SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 69
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สารบัญ
ข้อมูลโครงงาน
หลักการและทฤษฎีวัตถุประสงค์
ขอบเขตโครงงาน
ที่มาและ
ความสาคัญ
ครูที่ปรึกษาและ
ผู้จัดทา
วิธีการดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สารบัญเนื้อหา
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นายธนกฤต เมืองจันทร์ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 3
2. นางสาวสุทธิรักษ์ ไชยจินดา เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูจันทร์พร ขันตี
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายธนกฤต เมืองจันทร์ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 3
นางสาวสุทธิรักษ์ ไชยจินดา เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูจันทร์พร ขันตี
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากในปัจจุบันมีคนไทยส่วนมากไม่เห็นคุณค่าและความสาคัญของดนตรีไทย
หรือบางคนแทบจะไม่เคยฟังเพลงที่บรรเลงโดยดนตรีไทยเลยด้วยซ้า โดยส่วนใหญ่ผู้คนจะ
ให้ความสาคัญกับดนตรีสากลมากกว่า งทาให้ดนตรีไทยนั้นไม่เป็นที่นิยมและใกล้ที่จะ
เลือนหายจากสังคมไทยไป เพราะคนไทยรุ่นใหม่มีค่านิยมที่ว่าใครที่ฟังเพลงที่บรรเลงโดย
ดนตรีไทยเป็นผู้ที่ล้าสมัย ผู้คนจึงไม่นิยมฟังและหันไปฟังเพลงที่บรรเลงโดยดนตรีสากล
แทน
เพลงที่บรรเลงโดยดนตรีไทยนั้นส่วนใหญ่จะเป็นการบรรเลงแบบไม่มีเนื้อร้อง แต่
ในทางกลับกันเราจะพบว่าเพลงที่เราฟังกันอยู่ทุกวันนี้ส่วนใหญ่จะบรรเลงโดยดนตรีสากล
ซึ่งถ้าเราสามารถประยุกต์ให้ดนตรีไทยมาร่วมบรรเลงกับดนตรีสากลได้แล้ว ดนตรีไทย
อาจจะมีคนสนใจเพิ่มมากขึ้น และทาให้ดนตรีไทยอยู่คู่กับสังคมไทย ตลอดไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการให้คนรุ่นใหม่หันมาให้ความสนใจดนตรีไทยเพื่มมากขึ้น
2. เพื่อส่งเสริมดนตรีไทยให้กับทั้งชาวต่างชาติและคนไทยด้วยกันเองได้รู้จักดนตรีไทยมาก
ขึ้น
3. เพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
4. เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของดนตรีไทย
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาการประยุกต์ระหว่างดนตรีไทยกับดนตรีสากล ในเพลงร่วมสมัย
ระยะเวลา 2 ภาคเรียน
สถานที่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
หลักการ และทฤษฎี
สืบเนื่องจากปัจจุบัน มีการแสดงดนตรีร่วมสมัย คือการแสดงระหว่างดนตรีสากลและดนตรีไทยอยู่
มาก ทาให้ส่งผลกระทบหลายด้านทั้งดีและไม่ดี ต่อทั้งวงการดนตรีไทยและดนตรีสากล
นายคุณากร คงจันทร์ รองประธานชมรม-ดนตรีไทย มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ให้ความคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า คน
ที่รู้จักดนตรีไทยจริงๆ มีน้อย คนที่รู้จักดนตรีสากลจริงๆ ก็มีน้อย เพียงแต่คนหมู่มากชื่นชอบเพลงสากลเพราะ
ฟังง่าย สื่อความหมายชัดเจน แต่เพลงไทยเน้นการบรรเลงเนื้อร้องฟังความหมายค่อนข้างยาก เพราะเป็นศัพท์
โบราณ ฉะนั้นก็ถ้านามารวมกับสากลอาจจะทาให้ขายได้ดีขึ้น เป็นการขยายตลาด ถ้าเราแสดงแค่ดนตรีไทย
ตลาดของเราก็จะได้รับความนิยมแค่คนรุ่นเก่า หรือคนใหม่บางกลุ่มที่ชอบดนตรีไทยจริงๆ แต่ถ้านาดนตรีทั้งสอง
ประเภทมาผสมกัน คน 2 กลุ่มนี้ก็อาจจะเข้ามารวมกัน หรือไม่ก็อาจจะได้กลุ่มใหม่ที่ไม่ชอบฟังทั้งไทยทั้งสากล
แต่ชอบฟังแนวร่วมสมัยเพิ่มขึ้นเป็นได้ ส่วนในเรื่องการเข้าถึงแก่นของไทยนั้น รองประธานชมรมดนตรีไทยกล่าว
ว่า ดนตรีไทยเนื้อแท้จริงๆ คือเอกลักษณ์ด้านเสียง ซึ่งต่างกันไม่มาก การเล่นร่วมกันจะต้องมีการผสมผสาน มี
การลดคีย์ เพิ่มคีย์ มีการใส่คอร์ดเข้าไป ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงความเป็นไทยให้มีชื่อใหม่ขึ้นมานั่นคือดนตรีไทยร่วม
