ก้ อนหินตกแบบเสรี จากที่สงแห่งหนึง จะใช้ เวลานานเท่าใด ความเร็ว
                                        ู         ่
ของก้ อนหินจะเป็ น 4 เท่าของความเร็ว เมื่อสิ ้นวินาทีที่ 1 ของการเคลื่อนที่
วิธีทา หาความเร็วของก้ อนหินเมื่อสิ ้นวินาทีที่ 1
                จาก v             =             u + at
                         v        =             0 + (-10) x 1
                         v        =             -10 เมตร/วินาที
       หาเวลาที่ก้อนหินมีความเร็ว 40 m/s
                จาก v             =             u + at
                -40 เมตร/วินาที =               0 + (-10) x t
                         t        =             4 วินาที
คาตอบ ก้ อนหินตกลงมาใช้ เวลา 4 วินาที
ตัวอย่ างที่ 5 วัตถุชิ ้นหนึงเคลื่อนที่ในแนวตรงด้ วยความเร็วต้ น 10 เมตร/วินาที
                                ่
    โดยมีความเร่ง 5 เมตร/วินาที 2 ขณะที่วตถุเคลื่อนที่ได้ ระยะทาง 480 เมตร วัตถุ
                                               ั
    เคลื่อนที่มาแล้ วกี่วินาที
    วิธีทา
    จากสูตร         s       =      ut + ½ at 2
1
2
1
            480 เมตร =             10 เมตร/วินาที . t + ½ x 5 เมตร/วินาที 2 . t2
2                     960 =        20t + 5t2
      (t - 12)(t + 16) =           0
               t = 12 และ -16 วินาที แต่เวลาเป็ นลบไม่มีความหมาย ดังนันวัตถุ
                                                                        ้
    เคลื่อนที่มาแล้ ว 12 วินาที
    คาตอบ วัตถุเคลื่อนที่มาแล้ ว 12 วินาที
ตัวอย่ างที่ 6 รถยนต์คนหนึงออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้ วยขนาด
                          ั ่
    ความเร่งคงตัวและวิ่งไปได้ ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่ง
    ของรถยนต์เป็ นท่าใด

    วิธีทา จากสูตร      s        =       ut + ½ x at2
                  75 เมตร        =       0 + ½ a 25 วินาที 2
1
                        a        =       6 เมตร/วินาที 2
2
1
2
    คาตอบ ขนาดความเร่งของรถยนต์เป็ น 6 เมตร/วินาที 2

    ตัวอย่ างที่ 7 โยนก้ อนหินไปตามแนวดิ่งด้ วยความเร็วต้ น 10 เมตร/วินาที ถามว่า
    ก. เมื่อใดก้ อนหินมีความเร็วเป็ นศูนย์
    ข. ก้ อนหินขึ ้นไปได้ สงสุดเท่าใด
                           ู
    ค. เป็ นเวลานานเท่าใดก้ อนหินจึงจะตกลงมาถึงตาแหน่งเริ่มต้ น
วิธีทา
ก. จากสูตร               v = u + at
                         0 = 10 เมตร/วินาที + (-10) เมตร/วินาที 2 x t
                         t = 1 วินาที
คาตอบ ก้ อนหินมีอตราเร็วเป็ นศูนย์หลังจากโยนขึ ้นไปนาน 1.0 วินาที
                 ั

ข. จากสูตร                  s = (u+v)t / 2
                                  = (10 เมตร/วินาที + 0 ) × 1.0 วินาที
                                              2
                                  = 5.0 เมตร
