SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
Physics Online VI                               http://www.pec9.com                                           บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
                                    ฟ สิ ก ส บทที่ 19 ฟ สิ ก ส อ ะตอม
                                                                          !




      ตอนที่ 1 การคนพบอเิ ลคตรอนและโปรตรอน
                   
       ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน
          จากกฎทรงมวลของสาร และกฎสัดสวนทีคงทีเ่ ปนพืนฐาน
                                                      ่       ้
    ดาลตันนักฟสกสและนักเคมีชาวอังกฤษตังทฤษฎีอะตอมขึน ในป
                      ิ                       ้             ้                                     !
    พ.ศ. 2351 ซึงมีใจความวา
                    ่
      1) สสารทังหลายประกอบดวยอะตอมซึงเปนหนวยทีเ่ ล็กทีสดทีไมสามารถ.........................
                  ้                             ่               ่ ุ ่
      2) ธาตแตละชนดประกอบดวยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกัน สวนธาตุตาง
              ุ          ิ                                                                    
          ชนิดกันอะตอมจะ...................
      3) อะตอมชนดหนงจะเปลยนแปลงไปเปน..............................ไมได
                         ิ ่ึ         ่ี          
      4) หนวยยอยของสารประกอบคือ โมเลกุล ซึงจะประกอบดวยอะตอมของธาตุองคประกอบ !
                                                    ่
          ในสดสวนท.่ี ...................!
               ั 
      5) ในปฏิกรยาเคมีใด ๆ อะตอมไมมการสูญหาย และไมสามารถทําให..................... แตอะตอมจะ
                      ิิ                    ี
          เกิดการจัดเรียงตัวกันเปนโมเลกุลใหมเกิดขึนเปนสารประกอบ
                                                        ้

1. ทฤษฎีอะตอมของดาลตันมีกี่ขอ ปจจบนพบวาเปนจรงเพยง 1 ขอ คือ ขอท.่ี ......... ซึ่งกลาว
                                                          ุ ั              ิ ี                                  
   วา............................ ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................

2. ทฤษฏีอะตอมของดาลตัน
    ขอ 1. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
            ิ
    ขอ 2. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
              ิ
    ขอ 3. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
                ิ
    ขอ 5. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
                  ิ
!



       การคนพบอิเล็กตรอน


    สมบัติของรังสีคาโทด
       1) ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสงได

!                                                                       "#!
Physics Online VI                  http://www.pec9.com                        บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
    2) เบียงเบนเขาหาขัวไฟฟา..............
             ่              ้
                                            แสดงใหรูวามีประจ!     ุ
    3) เบียงเบนในสนามแมเหล็กและ
           ่                                ไฟฟาเปน..............!                  ทอมสันเรียกกอน!
       ทศการเบยงเบนเปนไปตามกฎ............
         ิ           ่ี                                                              อนุภาคที่มีประจุ
    4) ไมสามารถทะลุ......................                                            เปนลบนี้วา!
        ทีขวางกัน! ! ! ! ! ! ! ! ! ! แสดงใหรวา ภายในรังสีคาโทด!
               ่   ้                          !      ู                              %%%%&&!
    5) หมน........................... ได
                 ุ                          ประกอบไปดวย.................!
                                                   !
          ทอมสันอธิบายสาเหตุการเกิดรังสีคาโทดวา เมื่อโลหะที่เปนขั้วคาโทดไดรับพลังงาน
ไฟฟาที่มีศักยสูง จะทําใหอเิ ล็กตรอนภายในอะตอมโลหะนันหลุดออกมา แลวเคลื่อนที่ไปยังขั้ว
                                                       ้
อาโนด (ขั้วบวก) ทอมสันจึงสรุปวา ในอะตอมจะตองมอเิ ลกตรอนเปนองคประกอบอยภายใน
                                                 ี ็                          ู

3. เมื่อรังสีคาโทดวิ่งผานขั้วไฟฟา จะเบนเขาหาขว.............
                                            ้ั
   เมอรงสคาโทดวงผานสนามแมเ หลกจะ...............
         ่ื ั ี      ่ิ               ็
   เมือรังสีคาโทด พุงชนโลหะบาง ๆ รังสีทะลุไปไดหรือไม.......
       ่
   เมอรงสคาโทดพงชนกงหน จะทําใหกังหัน........
         ่ื ั ี        ุ  ั ั
4. สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประจุเปนลบ .......................................
   สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รงสคาโทดมประกอบไปดวยกอนอนภาค ...............
                                        ั ี       ี                          ุ
5. ทําไมหลอดรังสีแคโทดจึงตองจัดใหเปนหลอดสุญญากาศหรือเกือบเปนสุญญากาศ
       ก. เพื่อใหสามารถมองเห็นลําแสงที่เกิดขึ้นไดชัดเจน
       ข. เพือลดความดันของอากาศในหลอด
              ่
       ค. เพื่อใหสนามไฟฟาระหวางขั้วหลอดคงที่
       ง. เพอชวยลดความรอนใหกบขวของหลอด
            ่ื                 ั ้ั
       จ. ปองกันไมใหรังสีแคโทดชนกับโมเลกุลของอากาศซึ่งจะทําใหเกิดรังสีไดนอย (ขอ จ.)
6. ถาปรับความตางศักยระหวางขั้วของหลอดรังสีแคโทดใหเพิ่มมากขึ้น จะมีผลตามขอใด
       1. จํานวนอนุภาคในลํารังสีแคโทดจะเพิ่มมากขึ้น
       2. อนภาคจะเคลอนทดวยความเรวมากขน
             ุ          ่ื ่ี           ็   ้ึ
       3. ความเขมของการสองสวางบริเวณขั้วบวกมากขึ้น
   คําตอบคือ                                                                      (ขอ ง.)
                                                                                    
       ก. ขอ 1 , 2 , 3         ข. ขอ 1 , 2    ค. ขอ 2 , 3      ง. ขอ 2 เทานน
                                                                              ้ั
!                                                "$!
Physics Online VI               http://www.pec9.com                 บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
     การทดลองหาคาความเร็วอิเล็กตรอน!




                                                                                             !

     เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งตัดสนามแมเหล็กพรอมกับสนามไฟฟา ดังรูป อิเล็กตรอนจะถูกแรง
     กระทํา 2 แรง คือ 1) แรงสนามไฟฟาที่มีทิศขึ้น           (F = qE)
                             2) แรงผลักสนามแมเหล็กมีทิศลง (F = qvB)
    หากแรงทั้งสองมีคาเทากัน อิเล็กตรอนจะเคลือนเปนเสนตรงอยูในแนวระดับ
                                              ่               
    จะไดวา F ลง =   F ขึ้น
             qvB =    qE              เมือ v คือ ความเร็วอิเล็กตรอน (m / s)
                                         ่
                v=    E
                      B                    E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N , m )C
                                                                               V
                v=     V   เพราะ E = V B คือ ความเขมสนามแมเหล็กไฟฟา (เทสลา)
                      dB             d
                                           V คือ ความตางศักยที่ใช (โวลต )
                                            D คอ ระยะหางของขวไฟฟาทใชดด e นน(m)
                                               ื               ้ั      ่ี  ู ้ ั
7. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 2x10–3 เทสลา และใช
   สนามไฟฟาความเขม 3x104 นวตน/คลอมบ ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหา
                              ิ ั ู
   ความเรวของอนภาครงสคาโทด
         ็     ุ ั ี                                                        (1.5x107 m/s )
วธทา
 ิี ํ




!                                           "'!
Physics Online VI               http://www.pec9.com                   บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
8. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 1x10–3 เทสลา และใช
   สนามไฟฟาที่เกิดจากเพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต
   ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหาความเรวของอนภาครงสคาโทด
                                               ็       ุ ั ี               (2x107 m/s )
วธทา
 ิี ํ




9. จงหาความเร็วอิเล็กตรอนที่วิ่งจากหยุดนิ่งผานความตางศักยไฟฟา 1500 โวลต
      กําหนด ประจอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C
                     ุ
               มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg                                 ( 2.3x107 m/s)
วิธทา
   ี ํ




10(En 32) ถาตองการเรงอนภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ที่มีประจุ 8 x 10–9 คูลอมบ
                     ุ
   จากสภาพหยดนงใหมอตราเรว 100 เมตร/วินาที จะตองใชความตางศักยเทาใด
                ุ ่ิ  ี ั ็
      1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต     3. 2.5 โวลต      4. 40 โวลต          (ขอ 3)
วิธทา
   ี ํ




!                                           "(!
Physics Online VI              http://www.pec9.com                  บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
    การทดลองหาคาประจุตอมวลของอิเล็กตรอน




    เมืออิเล็กตรอนเคลือนทีตดสนามแมเหล็กดวยความเร็ว จะเคลอนทโคงเปนรปวงกลม
       ่              ่ ่ ั                               ่ื ่ี   ู
               จาก     R = mvqB
                       q = v
                       m BR
      เมือ q คือ ประจของอเิ ลกตรอน 1 ตัว (C)
         ่            ุ      ็
           v คือ ความเร็วของอิเล็กตรอน (m/s)
           R คือ รศมวงโคจรอเิ ลกตรอน (m)
                  ั ี          ็
           m คือ มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว (kg)
           B คือ ความเขมสนามแมเหล็ก (เทสลา)
                                    q
   จากการทดลองของทอมสัน จะได m ของอิเล็กตรอนมีคา 1.76 x 1011 C/kg
                                                            
11. เมือยิงอิเลคตรอนความเร็ว 3x107 m/s พุงเขาตัดตั้งฉากกับสนามแมเหล็กความเขม 0.001
       ่
   เทสลา ทาใหอเิ ลคตรอนเคลอนเปนวงกลมรศมี 0.2 เมตร จงหาคาประจุตอมวลของอิเลค-
              ํ             ่ื              ั                          
   ตรอน                                                                  (1.5x1011 C/kg)
วธทา
 ิี ํ



12. จงหาความเร็วของ e เมื่อพุงผานสนามไฟฟาเขม 34 x 104 V/m และสนามแมเหล็กมี
   ความเขม 2 x 10–3 เทสลา แลวลํา e ยังคงแนวเดิมไว กําหนดใหแรงกระทําซึ่งเกิดจาก
   สนามไฟฟา และสนามแมเหล็กอยูในทิศตรงกันขาม
      ก. จงหาความเร็วของอิเลคตรอน
      ข. จงหารัศมีความโคงของ e เมือ e วิ่งตัดสนามไฟฟาออกไป
                                    ่
   กําหนด q/m ของ e = 1.76 x 1011 C/kg                         (17x107 m/s , 0.483 m)

!                                          ")!
Physics Online VI             http://www.pec9.com                  บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
วธทา
 ิี ํ




13. ในการทดลองของทอมสัน เพือหาคาอัตราสวนของประจุตอมวลอนุภาครังสีคาโทด ถาใช
                                ่                          
   เพียงสนามแมเหล็กเพียงอยางเดียว การเบี่ยงเบนของรังสี มรศมความโคง 0.114 เมตร และ
                                                          ีั ี     
   คาสนามแมเหล็กเทากับ 1 x 10–3 เทสลา ในสนามแมเหล็กเดียวกันถาใชสนามไฟฟาที่เกิดจาก
   เพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต ทําใหรังสีเดิมเปน
   เสนตรง จงหาคาประจุตอมวลของอนุภาคของรังสีคาโทด
                                                                    (1.75x1011 C/kg)
วธทา
 ิี ํ




14. ในการทดลองของทอมสันเพือวัดอัตราสวน q/m ของอนภาครงสแคโทด โดยใชสนาม
                              ่                             ุ ั ี              
   แมเหล็กสม่ําเสมอขนาด 1.5 x 10–3 เทสลา รศมความโคงของอนภาครงสแคโทดเทากบ
                                              ั ี                ุ ั ี           ั
   10 เซนตเิ มตร แตถาตอแผนโลหะทั้งสองซึ่งมีระยะหางกัน 1 เซนตเิ มตร เขากับความ
! ตางศักยไฟฟา 390 โวลต จะทาใหอนภาครงสแคโทดเคลอนทเ่ี ปนเสนตรง จงหาอัตรา!
                                ํ  ุ ั ี                ่ื      
! สวน q/m ของอนภาครงสแคโทด
                    ุ ั ี                                            (1.73x1011 C/kg)!
วธทา
 ิี ํ




!                                         "*!
Physics Online VI                             http://www.pec9.com                                    บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
15(En 43/1) อนุภาคที่มีประจุไฟฟาหลายอนุภาควิ่งผาน บรเิ วณสนามไฟฟาตงฉากกบสนามแมเ หลก!
                                                                   ้ั   ั           ็
   โดยทศทวงตงฉากกบสนามทงสอง อนุภาควิงไปโดยไมเบนจากแนวเดิม จะมีปริมาณใดเทากัน !
        ิ ่ี ่ิ ้ั    ั       ้ั           ่
! ! 1. ประจุ! ! ! 2. อัตราเร็ว! ! ! 3. มวล! ! 4. อัตราสวนประจุตอมวล! ! (ขอ 2.)!
                                                                       