สมัย ขายความเป็นไทยเนื้อแท้ได้น้อยลง แต่จะได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นมาแทน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
คัดเลือกบทเพลงที่ง่ายต่อการนามาประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลเข้า
ด้วยกัน จากนั้นฝึกซ้อมและร่วมวงกันและขึ้นแสดงในงานเปิดบ้านบานเย็น
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. ซอด้วง
2. กีตาร์โปร่ง
3. ขิม
4. ระนาด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้รับความรู้ในการผสมผสานระหว่างดนตรีไทยและดนตรีสากล ในบทเพลง
ร่วมสมัย ทาให้สร้างสรรค์ดนตรีและบทเพลงใหม่ๆขึ้นมาได้ และทาให้ดนตรี
ไทยไม่ถูกลืม
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาศิลปะ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
journalism108. (2556). ดนตรีไทย-สากลปรับตัวร่วมสมัย รับกระแสสังคมยุคใหม่.
http://www.jr-rsu.net/ article/241 ( วันที่สืบค้นข้อมูล: 13 พฤศจิกายน
2557 )
ดนตรีไทย การประยุกต์
ดนตรีสากล วิดีโอ
ข้อมูลเบื้องต้น
เครื่องดีด
เครื่องสี
เครื่องตี
เครื่องเป่า
ดนตรีไทย
เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน,
อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป่า
ประวัติ ในสมัยกรุงสุโขทัย ดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลานา และร้องเล่น
วรรณคดี "ไตรภูมิพระร่วง" เครื่องดนตรี ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่ง แฉ่ง (ฉาบ) บัณเฑาะว์ พิณ
ซอ ปี่ไฉน ระฆัง กรับ และกังสดาล
สมัยกรุงศรีอยุธยา มีวงปี่พาทย์ที่ยังคงรูปแบบปี่พาทย์เครื่องห้าเหมือนเช่นสมัยกรุง
สุโขทัย แต่เพิ่มระนาดเอกเข้าไป นับแต่นั้นวงปี่พาทย์จึงประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่ใน ฆ้อง
วงใหญ่ กลองทัด ตะโพน ฉิ่ง ส่วนวงมโหรีพัฒนาจากวงมโหรีเครื่องสี่ เป็นมโหรีเครื่องหก
เพิ่มขลุ่ย และรามะนา รวมเป็นมี ซอสามสาย กระจับปี่ ทับ (โทน) รามะนา ขลุ่ย และกรับ
พวง
ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มจากรัชกาลที่ 1 เพิ่มกลองทัดเข้าวงปี่พาทย์อีก 1 ลูก รวม
เป็น 2 ลูก ตัวผู้เสียงสูง ตัวเมียเสียงต่า รัชกาลที่ 2 ทรงพระปรีชาสามารถการดนตรี ทรง
ซอสามสาย คู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้าฟาด และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทย บุหลันลอยเลื่อน
รัชสมัยนี้เกิดกลองสองหน้าพัฒนามาจากเปิงมางของมอญ พอในรัชกาลที่ 3 พัฒนาเป็นวงปี่
พาทย์เครื่องคู่ มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มคู่กับระนาดเอก และฆ้องวงเล็กให้คู่กับฆ้องวงใหญ่
รัชกาลที่ 4 เกิดวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่พร้อมการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็ก และระนาด
ทุ้มเหล็ก รัชกาลที่ 5 สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ทรงคิดค้นวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
ประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ในรัชกาลที่ 6 นาวงดนตรีของมอญเข้าผสมเรียกวงปี่
พาทย์มอญโดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) มีการนาอังกะลุงเข้ามาเผยแพร่
เป็นครั้งแรก และนาเครื่องดนตรีต่างชาติ เช่น ขิม ออร์แกนของฝรั่งมาผสมเป็นวง
เครื่องสายผสม แล้วจึงเป็นดนตรีไทยที่เราได้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้ ทั้งความแตกต่างระหว่าง
วงต่างๆ ผู้ประพันธ์ท่านต่างๆ
จะเข้
เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด มี ๓ สาย แต่เดิมเป็นสายไหมสองสายและสาย
ลวดหนึ่งสาย แต่ปัจจุบันนิยมใช้สายเอ็นแทนสายไหม ตัวจะเข้ทาด้วยไม้เนื้ออ่อน
นิยมใช้ไม้ขนุน ขุดเป็นโพรง มีช่องเสียงอยู่ข้างล่าง มีนมติดอยู่ทางด้านบนของตัว
จะเข้ ๑๑ นม เนื่องจากเป็นเครื่องดีดที่มีขนาดใหญ่เวลาดีดจึงวางราบกับพื้นไม่