คาตอบ ก้ อนหินขึ ้นไปได้ สงสุดเป็ นระยะ 5.0 เมตร
                          ู
ค. เมื่อก้ อนหินตกถึงพื ้น s      =         0
                           s      =         ut +1/2at2
                           s      =         10t + ½ (-10) เมตร/วินาที 2 x t
                           0      =         10t – 5t2
                           0      =         5t(2 – t)
                           t      =         2.0 s
คาตอบ จะต้ องใช้ เวลา 2.0 วินาที ก้ อนหินจึงตกถึงพื ้น

ตัวอย่ างที่ 8 อิเล็กตรอนตัวหนึงเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1.0 x 10 4 เมตร/วินาที
                               ่
เข้ าสูบริเวณสนามไฟฟาและถูกเร่งโดยสนามไฟฟาเป็ นระยะทาง 1.0 เซนติเมตร
      ่                ้                        ้
เมื่อออกจากสนามไฟฟา อิเล็กตรอนนันมีความเร็ว 4.0 x 106 เมตร/วินาที จง
                         ้             ้
คานวณหาความเร่ง
วิธีทา จากสูตร v2 = u2 + 2 as
(4.0 x 104 เมตร/วินาที) 2 = (1.0 x 104 เมตรต่อวินาที) 2 + 2a x 1.0 x 10-2 เมตร
      16.0 x 1012         = 0.0001 x 1012 + 2a x 1.0 x 10-2
                  a       = 8.0 x 1014 เมตร/วินาที 2
คาตอบ ความเร่งของอิเล็กตรอนมีคาเท่ากับ 8.0 x 1014 เมตรต่อวินาที 2
                                 ่

ตัวอย่ างที่ 9 โยนก้ อนหินขึ ้นไปในแนวดิ่งจากพื ้นดิน ด้ วยความเร็วต้ น 20 เมตร/วินาที
หลังจากโยนไปแล้ วเป็ นเวลาเท่าไร ก้ อนหินจึงตกลงมาด้ วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที
วิธีทา กาหนดให้ ความเร็วในทิศขึ ้นเป็ น +
       จาก              v          =      u + at
       ความเร็วขณะตก               =      10 เมตร/วินาที
              -10 เมตร/วินาที =           20 เมตร/วินาที + (-10) x t
                        t          =      3 วินาที

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Rattana Sujimongkol
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
วิเคราะห์ข้อสอบ O-Net ชุดที่ 3
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Vector
VectorVector
Vector
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
C3
C3C3
C3
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 

Similar to การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1krusridet
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 

Similar to การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ (20)

Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

  • 1. บทที่ 3 การเคลือนที่ในหนึ่งมิติ ่ 3.1 ตาแหน่ งและการกระจัด ตาแหน่ง (position) คือ การบอกให้ ทราบว่า วัตถุหรื อสิงของที่เราพิจารณาอยูที่ ่ ่ ใด เทียบกับจุดอ้ างอิง วัตถุอยูที่ตาแหน่ง x = x1 ที่เวลา t1 หมายถึง วัตถุอยูที่ระยะทาง x1 จากจุด O ่ ่ (จุดอ้ างอิง) ที่เวลา t1 ถ้ าวัตถุเลื่อนที่ไปอยูที่ x2 ที่เวลา t2 แสดงว่า วัตถุได้ มีการเคลื่อนที่ไประหว่างเวลา ่ t1 และ t2 -X +X O x1 x2