วธทา
 ิี ํ
    การคนพบโปรตรอน
            Ergen goldstein นักฟสกสชาวเยอรมัน ไดทาการดดแปลงหลอดรงสคาโทด โดยจดให
                                     ิ                     ํ ั       ั ี          ั
 ขัวคาโทดอยูเ กือบตรงกลางและเจาะรูขวคาโทดไว
   ้                                      ้ั
 เมอตอความตางศกยสงเขาไป นอกจากจะมรังสคา
     ่ื            ั  ู                      ี ี
 แลว ยงจะมรงสอกชนดหนง วงยอนกลบมาหาขว
           ั ี ั ี ี ิ ่ึ ่ิ                ั       ้ั
คาโทด (ขัวลบ) รังสีนจะประกอบไปดวยอนุภาคที่
                 ้       ้ี
ประจบวก เรียกรังสีแคแนล(Canal ray) หรอ .............
         ุ                                     ื
! ! รังสีนเ้ี กิดจากอะตอมของกาซภายในหลอดถูกชนดวยอนุภาคอิเล็กตรอนทีพงมาจากขัวคาโทด!
                                                                          ่ ุ       ้
 ทําใหอะตอมของกาซอิเล็กตรอนในอะตอมไป แลวกลายเปนอนุภาคทีมประจุ..............อนุภาคนีก!
                                                                     ่ ี                    ้็
จะวงเขาหาขวคาโทดอนเปนขวลบนนเอง!
       ่ิ  ้ั              ั  ้ั     ่ั
     การทดลองนีทาใหเชือวาในอะตอมตองมีอนุภาคไฟฟาบวกอยูดวยเรียกอนุภาคบวกนีวา.................!
                    ้ ํ      ่                                                ้
 *หากเปลยนชนดกาซทบรรจอยในหลอด แลวทดลองหาคาประจุตอมวล (q/m) จะพบวาอนภาครงสี
              ่ี     ิ  ่ี ุ ู                                               ุ ั
  บวกของกาซแตละชนิดจะมีคา q/m ไมเทากัน ทังนีเ้ พราะกาซแตละชนิดจะมีมวลไมเทากันนันเอง
                                                       ้                              ้
16. รงสแคแนลเกดจาก ............. ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... .......
     ั ี      ิ
17. การคนพบรงสแคแนลทาใหเ รารจกอนภาคมลฐานในอะตอมตวหนง คือ ......... .........
           ั ี          ํ            ู ั ุ             ู                           ั ่ึ
18. รังสีแคแนลมีคาประจุตอมวลไมคงที่ เพราะ ......... ......... ......... ......... ......... ......... .............
    แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
        จากการทดลองของทอมสัน, โกลดสไตน และนักวิทยาศาสตรอีกหลายทาน ทาใหเ ชอวา
                                                                       ํ      ่ื 
ในอะตอมใดๆ จะตองประกอบดวยอนภาคทมประจบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ
                                  ุ    ่ี ี   ุ
(อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงไดเสนอแบบจําลองของอะตอมเอาไววา     
     “ อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบไปดวยโปรตรอน
                                              
 ซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไป
อยางสม่ําเสมอและในอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟาจะมีจํานวน
โปรตรอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอน ”
!                                                               "+!
Physics Online VI                               http://www.pec9.com                                      บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
19. จงวาดรูป แบบจาลองอะตอมของดาลตน
                 ํ               ั                                                แบบจาลองอะตอมของทอมสน
                                                                                      ํ               ั
!
!
!
!
!
!
20. ตามแบบจาลองอะตอมของทอมสน ขอใดกลาวถูกตอง
              ํ                   ั
      1. อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม โดยเนือของทรงกลมเปนประจุบวกกระจายอยาง
                                            ้
         สม่ําเสมอและมีอิเล็กตรอนฝงอยูในเนื้อทรงกลม
      2. ปริมาณประจุบวกและปริมาณประจุลบมีจํานวนเทากัน
      3. ในสภาพปกติอะตอมเปนกลางทางไฟฟา
      4. ถูกทุกขอ                                                     (ขอ 4.)
                                                                         
วธทา
 ิี ํ

    การคนพบนวตรอน
           ิ
     ป พ.ศ. 2473 W.Bothe และ H.Becker
นกเคมชาวเยอรมนไดทาการทดลองใชอนุ
    ั ี             ั  ํ                  
ภาคอัลฟายิ่งแผนโลหะแบริลเลียม ปรากฏ                                                                                             !
วาเกิดรังสีซึ่งไมมีประจุชนิดหนึ่งที่มีอํานาจทะลวงไดดี และรังสีนี้เมื่อชนกับโมเลกุลของพารา
ฟนจะไดโปรตรอนออกมา ตอมาในป พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ไดเ สนอวารงสนตอง
                                                                                ั ี ้ี 
ประกอบดวยอนุภาคและใหชื่อวา นิวตรอน และไดทําการพิสูจนไดวานิวตรอนไมมีประจุ และ
คานวณมวลนวตรอนไดคาใกลเ คยงกบมวลของโปรตรอน
  ํ              ิ               ี ั
21. จงเติมคําลงในชองวางใหสมบูรณ



      รังสี.................          รังสีมมวลใกลกบ................!
                                              ี            ั                         อนภาค................!
                                                                                           ุ
                                           มีประจ.ุ ...............!
                        แผน................!                        แผน................!
!                                                                 ",!
Physics Online VI              http://www.pec9.com                  บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
    ตอนที่ 2 การทดลองของมิลลิแกน!
    การทดลองหาคาประจุอิเล็กตรอนของมิลลิแกน (Robert A. Millikan)
   จากอุปกรณการทดลองดังรูป เมื่อผานละอองฝอยน้ํามันลงไประหวางขั้วไฟฟา หยดน้ํามัน
เล็ก ๆ บางหยดจะมีประจุบวก บางหยดจะมีประจุลบ พวกที่มีประจุบวกจะตกลงเบื้องลางอยาง
รวดเรว บางหยดที่มีประจุเปนลบขนาดเหมาะสม จะลอยอยูนิ่ง ๆ ไดอยางสมดุล
      ็

   พิจารณาเฉพาะหยดที่อยูนิ่ง ๆ
         จาก Fขึ้น = Fลง
                   qE = mg
                 neE = mg เพราะ q = ne
                   ne = mg   E
   เมือ q คือ ประจรวมทงหมดในหยดนามน(C) n คือ จานวนอเิ ลกตรอน
       ่                ุ       ้ั          ํ้ ั              ํ     ็
           e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน 1 ตัว                m คือ มวลของหยดน้ํามันทั้งหมด (kg)
          E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C)
              จากการทดลองจะได ne = จํานวนเต็ม x 1.6 x 10–19 C
                               เชน ne = 1 x 1.6 x 10–19 C
                                   
                                     ne = 2 x 1.6 x 10–19 C
                                     ne = 3 x 1.6 x 10–19 C
   จึงสรุปวา อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ สวนจํานวนเต็มคูณอยู ก็คือ
   จานวนอเิ ลกตรอนนนเอง
     ํ           ็        ่ั
22. หยดนามนอนมจานวนอเิ ลคตรอนมากกวาจานวนโปรตรอนอยู 5 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg
            ํ้ ั ั ี ํ                          ํ
   ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีสนามไฟฟาเขม 2x104
   โวลตตอเมตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว
                                                                           (1.6x10–19 C)
วธทา
 ิี ํ




!                                          #-!
Physics Online VI              http://www.pec9.com                  บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
23. หยดนามนอนมจานวนอเิ ลคตรอนมากกวาจานวนโปรตรอนอยู 10 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg
        ํ้ ั ั ี ํ                        ํ
   ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีความตางศักย 100 โวลต
   ระยะหางระหวางขั้วไฟฟา 1 เซนตเิ มตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว (1.6x10–19 C)
วธทา
 ิี ํ




24(มช 36) ในการทดลองของมิลลิแกนเมื่อทําใหหยดน้ํามันมวล 1.6 x 10–14 กิโลกรัม ลอย
   หยุดนิ่งระหวางแผนโลหะขนานซึ่งวางหางกัน 1 ซม. โดยแผนบนมีศักยไฟฟาสูงกวาแผน
   ลางเทากับ 392 โวลต ถาความเรงเนองจากแรงดงดดของโลกเทากบ 9.8 m/s2 และ
                                    ่ื         ึ ู            ั
   อิเลคตรอนมีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ จงคํานวณหาวาหยดน้ามันนีมอเิ ลคตรอนแฝงอยูกตว
                                                        ํ     ้ ี                  ่ี ั
       1. 25            2. 50             3. 250           4. 500            (ขอ 1.)
                                                                                
วธทา
 ิี ํ




25. ในการหยดน้ํามันของมิลลิแกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็กตรอน
   เกาะติดอยู n ตัว ลอยนงอยระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกันเปนระยะทาง
                         ่ิ ู       
! d และมีความตางศักย V ประจของอเิ ลกตรอนทคานวณไดจากการทดลองนจะมคาเทาใด
                                  ุ     ็      ่ี ํ                    ้ี ี  
      ก. mgd
          nV             ข. mgVnd         ค. nmgd
                                               V            ง. nmgVd           (ขอ ก.)
                                                                                 
วธทา
 ิี ํ




!                                          #"!
Physics Online VI                 http://www.pec9.com                    บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
26. หยดน้ํามันมีความหนาแนน 400 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร มปรมาตร 2.5x10–12 ลูกบาศก–
                                                       ี ิ                       
   เมตร ลอยนิ่งอยูในสนามไฟฟาขนาดสม่ําเสมอ 4x105 นิวตัน/คูลอมบ จงหาขนาดของ
   ประจุบนหยดน้ํามัน                                                  (2.5x10–14 C)
วธทา
 ิี ํ




27. ในการทดลองหยดน้ํามันของมิลลิแกนนั้นพบวา เมื่อเพิ่มคาความตางศักยจนถึงคาสูงสุดของ
   เครื่องมือแลวไมสามารถทําใหหยดน้ํามันหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ในทิศตรงขามกับเมื่อยังไมให
   คาความตางศักยแสดงวา
       1. หยดน้ํามันมีมวลมากเกินไป
        2. หยดน้ํามันมีประจุชนิดหนึ่งทําใหแรง เนืองจากสนามไฟฟามีทศทางเดียวกับแรงโนมถวงโลก
                                                  ่                ิ
        3. สนามไฟฟามีคานอยเกินไป
        4. ถูกทุกขอ                                                                   (ขอ 4.)
                                                                                         
วธทา
 ิี ํ
                       !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""                     !

    ตอนที่ 3 สญลกษณแทนอะตอม แบบจาลองอะตอมของรทเทอรฟอรด
              ั ั              ํ            ั     
    แบบจาลองอะตอมของรทเทอรฟอรด!
        ํ            ั     
    หากเปนไปตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน
รงสเี กอบทงหมดตองเบยงเบนการเคลอนท่ี เพราะ
 ั ื ้ั            ่ี            ่ื
เกิดแรงผลักระหวางประจุบวกของรังสีอัลฟา กับ
โปรตรอน และหากรังสีอลฟาพุงชนโปรตรอนจะ
                        ั    
ทาใหโปรตรอนกระเดนไปเพราะรงสีอลฟามมวล
  ํ                 ็         ั ั     ี
มากกวา รังสีอัลฟาจะไมสะทอนกลับออกมาเลย
!




!                                             ##!
Physics Online VI                                   http://www.pec9.com                                            บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
     ผลการทดลองจริงเปนดังรูป
     รทเทอรฟอรดอธิบายวา
      ั                 
        1. จริง ๆ แลวอะตอมจะมีโปรตรอนทังหมดจะรวมตัวกันอยูในพืนทีเ่ ล็ก ๆ ตรงกลาง
                                             ้                       ้
           อะตอมเรียกวา นิวเคลียส สวนอเิ ลกตรอนจะอยรอบนอกนวเคลยสระหวางนวเคลยส
                                              ็            ู       ิ ี           ิ ี
           กับอิเล็กตรอนจะเปนทีวาง ซึ่งจะกวางมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส รังสีแอลฟา
                                 ่
           สวนมากจะผานชองวางนไปจงเคลอนทเ่ี ปนเสนตรง
                          ้ี ึ ่ื                
        2. รังสีแอลฟา สวนนอยจะวิ่งเฉี่ยวนิวเคลียส ทําใหเกิดแรงผลักแลวเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่
        3. รังสีแอลฟาสวนนอยที่สุดจะชนนิวเคลียสตรงๆ แลวรังสีแอลฟาจะสะทอนกลับ เพราะ
           มีมวลนอยกวานิวเคลียส ซงมโปรตรอนรวมอยภายในอยางมากมาย
                                    ่ึ ี                 ู       
        แบบจาลองอะตอมแบบน้ี เรียก แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด
                ํ
28. ถาเชื่อวาอะตอมเปนไปตามแบบจําลองของทอมสัน เมื่อยิงรังสีอัลฟาเขาไปในอะตอมของ
   ทองคา รังสีสวนมากจะเคลื่อนที่ .......................................... ทั้งนี้เพราะเกิดแรงผลักระหวาง
           ํ
   ประจุบวกของอนุภาคอัลฟา กับ ......... ......... .... ในนิวเคลียส
29. จากการทดลองยิงรังสีอัลฟากระทบอะตอมทองคํา พบวารังสีสวนมากจะเคลื่อนที่เปนเสนตรง
   เพราะ ............................................................................................................................................
   รังสีสวนนอยจะ ............................เพราะ ................ .......... .......... .......... .......... .......... ............
   และรังสีสวนนอยที่สุดจะ ..................................เพราะ .......... .......... .......... .......... .......... .........
30(En 36) การที่รัทเทอรฟอรดทําการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบางแลว พบวา
   โครงสรางของอะตอมไมเ ปนไปตามแบบของทอมสน เนืองจากรัทเทอรฟอรดพบวา (ขอ 4.)
                                               ั ่                          
      1. อนุภาคแอลฟาเกือบทั้งหมดเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ และบางทีมีการสะทอนกลับ
      2. อนุภาคแอลฟาเบนไปจากแนวเดิมทุกทิศทางเทา ๆ กัน
      3. อนุภาคแอลฟาทั้งหมดวิ่งทะลุผาน แผนทองไปในแนวเกือบเปนเสนตรง
      4. อนุภาคแอลฟาบางสวนเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ ทงทสวนใหญผานไปในแนวตรง
                                                        ้ั ่ี     
31. ตามแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ขอใดกลาวถูกตอง
          1. อะตอมมีลกษณะเปนทรงกลม มีนวเคลียสอยูทจดศูนยกลาง มีอเิ ล็กตรอนเคลือนอยูรอบๆ
                       ั                   ิ        ่ี ุ                      ่    
             นิวเคลียส
          2. ภายในนิวเคลียสจะมีอนุภาคทีมประจุไฟฟาบวกรวมกันอยู
                                       ่ ี

!                                                                       #$!
Physics Online VI                http://www.pec9.com                    บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
      3. เนือทีสวนใหญภายในอะตอมเปนทีวางเปลา
              ้ ่                     ่
      4. เมือยิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในอะตอมของทองคํา อนภาคแอลฟาไมมโอกาสทจะ
            ่                                       ุ          ี    ่ี
          สมผสนวเคลยสเลยเพราะจะเกดการเบยงเบนออกจากนวเคลยส
           ั ั ิ ี                  ิ     ่ี          ิ ี
      5. ถูกทุกขอ                                                      (ขอ 5.)
                                                                          
32. จงวาดรปแบบจาลองอะตอมของ
          ู       ํ
            ดาลตัน          ทอมสัน                               รัทเทอรฟอรด
!
!
!
33(En 42/1) ถายิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในนิวเคลียสของ
   โลหะทางเดนของอนภาคแอลฟาทเ่ี ปนไปได คือ
              ิ         ุ           
      1. ก และ ง เทานน ้ั       2. ข และ ค เทานน ้ั
      3. ก , ค และ ง เทานน  ้ั  4. ก, ข , ค และ ง                                    (ขอ 1.)
                                                                                        
วธทา
 ิี ํ
34. มอนภาคแอลฟาวงตรงเขาสนวเคลยสของอะตอมทองคา อนุภาคแอลฟาจะหยุดนิ่งก็ตอ
        ี ุ            ่ิ     ู ิ ี            ํ
   เมืออนุภาคนัน
      ่           ้                                                      (ขอ 4.)
                                                                           
         1. มีพลังงานรวมเปนศูนย           2. กระทบผิวนิวเคลียส
         3. กระทบกบอเิ ลกตรอนในชนใดชนหนง 4. มีพลังงานศักยเทากับพลังงานจลนเดิม
                    ั ็            ้ั ้ั ่ึ
วธทา
 ิี ํ
35(En 39) รังสีแอลฟาเคลื่อนที่เฉียดนิวเคลียสของทองคํา พลังงานจลนของรังสีแอลฟา
   ณ. ตําแหนงที่เขาใกลนิวเคลียสของทองคํามากที่สุดมีคา                      (ขอ 1.)
                                                                                 
      1. ศูนย              2. มากทีสด
                                    ่ ุ          3. เทาเดิม   4. นอยทีสด
                                                                        ่ ุ
วธทา
 ิี ํ
36. อนุภาคแอลฟาถูกเรงดวยความตางศักยกี่โวลต เมื่อวิ่งตรงไปยังนิวเคลียสของทองคํา (79Au )
   ไดมากที่สุด 7.9 x 10–15 เมตร                                             (1.44x107 โวลต)
วธทา
 ิี ํ


!                                            #'!
Physics Online VI            http://www.pec9.com                    บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
     ตอนที่ 4 แบบจาลองอะตอมของโบร (1)
                  ํ
!      !