ยกขึ้นดีดอย่างพิณชนิดอื่นๆ บรรเลงร่วมอยู่ในวงเครื่องสายและมโหรี
ซึง
เป็นเครื่องดีดของทางภาคเหนือ คล้ายกับกระจับปี่ แต่ต่างกันที่ปลาย
ทวนด้านบนไม่ยาว งอนโค้งเหมือนกระจับปี่ มีหลายขนาด สายสาหรับดีดทา
มาจากลวด
กระจับปี่
เป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ประเภทเครื่องดีด มีหลักฐานว่าเล่นกันมาแต่ครั้งกรุงศรี
อยุธยา กล่องเสียงทาด้วยไม้ขุดเป็นโพรง มีช่องเสียงอยู่ด้านหน้า มีคันทวนค่อนข้างยาว
ปลายด้านบนงอนโค้ง มีสายสาหรับดีด ๔ สายทาด้วยไหม สายที่ ๑ กับสายที่ ๒ เทียบ
เสียงเท่ากันคู่หนึ่ง และสายที่ ๓ กับสายที่ ๔ เทียบเสียงเท่ากันอีกคู่หนึ่ง มีนมตั้งเสียงติด
อยู่กับด้านหน้าของคันทวน
พิณเปี๊ยะหรือพิณเพี้ยะ
คาว่า "เปี๊ยะ" ในภาษาล้านนาแปลว่า อวด ซึ่งน่าจะหมายถึงการดีดอวด
ฝีมือของบรรดาผู้ชายชาวเหนือที่ใช้พิณชนิดนี้เป็นสื่อไปเกี่ยวพาราสีผู้หญิง
กล่องเสียงของพิณเปี๊ยะทามาจากกะลามะพร้าวผ่าซีก ผูกติดอยู่กับคันทวน มี
สายตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไป
พิณน้้ำเต้ำ
เป็นเครื่องดีดที่เก่าแก่ที่สุดอีกอย่างหนึ่งของไทย มีรูปร่างลักษณะคล้าย
กับพิณเปี๊ยะของทางภาคเหนือมาก แต่กล่องเสียงของพิณน้าเต้าจะทามาจาก
ผลน้าเต้าแห้งผ่าซีก และเป็นพิณที่มีสายเดียว
ซอด้วง
เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีที่มี 2 สาย ซึ่งเดิมเป็นเครื่องดนตรีของจีน ร่วม
บรรเลงในวงเครื่องสายเมื่อราวต้นสมัยรัตนโกสินทร์ หรือถ้าก่อนนั้นก็คงราวปลายสมัย
กรุงศรีอยุธยา พร้อมกันกับซออู้ เป็นหลักในการดาเนินเนื้อเพลง และเป็นผู้นาวง ด้วย
เหตุที่เรียก "ซอด้วง" ก็เพราะว่ากะโหลกซอนั้น มีลักษณะคล้ายกับเครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง
ที่เรียกว่า "ด้วงดักแย้"
ซออู้
เป็นเครื่องสีอีกประเภทหนึ่งที่เป็นคู่มากับซอด้วง เข้าใจว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ชน
ชาติจีนเล่นมาก่อนมารวมเล่นเป็นวงเครื่องสายในระยะเดียวกับซอด้วง มีหน้าที่สีดาเนิน
ทานองเพลงในลักษณะหยอกยั่วเย้าไปกับผู้ทาทานองเพลงบางครั้งใช้สีคลอไปกับ
ร้อง ด้วยภายหลังเมื่อมีวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์และวงปี่พาทย์ไม้นวม จึงได้นาซออู้เข้ามา
บรรเลงร่วมด้วย
ซอสำมสำย
เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสีที่เก่ามาแต่ครั้งกรุงสุโขทัยมีวิธีการประดิษฐ์
ลักษณะของซอได้อย่างปราณีต สวยงาม มีเสียงไพเราะนุ่มนวล เดิมใช้เป็นเครื่อง
ประกอบในพระราชพิธีโดยเฉพาะในวง“ขับไม้ “ ซึ่งใช้บรรเลงขับกล่อมในพระราช
พิธี “กล่อมพระอู่” หรือพระราชพิธี"สมโภชน์ขึ้นระวางช้างต้น “ ( พิธีกล่อมช้าง ) เป็น
ต้น
สะล้อ
เป็นเครื่องสีอีกอย่างหนึ่งนิยมบรรเลงเล่นกันในภาคเหนือของไทยดังมีชื่อเรียกกัน
ว่า "วงสะล้อซอซึง " เดิมเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ไปแอ่วสาว ต่อมาใช้บรรเลงรวมวงกับซึง
และปี่จุม เรียกว่า "วงดนตรีพื้นเมืองเหนือ" สามารถบรรเลงเพลงสาเนียงเหนือได้อย่าง
ไพเราะ เช่นเพลงละม้าย จะปุอื่อ ประสาทไหวเพลงเชียงใหม่ฯเป็นต้น เดิมเป็นเครื่องสีที่
มี 2 สาย สีด้วยคันชักคล้ายซอด้วง
กรับพวง
ทาด้วยไม้หรือโลหะ ลักษณะเป็นแผ่นบาง หลายแผ่นร้อยเข้าด้วยกัน ใช้ไม้หนา
สองชิ้นประกับไว้
วิธีตี ใช้มือหนึ่งถือกรับแล้วตีกรับลงไปบนอีกมือหนึ่งที่รองรับทาให้เกิดเสียงกระทบ
จากแผ่นไม้หรือแผ่นโลหะดังกล่าว ใช้ตีในการบรรเลงมโหรีโบราณ เล่นเพลงเรือ และ
โขนละคร
กรับเสภำ ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง ลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม มีสันมน
วิธีตี การตีใช้ขยับมือที่ละคู่ การขับเสภาใช้กรับสองคู่ ถือมือละคู่ ผู้ขับเสภา
จะขยับกรับ สองคู่นี้ตามท่วงทานองที่เรียกเป็นไม้ต่าง ๆ เช่น ไม้กรอ ไม้หนึ่ง
ไม้รบ หรือไม้สี่