  • 2. การกระจัด (displacement) การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุจาก x = x1 ไปเป็ น x = x2 หรื อ x2 – x 1 การกระจัด หมายถึง การเปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุไปจากตาแหน่งปกติ (สมดุล) 2.2 ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็ว (velocity) คือ การกระจัดต่อเวลา ความเร็วเฉลี่ย (average velocity) คือ การกระจัดหารด้ วยช่วงเวลา
  • 3. อัตราเร็ว (speed) เป็ นปริมาณสเกลาร์ หมายถึง ระยะทางของการเคลื่อนที่ ทังหมดโดยไม่คานึงถึงทิศทางหารด้ วยเวลา ้ อัตราเร็วเฉลี่ย (average speed) คือ ระยะทางทังหมดที่เคลื่อนที่หารด้ วยเวลา ้ พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุจาก x1 ไป x3 และจาก x3 กลับมา x2 ใช้ เวลา ทังหมด (t2 – t1) ้ -X +X O x1 x2 x3 อัตราเร็วเฉลี่ย = (x3 – x1) + (x3 – x2) / (t2 – t1) ความเร็วเฉลี่ย = (x2 – x1) / (t2 – t1)
  • 4. ตัวอย่ าง โยนลูกบอลขึ ้นในแนวดิ่ง ลูกบอลลอยขึ ้นไปได้ สง 5 เมตร แล้ วตก ู กลับมายังมือในเวลา 2 วินาที อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทังหมดที่เคลื่อนที่ / เวลา ้ = (5 เมตร + 5 เมตร) / 2 วินาที = 5 เมตรต่อวินาที ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัดทังหมด / เวลา ้ = 0/2 = 0 เมตรต่อวินาที (การกระจัดเป็ นศูนย์เพราะ ลูกบอลกลับมาที่เดิม)
  • 5. 2.3 ความเร็วและอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร็วขณะใดขณะหนึง (instantaneous velocity) คือ ความเร็วของวัตถุใน ่ ช่วงเวลาสันมากขณะผ่านจุดจุดหนึงหรื อที่เวลาใดเวลาหนึง ้ ่ ่ X x2 Q ความชันเป็ นความเร็วที่ผ่าน Q ความชันเป็ นความเร็วเฉลี่ย x1 P O t1 t2 t O
  • 6. ความเร็วเฉลี่ย ความชันของเส้ นตรงที่ลากผ่าน PQ คือ (x2 – x1) / (t2 – t1) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร็วของวัตถุที่ Q เป็ นความเร็วขณะใดขณะหนึงที่เวลา t2 หรื อ ที่จด Q ่ ุ หาได้ จากลิมิตของความชัน ตัวอย่ าง ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งกับเวลาเป็ นไปตามสมการ x = 5t2 เมตร ให้ Q เป็ นตาแหน่งที่ 2.00 วินาที ค่าของตาแหน่ง P ที่เวลาต่างๆ ใกล้ Q และค่าของ ความชันของเส้ น PQ ดังตาราง ลิมิตของความชันที่ Q เป็ น 20.00 เมตรต่อวินาที
  • 7. ตารางแสดงค่า x ของ P และ Q ที่เวลาต่างๆ และค่าความชันของเส้ น PQ t (s) P (m) Q(m) ความชันของ PQ (m/s) 1.50 11.25 20.00 17.50 1.80 16.20 20.00 19.00 1.90 18.05 20.00 19.50 1.98 19.602 20.00 19.90 1.99 19.8005 20.00 19.95 1.995 19.9001 20.00 19.98 1.999 19.9800 20.00 20.00 1.9999 19.9980 20.00 20.00 จากตาราง แสดงว่าความชันไม่เปลี่ยนเมื่อ t เข้ าใกล้ 2.00 วินาทีมาก