  โบร ไดเสนอแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมาโดยนําแนวคิดเรื่องควอนตัมของพลังงาน
ของพลงคมาใชกบแบบจาลองอะตอมของรทเทอรฟอรด พรอมทังเสนอสมมติฐานขึนใหม 2 ขอ คือ!
      ั  ั            ํ                  ั            ้                ้
! ! 1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เปนวงกลมรอบนิวเคลียสจะมีวงโคจรบางวงที่อิเล็กตรอนไมแผ!
         รังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา ในวงโคจรดังกลาวอิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุม (L)
         คงตว และโมเมนตัมเชิงมุมนี้มีคาเปนจํานวนเต็มเทาของคาตัวมูลฐานคาหนึ่งคือ h
              ั
                                             h
         (อานวา เอซบาร) ซึ่งมีคาเทากับ 2π
         ดังนั้น สําหรับอิเล็กตรอนมวล m ทเ่ี คลอนทรอบนวเคลยสในวงโคจรรศมี r
                                                ่ื ่ี    ิ ี                 ั
         โดยมีอัตราเร็วเชิงเสน v ตามสมมติฐานขอนี้จะไดวา
                          L = mvr = n h
         เมือ n เปนเลขจานวนเตมบวก 1, 2, 3, .... ในที่นี้เรียกวา เลขควอนตัม ของวงโคจร
            ่              ํ       ็
     2. อิเล็กตรอนจะรับหรือปลอยพลังงานออกมา เมือมีการเปลียนวงโคจรตามขอ 1.
                                                      ่         ่
         พลังงานที่อิเล็กตรอนรับหรือปลอยออกมาจะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา
    รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร
      1. สตรหารศมวงโคจรของอเิ ลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน
          ู      ั ี
         rn = h 2 2 n 2
                mke
            =            (1.05x10−34 )2          n2
               (9.1x10−31 )(9x109 )(1.6x10−19 )2
         rn = 5.3 x 10–11 n2
   เมือ rn คือ รัศมีวงโคจรที่ n (เมตร)
      ่
         h = 2π = 6.6x10−34 = 1.05 x 10–34 J.s
                  h
                              2π
         m คือ มวลของอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 kg
         k = 9 x 109 N/m2 / c2
         e = ประจอเิ ลกตรอน = 1.6 x 10–19 C
                     ุ ็
         n คือ ลําดับของวงโคจร
37(มช 34) รัศมีวงโคจรที่สองจากในสุดของอะตอมไฮโดรเจนมีคาเทากับ..................เมตร
วธทา
 ิี ํ

!                                            #(!
Physics Online VI                http://www.pec9.com                       บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
38(En 41) ในแบบจําลองอะตอมไฮโดรเจนของโบรรัศมี วงโคจรของอเิ ลกตรอนในสถานะ
                                                             ็
   n = 4 เปนกเ่ี ทาของรศมวงโคจรในสถานะ n = 1
                     ั ี                                            (16 เทา)
                                                                            
วธทา
 ิี ํ




    2. สูตรหาพลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรตางๆ ของอะตอมไฮโดรเจน
    เนองจาก พลงงานรวมของอเิ ลคตรอน = พลังงานศักยไฟฟา + พลงงานจลนของอเิ ลคตรอน
      ่ื      ั                                            ั             ็
                                     En = – k e2 +       1 k e2
                                               r         2 r
                                                n            n
                                     En = –   1 k e2
                                                                    เมือ rn = h 2 2 n 2
                                                                       ่
                                              2 r                             mke
                                                  n
                                     En = –   1 mk 2 e4
                                              2 n2h2
                                              E1
                          หรือ       En =
                                              n2
    เพราะ – 1       mk 2 e4   = –1   (9.1x10 - 19 )(9x10 9 )2 (1.6x10 - 19 )4
            2         h2         2
                                                 (1.05x10 - 34 )2
                               = –21.76x10–19 จล ู
                               = –13.6 อเิ ลคตรอนโวลต
      พลงงานจานวนนคอพลงงานรวมของอเิ ลคตรอนซงอยในวงโคจรท่ี 1 เรียก E1
         ั       ํ      ้ี ื ั                         ่ึ ู
                                        E1
      สรุปไดวา                En = 2
                                        n
           เมือ En คือ พลงงานอเิ ลกตรอนในวงโคจรท่ี n (อิเล็กตรอนโวลต , eV)
               ่             ั        ็
                   E1 คือ พลังงานของอิเล็กตรอนไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 คือ –13.6 eV
              ** พลงงาน (En) มีคาเปนลบ มีความหมายวา อิเล็กตรอนถูกนิวเคลียสยึดไว **
                   ั
!                                             #)!
Physics Online VI                 http://www.pec9.com                     บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
39. จากทฤษฏีอะตอมของโบร
    พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4)       =   …………………………………
    พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 3 (E3)       =   …………………………………
    พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2)       =   …………………………………
    พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 (E1)       =   …………………………………

    สถานะพื้น (ground state), สถานะกระตุน (excited state)
    หากเราคานวณหาพลงงานของอเิ ลกตรอน
               ํ           ั            ็
อะตอมไฮโดรเจนในแตละวงโคจรจะไดดงรูป         ั
    จะเหนวาในวงโคจรท่ี 1 (ในสุด) อิเล็กตรอน
         ็ 
จะมีพลังงานต่ําสุดและชั้นนอกถัดๆ ออกไป
อิเล็กตรอนจะมีพลังงานสูงขึ้นตามลําดับ
    ปกติอเิ ล็กตรอนชอบทีจะอยูวงโคจรในสุด
                             ่ 
อันเปนชั้นที่มีพลังงานต่ําสุด จะทําใหเกิดความ
เสถียรภาพมากที่สุด เรียกสภาวะนี้วา สภาวะพื้น
 (ground State)                                                                                 !
    หากอเิ ลกตรอนไดรบพลงงานจะเคลอนไป
             ็         ั ั               ่ื
 อยูในวงโคจรที่สูงกวาเดิมสภาวะเชนนี้เรียก
 สภาวะกระตุน (excited state)
    สภาวะถูกกระตุนเปนสภาวะไมเสถียรอิเล็กตรอนจะคายพลังงาน ซึ่งมีมากเกินไปทิ้งแลว
  เคลื่อนลงมาอยูในชั้นที่ต่ํากวาพลังงานที่คายออกมานั้น จะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา

40. ปกตแลวอเิ ลคตรอนจะอยในวงโคจรทมพลงงานตาสด เรียกภาวะนี้วา .............................
       ิ               ู       ่ี ี ั  ํ่ ุ
41. หากอเิ ลคตรอนดดพลงงาน จะเคลื่อนจากชั้น..............ไปสูชั้น........... ภาวะทีอเิ ลคตรอน
                   ู ั                                                             ่
   มีพลังงานมากกวาปกติเชนนี้เรียก .....................................
42. หากอเิ ลคตรอนจะเคลอนทจากชนบน ลงมาสูชั้นที่ต่ํากวา อิเลคตรอนจะตอง....................
                      ่ื ่ี ้ั
43. พลงงานทอเิ ลคตรอนคายออกมาจะอยในรปของ....................................
      ั    ่ี                    ู ู


!                                              #*!
Physics Online VI               http://www.pec9.com                                 บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
       สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน




44. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตองและสมบูรณ
      ( เกียวกับการเปลียนวงโคจรของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน )
            ่           ่
                  การเคลื่อน   e     คลื่นแมเหล็กไฟฟา                อนุกรม
                 บน →           1    ...............................   ..............
                 6 →           2     ...............................
                 5 →           2     ...............................   ..............
                 4 →           2     ...............................
                 3 →           2     ...............................
                 บน →           3    ...............................   ..............
                 บน →           4    ...............................   ..............
                 บน →           5    ...............................   ..............
45. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดใด ที่ปลดปลอยพลังงานโฟตอนเปนอัลตราไวโอเลต
      ก. อนุกรมไลมาน                       ข. อนุกรมบาลมเมอร
      ค. อนุกรมพาสเซน                      ง. อนกรมแบรกเกต
                                                 ุ                      (ขอ ก.)
                                                                          
!




!                                                      #+!
Physics Online VI            http://www.pec9.com                 บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
46. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดแบรกเกตใหพลังงานในระดับรังสีใด                       (ขอ ข.)
                                                                                    
     ก. อัลตราไวโอเลต ข. อินฟาเรด            ค. รังสีเอกซ           ง. แสงที่ตาสัมผัสได
47. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดทีตามองเห็นได
                                   ่                                               (ขอ ข.)
                                                                                     
      ก. ชุดไลมาน      ข. ชดบาลมเมอร
                           ุ              ค. ชุดพาสเซน              ง. ชุดฟุนต
48. สเปคตรมทไดจากอะตอมของธาตตาง ๆ จะ
            ั ่ี                 ุ 
      ก. เหมือนกันสําหรับธาตุทุกธาตุ
      ข. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแตละธาตุ
      ค. จะไดเปนแถบสวางเสมอ
      ง. ไดเปนเสนมืดเสมอ                                                        (ขอ ข.)
                                                                                     
49(มช 32) ภาพของอะตอมจากทฤษฎีของเบอร (Bohr) คือ
! ! ก. อิเล็กตรอนจะวิงวนรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไมแผคลืนแมเหล็กไฟฟาออกมา
                        ่                                      ่
    ข. อเิ ลกตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเปนเสมือนกลุมหมอกทีหอหุมนิวเคลียสอยูทใดมีหมอกหนา
              ็                                     ่               ่ี
       แนนมากจะมโอกาสพบอเิ ลกตรอน ณ. ทนนมาก!
                     ี          ็          ่ี ้ั
    ค. อิเล็กตรอนวิงวนรอบนิวเคลียสดวยระยะหางจากนิวเคลียสมาก เมือเทียบกับขนาดนิวเคลียส
                   ่                                             ่
    ง. อิเล็กตรอนทีอยูรอบนิวเคลียสมีสมบัตคลืนนิง
                     ่                  ิ ่ ่                                  (ขอ ก.)
                                                                                  
                        !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""



ตอนที่ 5 แบบจาลองอะตอมของโบร (2)
             ํ
!




     การคํานวณหาพลังงาน ความถี่ ความยาวคลื่น แมเหล็กไฟฟา
             ∆E = Ef – Ei             เมือ ∆E คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลง (eV)
                                         ่
         ∆E  = hf e                             หากมีคาบวกจะเปนการดูดพลังงาน
                           34
    หรือ ∆E  = 6.6x10−19 f                      หากมีคาลบจะเปนการคายพลังงาน
                   1.6x10 −

         ∆E  = 4.125 x 10–15 f            Ef คือ พลังงาน e ในวงโคจรสดทาย  ุ 
         ∆E  = hc                         Ei คือ พลังงาน e ในวงโคจรเรมตน่ิ 
                  eλ
                           −34 )(3x108 )
         ∆E  = (6.6x10 −19                h คือ คาคงที่ของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s
                      (1.6x10 ) λ

!                                            #,!
Physics Online VI                http://www.pec9.com                  บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
        ∆E  = 1237.5x10 9  −
                                              f คือ ความถี่คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Hz)
                     λ
                                              e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 C
                                              c คอ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3x108 m/s
                                                 ื
                                              λ คือ ความยาวคลื่น (m)
              1 =R 1-1                 เมือ R คือ คาคงตวของรดเบอรก = 1.097 x 107 m–1
                                          ่          ั          ิ   
              λ    n2 n2
                    f i
                                            nf คือ ลําดับชั้นสุดทาย
                                            ni คือ ลาดบชนเรมตน!
                                                     ํ ั ้ั ่ิ 
50. จงหาพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = ……………………..
      และพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = ……………………..
วธทา
 ิี ํ

51. จากขอที่ผานมา หากอเิ ลคตรอนเคลอนจากชนท่ี 4 มาสูชั้นที่ 2 จะคายพลังงานออกมา
                                    ่ื    ้ั
      กอเิ ลคตรอนโวลต
       ่ี                                                                   ( 2.55 eV )
วธทา
 ิี ํ

52(En 40) พลงงานตาสดของอเิ ลกตรอนในอะตอมไฮโดรเจนคอ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถา
              ั     ํ่ ุ       ็                        ื
   อิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสูสถานะ n = 2 จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัมเทาใด
       1. 1.51 eV        2. 1.89 eV          3. 3.40 eV         4. 4.91 eV (ขอ 2.)
                                                                                