ระนำดเอก ที่ให้เสียงนุ่มนวล นิยมทาด้วยไม้ไผ่บง ถ้าต้องการ ให้ได้เสียงเกรียวกราว นิยม
ทาด้วยไม้แก่น รางทาด้วย ไม้เนื้อแข็งรูปร่างคล้ายเรือ ด้ามหัวและท้ายโค้งขึ้นเพื่อให้อุ้ม
เสียง มีแผ่นไม้ปิดหัวและท้ายรางเรียกว่า "โขน" ฐานรูปสี่เหลี่ยมเรียกว่า "ปี่พาทย์ไม้แข็ง"
ไม้ตีอีกชนิดหนึ่งทาด้วยวัสดุที่นุ่มกว่า ใช้ผ้าพัน แล้วถักด้ายสลับ เวลาตีจะให้เสียง
นุ่มนวล
วิธีตี เมื่อตีตามจังหวะของลูกระนาดแล้วจะเกิดเสียงกังวาล ลดหลั่นกันไปตามลูกระนาด
ระนาดที่ให้เสียงแกร่งกร้าว อันเป็นระนาดดั้งเดิมเรียกว่า ระนาดเอก
ระนำดทุ้ม เลียนแบบระนาดเอก สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ตัวลูกมีขนาดกว้างและยาวกว่าของระนาดเอก ตัวรางก็แตกต่าง จากระนาด
เอก คือเป็นรูปคล้ายหีบไม้แต่เว้ากลาง มีโขนปิดหัวท้าย มีเท้าอยู่สี่มุมราง ไม้ตีตอน
ปลายใช้ผ้าพันพอกให้โต และนุ่ม เวลาตีจะได้เสียงทุ้ม
วิธีตี ตีตามจังหวะของลูกระนาดใช้บรรเลงในวงปีพาทย์ทั่วไป มีวิธีการบรรเลง
แตกต่างไปจากระนาดเอก คือไม่ได้ยึดการบรรเลงคู่ ๘ เป็นหลัก
ขิม ใช้สายโลหะขึงอยู่บนกล่องเสียง ตัวขิมทาด้วยไม้ มีลักษณะกลวงอยู่
ภายใน ด้านบนขึงสายทองเหลืองเรียงสลับกันเป็นแถวๆตามแนวนอน สายที่
นิยมใช้สายทองเหลืองเพราะมีสาเนียงกังวานไพเราะดี ไม้พื้นของตัวขิมทา
ด้วยไม้เนื้อโปร่งเพื่อให้เสียงก้องกังวานผิวหน้ากรุเป็นช่องรูปวงกลมไว้เพื่อให้
เสียงออกดีขึ้น
ฉิ่ง เป็นเครื่องตีกากับจังหวะ ทาด้วยโลหะ หล่อหนา รูปร่างกลม เว้ากลาง
ปากผาย คล้ายฝาขนมครกไม่มีจุก สารับหนึ่งมีสองฝาเจาะรูตรงกลางที่เว้า
สาหรับร้อยเชือกโยงฝาทั้งสอง เพื่อสะดวกในการถือตี ฉิ่งมีสองขนาด ขนาด
ใหญ่ใช้ประกอบวงปีพาทย์ ขนาดเล็กใช้กับวงเครื่องสายและมโหรี
ฉำบ เป็นเครื่องตีกากับจังหวะ ทาด้วยโลหะ รูปร่างคล้ายฉิ่ง แต่ มีขนาดใหญ่
กว่าและหล่อบางกว่า มีสองขนาด ขนาดใหญ่กว่าเรียกว่า ฉาบใหญ่ ขนาด
เล็กกว่า เรียกว่า ฉาบเล็ก การตีจะตีแบบประกบ และตีแบบเปิดให้เสียง
ต่างกัน
ฆ้องวงใหญ่ มีลูกฆ้อง ๑๖ ลูก ลูกเสียงต่าสุดเรียกว่า ลูกทวน ลูกเสียงสูงสุด
เรียกว่า ลูกยอด ไม้ที่ใช้ตีมีสองอัน ผู้ตีถึงไม้ตีมือละอัน
ฆ้องวงเล็ก มีลูกฆ้อง ๑๘ ลูก สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ
ใช้บรรเลงร่วมในวงปีพาทย์ มีหน้าที่เก็บ สอด แทรก ฯลฯ
กลองแขก มีรูปร่างยาวเป็นกระบอก หน้าด้านหนึ่งใหญ่เรียกว่า "หน้ารุ่ย" หน้าด้าน
หนึ่งเล็กเรียกว่า "หน้าต่าน" หนังหน้ากลองทาด้วยหนังลูกวัวหนังแพะ ใช้เส้นหวายฝ่าชีก
เป็นสายโยงเร่งให้ตึงด้วยรัดอก สารับหนึ่งมีสองลูก ลูกเสียงสูงเรียกว่า "ตัวผู้" ลูกเสียง
ต่าเรียกว่า "ตัวเมีย" การตี การตีใช้ฝ่ามือทั้งสอง ตีทั้งสองหน้าให้เสียงสอดสลับกันทั้ง
สองลูก กลองชนิดนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กลองชะวา"
กลองทัด มีรูปทรงกระบอกกลางป่องออกเล็กน้อย ขึ้นหนังสองหน้า ตรึงด้วยหมุดที่
เรียกว่า "แส้" ซึ่งทาด้วยไม้ งาช้าง กระดูกสัตว์ หรือโลหะ หน้ากลองด้านหนึ่งติดข้าว
ตะโพนแล้วตีอีก ด้านหนึ่ง ใช้ไม้ตีสองอัน สารับหนึ่งมีสองลูก ลูกเสียงสูงเรียกว่า "ตัวผู้"
ลูกเสียงต่าเรียกว่า "ตัวเมีย"ตัวผู้อยู่ทางขวาและตัวเมียอยู่ทางซ้าย ของผู้ตีกลองทัดน่าจะ
เป็นกลองของไทยมา แต่โบราณใช้บรรเลงรวมอยู่ในวงปีพาทย์มาจน ถึงปัจจุบัน
กลองยำว หุ่นกลองทาด้วยไม้ ตอนหน้าใหญ่ ตอนท้ายเรียวแล้วบานปลายเป็นรูปดอก
ลาโพงมีหลาย ขนาดขึ้นหนังหน้าเดียวตัวกลางนิยมตบแต่งให้สวยงาม ด้วยผ้าสีหรือผ้า
ดอกเย็บจีบย่นปล่อยเชิงเป็นระบายห้อย มาปก ด้วยกลอง มีสายสะพายสาหรับคล้อง
สะพายบ่า ใช้ตีด้วยฝ่ามือ แต่การเล่นโลดโผน อาจใช้ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายตีก็มี กลอง
ยาวได้แบบอย่างมาจากพม่า นิยมเล่นในงานพิธีขบวนแห่ กลองชนิดนี้เรียกชื่อตามเสียง
ที่ตีได้อีกชื่อหนึ่งว่า "กลองเถิดเทิง"