  • 8. 2.4 ความเร่ ง ความเร่ง (acceleration) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อเวลา ถ้ าที่เวลา t2 วัตถุมีความเร็ว v2 และที่เวลาก่อนนันคือ t1 วัตถุมีความเร็ว v1 ้ ความเร่งเฉลี่ย = ความเร่งขณะใดขณะหนึง = ่ กราฟของความเร็วกับเวลา ความชันของเส้ นสัมผัสที่จดต่างๆ คือ ความเร่ง ุ ของวัตถุที่จดนันๆ ุ ้ อัตราเร่ง เป็ นปริมาณสเกลาร์ ไม่คิดทิศทางเช่นเดียวกับอัตราเร็ว
  • 9. กราฟระหว่ างการกระจัดกับเวลา (x-t) ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบตกอิสระระหว่าง x กับ t จะได้ กราฟเส้ นโค้ งพาราโบลา ความเร็วที่ตาแหน่ง x0 = ความชันของเส้ นสัมผัสเส้ นกราฟ ณ ตาแหน่ง (0, x0) การกระจัด (x) T1 x ความชันของ T1 = v(t) = v (t, x) x0 ความชันของ T0 = v0 T0 (0, x0) O t t (วินาที)  ความเร็วขณะใดขณะหนึง = ความชันของเส้ นสัมผัสเส้ นกราฟ ่
  • 10. กราฟระหว่ างความเร็วกับเวลา (v – t) v ความชันของเส้ นกราฟ = (v – v0) / (t – 0) v a = (v – v0) / (t – 0) at  v = v0 + at v0 v0 ระยะทาง x หาได้ จาก O t t x = พื ้นที่สี่เหลี่ยม + พื ้นที่สามเหลี่ยม ความเร่ ง = ความชันของเส้นกราฟระหว่าง v กับ t ขณะเวลา t ใดๆ
  • 11. กราฟระหว่ างความเร่ งกับเวลา (a – t) วัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วเพิ่มขึ ้นหรื อลดลงอย่างสม่าเสมอ v a ความเร็วเพิ่มขึ ้น a a = v / t vav = a t t O t O t หาความเร็วเฉลี่ย v a ความเร็วลดลง ได้ จาก t O t พื ้นที่ใต้ กราฟ a - t O t -a
  • 12. สมการการเคลื่อนที่กรณีความเร่ งเป็ นค่ าคงตัว วัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วแบบ ความเร็ว เพิ่มขึ ้นหรื อลดลงอย่างสม่าเสมอ กราฟ ความเร็วกับเวลาเป็ นกราฟเส้ นตรง v ความชันทุกจุดบนเส้ นตรงเท่ากัน v0 ความชัน = มีคาเท่ากับความเร่ง ( a0 ) ่ เวลา (t) O t ................สมการ (1.1)
  • 13. ความเร็ ว การหาระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ได้ พิจารณาจาก ั กราฟ ช่วงเวลา t สันๆ วัตถุมีความเร็ว v ้ v1 ระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ได้ ในช่วงเวลา t คือ v ั v t ระยะทางของการเคลื่อนที่ทงหมด ได้ จากการรวม v0 ั้ vt ทังหมด โดยเริ่มจาก t = 0 จนถึง t = t1 ้ O t t1 เวลา ระยะทางทังหมดสมมติวาเป็ น (x1 – x0) ้ ่ ................สมการ (1.2)
  • 14. ความเร็ ว จากกราฟ vt เป็ นพื ้นที่ใต้ กราฟ v1 การรวมพื ้นที่ vt ทังหมดจะได้ พื ้นที่ใต้ กราฟ ้ ทังหมดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มีคาเท่ากับ ้ ่ v (1/2)(v0+v1)(t1-0) v0 ระยะทางทังหมด ้ O t t1 เวลา ........สมการ (1.3) แทนค่า v จากสมการ (1.1) จะได้ ........สมการ (1.4)
  • 15. v – v0 = a0t ดังนัน t = (v – v0)/a0 ้ แทนค่า t ลงในสมการ (1.3) จะได้ ........สมการ (1.5) สรุ ปเป็ นสูตร สูตรทัง้ 4 สูตรนี ้ใช้ ได้ ถกต้ องเฉพาะกรณีที่ a มีคาคงตัวเท่านัน ู ่ ้