วธทา
 ิี ํ




53. จากขอที่ผานมา พลังงานที่คายออกมา จะมีความยาวชวงคลื่นเทาใด          (651.3 nm)
วธทา
 ิี ํ


!                                            $-!
Physics Online VI             http://www.pec9.com                 บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
54. ถาอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานเดิมจาก E3 มายัง E1 จะปลดปลอยโฟตอนที่มีพลังงาน
   เทาใด และความยาวชวงคลื่นมีคาเทาใด                 (12. 09 eV, 1.02x10–7 m)
วธทา
 ิี ํ




55(En 41/2) ตามทฤษฎีอะตอมของโบรระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนต่าสุดเทากับ
                                                                     ํ
   –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปอยูที่ระดับพลังงานสูงขึ้น และ
   กลับสูสถานะพื้นที่มีพลังงานต่ําสุดโดยการปลอยโฟตอนออกมาดวยพลังงาน 10.20 อิเล็ก–
   ตรอนโวลต แสดงวาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปที่ระดับพลังงานที่ n เทากับเทาใด
      1. 2                    2. 4                3. 8           4. 16         (ขอ 1.)
                                                                                 
วธทา
 ิี ํ




56. ในการกระตนใหอะตอมไฮโดรเจนทระดบพลงงานตาสด(–13.6 eV) ไปอยูที่ระดับพลังงาน
               ุ                  ่ี ั ั      ํ่ ุ
   กระตนท่ี 3 ตองใหโฟตอนที่มีพลังงานเทาไร
        ุ
      1. 0.85 eV         2. 1.51 eV          3. 12.09 eV 4. 12.75 eV (ขอ 3.)
                                                                         
วธทา
 ิี ํ




!                                         $"!
Physics Online VI              http://www.pec9.com                    บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
57(En 34) สมมติวาแผนภาพแสดงระดับพลังงานของอะตอม
   ชนิดหนึงเปน ดังรูป ใหหาคาความยาวคลื่นของคลื่นแมเหล็ก
             ่
   ไฟฟาทจะทาใหอะตอมในสถานะพนฐานแตกตวเปนไอออน
           ่ี ํ                    ้ื        ั 
                                                                 .!                !
   ไดพอดี
      1. 62 nm            2. 100 nm           3. 210 nm         4. 310 nm          (ขอ 1.)
                                                                                     
วธทา
 ิี ํ




58. ในการเคลือนยายอิเลคตรอนของอะตอมของไฮโดรเจนจากวงโคจรที่ 4 ลงสูวงโคจรที่
               ่
   ต่ํากวาสเปกตรัมเสนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมีพลังงานเทาใด
        1. 0.66 eV         2. 0.85 eV              3. 10.20 eV      4. 12.75 eV (ขอ 4.)
                                                                                  
วธทา
 ิี ํ




59(มช 33) จงคํานวณหาความยาวคลื่นยาวที่สุด และสนทสดในอนกรมไลแมนของไฮโดรเจน
                                               ้ั ่ี ุ    ุ
   สเปคตรัม (ตอบในหนวยองสตรอม)
                       ั                                                 (ขอ ข.)
                                                                            
      ก. 1215 , 952  ข. 1215 , 912          ค. 1415 , 912   ง. 1415 , 952
วธทา
 ิี ํ




!                                          $#!
Physics Online VI             http://www.pec9.com                  บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
60. จงหาความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในอนุกรมไลมาน เมือกําหนดให k เปนคานิจของริดเบอรก
                                                 ่
      1. 1
         k              2. k                3. 3k  4
                                                                  4
                                                              4. 3k            (ขอ 4.)
                                                                                 
วธทา
 ิี ํ



61(En 42/2) อะตอมไฮโดรเจนเปลียนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1 ความยาวคลื่นของ
                                 ่
   แสงที่ปลอยออกมาเปนกี่เทาของในกรณีที่เปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4 ถึง n = 2
      1. 1 เทา
          4           2. 1 เทา
                             2                 3. 2 เทา
                                                               4. 4 เทา
                                                                               (ขอ 1.)
                                                                                  
วธทา
 ิี ํ




62. ในชวงระดบพลงงานตาสดสามระดบแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ตรวจ
             ั ั         ํ่ ุ     ั
   พบจะอยูในชุดความถี่ที่เรียกวา                                   (ขอ 1.)
                                                                       
      1. ชุดไลมาน และ ชุดบาลเมอร   2. ชุดไลมาน และชุดพาสเซน
      3. ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน   4. ชุดไลมาน ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน
วธทา
 ิี ํ
63(มช 45) ถาใชอนุภาคอิเล็กตรอนพลังงาน 19.5 x 10–19 จล ยิงใสอะตอมไฮโดรเจนจะ
                                                       ู
   กระตุนใหเกิดสิ่งใด                                                    (ขอ 2.)
                                                                             
      1. เสนสเปกตรมทกเสนนบตงแตอนกรมบลเมอรขนไป
                        ั ุ  ั ้ั  ุ    ั       ้ึ
      2. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 1 เสน
      3. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 2 เสน
      4. เสนสเปกตรมของอนกรมบลเมอร 1 เสน และของอนกรมพาสเซน 2 เสน
                      ั       ุ   ั                     ุ
วธทา
 ิี ํ
!                                         $$!
Physics Online VI                  http://www.pec9.com                      บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
    ตอนที่ 6 รงสเี อกซ การทดลองของพลังคและเฮิรตซ
              ั ็
    หลอดรังสีเอกซ (X – rays tube)
       หลอดรังสีเอ็กซเปนเครื่องมือผลิตรังสีเอ็กซมีสวนประกอบสําคัญ ดังรูป ขั้วไฟฟา C จะ
ถูกทําใหรอน โดยผานกระแสไฟฟาจาก
                     
ความตางศักย V1 อเิ ลกตรอนซงหลด
                          ็      ่ึ ุ
จากขั้วไฟฟา C (แคโทด) จะถูกเรงใหมี
ความเรวสง โดยสนามไฟฟาจากความ
        ็ ู
ตางศักย Vo ซึ่งมีคาสูง และชนเปาโล
หะ A (แอโนด) ทําใหเกิดรังสีเอ็กซขึ้น
!
    สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ
       สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ มี 2 แบบ                                                             !
    1) สเปกตรัมแบบตอเนือง (continuous X - ray) ในหลอดรังสีเอ็กซ อเิ ลกตรอนทวงเขาชน
                           ่                                                    ็      ่ี ่ิ 
       กับอะตอมของเปาอิเล็กตรอนจะสูญเสียพลังงานจลน โดยแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาในรูป
       รังสีเอ็กซออกมาเปนผลใหตัวมันเองเคลื่อนที่ชาลง เนืองจากจํานวนอิเล็กตรอนทีชน
                                                                ่                           ่
       เปามีมากมายและแตละตัวมีการสูญเสียพลังงานคาตางๆ กัน ดงนนรงสเี อกซทแผออก
                                                                           ั ้ั ั ็  ่ี 
       มาจะมสเปกตรมแบบตอเนองอเิ ลกตรอนบางตวอาจชนกบอะตอมของเปาโดยตรงและ
               ี      ั        ่ื        ็              ั         ั              
       หยุดลงทันที ในการนี้พลังงานจลนทั้งหมดของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนเปนพลังงานคลื่น
       แมเหล็กไฟฟา ซึ่งอยูในรูปรังสีเอ็กซที่มีความถี่สูงสุด (fmax) เนื่องจากพลังงานมีคาสูงสุด
       ไดจากการผานความตางศักย Vo
       การคํานวณหาความถี่สูงสุดของรังสีเอ็กซ
          เนืองจากอิเล็กตรอน จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา (รังสีเอ็กซ)
             ่
               จงไดวา
                ึ           W = E คลื่นแมเหล็กไฟฟา
                             eV = hf
                  หรือ      eV = hc
                                     λ
                  เมือ e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน (1.6 x 10–19 C)
                     ่
                       V คือ ความตางศกยทใชเ รงอเิ ลกตรอน(โวลต)
                                    ั  ่ี  ็
!                                               $'!
Physics Online VI                http://www.pec9.com                 บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
                    h   คือ   คานิจของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s
                    f   คือ   ความถี่สูงสุดรังสีเอกซ (Hz)
                    c   คือ   ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s
                    λ   คือ   ความยาวคลื่นนอยที่สุดรังสีเอกซ (m)
    2) สเปกตรัมแบบเสน (characteristic X – rays) เกดจากอเิ ลกตรอน ที่ถูกเรงจนมีพลังงาน
                                                   ิ          ็
       สงมากจะสามารถผานเขาชนกบอเิ ลกตรอนในวงโคจรชนในของอะตอม ทําให
         ู                            ั ็                ้ั
       อิเล็กตรอนดังกลาวหลุดไปอิเล็กตรอนในวงโคจรถัดออกมา ซึ่งมีระดับพลังงานสูงกวา
       วงโคจรชั้นในจึงโดดเขาแทนที่พรอมกับปลอยพลังงานสวนเกินออกมาในรูปรังสีเอ็กซ
       การเปลยนแปลงในอะตอมเชนนเ้ี ปนในทานองเดยวกบการเกดสเปกตรมของอะตอม
               ่ี                             ํ    ี ั        ิ        ั
       ไฮโดรเจน รังสีเอ็กซที่เกิดขึ้นจะมีความยาว
       คลื่นเปนคาเฉพาะ และจะแตกตางกันไป
       ตามชนิดของโลหะที่ใชทําเปา ดังนั้นสเปก
       ตรัมสวนนี้จึงมีลักษณะเปนเสน ซึ่งปรากฏ-
       การณนี้สนับสนุนทฤษฎีของโบรในแงที่วา
       อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ
64. ในหลอดผลิตรังสีเอ็กซ ถาใชความตางศักยเรง e 20,000 โวลต จงหาความถี่ของรังสีเอ็กซ
วธทํา
 ิี                                                                       (4. 83x1018 Hz)


65. ในการผลตรงสเี อกซโดยใหอเิ ลกตรอนหยด ทันทีเมื่อชนเปาปรากฎวาไดรังสีเอ็กซมีความ
             ิ ั ็         ็        ุ
    ยาวคลื่น 0.124 นาโนเมตร จงหาความตางศักยที่ใชตอกับหลอดรังสีเอ็กซ (9980 โวลต)
วธทา
 ิี ํ


66. เมือตอหลอดรังสีเอ็กซ เขากับความตางศักย 20 กิโลโวลต จงหา
       ่
         ก. ความเรวของอเิ ลกตรอนตวทเ่ี รวทสดทมาถงแอโนด (เปา) ถาอิเล็กตรอนเริมตน
                  ็        ็        ั ็ ่ี ุ ่ี ึ                           ่
            ดวยความเรวเปนศนย
                    ็  ู                                               (8.43x107 m/s)
         ข. ความยาวคลื่นนอยที่สุดในสเปกตรัมของรังสีเอ็กซ                     (61.9 pm)
!                                            $(!
Physics Online VI                 http://www.pec9.com                      บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
วธทา
 ิี ํ




67(มช 27) จงเลอกขอความทถกตอง
                  ื          ่ี ู 
      1. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงมากและเปนสเปกตรัมตอเนื่อง
      2. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมตอเนื่องซึ่งคาความถี่สูงสุดขึ้นกับชนิด
         ของโลหะ ที่ใชทําเปาและยังมีสเปกตรัมเสนดวย
      3. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมเสนซึ่งเกิดจากการปลอยพลังงานของ
         อิเลกตรอนของอะตอม เมออเิ ลกตรอนนนเปลยนวงโคจรจากทมระดบพลงงานตาไป
                                     ่ื           ้ั ่ี                  ่ี ี ั ั           ํ่
         สูวงโคจรที่มีระดับพลังงานสูงและยังมีสเปกตรัมตอเนื่องดวย
      4. ไมมีขอใดถูก                                                                    (ขอ 3.)
                                                                                               
วธทา
 ิี ํ
                       !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""



    สรุปผลการทดลองของพลังคและเฮิรตซ




!                                              $)!
Physics Online VI               http://www.pec9.com                    บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
    ความไมสมบูรณของทฤษฎีอะตอมโบร
    ถึงแมวาทฤษฎีของโบรจะสามารถอธิบาย
            
         1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนไดดี
         2. การจดตวของอเิ ลกตรอนในอะตอมของธาตไฮโดรเจน
                   ั ั           ็                           ุ
         3. คาพลังงานทีทาใหอะตอมทีมอเิ ล็กตรอนเพียงตัวเดียวแตกตัวเปนอิออนได
                           ่ ํ           ่ ี
    แตทฤษฎีของโบรไมสามารถอธบาย
                                  ิ
         1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมอืน ๆ     ่
         2. วาทาไมอะตอมทอยในบรเิ วณทมสนามแมเ หลก ใหสเปกตรัมทีผดไปจากเดิม
                ํ             ่ี ู           ่ี ี            ็       ่ิ
              คือ สเปกตรัมหนึงๆ แยกออกเปนหลายเสน
                                   ่                      
         3. คาความเขมของแสงของเสนสเปกตรมวาทาไมมความเขมไมเ ทากน
                                                   ั  ํ ี         ั
         4. ทําไม L = mvr = nh
68(En 36) ตามการทดลองของฟรังกและเฮิรตซ ขอสรปใดไมจรง
                                           ุ      ิ
        1. อิเลกตรอนทีมพลังงานนอยกวา 4.9 eV จะมการชนแบบยดหยนกบอะตอมของไอปรอท
                       ่ ี                       ี         ื ุ ั
        2. อิเลกตรอนทีมพลังงานมากกวา 4.9 eV จะสญเสยพลงงานสวนหนงใหกบอะตอมของ
                      ่ ี                          ู ี ั         ่ึ  ั
           ไอปรอท
        3. อะตอมของไอปรอทมคาพลงงาน ระดบพนเทากบ 4.9 eV
                              ี ั          ั ้ื  ั
        4. อะตอมของไอปรอทมีคาพลังงานเปนชัน ๆ ไมตอเนอง
                                            ้        ่ื                 (ขอ 3.)
วธทา
 ิี ํ