เปิงมำงคอก ใช้เปิงมาง จานวน 7 ลูก มีขนาดลดหลั่นกัน ผูกเรียงลาดับ
ตามขนาดจากใหญ่ไปเล็กโดยทาเป็นวงลักษณะเป็นคอก จึงเรียกว่า “เปิงมาง
คอก” ใช้ตีประสานคู่กับตะโพนมอญ
กลองตะโพน ใช้ตะโพนสองลูก เสียงสูงต่าต่างกัน ถอดเท้าออก แล้วนามาตั้งเอาหน้าเท่ง
ขึ้นตีแบบกลองทัด ใช้ไม้นวมที่ใช้ตีระนาดเป็นไม้ตี
ตะโพนมอญ คล้ายตะโพนไทย แต่ใหญ่กว่า และตรงกลางหุ่นป่องน้อยกว่า มีเสียงดัง
กังวาลลึกกว่าตะโพนไทย หน้าใหญ่เรียกว่า "เมิกโนด" หน้าเล็กเรียกว่า "เมิกโด้ด" เป็น
ภาษามอญ ตะโพนมอญใช้บรรเลงผสมในวงปีพาทย์มอญ มีหน้าที่บรรเลงหน้าทับ
กากับจังหวะต่าง ๆ
ปี่ใน ที่ถูกเรรียกว่าปี่ในก็เพราะว่า ปี่ชนิดนี้ เทียบเสียงตรงกับระดับเสียงที่
เรียกว่า " เสียงใน " ซึ่งเป็นระดับเสียงที่วงปี่พาทย์ไม้แข็ง บรรเลงเป็นพื้นฐาน
ตัวเลา ทาด้วยไม้ชิงชัน หรือไม้พยุง กลึงให้ป่องกลาง และบานปลายทั้งสอง
ข้าง ภายในเจาะเป็นรูกลวงตลอดหัวท้าย มีรูสาหรับเปิดปิดนิ้ว 6รู โดยให้ 4
รูบนเรียงลาดับเท่ากัน ตอนบนสาหรับสอดใส่ลิ้นปี่เรียกว่า " ทวนบน " ส่วน
ตอนล่างจะใช้ตะกั่วมาต่อ สาหรับลดเลื่อนเสียงเรียกว่า " ทวนล่าง " ตัวเลาปี่
นอกจากจะทาด้วยไม้ แล้วยังพบปี่ซึ่งทาด้วยหิน เป็นของเก่าแต่โบราณ
ปี่นอก
มีขนาดเล็กสุด ใช้เป่าในวงปี่พาทย์ชาตรี ในการเล่นโนราห์ หนังลุง และละคร
ชาตรี ต่อมาได้เข้ามาบรรเลงผสมในวงปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องคู่และ เครื่องใหญ่
โดยเป่าควบคู่ไปกับปีใน มีระดับเสียง สูงกว่าปีใน มีวิธีเป่าคล้ายคลึงกับปี่ใน
ปี่กลำง
เป็นปี่ที่มีสัดส่วนและเสียงอยู่กลางระหว่างปี่นอกกับปี่ใน จึงเรียกปี่ชนิดนี้ว่า "
ปี่กลาง"ใช้เป่าประกอบการเล่นหนังใหญ่มาแต่โบราณ ซึ่งเป็นต้นกาเนิดให้เกิด
เสียง " ทางกลาง "ขึ้น ปัจจุบันไม่ใคร่ได้พบเห็น มีวิธีการเป่าเช่นเดียวกับปี่
นอกและปี่ใน เพียงแต่ผิด กันที่นิ้วและระดับเสียง
ปี่ชวำ
เป็นเครื่องเป่าอีกประเภทหนึ่งที่มีลิ้น ซึ่งนาแบบอย่างมาจากชวา เข้าใจว่าเข้า
มา เมืองไทยในคราวเดียวกับกลองแขก โดยเฉพาะในการเป่าเพลง
ประกอบการรา " กริช "ในเพลง " สะระหม่า" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
พบว่าปี่ชวาใช้เป่าร่วมกับกลองในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคและสถล
มาคร นอกจากนั้นยังพบเห็นปี่ชวาเป่าประกอบการเล่นกระบี่-กระบอง และ
การชกมวย
แคน
เป็นเครื่องเป่าพื้นเมืองของชาวอีสานเหนือที่ใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกัน
เข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นสัญลักษณ์ของภาคอีสาน เป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ
เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลาไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้
ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควร แคนมีหลายขนาด
บางขนาดมีเสียงประสานอยู่ด้วย
ขลุ่ยหลิบ
ขลุ่ยหลีบมีชื่อเต็มว่า ขลุ่ยหลีบเพียงออ ใช้เป่าคู่กับขลุ่ยเพียงออ มีขนาดเล็ก
และสั้นกว่าขลุ่ยเพียงออ ใช้ไม้รวกขนาดเล็กปล้องสั้นๆ เสียงจึงแหลมสูงกว่า
ขลุ่ยเพียงออ ใช้ในวงเครื่องสาย วงมโหรี วงปี่พาทย์ไม้นวม เช่นเดียวกัน
แต่ป็นวงเครื่องคู่ หรือ เครื่องใหญ่
ขลุ่ยอู้
ขลุ่ยอู้เป็นขลุ่ยขนาดใหญ่ที่สุด ต้องใช้ไม้รวกลาใหญ่ปล้องยาวทา ขลุ่ยชนิดนี้
จึงมีเสียงทุ้มตามาก และมี เสียงคล้ายซออู้ จึงเรียก ขลุ่ยอู้ เคยใช้ในวง
เครื่องสายวงใหญ่ แต่เนื่องจากหาขลุ่ยและคนเป่าได้ยากขึ้น จึงไม่นามาผสม
วงในระยะหลังนี้จะพบบ้างในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
ขลุ่ยเพียงออ
เป็นขลุ่ยที่มีเสียงปานกลางมีขนาดกลาง ใช้ในวงเครื่องสาย วงมโหรี วงปี่
พาทย์ ไม้นวม และวงปี่พาทย์ ดึกดาบรรพ์ เป็นเครื่องดนตรีที่น่าส่งเสริมให้
ฝึกหัดกันมากๆ เพราะราคาไม่แพงรูปร่างกระทัดรัด นาติดตัวไปได้สะดวก