  • 16. ตัวอย่ าง ถ้ าการเคลื่อนที่ของก้ อนหินในแนวดิ่ง เกิดจากการโยนขึ ้นด้ วยความเร็วต้ น 5.0 เมตรต่อวินาที ซึงจะมีความเร่งคงตัวในทิศลงมีคา 10 เมตรต่อ (วินาที)2 ก้ อน ่ ่ หินจะใช้ เวลาเท่าใดจะถึงจุดสูงสุด และใช้ เวลาอีกเท่าใดจึงจะกลับถึงจุดที่โยน ความเร็วเฉลี่ยของช่วงขาขึ ้นเป็ นเท่าใด และระยะทางถึงจุดสูงสุดเป็ นเท่าใด กราฟ ของความเร็วสาหรับช่วงเวลาทังขึ ้นและลงจะเป็ นอย่างไร ้ วิธีทา กาหนดให้ x เป็ น การกระจัดในทิศขึ ้น v เป็ น ความเร็วในทิศขึ ้น a เป็ น ความเร่งในทิศขึ ้น (a = -10 m/s2) จากสมการ v = u + at ความเร็วที่จดยอดจะเป็ น 0 และความเร็วต้ น 5.0 m/s จะได้ ุ 0 = 5.0 + (-10 )t t = 0.50 s ก้ อนหินใช้ เวลา 0.50 วินาที จะถึงจุดสูงสุด ANS1
  • 17. เวลาในช่วงขาลง = เวลาในช่วงขาขึ ้น เท่ากับ 0.50 วินาที เพราะการเคลื่อนที่ของ ก้ อนหินเคลื่อนที่ด้วยความเร่งอย่างเดิมในระยะทางเท่ากันกับขาขึ ้น  ก้ อนหินใช้ เวลาอีก 0.50 วินาทีจงจะกลับถึงจุดที่โยน ึ ANS2 ความเร็วเฉลี่ยของช่วงขาขึ ้น (v + v0) / 2 = (0 + 5.0)/2 = 2.5 m/s ANS3 ระยะทางถึงจุดสูงสุด = ความเร็วเฉลี่ย เวลา = 2.5 0.5 = 1.25 m ANS4
  • 18. และกราฟของความเร็วกับเวลาจะเป็ นดังรูป v(m/s) อาจตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบได้ 5.0 จากสมการ O 0.5 1.0 t(s) ใช้ คาเวลาของคาตอบ 1 แทนค่าจะได้ ่ -5.0 x = 5.0 0.5 + (1/2) (-10  (0.50 )2 m = 1.25 m ตรงกับคาตอบที่ 4 หากใช้ สตรระยะทางนี ้ หาเวลาการเคลื่อนที่ขาลง ซึงการกระจัดขาลงเป็ น ู ่ -0.125 เมตร เพราะ การกระจัดมีทิศลง ใช้ ความเร็วต้ นเป็ นศูนย์ (จากจุดยอด) แทนค่าจะได้ -0.125 = 0 – (1/2)(-10) t2 t = +0.5 , -0.5 s ตรงกับคาตอบที่ 1 และ 2
  • 19. ตัวอย่ างที่ 1 วัตถุก้อนหนึงมีการกระจัดเป็ นไปตามสมการ x = 10t2 + 5 เมตร ่ จงคานวณหาค่า ก. ความเร็วที่เวลา t = 2 วินาที ข. ความเร่งที่เวลา t = 3 วินาที วิธีทา ก. ความเร็วขณะใดขณะหนึง ่ = dx = d (10t2+5) dt dt v(t) = 20 t เมตรต่อวินาที t = 2 วินาที , v = 20 x 2 = 40 เมตรต่อวินาที ข. ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง = dv = d (20t) dt dt a(t) = 20 เมตรต่อวินาที 2 t = 3 วินาที , a = 20 เมตรต่อวินาที 2
  • 20. ตัวอย่ างที่ 2 อนุภาคอันหนึงเดิมอยูนิ่ง แล้ วทาให้ เกิดความเร่ง = 3t เมตรต่อวินาที 2 ่ ่ เมื่อ t คือ เวลา จงหาความเร่ง ความเร็ว และการกระจัด ภายหลังเมื่อเคลื่อนที่ได้ นาน 5 วินาที วิธีทา ก. ความเร่ง a = 3t = 3x5 = 15 m/s2 ข. ความเร็ว เมื่อ t0 = 0 , t = 5 s และ a = 3t จะได้ ค. การกระจัด เมื่อ t0 = 0 , t = 5 s และ v = 3t2 / 2 จะได้
  • 21. ตัวอย่ างที่ 3 รถยนต์คนหนึงเคลื่อนที่ได้ 30 กิโลเมตร ในครึ่งชัวโมงแรก และ ั ่ ่ เคลื่อนที่ได้ ระยะทาง 50 กิโลเมตร ในครึ่งชัวโมงต่อมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชัวโมง ่ ่ มีคาเท่าใด ่ วิธีทา อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทาง เวลา = 30 กิโลเมตร + 50 กิโลเมตร 1/2 ชัวโมง + 1/2 ชัวโมง ่ ่ = 80 กิโลเมตร/ชัวโมง ่ คาตอบ อัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตร/ชัวโมง ่
  • 22. ตัวอย่ างที่ 4 ก้ อนหินตกแบบเสรี จากที่สงแห่งหนึง จะใช้ เวลานานเท่าใด ความเร็ว ู ่ ของก้ อนหินจะเป็ น 4 เท่าของความเร็ว เมื่อสิ ้นวินาทีที่ 1 ของการเคลื่อนที่ วิธีทา หาความเร็วของก้ อนหินเมื่อสิ ้นวินาทีที่ 1 จาก v = u + at v = 0 + (-10) x 1 v = -10 เมตร/วินาที หาเวลาที่ก้อนหินมีความเร็ว 40 m/s จาก v = u + at -40 เมตร/วินาที = 0 + (-10) x t t = 4 วินาที คาตอบ ก้ อนหินตกลงมาใช้ เวลา 4 วินาที
  • 23. ตัวอย่ างที่ 5 วัตถุชิ ้นหนึงเคลื่อนที่ในแนวตรงด้ วยความเร็วต้ น 10 เมตร/วินาที ่ โดยมีความเร่ง 5 เมตร/วินาที 2 ขณะที่วตถุเคลื่อนที่ได้ ระยะทาง 480 เมตร วัตถุ ั เคลื่อนที่มาแล้ วกี่วินาที วิธีทา จากสูตร s = ut + ½ at 2 1 2 1 480 เมตร = 10 เมตร/วินาที . t + ½ x 5 เมตร/วินาที 2 . t2 2 960 = 20t + 5t2 (t - 12)(t + 16) = 0 t = 12 และ -16 วินาที แต่เวลาเป็ นลบไม่มีความหมาย ดังนันวัตถุ ้ เคลื่อนที่มาแล้ ว 12 วินาที คาตอบ วัตถุเคลื่อนที่มาแล้ ว 12 วินาที
  • 24. ตัวอย่ างที่ 6 รถยนต์คนหนึงออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้ วยขนาด ั ่ ความเร่งคงตัวและวิ่งไปได้ ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่ง ของรถยนต์เป็ นท่าใด วิธีทา จากสูตร s = ut + ½ x at2 75 เมตร = 0 + ½ a 25 วินาที 2 1 a = 6 เมตร/วินาที 2 2 1 2 คาตอบ ขนาดความเร่งของรถยนต์เป็ น 6 เมตร/วินาที 2 ตัวอย่ างที่ 7 โยนก้ อนหินไปตามแนวดิ่งด้ วยความเร็วต้ น 10 เมตร/วินาที ถามว่า ก. เมื่อใดก้ อนหินมีความเร็วเป็ นศูนย์ ข. ก้ อนหินขึ ้นไปได้ สงสุดเท่าใด ู ค. เป็ นเวลานานเท่าใดก้ อนหินจึงจะตกลงมาถึงตาแหน่งเริ่มต้ น
  • 25. วิธีทา ก. จากสูตร v = u + at 0 = 10 เมตร/วินาที + (-10) เมตร/วินาที 2 x t t = 1 วินาที คาตอบ ก้ อนหินมีอตราเร็วเป็ นศูนย์หลังจากโยนขึ ้นไปนาน 1.0 วินาที ั ข. จากสูตร s = (u+v)t / 2 = (10 เมตร/วินาที + 0 ) × 1.0 วินาที 2 = 5.0 เมตร คาตอบ ก้ อนหินขึ ้นไปได้ สงสุดเป็ นระยะ 5.0 เมตร ู
  • 26. ค. เมื่อก้ อนหินตกถึงพื ้น s = 0 s = ut +1/2at2 s = 10t + ½ (-10) เมตร/วินาที 2 x t 0 = 10t – 5t2 0 = 5t(2 – t) t = 2.0 s คาตอบ จะต้ องใช้ เวลา 2.0 วินาที ก้ อนหินจึงตกถึงพื ้น ตัวอย่ างที่ 8 อิเล็กตรอนตัวหนึงเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1.0 x 10 4 เมตร/วินาที ่ เข้ าสูบริเวณสนามไฟฟาและถูกเร่งโดยสนามไฟฟาเป็ นระยะทาง 1.0 เซนติเมตร ่ ้ ้ เมื่อออกจากสนามไฟฟา อิเล็กตรอนนันมีความเร็ว 4.0 x 106 เมตร/วินาที จง ้ ้ คานวณหาความเร่ง
  • 27. วิธีทา จากสูตร v2 = u2 + 2 as (4.0 x 104 เมตร/วินาที) 2 = (1.0 x 104 เมตรต่อวินาที) 2 + 2a x 1.0 x 10-2 เมตร 16.0 x 1012 = 0.0001 x 1012 + 2a x 1.0 x 10-2 a = 8.0 x 1014 เมตร/วินาที 2 คาตอบ ความเร่งของอิเล็กตรอนมีคาเท่ากับ 8.0 x 1014 เมตรต่อวินาที 2 ่ ตัวอย่ างที่ 9 โยนก้ อนหินขึ ้นไปในแนวดิ่งจากพื ้นดิน ด้ วยความเร็วต้ น 20 เมตร/วินาที หลังจากโยนไปแล้ วเป็ นเวลาเท่าไร ก้ อนหินจึงตกลงมาด้ วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที วิธีทา กาหนดให้ ความเร็วในทิศขึ ้นเป็ น + จาก v = u + at ความเร็วขณะตก = 10 เมตร/วินาที -10 เมตร/วินาที = 20 เมตร/วินาที + (-10) x t t = 3 วินาที