69. ในการทดลองของฟรงคและเฮรตซ ถาเราใช หลอดทดลองทีบรรจุไฮโดรเจนแทนหลอด
                             ั         ิ                 ่
   ทบรรจไอปรอท จะตองใหพลังงานแกอิเลคตรอนนอยที่สุดเทาใด จึงจะทําใหรับพลังงานนั้น
      ่ี ุ
   (ใหระดับพลังงานในหนวย eV ของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเรียงจากวงในสุดเปน
        –13.59 , –3.40 , –1.51 , ....0 ตามลําดับ)                          (10.19 eV)
วธทา
 ิี ํ




!                                            $*!
Physics Online VI            http://www.pec9.com                 บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
70(En 44/1) อเิ ลกตรอนตวหนงถกเรงดวยความตางศกย 13.2 โวลต เขาชนกบอะตอมไฮโดร–
                 ็       ั ่ึ ู            ั                   ั
   เจน ที่อยูในสถานะพื้น การชนครงนจะสามารถทาใหอะตอมไฮโดรเจนอยในระดบพลงงาน
                                   ้ั ้ี      ํ                ู   ั ั
   สูงสุดในระดับ n เทาใด (พลังงานสถานะพื้นของไฮโดรเจน = –13.6 eV)
      1. n = 7            2. n = 6           3. n = 5      4. n = 4    (ขอ 3.)
วธทา
 ิี ํ




71(En 43/2) ในการทดลองของแฟรงค-เฮิรตซ ถาใชแกสไฮโดรเจนแทนไอปรอท และใช
                                                    
   ความตางศกยเ รงอเิ ลกตรอนเทากบ 10.3 โวลต แกสไฮโดรเจนจะปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา
           ั  ็                  ั
   ไดมากที่สุดกี่ความถี่ (ถากําหนดใหสถานะพื้นของอะตอมไฮโดรเจนมีพลังงาน 13.6
   อิเล็กตรอนโวลต หรือ 21.76 x 10–19 จล) ู
       1. 1 ความถี่         2. 2 ความถี่        3. 3 ความถี่   4. 4 ความถี่ (ขอ 1.)
วธทา
 ิี ํ




72. การทดลองของฟรังคและเฮิรตซใหผลสรุปที่สําคัญขอใด
      1. อเิ ลกตรอนชนอะตอมแบบยดหยนเปนสวนใหญ
              ็                   ื ุ  
      2. อเิ ลกตรอนชนกับอะตอมแบบไมยืดหยน
                ็                          ุ
      3. อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ
      4. กระแสไฟฟาผานแกสที่มีความดันต่ํา                                   (ขอ 3.)
วธทา
 ิี ํ
                    !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""


!                                        $+!
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม

More Related Content

What's hot

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 

What's hot (20)

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 

Viewers also liked

เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์thanakit553
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์thanakit553
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
ท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่า
ท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่าท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่า
ท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่าthanakit553
 
ฟิสิกส์มหัศจรรย์
ฟิสิกส์มหัศจรรย์ฟิสิกส์มหัศจรรย์
ฟิสิกส์มหัศจรรย์thanakit553
 
ถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไร
ถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไรถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไร
ถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไรthanakit553
 
การประดิษฐ์
การประดิษฐ์การประดิษฐ์
การประดิษฐ์thanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 

Viewers also liked (20)

เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
ท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่า
ท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่าท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่า
ท่าที่ลดความเสี่ยงจากฟ้าผ่า
 
ฟิสิกส์มหัศจรรย์
ฟิสิกส์มหัศจรรย์ฟิสิกส์มหัศจรรย์
ฟิสิกส์มหัศจรรย์
 
Physic entry 1
Physic entry 1Physic entry 1
Physic entry 1
 
ถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไร
ถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไรถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไร
ถุงลมนิรภัยเกี่ยวกับฟิสิกส์อย่างไร
 
การประดิษฐ์
การประดิษฐ์การประดิษฐ์
การประดิษฐ์
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 

Similar to เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม

เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 

Similar to เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม (20)

เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
P18
P18P18
P18
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
P16
P16P16
P16
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
P17
P17P17
P17
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 

More from thanakit553

Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12thanakit553
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12thanakit553
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12thanakit553
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13thanakit553
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12thanakit553
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1thanakit553
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศthanakit553
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)thanakit553
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58thanakit553
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51thanakit553
 

More from thanakit553 (20)

Robotic13
Robotic13Robotic13
Robotic13
 
Project13
Project13Project13
Project13
 
Oral13
Oral13Oral13
Oral13
 
3 d13
3 d133 d13
3 d13
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศ
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
Img004
Img004Img004
Img004
 
Img003
Img003Img003
Img003
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
 

เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม

  • 1. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ฟ สิ ก ส บทที่ 19 ฟ สิ ก ส อ ะตอม ! ตอนที่ 1 การคนพบอเิ ลคตรอนและโปรตรอน  ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน จากกฎทรงมวลของสาร และกฎสัดสวนทีคงทีเ่ ปนพืนฐาน ่ ้ ดาลตันนักฟสกสและนักเคมีชาวอังกฤษตังทฤษฎีอะตอมขึน ในป ิ ้ ้ ! พ.ศ. 2351 ซึงมีใจความวา ่ 1) สสารทังหลายประกอบดวยอะตอมซึงเปนหนวยทีเ่ ล็กทีสดทีไมสามารถ......................... ้ ่ ่ ุ ่ 2) ธาตแตละชนดประกอบดวยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกัน สวนธาตุตาง ุ  ิ   ชนิดกันอะตอมจะ................... 3) อะตอมชนดหนงจะเปลยนแปลงไปเปน..............................ไมได ิ ่ึ ่ี  4) หนวยยอยของสารประกอบคือ โมเลกุล ซึงจะประกอบดวยอะตอมของธาตุองคประกอบ ! ่ ในสดสวนท.่ี ...................! ั  5) ในปฏิกรยาเคมีใด ๆ อะตอมไมมการสูญหาย และไมสามารถทําให..................... แตอะตอมจะ ิิ ี เกิดการจัดเรียงตัวกันเปนโมเลกุลใหมเกิดขึนเปนสารประกอบ ้ 1. ทฤษฎีอะตอมของดาลตันมีกี่ขอ ปจจบนพบวาเปนจรงเพยง 1 ขอ คือ ขอท.่ี ......... ซึ่งกลาว  ุ ั   ิ ี  วา............................ ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. 2. ทฤษฏีอะตอมของดาลตัน ขอ 1. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ิ ขอ 2. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ิ ขอ 3. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ิ ขอ 5. ผดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ิ ! การคนพบอิเล็กตรอน สมบัติของรังสีคาโทด 1) ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสงได ! "#!
  • 2. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 2) เบียงเบนเขาหาขัวไฟฟา.............. ่ ้ แสดงใหรูวามีประจ! ุ 3) เบียงเบนในสนามแมเหล็กและ ่ ไฟฟาเปน..............! ทอมสันเรียกกอน! ทศการเบยงเบนเปนไปตามกฎ............ ิ ่ี  อนุภาคที่มีประจุ 4) ไมสามารถทะลุ...................... เปนลบนี้วา! ทีขวางกัน! ! ! ! ! ! ! ! ! ! แสดงใหรวา ภายในรังสีคาโทด! ่ ้ ! ู  %%%%&&! 5) หมน........................... ได ุ ประกอบไปดวย.................! ! ทอมสันอธิบายสาเหตุการเกิดรังสีคาโทดวา เมื่อโลหะที่เปนขั้วคาโทดไดรับพลังงาน ไฟฟาที่มีศักยสูง จะทําใหอเิ ล็กตรอนภายในอะตอมโลหะนันหลุดออกมา แลวเคลื่อนที่ไปยังขั้ว ้ อาโนด (ขั้วบวก) ทอมสันจึงสรุปวา ในอะตอมจะตองมอเิ ลกตรอนเปนองคประกอบอยภายใน  ี ็   ู 3. เมื่อรังสีคาโทดวิ่งผานขั้วไฟฟา จะเบนเขาหาขว.............  ้ั เมอรงสคาโทดวงผานสนามแมเ หลกจะ............... ่ื ั ี ่ิ  ็ เมือรังสีคาโทด พุงชนโลหะบาง ๆ รังสีทะลุไปไดหรือไม....... ่ เมอรงสคาโทดพงชนกงหน จะทําใหกังหัน........ ่ื ั ี ุ ั ั 4. สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประจุเปนลบ ....................................... สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รงสคาโทดมประกอบไปดวยกอนอนภาค ............... ั ี ี  ุ 5. ทําไมหลอดรังสีแคโทดจึงตองจัดใหเปนหลอดสุญญากาศหรือเกือบเปนสุญญากาศ ก. เพื่อใหสามารถมองเห็นลําแสงที่เกิดขึ้นไดชัดเจน ข. เพือลดความดันของอากาศในหลอด ่ ค. เพื่อใหสนามไฟฟาระหวางขั้วหลอดคงที่ ง. เพอชวยลดความรอนใหกบขวของหลอด ่ื    ั ้ั จ. ปองกันไมใหรังสีแคโทดชนกับโมเลกุลของอากาศซึ่งจะทําใหเกิดรังสีไดนอย (ขอ จ.) 6. ถาปรับความตางศักยระหวางขั้วของหลอดรังสีแคโทดใหเพิ่มมากขึ้น จะมีผลตามขอใด 1. จํานวนอนุภาคในลํารังสีแคโทดจะเพิ่มมากขึ้น 2. อนภาคจะเคลอนทดวยความเรวมากขน ุ ่ื ่ี  ็ ้ึ 3. ความเขมของการสองสวางบริเวณขั้วบวกมากขึ้น คําตอบคือ (ขอ ง.)  ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 2 , 3 ง. ขอ 2 เทานน  ้ั ! "$!
  • 3. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม การทดลองหาคาความเร็วอิเล็กตรอน! ! เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งตัดสนามแมเหล็กพรอมกับสนามไฟฟา ดังรูป อิเล็กตรอนจะถูกแรง กระทํา 2 แรง คือ 1) แรงสนามไฟฟาที่มีทิศขึ้น (F = qE) 2) แรงผลักสนามแมเหล็กมีทิศลง (F = qvB) หากแรงทั้งสองมีคาเทากัน อิเล็กตรอนจะเคลือนเปนเสนตรงอยูในแนวระดับ ่  จะไดวา F ลง = F ขึ้น qvB = qE เมือ v คือ ความเร็วอิเล็กตรอน (m / s) ่ v= E B E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N , m )C V v= V เพราะ E = V B คือ ความเขมสนามแมเหล็กไฟฟา (เทสลา) dB d V คือ ความตางศักยที่ใช (โวลต ) D คอ ระยะหางของขวไฟฟาทใชดด e นน(m) ื  ้ั  ่ี  ู ้ ั 7. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 2x10–3 เทสลา และใช สนามไฟฟาความเขม 3x104 นวตน/คลอมบ ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหา ิ ั ู ความเรวของอนภาครงสคาโทด ็ ุ ั ี (1.5x107 m/s ) วธทา ิี ํ ! "'!
  • 4. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 8. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 1x10–3 เทสลา และใช สนามไฟฟาที่เกิดจากเพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหาความเรวของอนภาครงสคาโทด ็ ุ ั ี (2x107 m/s ) วธทา ิี ํ 9. จงหาความเร็วอิเล็กตรอนที่วิ่งจากหยุดนิ่งผานความตางศักยไฟฟา 1500 โวลต กําหนด ประจอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C ุ มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg ( 2.3x107 m/s) วิธทา ี ํ 10(En 32) ถาตองการเรงอนภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ที่มีประจุ 8 x 10–9 คูลอมบ    ุ จากสภาพหยดนงใหมอตราเรว 100 เมตร/วินาที จะตองใชความตางศักยเทาใด ุ ่ิ  ี ั ็ 1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต 3. 2.5 โวลต 4. 40 โวลต (ขอ 3) วิธทา ี ํ ! "(!
  • 5. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม การทดลองหาคาประจุตอมวลของอิเล็กตรอน เมืออิเล็กตรอนเคลือนทีตดสนามแมเหล็กดวยความเร็ว จะเคลอนทโคงเปนรปวงกลม ่ ่ ่ ั ่ื ่ี   ู จาก R = mvqB q = v m BR เมือ q คือ ประจของอเิ ลกตรอน 1 ตัว (C) ่ ุ ็ v คือ ความเร็วของอิเล็กตรอน (m/s) R คือ รศมวงโคจรอเิ ลกตรอน (m) ั ี ็ m คือ มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว (kg) B คือ ความเขมสนามแมเหล็ก (เทสลา) q จากการทดลองของทอมสัน จะได m ของอิเล็กตรอนมีคา 1.76 x 1011 C/kg  11. เมือยิงอิเลคตรอนความเร็ว 3x107 m/s พุงเขาตัดตั้งฉากกับสนามแมเหล็กความเขม 0.001 ่ เทสลา ทาใหอเิ ลคตรอนเคลอนเปนวงกลมรศมี 0.2 เมตร จงหาคาประจุตอมวลของอิเลค- ํ  ่ื  ั  ตรอน (1.5x1011 C/kg) วธทา ิี ํ 12. จงหาความเร็วของ e เมื่อพุงผานสนามไฟฟาเขม 34 x 104 V/m และสนามแมเหล็กมี ความเขม 2 x 10–3 เทสลา แลวลํา e ยังคงแนวเดิมไว กําหนดใหแรงกระทําซึ่งเกิดจาก สนามไฟฟา และสนามแมเหล็กอยูในทิศตรงกันขาม ก. จงหาความเร็วของอิเลคตรอน ข. จงหารัศมีความโคงของ e เมือ e วิ่งตัดสนามไฟฟาออกไป ่ กําหนด q/m ของ e = 1.76 x 1011 C/kg (17x107 m/s , 0.483 m) ! ")!
  • 6. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม วธทา ิี ํ 13. ในการทดลองของทอมสัน เพือหาคาอัตราสวนของประจุตอมวลอนุภาครังสีคาโทด ถาใช ่  เพียงสนามแมเหล็กเพียงอยางเดียว การเบี่ยงเบนของรังสี มรศมความโคง 0.114 เมตร และ ีั ี  คาสนามแมเหล็กเทากับ 1 x 10–3 เทสลา ในสนามแมเหล็กเดียวกันถาใชสนามไฟฟาที่เกิดจาก เพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต ทําใหรังสีเดิมเปน เสนตรง จงหาคาประจุตอมวลของอนุภาคของรังสีคาโทด   (1.75x1011 C/kg) วธทา ิี ํ 14. ในการทดลองของทอมสันเพือวัดอัตราสวน q/m ของอนภาครงสแคโทด โดยใชสนาม ่ ุ ั ี  แมเหล็กสม่ําเสมอขนาด 1.5 x 10–3 เทสลา รศมความโคงของอนภาครงสแคโทดเทากบ ั ี  ุ ั ี  ั 10 เซนตเิ มตร แตถาตอแผนโลหะทั้งสองซึ่งมีระยะหางกัน 1 เซนตเิ มตร เขากับความ ! ตางศักยไฟฟา 390 โวลต จะทาใหอนภาครงสแคโทดเคลอนทเ่ี ปนเสนตรง จงหาอัตรา! ํ  ุ ั ี ่ื   ! สวน q/m ของอนภาครงสแคโทด ุ ั ี (1.73x1011 C/kg)! วธทา ิี ํ ! "*!
  • 7. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 15(En 43/1) อนุภาคที่มีประจุไฟฟาหลายอนุภาควิ่งผาน บรเิ วณสนามไฟฟาตงฉากกบสนามแมเ หลก!  ้ั ั ็ โดยทศทวงตงฉากกบสนามทงสอง อนุภาควิงไปโดยไมเบนจากแนวเดิม จะมีปริมาณใดเทากัน ! ิ ่ี ่ิ ้ั ั ้ั ่ ! ! 1. ประจุ! ! ! 2. อัตราเร็ว! ! ! 3. มวล! ! 4. อัตราสวนประจุตอมวล! ! (ขอ 2.)!  วธทา ิี ํ การคนพบโปรตรอน Ergen goldstein นักฟสกสชาวเยอรมัน ไดทาการดดแปลงหลอดรงสคาโทด โดยจดให ิ  ํ ั ั ี ั ขัวคาโทดอยูเ กือบตรงกลางและเจาะรูขวคาโทดไว ้ ้ั เมอตอความตางศกยสงเขาไป นอกจากจะมรังสคา ่ื   ั  ู  ี ี แลว ยงจะมรงสอกชนดหนง วงยอนกลบมาหาขว ั ี ั ี ี ิ ่ึ ่ิ  ั ้ั คาโทด (ขัวลบ) รังสีนจะประกอบไปดวยอนุภาคที่ ้ ้ี ประจบวก เรียกรังสีแคแนล(Canal ray) หรอ ............. ุ ื ! ! รังสีนเ้ี กิดจากอะตอมของกาซภายในหลอดถูกชนดวยอนุภาคอิเล็กตรอนทีพงมาจากขัวคาโทด! ่ ุ ้ ทําใหอะตอมของกาซอิเล็กตรอนในอะตอมไป แลวกลายเปนอนุภาคทีมประจุ..............อนุภาคนีก! ่ ี ้็ จะวงเขาหาขวคาโทดอนเปนขวลบนนเอง! ่ิ  ้ั ั  ้ั ่ั การทดลองนีทาใหเชือวาในอะตอมตองมีอนุภาคไฟฟาบวกอยูดวยเรียกอนุภาคบวกนีวา.................! ้ ํ ่  ้ *หากเปลยนชนดกาซทบรรจอยในหลอด แลวทดลองหาคาประจุตอมวล (q/m) จะพบวาอนภาครงสี ่ี ิ  ่ี ุ ู   ุ ั บวกของกาซแตละชนิดจะมีคา q/m ไมเทากัน ทังนีเ้ พราะกาซแตละชนิดจะมีมวลไมเทากันนันเอง  ้ ้ 16. รงสแคแนลเกดจาก ............. ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ....... ั ี ิ 17. การคนพบรงสแคแนลทาใหเ รารจกอนภาคมลฐานในอะตอมตวหนง คือ ......... .........  ั ี ํ ู ั ุ ู ั ่ึ 18. รังสีแคแนลมีคาประจุตอมวลไมคงที่ เพราะ ......... ......... ......... ......... ......... ......... ............. แบบจําลองอะตอมของทอมสัน จากการทดลองของทอมสัน, โกลดสไตน และนักวิทยาศาสตรอีกหลายทาน ทาใหเ ชอวา ํ ่ื  ในอะตอมใดๆ จะตองประกอบดวยอนภาคทมประจบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ   ุ ่ี ี ุ (อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงไดเสนอแบบจําลองของอะตอมเอาไววา  “ อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบไปดวยโปรตรอน  ซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไป อยางสม่ําเสมอและในอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟาจะมีจํานวน โปรตรอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอน ” ! "+!
  • 8. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 19. จงวาดรูป แบบจาลองอะตอมของดาลตน ํ ั แบบจาลองอะตอมของทอมสน ํ ั ! ! ! ! ! ! 20. ตามแบบจาลองอะตอมของทอมสน ขอใดกลาวถูกตอง ํ ั 1. อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม โดยเนือของทรงกลมเปนประจุบวกกระจายอยาง ้ สม่ําเสมอและมีอิเล็กตรอนฝงอยูในเนื้อทรงกลม 2. ปริมาณประจุบวกและปริมาณประจุลบมีจํานวนเทากัน 3. ในสภาพปกติอะตอมเปนกลางทางไฟฟา 4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.)  วธทา ิี ํ การคนพบนวตรอน  ิ ป พ.ศ. 2473 W.Bothe และ H.Becker นกเคมชาวเยอรมนไดทาการทดลองใชอนุ ั ี ั  ํ  ภาคอัลฟายิ่งแผนโลหะแบริลเลียม ปรากฏ ! วาเกิดรังสีซึ่งไมมีประจุชนิดหนึ่งที่มีอํานาจทะลวงไดดี และรังสีนี้เมื่อชนกับโมเลกุลของพารา ฟนจะไดโปรตรอนออกมา ตอมาในป พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ไดเ สนอวารงสนตอง   ั ี ้ี  ประกอบดวยอนุภาคและใหชื่อวา นิวตรอน และไดทําการพิสูจนไดวานิวตรอนไมมีประจุ และ คานวณมวลนวตรอนไดคาใกลเ คยงกบมวลของโปรตรอน ํ ิ  ี ั 21. จงเติมคําลงในชองวางใหสมบูรณ รังสี................. รังสีมมวลใกลกบ................! ี ั อนภาค................! ุ มีประจ.ุ ...............! แผน................! แผน................! ! ",!
  • 9. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ตอนที่ 2 การทดลองของมิลลิแกน! การทดลองหาคาประจุอิเล็กตรอนของมิลลิแกน (Robert A. Millikan) จากอุปกรณการทดลองดังรูป เมื่อผานละอองฝอยน้ํามันลงไประหวางขั้วไฟฟา หยดน้ํามัน เล็ก ๆ บางหยดจะมีประจุบวก บางหยดจะมีประจุลบ พวกที่มีประจุบวกจะตกลงเบื้องลางอยาง รวดเรว บางหยดที่มีประจุเปนลบขนาดเหมาะสม จะลอยอยูนิ่ง ๆ ไดอยางสมดุล ็ พิจารณาเฉพาะหยดที่อยูนิ่ง ๆ จาก Fขึ้น = Fลง qE = mg neE = mg เพราะ q = ne ne = mg E เมือ q คือ ประจรวมทงหมดในหยดนามน(C) n คือ จานวนอเิ ลกตรอน ่ ุ ้ั ํ้ ั ํ ็ e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน 1 ตัว m คือ มวลของหยดน้ํามันทั้งหมด (kg) E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C) จากการทดลองจะได ne = จํานวนเต็ม x 1.6 x 10–19 C เชน ne = 1 x 1.6 x 10–19 C  ne = 2 x 1.6 x 10–19 C ne = 3 x 1.6 x 10–19 C จึงสรุปวา อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ สวนจํานวนเต็มคูณอยู ก็คือ จานวนอเิ ลกตรอนนนเอง ํ ็ ่ั 22. หยดนามนอนมจานวนอเิ ลคตรอนมากกวาจานวนโปรตรอนอยู 5 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg ํ้ ั ั ี ํ  ํ ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีสนามไฟฟาเขม 2x104 โวลตตอเมตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว  (1.6x10–19 C) วธทา ิี ํ ! #-!
  • 10. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 23. หยดนามนอนมจานวนอเิ ลคตรอนมากกวาจานวนโปรตรอนอยู 10 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg ํ้ ั ั ี ํ  ํ ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีความตางศักย 100 โวลต ระยะหางระหวางขั้วไฟฟา 1 เซนตเิ มตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว (1.6x10–19 C) วธทา ิี ํ 24(มช 36) ในการทดลองของมิลลิแกนเมื่อทําใหหยดน้ํามันมวล 1.6 x 10–14 กิโลกรัม ลอย หยุดนิ่งระหวางแผนโลหะขนานซึ่งวางหางกัน 1 ซม. โดยแผนบนมีศักยไฟฟาสูงกวาแผน ลางเทากับ 392 โวลต ถาความเรงเนองจากแรงดงดดของโลกเทากบ 9.8 m/s2 และ   ่ื ึ ู  ั อิเลคตรอนมีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ จงคํานวณหาวาหยดน้ามันนีมอเิ ลคตรอนแฝงอยูกตว ํ ้ ี  ่ี ั 1. 25 2. 50 3. 250 4. 500 (ขอ 1.)  วธทา ิี ํ 25. ในการหยดน้ํามันของมิลลิแกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็กตรอน เกาะติดอยู n ตัว ลอยนงอยระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกันเปนระยะทาง ่ิ ู   ! d และมีความตางศักย V ประจของอเิ ลกตรอนทคานวณไดจากการทดลองนจะมคาเทาใด ุ ็ ่ี ํ  ้ี ี   ก. mgd nV ข. mgVnd ค. nmgd V ง. nmgVd (ขอ ก.)  วธทา ิี ํ ! #"!
  • 11. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 26. หยดน้ํามันมีความหนาแนน 400 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร มปรมาตร 2.5x10–12 ลูกบาศก– ี ิ  เมตร ลอยนิ่งอยูในสนามไฟฟาขนาดสม่ําเสมอ 4x105 นิวตัน/คูลอมบ จงหาขนาดของ ประจุบนหยดน้ํามัน (2.5x10–14 C) วธทา ิี ํ 27. ในการทดลองหยดน้ํามันของมิลลิแกนนั้นพบวา เมื่อเพิ่มคาความตางศักยจนถึงคาสูงสุดของ เครื่องมือแลวไมสามารถทําใหหยดน้ํามันหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ในทิศตรงขามกับเมื่อยังไมให คาความตางศักยแสดงวา 1. หยดน้ํามันมีมวลมากเกินไป 2. หยดน้ํามันมีประจุชนิดหนึ่งทําใหแรง เนืองจากสนามไฟฟามีทศทางเดียวกับแรงโนมถวงโลก ่ ิ 3. สนามไฟฟามีคานอยเกินไป 4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.)  วธทา ิี ํ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! ตอนที่ 3 สญลกษณแทนอะตอม แบบจาลองอะตอมของรทเทอรฟอรด ั ั  ํ ั   แบบจาลองอะตอมของรทเทอรฟอรด! ํ ั   หากเปนไปตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน รงสเี กอบทงหมดตองเบยงเบนการเคลอนท่ี เพราะ ั ื ้ั  ่ี ่ื เกิดแรงผลักระหวางประจุบวกของรังสีอัลฟา กับ โปรตรอน และหากรังสีอลฟาพุงชนโปรตรอนจะ ั  ทาใหโปรตรอนกระเดนไปเพราะรงสีอลฟามมวล ํ  ็ ั ั ี มากกวา รังสีอัลฟาจะไมสะทอนกลับออกมาเลย ! ! ##!
  • 12. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ผลการทดลองจริงเปนดังรูป รทเทอรฟอรดอธิบายวา ั    1. จริง ๆ แลวอะตอมจะมีโปรตรอนทังหมดจะรวมตัวกันอยูในพืนทีเ่ ล็ก ๆ ตรงกลาง ้  ้ อะตอมเรียกวา นิวเคลียส สวนอเิ ลกตรอนจะอยรอบนอกนวเคลยสระหวางนวเคลยส  ็ ู ิ ี  ิ ี กับอิเล็กตรอนจะเปนทีวาง ซึ่งจะกวางมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส รังสีแอลฟา ่ สวนมากจะผานชองวางนไปจงเคลอนทเ่ี ปนเสนตรง     ้ี ึ ่ื   2. รังสีแอลฟา สวนนอยจะวิ่งเฉี่ยวนิวเคลียส ทําใหเกิดแรงผลักแลวเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่ 3. รังสีแอลฟาสวนนอยที่สุดจะชนนิวเคลียสตรงๆ แลวรังสีแอลฟาจะสะทอนกลับ เพราะ มีมวลนอยกวานิวเคลียส ซงมโปรตรอนรวมอยภายในอยางมากมาย ่ึ ี ู  แบบจาลองอะตอมแบบน้ี เรียก แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ํ 28. ถาเชื่อวาอะตอมเปนไปตามแบบจําลองของทอมสัน เมื่อยิงรังสีอัลฟาเขาไปในอะตอมของ ทองคา รังสีสวนมากจะเคลื่อนที่ .......................................... ทั้งนี้เพราะเกิดแรงผลักระหวาง ํ ประจุบวกของอนุภาคอัลฟา กับ ......... ......... .... ในนิวเคลียส 29. จากการทดลองยิงรังสีอัลฟากระทบอะตอมทองคํา พบวารังสีสวนมากจะเคลื่อนที่เปนเสนตรง เพราะ ............................................................................................................................................ รังสีสวนนอยจะ ............................เพราะ ................ .......... .......... .......... .......... .......... ............ และรังสีสวนนอยที่สุดจะ ..................................เพราะ .......... .......... .......... .......... .......... ......... 30(En 36) การที่รัทเทอรฟอรดทําการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบางแลว พบวา โครงสรางของอะตอมไมเ ปนไปตามแบบของทอมสน เนืองจากรัทเทอรฟอรดพบวา (ขอ 4.)   ั ่  1. อนุภาคแอลฟาเกือบทั้งหมดเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ และบางทีมีการสะทอนกลับ 2. อนุภาคแอลฟาเบนไปจากแนวเดิมทุกทิศทางเทา ๆ กัน 3. อนุภาคแอลฟาทั้งหมดวิ่งทะลุผาน แผนทองไปในแนวเกือบเปนเสนตรง 4. อนุภาคแอลฟาบางสวนเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ ทงทสวนใหญผานไปในแนวตรง ้ั ่ี   31. ตามแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ขอใดกลาวถูกตอง 1. อะตอมมีลกษณะเปนทรงกลม มีนวเคลียสอยูทจดศูนยกลาง มีอเิ ล็กตรอนเคลือนอยูรอบๆ ั ิ  ่ี ุ ่  นิวเคลียส 2. ภายในนิวเคลียสจะมีอนุภาคทีมประจุไฟฟาบวกรวมกันอยู ่ ี ! #$!
  • 13. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 3. เนือทีสวนใหญภายในอะตอมเปนทีวางเปลา ้ ่  ่ 4. เมือยิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในอะตอมของทองคํา อนภาคแอลฟาไมมโอกาสทจะ ่ ุ  ี ่ี สมผสนวเคลยสเลยเพราะจะเกดการเบยงเบนออกจากนวเคลยส ั ั ิ ี ิ ่ี ิ ี 5. ถูกทุกขอ (ขอ 5.)  32. จงวาดรปแบบจาลองอะตอมของ ู ํ ดาลตัน ทอมสัน รัทเทอรฟอรด ! ! ! 33(En 42/1) ถายิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในนิวเคลียสของ โลหะทางเดนของอนภาคแอลฟาทเ่ี ปนไปได คือ ิ ุ  1. ก และ ง เทานน ้ั 2. ข และ ค เทานน ้ั 3. ก , ค และ ง เทานน  ้ั 4. ก, ข , ค และ ง (ขอ 1.)  วธทา ิี ํ 34. มอนภาคแอลฟาวงตรงเขาสนวเคลยสของอะตอมทองคา อนุภาคแอลฟาจะหยุดนิ่งก็ตอ ี ุ ่ิ  ู ิ ี ํ เมืออนุภาคนัน ่ ้ (ขอ 4.)  1. มีพลังงานรวมเปนศูนย 2. กระทบผิวนิวเคลียส 3. กระทบกบอเิ ลกตรอนในชนใดชนหนง 4. มีพลังงานศักยเทากับพลังงานจลนเดิม ั ็ ้ั ้ั ่ึ วธทา ิี ํ 35(En 39) รังสีแอลฟาเคลื่อนที่เฉียดนิวเคลียสของทองคํา พลังงานจลนของรังสีแอลฟา ณ. ตําแหนงที่เขาใกลนิวเคลียสของทองคํามากที่สุดมีคา (ขอ 1.)  1. ศูนย 2. มากทีสด ่ ุ 3. เทาเดิม 4. นอยทีสด ่ ุ วธทา ิี ํ 36. อนุภาคแอลฟาถูกเรงดวยความตางศักยกี่โวลต เมื่อวิ่งตรงไปยังนิวเคลียสของทองคํา (79Au ) ไดมากที่สุด 7.9 x 10–15 เมตร (1.44x107 โวลต) วธทา ิี ํ ! #'!
  • 14. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ตอนที่ 4 แบบจาลองอะตอมของโบร (1) ํ ! ! โบร ไดเสนอแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมาโดยนําแนวคิดเรื่องควอนตัมของพลังงาน ของพลงคมาใชกบแบบจาลองอะตอมของรทเทอรฟอรด พรอมทังเสนอสมมติฐานขึนใหม 2 ขอ คือ! ั  ั ํ ั   ้ ้ ! ! 1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เปนวงกลมรอบนิวเคลียสจะมีวงโคจรบางวงที่อิเล็กตรอนไมแผ! รังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา ในวงโคจรดังกลาวอิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุม (L) คงตว และโมเมนตัมเชิงมุมนี้มีคาเปนจํานวนเต็มเทาของคาตัวมูลฐานคาหนึ่งคือ h ั h (อานวา เอซบาร) ซึ่งมีคาเทากับ 2π ดังนั้น สําหรับอิเล็กตรอนมวล m ทเ่ี คลอนทรอบนวเคลยสในวงโคจรรศมี r ่ื ่ี ิ ี ั โดยมีอัตราเร็วเชิงเสน v ตามสมมติฐานขอนี้จะไดวา L = mvr = n h เมือ n เปนเลขจานวนเตมบวก 1, 2, 3, .... ในที่นี้เรียกวา เลขควอนตัม ของวงโคจร ่  ํ ็ 2. อิเล็กตรอนจะรับหรือปลอยพลังงานออกมา เมือมีการเปลียนวงโคจรตามขอ 1. ่ ่ พลังงานที่อิเล็กตรอนรับหรือปลอยออกมาจะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร 1. สตรหารศมวงโคจรของอเิ ลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน ู ั ี rn = h 2 2 n 2 mke = (1.05x10−34 )2 n2 (9.1x10−31 )(9x109 )(1.6x10−19 )2 rn = 5.3 x 10–11 n2 เมือ rn คือ รัศมีวงโคจรที่ n (เมตร) ่ h = 2π = 6.6x10−34 = 1.05 x 10–34 J.s h 2π m คือ มวลของอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 kg k = 9 x 109 N/m2 / c2 e = ประจอเิ ลกตรอน = 1.6 x 10–19 C ุ ็ n คือ ลําดับของวงโคจร 37(มช 34) รัศมีวงโคจรที่สองจากในสุดของอะตอมไฮโดรเจนมีคาเทากับ..................เมตร วธทา ิี ํ ! #(!
  • 15. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 38(En 41) ในแบบจําลองอะตอมไฮโดรเจนของโบรรัศมี วงโคจรของอเิ ลกตรอนในสถานะ ็ n = 4 เปนกเ่ี ทาของรศมวงโคจรในสถานะ n = 1   ั ี (16 เทา)  วธทา ิี ํ 2. สูตรหาพลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรตางๆ ของอะตอมไฮโดรเจน เนองจาก พลงงานรวมของอเิ ลคตรอน = พลังงานศักยไฟฟา + พลงงานจลนของอเิ ลคตรอน ่ื ั ั  ็ En = – k e2 + 1 k e2 r 2 r n n En = – 1 k e2 เมือ rn = h 2 2 n 2 ่ 2 r mke n En = – 1 mk 2 e4 2 n2h2 E1 หรือ En = n2 เพราะ – 1 mk 2 e4 = –1 (9.1x10 - 19 )(9x10 9 )2 (1.6x10 - 19 )4 2 h2 2 (1.05x10 - 34 )2 = –21.76x10–19 จล ู = –13.6 อเิ ลคตรอนโวลต พลงงานจานวนนคอพลงงานรวมของอเิ ลคตรอนซงอยในวงโคจรท่ี 1 เรียก E1 ั ํ ้ี ื ั ่ึ ู E1 สรุปไดวา En = 2 n เมือ En คือ พลงงานอเิ ลกตรอนในวงโคจรท่ี n (อิเล็กตรอนโวลต , eV) ่ ั ็ E1 คือ พลังงานของอิเล็กตรอนไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 คือ –13.6 eV ** พลงงาน (En) มีคาเปนลบ มีความหมายวา อิเล็กตรอนถูกนิวเคลียสยึดไว ** ั ! #)!
  • 16. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 39. จากทฤษฏีอะตอมของโบร พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = ………………………………… พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 3 (E3) = ………………………………… พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = ………………………………… พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 (E1) = ………………………………… สถานะพื้น (ground state), สถานะกระตุน (excited state) หากเราคานวณหาพลงงานของอเิ ลกตรอน ํ ั ็ อะตอมไฮโดรเจนในแตละวงโคจรจะไดดงรูป ั จะเหนวาในวงโคจรท่ี 1 (ในสุด) อิเล็กตรอน ็  จะมีพลังงานต่ําสุดและชั้นนอกถัดๆ ออกไป อิเล็กตรอนจะมีพลังงานสูงขึ้นตามลําดับ ปกติอเิ ล็กตรอนชอบทีจะอยูวงโคจรในสุด ่  อันเปนชั้นที่มีพลังงานต่ําสุด จะทําใหเกิดความ เสถียรภาพมากที่สุด เรียกสภาวะนี้วา สภาวะพื้น (ground State) ! หากอเิ ลกตรอนไดรบพลงงานจะเคลอนไป ็ ั ั ่ื อยูในวงโคจรที่สูงกวาเดิมสภาวะเชนนี้เรียก สภาวะกระตุน (excited state) สภาวะถูกกระตุนเปนสภาวะไมเสถียรอิเล็กตรอนจะคายพลังงาน ซึ่งมีมากเกินไปทิ้งแลว เคลื่อนลงมาอยูในชั้นที่ต่ํากวาพลังงานที่คายออกมานั้น จะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา 40. ปกตแลวอเิ ลคตรอนจะอยในวงโคจรทมพลงงานตาสด เรียกภาวะนี้วา ............................. ิ  ู ่ี ี ั ํ่ ุ 41. หากอเิ ลคตรอนดดพลงงาน จะเคลื่อนจากชั้น..............ไปสูชั้น........... ภาวะทีอเิ ลคตรอน ู ั ่ มีพลังงานมากกวาปกติเชนนี้เรียก ..................................... 42. หากอเิ ลคตรอนจะเคลอนทจากชนบน ลงมาสูชั้นที่ต่ํากวา อิเลคตรอนจะตอง.................... ่ื ่ี ้ั 43. พลงงานทอเิ ลคตรอนคายออกมาจะอยในรปของ.................................... ั ่ี ู ู ! #*!
  • 17. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน 44. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตองและสมบูรณ ( เกียวกับการเปลียนวงโคจรของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน ) ่ ่ การเคลื่อน e คลื่นแมเหล็กไฟฟา อนุกรม บน → 1 ............................... .............. 6 → 2 ............................... 5 → 2 ............................... .............. 4 → 2 ............................... 3 → 2 ............................... บน → 3 ............................... .............. บน → 4 ............................... .............. บน → 5 ............................... .............. 45. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดใด ที่ปลดปลอยพลังงานโฟตอนเปนอัลตราไวโอเลต ก. อนุกรมไลมาน ข. อนุกรมบาลมเมอร ค. อนุกรมพาสเซน ง. อนกรมแบรกเกต ุ (ขอ ก.)  ! ! #+!
  • 18. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 46. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดแบรกเกตใหพลังงานในระดับรังสีใด (ขอ ข.)  ก. อัลตราไวโอเลต ข. อินฟาเรด ค. รังสีเอกซ ง. แสงที่ตาสัมผัสได 47. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดทีตามองเห็นได ่ (ขอ ข.)  ก. ชุดไลมาน ข. ชดบาลมเมอร ุ  ค. ชุดพาสเซน ง. ชุดฟุนต 48. สเปคตรมทไดจากอะตอมของธาตตาง ๆ จะ ั ่ี  ุ  ก. เหมือนกันสําหรับธาตุทุกธาตุ ข. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแตละธาตุ ค. จะไดเปนแถบสวางเสมอ ง. ไดเปนเสนมืดเสมอ (ขอ ข.)  49(มช 32) ภาพของอะตอมจากทฤษฎีของเบอร (Bohr) คือ ! ! ก. อิเล็กตรอนจะวิงวนรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไมแผคลืนแมเหล็กไฟฟาออกมา ่ ่ ข. อเิ ลกตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเปนเสมือนกลุมหมอกทีหอหุมนิวเคลียสอยูทใดมีหมอกหนา ็  ่    ่ี แนนมากจะมโอกาสพบอเิ ลกตรอน ณ. ทนนมาก!  ี ็ ่ี ้ั ค. อิเล็กตรอนวิงวนรอบนิวเคลียสดวยระยะหางจากนิวเคลียสมาก เมือเทียบกับขนาดนิวเคลียส ่ ่ ง. อิเล็กตรอนทีอยูรอบนิวเคลียสมีสมบัตคลืนนิง ่  ิ ่ ่ (ขอ ก.)  !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ตอนที่ 5 แบบจาลองอะตอมของโบร (2) ํ ! การคํานวณหาพลังงาน ความถี่ ความยาวคลื่น แมเหล็กไฟฟา ∆E = Ef – Ei เมือ ∆E คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลง (eV) ่ ∆E  = hf e หากมีคาบวกจะเปนการดูดพลังงาน 34 หรือ ∆E  = 6.6x10−19 f หากมีคาลบจะเปนการคายพลังงาน 1.6x10 − ∆E  = 4.125 x 10–15 f Ef คือ พลังงาน e ในวงโคจรสดทาย ุ  ∆E  = hc Ei คือ พลังงาน e ในวงโคจรเรมตน่ิ  eλ −34 )(3x108 ) ∆E  = (6.6x10 −19 h คือ คาคงที่ของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s (1.6x10 ) λ ! #,!
  • 19. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ∆E  = 1237.5x10 9 − f คือ ความถี่คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Hz) λ e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 C c คอ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3x108 m/s ื λ คือ ความยาวคลื่น (m) 1 =R 1-1 เมือ R คือ คาคงตวของรดเบอรก = 1.097 x 107 m–1 ่  ั ิ  λ n2 n2 f i nf คือ ลําดับชั้นสุดทาย ni คือ ลาดบชนเรมตน! ํ ั ้ั ่ิ  50. จงหาพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = …………………….. และพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = …………………….. วธทา ิี ํ 51. จากขอที่ผานมา หากอเิ ลคตรอนเคลอนจากชนท่ี 4 มาสูชั้นที่ 2 จะคายพลังงานออกมา ่ื ้ั กอเิ ลคตรอนโวลต ่ี ( 2.55 eV ) วธทา ิี ํ 52(En 40) พลงงานตาสดของอเิ ลกตรอนในอะตอมไฮโดรเจนคอ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถา ั ํ่ ุ ็ ื อิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสูสถานะ n = 2 จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัมเทาใด 1. 1.51 eV 2. 1.89 eV 3. 3.40 eV 4. 4.91 eV (ขอ 2.)  วธทา ิี ํ 53. จากขอที่ผานมา พลังงานที่คายออกมา จะมีความยาวชวงคลื่นเทาใด (651.3 nm) วธทา ิี ํ ! $-!
  • 20. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 54. ถาอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานเดิมจาก E3 มายัง E1 จะปลดปลอยโฟตอนที่มีพลังงาน เทาใด และความยาวชวงคลื่นมีคาเทาใด (12. 09 eV, 1.02x10–7 m) วธทา ิี ํ 55(En 41/2) ตามทฤษฎีอะตอมของโบรระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนต่าสุดเทากับ ํ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปอยูที่ระดับพลังงานสูงขึ้น และ กลับสูสถานะพื้นที่มีพลังงานต่ําสุดโดยการปลอยโฟตอนออกมาดวยพลังงาน 10.20 อิเล็ก– ตรอนโวลต แสดงวาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปที่ระดับพลังงานที่ n เทากับเทาใด 1. 2 2. 4 3. 8 4. 16 (ขอ 1.)  วธทา ิี ํ 56. ในการกระตนใหอะตอมไฮโดรเจนทระดบพลงงานตาสด(–13.6 eV) ไปอยูที่ระดับพลังงาน ุ  ่ี ั ั ํ่ ุ กระตนท่ี 3 ตองใหโฟตอนที่มีพลังงานเทาไร ุ 1. 0.85 eV 2. 1.51 eV 3. 12.09 eV 4. 12.75 eV (ขอ 3.)  วธทา ิี ํ ! $"!
  • 21. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 57(En 34) สมมติวาแผนภาพแสดงระดับพลังงานของอะตอม ชนิดหนึงเปน ดังรูป ใหหาคาความยาวคลื่นของคลื่นแมเหล็ก ่ ไฟฟาทจะทาใหอะตอมในสถานะพนฐานแตกตวเปนไอออน ่ี ํ  ้ื ั  .! ! ไดพอดี 1. 62 nm 2. 100 nm 3. 210 nm 4. 310 nm (ขอ 1.)  วธทา ิี ํ 58. ในการเคลือนยายอิเลคตรอนของอะตอมของไฮโดรเจนจากวงโคจรที่ 4 ลงสูวงโคจรที่ ่ ต่ํากวาสเปกตรัมเสนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมีพลังงานเทาใด 1. 0.66 eV 2. 0.85 eV 3. 10.20 eV 4. 12.75 eV (ขอ 4.)  วธทา ิี ํ 59(มช 33) จงคํานวณหาความยาวคลื่นยาวที่สุด และสนทสดในอนกรมไลแมนของไฮโดรเจน ้ั ่ี ุ ุ สเปคตรัม (ตอบในหนวยองสตรอม)  ั (ขอ ข.)  ก. 1215 , 952 ข. 1215 , 912 ค. 1415 , 912 ง. 1415 , 952 วธทา ิี ํ ! $#!
  • 22. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 60. จงหาความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในอนุกรมไลมาน เมือกําหนดให k เปนคานิจของริดเบอรก ่ 1. 1 k 2. k 3. 3k 4 4 4. 3k (ขอ 4.)  วธทา ิี ํ 61(En 42/2) อะตอมไฮโดรเจนเปลียนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1 ความยาวคลื่นของ ่ แสงที่ปลอยออกมาเปนกี่เทาของในกรณีที่เปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4 ถึง n = 2 1. 1 เทา 4  2. 1 เทา 2  3. 2 เทา  4. 4 เทา  (ขอ 1.)  วธทา ิี ํ 62. ในชวงระดบพลงงานตาสดสามระดบแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ตรวจ  ั ั ํ่ ุ ั พบจะอยูในชุดความถี่ที่เรียกวา (ขอ 1.)  1. ชุดไลมาน และ ชุดบาลเมอร 2. ชุดไลมาน และชุดพาสเซน 3. ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน 4. ชุดไลมาน ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน วธทา ิี ํ 63(มช 45) ถาใชอนุภาคอิเล็กตรอนพลังงาน 19.5 x 10–19 จล ยิงใสอะตอมไฮโดรเจนจะ ู กระตุนใหเกิดสิ่งใด (ขอ 2.)  1. เสนสเปกตรมทกเสนนบตงแตอนกรมบลเมอรขนไป  ั ุ  ั ้ั  ุ ั  ้ึ 2. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 1 เสน 3. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 2 เสน 4. เสนสเปกตรมของอนกรมบลเมอร 1 เสน และของอนกรมพาสเซน 2 เสน  ั ุ ั ุ วธทา ิี ํ ! $$!
  • 23. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ตอนที่ 6 รงสเี อกซ การทดลองของพลังคและเฮิรตซ ั ็ หลอดรังสีเอกซ (X – rays tube) หลอดรังสีเอ็กซเปนเครื่องมือผลิตรังสีเอ็กซมีสวนประกอบสําคัญ ดังรูป ขั้วไฟฟา C จะ ถูกทําใหรอน โดยผานกระแสไฟฟาจาก  ความตางศักย V1 อเิ ลกตรอนซงหลด ็ ่ึ ุ จากขั้วไฟฟา C (แคโทด) จะถูกเรงใหมี ความเรวสง โดยสนามไฟฟาจากความ ็ ู ตางศักย Vo ซึ่งมีคาสูง และชนเปาโล หะ A (แอโนด) ทําใหเกิดรังสีเอ็กซขึ้น ! สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ มี 2 แบบ ! 1) สเปกตรัมแบบตอเนือง (continuous X - ray) ในหลอดรังสีเอ็กซ อเิ ลกตรอนทวงเขาชน ่ ็ ่ี ่ิ  กับอะตอมของเปาอิเล็กตรอนจะสูญเสียพลังงานจลน โดยแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาในรูป รังสีเอ็กซออกมาเปนผลใหตัวมันเองเคลื่อนที่ชาลง เนืองจากจํานวนอิเล็กตรอนทีชน ่ ่ เปามีมากมายและแตละตัวมีการสูญเสียพลังงานคาตางๆ กัน ดงนนรงสเี อกซทแผออก ั ้ั ั ็  ่ี  มาจะมสเปกตรมแบบตอเนองอเิ ลกตรอนบางตวอาจชนกบอะตอมของเปาโดยตรงและ ี ั  ่ื ็ ั ั  หยุดลงทันที ในการนี้พลังงานจลนทั้งหมดของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนเปนพลังงานคลื่น แมเหล็กไฟฟา ซึ่งอยูในรูปรังสีเอ็กซที่มีความถี่สูงสุด (fmax) เนื่องจากพลังงานมีคาสูงสุด ไดจากการผานความตางศักย Vo การคํานวณหาความถี่สูงสุดของรังสีเอ็กซ เนืองจากอิเล็กตรอน จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา (รังสีเอ็กซ) ่ จงไดวา ึ  W = E คลื่นแมเหล็กไฟฟา eV = hf หรือ eV = hc λ เมือ e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน (1.6 x 10–19 C) ่ V คือ ความตางศกยทใชเ รงอเิ ลกตรอน(โวลต)  ั  ่ี  ็ ! $'!
  • 24. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม h คือ คานิจของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s f คือ ความถี่สูงสุดรังสีเอกซ (Hz) c คือ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s λ คือ ความยาวคลื่นนอยที่สุดรังสีเอกซ (m) 2) สเปกตรัมแบบเสน (characteristic X – rays) เกดจากอเิ ลกตรอน ที่ถูกเรงจนมีพลังงาน ิ ็ สงมากจะสามารถผานเขาชนกบอเิ ลกตรอนในวงโคจรชนในของอะตอม ทําให ู   ั ็ ้ั อิเล็กตรอนดังกลาวหลุดไปอิเล็กตรอนในวงโคจรถัดออกมา ซึ่งมีระดับพลังงานสูงกวา วงโคจรชั้นในจึงโดดเขาแทนที่พรอมกับปลอยพลังงานสวนเกินออกมาในรูปรังสีเอ็กซ การเปลยนแปลงในอะตอมเชนนเ้ี ปนในทานองเดยวกบการเกดสเปกตรมของอะตอม ่ี   ํ ี ั ิ ั ไฮโดรเจน รังสีเอ็กซที่เกิดขึ้นจะมีความยาว คลื่นเปนคาเฉพาะ และจะแตกตางกันไป ตามชนิดของโลหะที่ใชทําเปา ดังนั้นสเปก ตรัมสวนนี้จึงมีลักษณะเปนเสน ซึ่งปรากฏ- การณนี้สนับสนุนทฤษฎีของโบรในแงที่วา อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ 64. ในหลอดผลิตรังสีเอ็กซ ถาใชความตางศักยเรง e 20,000 โวลต จงหาความถี่ของรังสีเอ็กซ วธทํา ิี (4. 83x1018 Hz) 65. ในการผลตรงสเี อกซโดยใหอเิ ลกตรอนหยด ทันทีเมื่อชนเปาปรากฎวาไดรังสีเอ็กซมีความ ิ ั ็   ็ ุ ยาวคลื่น 0.124 นาโนเมตร จงหาความตางศักยที่ใชตอกับหลอดรังสีเอ็กซ (9980 โวลต) วธทา ิี ํ 66. เมือตอหลอดรังสีเอ็กซ เขากับความตางศักย 20 กิโลโวลต จงหา ่ ก. ความเรวของอเิ ลกตรอนตวทเ่ี รวทสดทมาถงแอโนด (เปา) ถาอิเล็กตรอนเริมตน ็ ็ ั ็ ่ี ุ ่ี ึ  ่ ดวยความเรวเปนศนย  ็  ู (8.43x107 m/s) ข. ความยาวคลื่นนอยที่สุดในสเปกตรัมของรังสีเอ็กซ (61.9 pm) ! $(!
  • 25. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม วธทา ิี ํ 67(มช 27) จงเลอกขอความทถกตอง ื  ่ี ู  1. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงมากและเปนสเปกตรัมตอเนื่อง 2. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมตอเนื่องซึ่งคาความถี่สูงสุดขึ้นกับชนิด ของโลหะ ที่ใชทําเปาและยังมีสเปกตรัมเสนดวย 3. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมเสนซึ่งเกิดจากการปลอยพลังงานของ อิเลกตรอนของอะตอม เมออเิ ลกตรอนนนเปลยนวงโคจรจากทมระดบพลงงานตาไป ่ื ้ั ่ี ่ี ี ั ั ํ่ สูวงโคจรที่มีระดับพลังงานสูงและยังมีสเปกตรัมตอเนื่องดวย 4. ไมมีขอใดถูก (ขอ 3.)  วธทา ิี ํ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" สรุปผลการทดลองของพลังคและเฮิรตซ ! $)!
  • 26. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ความไมสมบูรณของทฤษฎีอะตอมโบร ถึงแมวาทฤษฎีของโบรจะสามารถอธิบาย  1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนไดดี 2. การจดตวของอเิ ลกตรอนในอะตอมของธาตไฮโดรเจน ั ั ็ ุ 3. คาพลังงานทีทาใหอะตอมทีมอเิ ล็กตรอนเพียงตัวเดียวแตกตัวเปนอิออนได ่ ํ ่ ี แตทฤษฎีของโบรไมสามารถอธบาย    ิ 1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมอืน ๆ ่ 2. วาทาไมอะตอมทอยในบรเิ วณทมสนามแมเ หลก ใหสเปกตรัมทีผดไปจากเดิม  ํ ่ี ู ่ี ี ็ ่ิ คือ สเปกตรัมหนึงๆ แยกออกเปนหลายเสน ่   3. คาความเขมของแสงของเสนสเปกตรมวาทาไมมความเขมไมเ ทากน    ั  ํ ี   ั 4. ทําไม L = mvr = nh 68(En 36) ตามการทดลองของฟรังกและเฮิรตซ ขอสรปใดไมจรง  ุ  ิ 1. อิเลกตรอนทีมพลังงานนอยกวา 4.9 eV จะมการชนแบบยดหยนกบอะตอมของไอปรอท ่ ี ี ื ุ ั 2. อิเลกตรอนทีมพลังงานมากกวา 4.9 eV จะสญเสยพลงงานสวนหนงใหกบอะตอมของ ่ ี ู ี ั  ่ึ  ั ไอปรอท 3. อะตอมของไอปรอทมคาพลงงาน ระดบพนเทากบ 4.9 eV ี ั ั ้ื  ั 4. อะตอมของไอปรอทมีคาพลังงานเปนชัน ๆ ไมตอเนอง  ้   ่ื (ขอ 3.) วธทา ิี ํ 69. ในการทดลองของฟรงคและเฮรตซ ถาเราใช หลอดทดลองทีบรรจุไฮโดรเจนแทนหลอด ั  ิ ่ ทบรรจไอปรอท จะตองใหพลังงานแกอิเลคตรอนนอยที่สุดเทาใด จึงจะทําใหรับพลังงานนั้น ่ี ุ (ใหระดับพลังงานในหนวย eV ของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเรียงจากวงในสุดเปน –13.59 , –3.40 , –1.51 , ....0 ตามลําดับ) (10.19 eV) วธทา ิี ํ ! $*!
  • 27. Physics Online VI http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม 70(En 44/1) อเิ ลกตรอนตวหนงถกเรงดวยความตางศกย 13.2 โวลต เขาชนกบอะตอมไฮโดร– ็ ั ่ึ ู    ั  ั เจน ที่อยูในสถานะพื้น การชนครงนจะสามารถทาใหอะตอมไฮโดรเจนอยในระดบพลงงาน ้ั ้ี ํ  ู ั ั สูงสุดในระดับ n เทาใด (พลังงานสถานะพื้นของไฮโดรเจน = –13.6 eV) 1. n = 7 2. n = 6 3. n = 5 4. n = 4 (ขอ 3.) วธทา ิี ํ 71(En 43/2) ในการทดลองของแฟรงค-เฮิรตซ ถาใชแกสไฮโดรเจนแทนไอปรอท และใช   ความตางศกยเ รงอเิ ลกตรอนเทากบ 10.3 โวลต แกสไฮโดรเจนจะปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา  ั  ็  ั ไดมากที่สุดกี่ความถี่ (ถากําหนดใหสถานะพื้นของอะตอมไฮโดรเจนมีพลังงาน 13.6 อิเล็กตรอนโวลต หรือ 21.76 x 10–19 จล) ู 1. 1 ความถี่ 2. 2 ความถี่ 3. 3 ความถี่ 4. 4 ความถี่ (ขอ 1.) วธทา ิี ํ 72. การทดลองของฟรังคและเฮิรตซใหผลสรุปที่สําคัญขอใด 1. อเิ ลกตรอนชนอะตอมแบบยดหยนเปนสวนใหญ ็ ื ุ   2. อเิ ลกตรอนชนกับอะตอมแบบไมยืดหยน ็  ุ 3. อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ 4. กระแสไฟฟาผานแกสที่มีความดันต่ํา (ขอ 3.) วธทา ิี ํ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! $+!