เสียงไพเราะ ผู้สนใจจะฝึกได้ไม่ยากนัก
๑. เพื่อเป็นการนาดนตรีไทยสู่เวทีสากลได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเล่นเพลงต่างๆ ได้มาก
ขึ้น อีกทั้งเป็นการนารูปลักษณ์ ความเป็นไทย วัฒนธรรมไทยไปเผยแพร่ได้อย่าง
กว้างขวาง
๒. เพื่อเพิ่มความสาคัญให้กับดนตรีไทยเดิมให้ทั่วโลกได้ประจักษ์ เพราะมีระบบเสียงที่เป็น
แบบเฉพาะไม่เหมือนใครในโลก แต่เราก็ควรที่จะเล่นกับทั่วโลกได้ด้วยดนตรีไทยประยุกต์
๓. เพื่อสร้างความชัดเจนของการเลือกเพลง เลือกเครื่องมือให้เหมาะสมไม่สับสนไร้ทิศทาง
เหมือนในปัจจุบัน
๔. สร้างระบบการเรียนการสอนให้เป็นแบบสากล แต่ยังคงยึดรูปแบบที่ดีงามของดนตรีไทย
เดิมอยู่
๕. สร้างความกลมกลืนของวัฒนธรรมทางดนตรี มีทั้งอนุรักษ์ และพัฒนาไปพร้อมกัน
และนอกเหนือจากที่กล่าวมาในข้างต้น เรามีความปรารถนาที่จะทาให้
ดนตรี ไม่ว่าจะเป็นไทยเดิม หรือไทยประยุกต์ มีความสอดคล้อง และชัดเจน
ในรูปแบบ และวิธีการนาเสนอ นามาซึ่งความเป็นดนตรีไทยอย่างสมบูรณ์
ดนตรีไทยจะดารงอยู่ได้ต้องมีการ อนุรักษ์ และพัฒนาไปพร้อมกัน และวันนี้
ดนตรีไทย พร้อมแล้วในรูปแบบความเป็นสากล ซึ่งเกิดขึ้นในสมัย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
๑.ตะเลงเอก เปรียบได้กับระนาดเอกของไทยเดิม การตีตะเลง เหมือนกับ การ
ตีระนาดทุกอย่าง ต่างที่วิธีการ และองค์ความรู้ซึ่งระนาดปัจจุบันมี 22 ลูก
แต่ ตะเลง มี 37 ลูก แต่มีความยาวผืนเท่ากัน สามารถใช้รางเดียวกันได้เลย
ระยะห่างของมือก็เท่ากัน คือ ห่าง 8 ลูกระนาด เท่ากับห่าง 13 ลูก ของ
ตะเลง เราสามารถเรียนรู้วิธีการเล่นตะเลงได้ในแบบสากลสามารถอ่านโน้ต
สากลได้ มีการประสานเสียงเป็นแบบสากลทั่วโลก
๒.ตะเลงทุ้ม เปรียบได้กับระนาดทุ้มของไทย ทาหน้าที่ประสานสอดทานอง
ความยาวผืนเท่ากับระนาดทุ้มไทยเช่นกันแต่มี 29 ลูก
๓. ขิมโครมาติค สามารถเล่นโน้ตสากลได้ครบสมบูรณ์โดยไม่ต้องเสริมหลัก
เหมือนขิมทั่วไป มีขนาด 18 หย่องที่เป็นมาตรฐานซึ่งมีขนาดเท่ากับขิม 11
หย่องทั่วไป
๔. แข่ หรือ จะเข้สากล ขนาดเท่าจะเข้เดิมทุกอย่างต่างกันที่มี นม 19 นม
ของเดิมมี 11 นม และแข่มีทั้ง 3 สาย กับ 4 สาย สามารถเล่นคอร์ดได้
๕. ฆ้องสากล เหมือนกับฆ้องไทย เป็นการเอาฆ้องวงใหญ่มารวมกับฆ้องวง
เล็ก มีลูกฆ้อง 26 ลูก สามารถเล่นได้ทั้งแนวทานองและแนวประสาน
๖. กระจับปี่ เป็นเครื่องดนตรีโบราณ มี 4 สาย แต่เรานามาแยกสายออกจาก
กัน วิธีการเล่นเหมือนกับการเล่นกีตาร์สากล
๗. ขลุ่ย เหมือนขลุ่ยทั่วไป มี7 รูแต่มีเสียงสากลครบ
และยังมีอื่นๆอีกมาก เช่น เปิงมางคอก ซึ่งเดิมมี 7 ลูก แต่ประยุกต์แล้ว
มี 13 ลูก ตั้งเสียงเป็นแบบสากลครบทุกเสียง
เปียโน
(ย่อมาจาก เปียโนฟอเต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว
(คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมี
ขนาดใหญ่และหนักทาให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่
เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโน
สามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด
กีตาร์ (Guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย เสียงของ
กีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทาให้เกิดกาทอน (resonance) แก่
ตัวกีตาร์และคอกีตาร์
กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสอง
อย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกาทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง
ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัว
ของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสาหรับปรับเสียง กีตาร์
เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์
ไวโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทาให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่อง
ดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกาเนิดมา
จากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไป
ด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนาทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้ว
จะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์
เคสตรา
ทรอมโบน (Trombone)
เทรอมโบนประกอบด้วยท่อลมสวมซ้อนเลื่อนเข้า –ออกได้ (Telescopic slide)
ขนาดยาวโค้งได้สองทบ สองในสามของท่อลมนี้เป็นท่อทรงกระบอก
เช่นเดียวกับทรัมเปตส่วนที่เหลือค่อย ๆ บานออกเป็นปากลาโพง ส่วนที่เป็น
ท่อลมทรงกระบอกจะเป็นท่อสองชั้นสวมกันไว้ในลักษณะรูปตัว U เลื่อนเข้า
ออกเพื่อปรับระดับเสียง ทรอมโบนมีเสียงทุ้ม ห้าว ไม่สดใส เหมือนทรัมเปต
ปัจจุบันนิยมช้แพร่หลายในวงดนตรีชนิดต่าง ๆ
ทรัมเปต (Trumpet) เป็นแตรที่มีท่อลมรูปทรงกระบอกขนาดของท่อลมมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 นิ้ว โค้งงอทบกันเป็นสามทบ ติดลูกสูบเพื่อใช้
บังคับเสียง 3 อัน ( 3 valve) อยู่ตรงกลางลาตัว ผู้เป่าจะใช้นิ้วขวาบังคับ
ลูกสูบทั้งสามโดยการกดลงหรือผ่อนให้ขึ้นแนวตั้ง กาพวด (Mouthpiece)
ของทรัมเปตเป็น “กาพวดรูปถ้วยหรือระฆัง” ซึ่งทาให้แตร ทรัมเปตสามารถ
เล่นเสียงสูงได้สดใสให้ความรู้สึกตื่นเต้นได้ดีแต่ถ้าเล่นเสียงต่าจะให้ความ
นุ่มนวล ลักษณะคล้ายเสียงกระซิบกระซาบได้ดีเช่นเดียวกันบางครั้งผู้เป่า
ต้องการลดเสียงของแตรให้เบาลงทาให้เกิดเสียงที่แปลกหูก็สามารถใช้
“มิวท์” (Mute) สวมเข้าไปในปากลาโพงของแตร ในปัจจุบัน ทรัมเปตเป็นแตร
ที่แพร่หลายและใช้ในวงดนตรีเกือบทุกประเภท
คอร์เนต (Cornet) คอร์เนตคือเครื่องเป่าทองเหลืองที่มีลักษณะคล้าย
กับทรัมเปต แต่ลาตัวสั้นกว่าคุณภาพของเสียงมีความนุ่มนวลกลมกล่อมแต่
ความสดใสของเสียงน้อยกว่าทรัมเปต คอร์เนตถูกนามาใช้ในวงออร์เคสตรา
ครั้งแรกประมาณ ค.ศ. 1829 ในการแสดงโอเปร่าของ Rossini เรื่อง William
Tell ในปัจจุบันคอร์เนตเป็นเครื่องดนตรีสาคัญสาหรับวงโยธวาทิตและแตรวง
แซ็กโซโฟน ใช้กาพวกที่มีลิ้นเดียว เหมือนอย่างปี่คลาริเนตแต่ลาตัวจะ
เป็นทรงกรวยเหมือนโอโบ ลาตัวทาด้วยโลหะเหมือนเครื่องทองเหลือง ปาก
ลาโพงเค้งงอย้อนขึ้นมา แซ็กโซโฟนขนาดเล็กให้เสียงสูง ขนาดใหญ่ให้เสียง
ต่า เสียงของ แซ็กโซโฟนเป็นลักษณะผสมผสานมีทั้งความพลิ้วไหว ความ
กลมกล่อมและความเข้มแข็งปะปนกัน
กลองเล็ก (Snare Drum) กลองเล็ก คือ เครื่องตี มี 2 หน้า ขึงด้วยหนัง
กลอง ลักษณะเฉพาะคือหน้ากลองด้านล่างจะต้องคาดไว้ด้วยสายสะแนร์เป็น
แผงเพื่อให้เกิดเสียงซ่า เดิมสายสะแนร์ทาดวยเอ็นสัตว์ ในปัจจุบันสายสะแนร์
มีทั้งที่ทาด้วยไนล่อนและทาด้วยเส้นลวดโลหะ กลองเล็กมีหลายชื่อ เช่น Snare
Drum และ Side Drum
ระฆังราว (Tubular Bells) คือ เครื่องตีทานอง ทาด้วยท่อโลหะแขวนเรียง
ตามลาดับเสียงจากสูงไปต่า แขวนกับโครงโลหะในแนวดิ่ง ใช้ไม้ตีที่ปลายท่อ
ด้านหัว จะเกิดเป็นเสียงเหมือนระฆัง
สารบัญวิดีโอ
เพลงเขมรไทรโยค
เพลงยอยศพระลอ
ตัวอย่างวิดีโอ ดนตรีไทยประยุกต์
ดนตรีไทยร่วมสมัย เพลงเขมรไทรโยค โดยไอยรัศมิ์
https://www.youtube.com/watch?v=HbUHe8JYbHM
ตัวอย่างวิดีโอ ดนตรีไทยประยุกต์
ดนตรีไทยร่วมสมัย เพลงยอยศพระลอ โดย ไอยรัศมิ์
https://www.youtube.com/watch?v=pFUeCfC7X4M
อ้างอิง
• http://kaiwanmusic.blogspot.com/2010/09/blog-post.html
• http://th.wikipedia.org/wiki/ดนตรีไทย
• http://www.school.net.th/library/create-web/10000/arts/10000-4303.html
• https://sites.google.com/site/dntrithiyesensnuk/home/kheruxng-dntri-prapheth-
si
• http://student.nu.ac.th/thaimusic_akez/tee1.htm
• http://livethaimusic.blogspot.com/2010/11/blog-post_30.html
• http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/21385-00/
• http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=391

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนโครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนAim Itsarisari
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 

Was ist angesagt? (20)

ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนโครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 

Ähnlich wie การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล

การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟนChatika Ruankaew
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pageทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันที่ 30 ตุลาคม 2557 โรงเร...
รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้  วันที่  30  ตุลาคม 2557  โรงเร...รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้  วันที่  30  ตุลาคม 2557  โรงเร...
รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันที่ 30 ตุลาคม 2557 โรงเร...ณัฐพล แสงทวี
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1Arety Araya
 

Ähnlich wie การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล (20)

การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟน
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-4page
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f17-4page
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
072+hisp4+dltv54+550229+a+สไลด์ ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน (1 หน้า)
 
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pageทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
 
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1pageทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
ทบทวนบทเรียนและทดสอบหลังเรียน +567+dltvp4+55t2his p04 f17-1page
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
Vdoclip
VdoclipVdoclip
Vdoclip
 
Vdoclip
VdoclipVdoclip
Vdoclip
 
รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันที่ 30 ตุลาคม 2557 โรงเร...
รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้  วันที่  30  ตุลาคม 2557  โรงเร...รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้  วันที่  30  ตุลาคม 2557  โรงเร...
รายชื่อครูผู้ส่งงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันที่ 30 ตุลาคม 2557 โรงเร...
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1
 

Mehr von Thanakrit Muangjun

Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdjY e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdjThanakrit Muangjun
 
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7aL43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7aThanakrit Muangjun
 
Iy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npc
Iy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npcIy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npc
Iy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npcThanakrit Muangjun
 
L gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmu
L gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmuL gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmu
L gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmuThanakrit Muangjun
 
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtccL4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtccThanakrit Muangjun
 
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbbDz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbbThanakrit Muangjun
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeThanakrit Muangjun
 
Lp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4dui
Lp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4duiLp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4dui
Lp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4duiThanakrit Muangjun
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจThanakrit Muangjun
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจThanakrit Muangjun
 

Mehr von Thanakrit Muangjun (10)

Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdjY e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
 
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7aL43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
L43 c sdsauacpfzqaveaxk36inmapykcsrx66ofxrxatqjtalfkpwnayec531ab7a
 
Iy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npc
Iy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npcIy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npc
Iy ku0gifma rdoelyditoe1ztwfnf0iwp1uljsvzqm2wpys3e7cghwmadoq9z9npc
 
L gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmu
L gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmuL gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmu
L gtjdxxta9sh p05dmiwbbxljofewbet59huxkywwosahfsrzgnqktbvkjbnz2vmu
 
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtccL4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
 
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbbDz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
 
Lp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4dui
Lp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4duiLp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4dui
Lp knfbu6a6qtjn omekexhq4nljzidrzoa3ql0ffan9bqmmprvazgrpcy5uvx4dui
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจ
 

การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล