SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
การสารวจและรวบรวม Reference Resources ที่
เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริการตอบคาถามฯ
โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
ภาคต้น ปีการศึกษา 2557
23 สิงหาคม 2557
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม:
นักศึกษาสามารถรวบรวม Reference Resources ที่อยู่ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งที่
ให้บริการฟรีบนอินเทอร์เน็ต และเป็นสื่อที่ห้องสมุดต้องบอกรับเป็นสมาชิกโดยเสียค่าใช้จ่ายในการใช้ได้ เพื่อ
ประโยชน์ในการให้บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าต่อไป
2
ปัจจุบัน Reference Resources ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีทั้งที่ให้บริการฟรีบน
อินเทอร์เน็ตซึ่งอยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์ และเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ในการรวบรวม Reference Resources ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีวิธีการ ดังนี้
1. ใช้ Search Tools ประเภท Subject Directories, Search Engines หรือ Meta Search
Engines ช่วยในการค้นหาและรวบรวม ซึ่งส่วนใหญ่เป็น Reference Resources ที่ให้บริการฟรี
Search Tools เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศต่างๆ ที่อยู่บน
อินเทอร์เน็ต แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ Subject Directories, Search Engines, Meta Search
Engines และ Deep Web/Invisible Web
2. ค้นจากเว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัยที่รวบรวม และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ
สาคัญ ๆ เช่น ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น ซึ่งจะได้ Reference
Resources ทั้งที่ให้บริการฟรี และเสียค่าใช้จ่าย จากนั้นก็ทาการคัดเลือก Reference Resources ที่ดี
และคาดว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ของเรา เพื่อจัดหามาให้บริการต่อไป
3. ติดตามข่าวสารจากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ Reference Resources ชื่อเรื่อง
ใหม่ๆ เช่น วารสารชื่อ Choice, Library Journal, Booklist เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
Reference Resources ที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้เพื่อได้ Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ๆที่คาดว่าจะ
มีประโยชน์ต่อผู้ใช้ และจัดหามาให้บริการต่อไป
4. ติดตามข่าวสารจาก Catalogs ของสานักพิมพ์ หรือเว็บไซต์สานักพิมพ์ เช่น EBSCO
Industries, Inc. เป็นต้น ซึ่งเป็น Reference Resources ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งหมด ทั้งนี้เพื่อได้
Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ๆที่คาดว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ และจัดหามาให้บริการต่อไป
การรวบรวม Reference Resources โดยใช้ Subject Directories ช่วยในการรวบรวม
ก่อนอื่นมาทาความเข้าใจกับความหมายของ SubjectDirectories ก่อนว่า หมายถึงอะไร
SubjectDirectory หมายถึง “An approach to Web documents by a lexicon of subject
terms hierarchically grouped. May be browsed or searched by keywords. Subjectdirectories are
smaller than other searchable databases, because of the human involvement required to classify
documents bysubject.”
HKIEd Library (2013) ให้ความหมายของ SubjectDirectory ไว้ดังนี้
3
To locate information on the Web, you either know Web address for a specific
site, or search for a topic of interest. When searching by topic, a huge number
of pages will often be retrieved andmakes it difficult to identify the relevant
resources. Subjectdirectories help to alleviate the problem.
Subject Directories:
„are created andmaintained by the directory's staff
„allow youto browse Internet resources bydifferent subject categories
„enable you to search by keywords within the contents of the directories
(para. 1-2)
Farr-Out Links to Learning (2006) ให้ความหมายของ SubjectDirectories ไว้ว่า “A subject
directory organizes Internet sites by subject, and is usually maintained by humans instead of
software.” (para.1)
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า Subject Directories เป็นเว็บไซต์จัดทาขึ้นเพื่อให้บริการค้นคืนสารสนเทศจาก
อินเทอร์เน็ต โดยมนุษย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้จัดทาฐานข้อมูล มีการแบ่งเว็บไซต์ต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่ม เป็น
หมวดหมู่ (Categories หรือ Directories/Directory) โดยนาเอาเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาเหมือนกันจัดไว้ในกลุ่ม
เดียวกัน ในการสืบค้นจะใช้วิธีการสืบค้นแบบไล่เลียง (Browse) ผลการสืบค้นได้เป็นเว็บไซต์จานวนหนึ่งไม่มาก
นัก และแต่ละเว็บก็จะให้บรรณนิทัศน์ หรือเนื้อหาโดยย่อของเว็บประกอบไว้ด้วย ซึ่งช่วยในการตัดสินใจได้เร็วขึ้น
ว่าเป็นเว็บไซต์ที่ต้องการหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม Subject Directories ก็สามารถใช้วิธีการสืบค้นแบบพิมพ์
คาค้น (Search) ได้ด้วย
แหล่งรวมรายชื่อ Subject Directories ที่สาคัญ อาทิ
1. Recommended subject directories จัดทาโดย UC Berkeley Library
(http://www.lib.berkeley.edu/TeachingLib/Guides/Internet/SubjDirectories.html) ให้ Subject
Directories ที่นิยม เช่น ipl2 (www.ipl.org), Infomine (infomine.ucr.edu), About.com
(www.about.com), Yahoo! Directory (dir.yahoo.com)
4
2. Internet searching tools จัดทาโดย Lenn and Dixie Hannon Library
(http://hanlib.sou.edu/searchtools/subjdir.html) ให้Subject Directories ที่นิยม เช่น INFOMINE,
AcademicInfo, Intute, Virtual Reference Shelf, World Wide Web Virtual Library ฯลฯ
5
วิธีการรวบรวม Reference Resources โดยใช้ SubjectDirectories ช่วย
1. เลือก Subject Directories ชื่อเรื่องที่ต้องการจะใช้ในการรวบรวม Reference Resources เช่น
เลือก ipl2 (http://www.ipl.org/)
2. คลิกเลือก
3. พบหมวดหมู่ (Directories หรือ Categories) เลือกหมวดหมู่ใหญ่ คือ Reference
6
4. พบหมวดหมู่ย่อย คือ Almanacs, Biographies, Dictionaries, Encyclopedias ฯลฯ ซึ่งก็
คือประเภทของ Reference resources นั่นเอง เช่น ต้องการเว็บไซต์สารานุกรมที่ให้บริการฟรี ก็เลือกหมวดหมู่
ย่อย Encyclopedias (ดูต่อที่ข้อ 5)
5. พบรายชื่อเว็บไซต์ Encyclopedias จานวน 26 รายการ (ดูรูปภาพด้านล่าง) เลือกเว็บไซต์
Encyclopedias ที่ต้องการ โดยมีวิธีการ ดังนี้
5.1. เนื่องจากเว็บไซต์ที่ค้นจาก Subject Directories ผ่านการประเมินคุณค่า จากบรรณารักษ์และ
ผู้เชี่ยวชาญแล้ว จึงไม่ต้องทาการประเมินค่าอีก แต่หากใช้ Search Engines หรือ Meta Search Engines ค้นหา
ควรใช้เกณฑ์การประเมินค่าเว็บช่วยในการประเมินคุณค่าก่อนนาไปใช้
5.2. อ่านบรรณนิทัศน์ประกอบเว็บนั้นๆ เพื่อดูขอบเขตเนื้อหา และตัดสินใจว่าเว็บนั้นให้
สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการผู้ใช้หรือไม่ เนื้อหาของเว็บมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้า
สาหรับผู้ใช้ในหน่วยงานบริการสารสนเทศของตน
7
6. คัดเลือกรายชื่อเว็บไซต์ Encyclopedias ที่คาดว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้จานวน 3 เว็บ
ดังนี้
Encyclopedia.Com
Free access to reference works such as TheColumbia Encyclopedia, Oxford's World Encyclopedia,
and the Encyclopedia of World Biography and many others. Contains free citations and excerpts to
periodical articles. You have to pay money to read full text of articles.
Subject: Biographies; Encyclopedias
Encyclopedia of Laser Physics andTechnology
This is a freely accessible encyclopedia, explaining in-depth the terms and principles of topics such as
laser physics, nonlinear optics, and fiber technology. The articles are arranged alphabetically by topic,
and includes reference citations for further research.
Subject: Encyclopedias; Physics--Light, Waves, and Optics
TheEncyclopedia of Earth
Acomprehensive, authoritative, and thorough resource all about our Earth and relationship to it.
Articles written by experts andscholars
บรรณนิทัศน์
8
Subject: Agriculture & Aquaculture; Earth Sciences; Environmental Sciences & Ecology;Physics;
Life Sciences--Zoology; Encyclopedias; Homework Help--Subject Area Help--Science--Earth
Sciences; Homework Help--Subject Area Help--Science--Physics; Homework Help--Subject Area
Help--Science--Biology--Zoology (Animal biology)
ตัวอย่างที่ 1 โฮมเพจของ Encyclopedia.Com (http://www.encyclopedia.com/)
ตัวอย่างที่ 2 โฮมเพจของ Encyclopedia of Laser Physics and Technology
(http://www.rp-photonics.com/encyclopedia.html/)
9
ตัวอย่างที่ 3 โฮมเพจของ The Encyclopedia of Earth (http://www.eoearth.org/)
เมื่อได้รายชื่อเว็บไซต์ที่ต้องการแล้ว ให้ดาเนินการต่อไปนี้
1. ศึกษา ขอบเขตเนื้อหา และวิธีการสืบค้น รวมถึงเทคนิคการสืบค้นของเว็บไซต์ เหล่านั้น
เพื่อจัดทาคู่มือแนะนาการใช้ ในรูปแบบไฟล์ PPT Word PDF YouTube ฯลฯ
2. หากเป็นเว็บไซต์ที่ให้ใช้ฟรี ให้ทาการ Link มาไว้ในส่วนของ Electronic Reference
Sources หรือ Reference Databases หรือ Internet Resources for Reference (Virtual Reference
Desk) หรือ Online Reference Shelf (Selected Reference Resources on the Web) หรือ Reference
Resources Online ของห้องสมุดต่อไป โดยนาเว็บไซต์จัดเรียงภายใต้ประเภทของ Reference Resources
(เช่น Almanac, Dictionaries, Encyclopedias เป็นต้น)
ต่อไปจะให้ดูตัวอย่างของห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่ได้เชื่อมโยงเว็บไซต์ของ Reference
Resources ที่ให้บริการฟรีรวมกับ Reference Resources ที่ห้องสมุดเสียค่าใช้จ่ายในการบอกรับเป็นสมาชิกเพื่อ
ใช้ฐานข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นได้ ไว้บนเว็บไซต์ของห้องสมุด
10
Rutgers University Libraries (http://libguides.rutgers.edu/referencecontents)
11
The University of Chicago Library
(http://www.lib.uchicago.edu/e/using/reference/refsources.html)
12
Princeton University Library
(http://libguides.princeton.edu/content.php?pid=12882&sid=4986673)
Tips:
เพื่อให้เข้าใจในเรื่องการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของ Reference Resources ไว้บนเว็บไซต์ของห้องสมุด
นักศึกษาควรลองค้นเข้าไปในห้องสมุดหลายๆ แห่ง โดยเฉพาะห้องสมุดในต่างประเทศ เพื่อศึกษาเรื่องข้างต้น
การรวบรวม Reference Resources โดยใช้ Search Enginesหรือ Meta Search Enginesช่วยในการ
รวบรวม
ให้พิมพ์คาค้นลงไปในช่อง Search เช่น dictionaries encyclopedias almanac เป็น
ต้น
13
ตัวอย่างเช่น ต้องการรวบรวมเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionaries) ก็มี
ขั้นตอนง่ายๆ โดยพิมพ์คาค้นคือคาว่า Biographical Dictionaries ลงไปในช่อง Search ของ Search Engines
หรือ Meta Search Engines ชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Google (เป็น Search Engines) Dogpile (เป็น Meta
Search Engines) เป็นต้น
ต่อไปจะเป็นตัวอย่างการใช้ Google ค้นหาเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical
Dictionaries)
14
ต่อไปจะเป็นตัวอย่างการใช้ Dogpile ค้นหาเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical
Dictionaries)
สาหรับขั้นตอนอื่นๆก็จะเหมือนกับการใช้ SubjectDirectories ช่วยในการรวบรวมและคัดเลือกมา
ไว้ให้บริการ เพียงแต่ควรมีการประเมินค่าเว็บไซต์ก่อนนามาใช้ (ดูรายละเอียดในเกณฑ์การประเมินคุณค่า
Reference Resources)
15
การรวบรวม Reference Resources โดยค้นจากเว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัย
เว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัย หมายถึง เว็บไซต์ของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย
หรือสมาคมวิชาชีพ เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น University of Delaware Library
(http://www2.lib.udel.edu/ref/virtual/index.htm)
16
ตัวอย่างเช่น American Library Association
(http://www.ala.org/offices/library/librariantools/librariantools)
17
การรวบรวม Reference Resources โดยติดตามข่าวสารจากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือแนะนา
Reference Databases ใหม่ ๆ เช่น วารสาร Choice, Booklist, Library Journal เป็นต้น
Choice (http://www.ala.org/acrl/choice)
18
Library Journal (http://reviews.libraryjournal.com/?ref=menu)
19
การรวบรวม ReferenceResources จากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือแนะนา
ReferenceDatabases ใหม่ ๆ เช่น วารสาร Choice, Booklist, Library Journal เป็นต้น การประเมิน
ค่าทาได้โดยอ่านบทวิจารณ์ที่ทางวารสารจัดทา และตรวจสอบขอบเขตเนื้อหาของ Reference Resources
ว่ามีประโยชน์กับผู้ใช้หรือไม่ หากมีประโยชน์ก็จัดหามาให้บริการต่อไป
20
การรวบรวม Reference Resources โดยติดตามข่าวสารจาก Catalogsของสานักพิมพ์ หรือจากเว็บไซต์
ของสานักพิมพ์นั้น ๆ โดยเฉพาะถ้าเป็น ReferenceResources ที่ต้องสั่งซื้อ
EBSCO Industries, Inc (http://www.ebscohost.com/wilson)
21
เนื่องจากสานักพิมพ์มีการประเมินคุณค่า Reference Resources ไว้แล้ว ดังนั้นก่อนการ
คัดเลือกเพื่อจัดหา ReferenceResources ชื่อเรื่องใดมาไว้ให้บริการควรอ่านบทวิจารณ์เหล่านั้น และ
ตรวจสอบขอบเขตเนื้อหาว่ามีประโยชน์กับผู้ใช้หรือไม่ หากมีประโยชน์ก็จัดหามาให้บริการต่อไป
22
แบบฝึกหัด
1. สมมุติว่าท่านทางานในสานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และได้รับมอบหมายจาก
ผู้อานวยการห้องสมุดให้รวบรวมเว็บไซต์ของ Reference Resources ที่ให้บริการฟรีบนอินเทอร์เน็ต ที่คาดว่าจะมี
ประโยชน์ต่อผู้ใช้ห้องสมุด จงบอกวิธีการและขั้นตอนการทางานมาโดยละเอียด
2. ให้นักศึกษารวบรวม Reference Resources ที่เป็นเว็บไซต์ฟรีมา 2 ชื่อเรื่อง พร้อมบอกขอบเขต
เนื้อหาของเว็บไซต์ โดยใช้ Subject Directories หรือ Search Engines หรือ Meta Search Engines และ
ให้เลือก 1เว็บเพื่ออธิบายวิธีการใช้โดยละเอียด โดยนาเสนอหน้าชั้นเรียนด้วยโปรแกรม Keynote ในไอแพด
23
บรรณานุกรม
ศรีอร เจนประภาพงศ์. (2555).การสารวจและรวบรวม Internet Reference Resources เพื่อให้บริการสารสนเทศ
[พาวเวอร์พอยด์สไลด์]. สืบค้นจาก
http://www.slideshare.net/thai2104/internet-reference-resources
Farr-Out Links to Learning. (2006). Effective web searching: Subjectdirectories. Retrieved August
23, 2014,from http://farr-integratingit.net/Trainings/Searching/subjectdirectory-def.htm
HKIEd Library. (2013). Internet resources. Retrieved August 23,2014, from
http://www.lib.ied.edu.hk/is/tutorial/module3/internet_resources/4_1/4_1_content.htm
Lenn andDixie Hannon Library. (2012). Internet searching tools . Retrieved August23, 2014, from
http://hanlib.sou.edu/searchtools/subjdir.html
UC Berkeley Library. (2012). Recommended subject directories. Retrieved August 23, 2014,from
http://www.lib.berkeley.edu/TeachingLib/Guides/Internet/SubjDirectories.html
*********************

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
Beauso English
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
eden95487
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2
giftsuphattra
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
Sutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Chantana Papattha
 
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2
laymorn
 

Was ist angesagt? (17)

เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2บริการห้องสมุด2
บริการห้องสมุด2
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information services
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ใบงาน 14
ใบงาน 14ใบงาน 14
ใบงาน 14
 
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น V2
 

Ähnlich wie การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้น

การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
Srion Janeprapapong
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
Joy sarinubia
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
Srion Janeprapapong
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
sutthirat
 

Ähnlich wie การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้น (20)

การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
Onlinedatabase
OnlinedatabaseOnlinedatabase
Onlinedatabase
 
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษาแนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
แนวโน้มของห้องสมุดอุดมศึกษา
 
About Open Access
About Open AccessAbout Open Access
About Open Access
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
Web opac
Web opacWeb opac
Web opac
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
4
44
4
 
Search techniques
Search techniquesSearch techniques
Search techniques
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
E Journal ภ.ภาษาไทย 11 ธ.ค.52
E Journal ภ.ภาษาไทย 11 ธ.ค.52E Journal ภ.ภาษาไทย 11 ธ.ค.52
E Journal ภ.ภาษาไทย 11 ธ.ค.52
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 

Mehr von Srion Janeprapapong

การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
Srion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
Srion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 

Mehr von Srion Janeprapapong (15)

หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้น

  • 1. 1 การสารวจและรวบรวม Reference Resources ที่ เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริการตอบคาถามฯ โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ ภาคต้น ปีการศึกษา 2557 23 สิงหาคม 2557 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม: นักศึกษาสามารถรวบรวม Reference Resources ที่อยู่ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งที่ ให้บริการฟรีบนอินเทอร์เน็ต และเป็นสื่อที่ห้องสมุดต้องบอกรับเป็นสมาชิกโดยเสียค่าใช้จ่ายในการใช้ได้ เพื่อ ประโยชน์ในการให้บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าต่อไป
  • 2. 2 ปัจจุบัน Reference Resources ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีทั้งที่ให้บริการฟรีบน อินเทอร์เน็ตซึ่งอยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์ และเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการรวบรวม Reference Resources ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีวิธีการ ดังนี้ 1. ใช้ Search Tools ประเภท Subject Directories, Search Engines หรือ Meta Search Engines ช่วยในการค้นหาและรวบรวม ซึ่งส่วนใหญ่เป็น Reference Resources ที่ให้บริการฟรี Search Tools เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศต่างๆ ที่อยู่บน อินเทอร์เน็ต แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ Subject Directories, Search Engines, Meta Search Engines และ Deep Web/Invisible Web 2. ค้นจากเว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัยที่รวบรวม และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ สาคัญ ๆ เช่น ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย สมาคมวิชาชีพ เป็นต้น ซึ่งจะได้ Reference Resources ทั้งที่ให้บริการฟรี และเสียค่าใช้จ่าย จากนั้นก็ทาการคัดเลือก Reference Resources ที่ดี และคาดว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ของเรา เพื่อจัดหามาให้บริการต่อไป 3. ติดตามข่าวสารจากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ Reference Resources ชื่อเรื่อง ใหม่ๆ เช่น วารสารชื่อ Choice, Library Journal, Booklist เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็น Reference Resources ที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้เพื่อได้ Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ๆที่คาดว่าจะ มีประโยชน์ต่อผู้ใช้ และจัดหามาให้บริการต่อไป 4. ติดตามข่าวสารจาก Catalogs ของสานักพิมพ์ หรือเว็บไซต์สานักพิมพ์ เช่น EBSCO Industries, Inc. เป็นต้น ซึ่งเป็น Reference Resources ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งหมด ทั้งนี้เพื่อได้ Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ๆที่คาดว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ และจัดหามาให้บริการต่อไป การรวบรวม Reference Resources โดยใช้ Subject Directories ช่วยในการรวบรวม ก่อนอื่นมาทาความเข้าใจกับความหมายของ SubjectDirectories ก่อนว่า หมายถึงอะไร SubjectDirectory หมายถึง “An approach to Web documents by a lexicon of subject terms hierarchically grouped. May be browsed or searched by keywords. Subjectdirectories are smaller than other searchable databases, because of the human involvement required to classify documents bysubject.” HKIEd Library (2013) ให้ความหมายของ SubjectDirectory ไว้ดังนี้
  • 3. 3 To locate information on the Web, you either know Web address for a specific site, or search for a topic of interest. When searching by topic, a huge number of pages will often be retrieved andmakes it difficult to identify the relevant resources. Subjectdirectories help to alleviate the problem. Subject Directories: „are created andmaintained by the directory's staff „allow youto browse Internet resources bydifferent subject categories „enable you to search by keywords within the contents of the directories (para. 1-2) Farr-Out Links to Learning (2006) ให้ความหมายของ SubjectDirectories ไว้ว่า “A subject directory organizes Internet sites by subject, and is usually maintained by humans instead of software.” (para.1) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า Subject Directories เป็นเว็บไซต์จัดทาขึ้นเพื่อให้บริการค้นคืนสารสนเทศจาก อินเทอร์เน็ต โดยมนุษย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้จัดทาฐานข้อมูล มีการแบ่งเว็บไซต์ต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่ม เป็น หมวดหมู่ (Categories หรือ Directories/Directory) โดยนาเอาเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาเหมือนกันจัดไว้ในกลุ่ม เดียวกัน ในการสืบค้นจะใช้วิธีการสืบค้นแบบไล่เลียง (Browse) ผลการสืบค้นได้เป็นเว็บไซต์จานวนหนึ่งไม่มาก นัก และแต่ละเว็บก็จะให้บรรณนิทัศน์ หรือเนื้อหาโดยย่อของเว็บประกอบไว้ด้วย ซึ่งช่วยในการตัดสินใจได้เร็วขึ้น ว่าเป็นเว็บไซต์ที่ต้องการหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม Subject Directories ก็สามารถใช้วิธีการสืบค้นแบบพิมพ์ คาค้น (Search) ได้ด้วย แหล่งรวมรายชื่อ Subject Directories ที่สาคัญ อาทิ 1. Recommended subject directories จัดทาโดย UC Berkeley Library (http://www.lib.berkeley.edu/TeachingLib/Guides/Internet/SubjDirectories.html) ให้ Subject Directories ที่นิยม เช่น ipl2 (www.ipl.org), Infomine (infomine.ucr.edu), About.com (www.about.com), Yahoo! Directory (dir.yahoo.com)
  • 4. 4 2. Internet searching tools จัดทาโดย Lenn and Dixie Hannon Library (http://hanlib.sou.edu/searchtools/subjdir.html) ให้Subject Directories ที่นิยม เช่น INFOMINE, AcademicInfo, Intute, Virtual Reference Shelf, World Wide Web Virtual Library ฯลฯ
  • 5. 5 วิธีการรวบรวม Reference Resources โดยใช้ SubjectDirectories ช่วย 1. เลือก Subject Directories ชื่อเรื่องที่ต้องการจะใช้ในการรวบรวม Reference Resources เช่น เลือก ipl2 (http://www.ipl.org/) 2. คลิกเลือก 3. พบหมวดหมู่ (Directories หรือ Categories) เลือกหมวดหมู่ใหญ่ คือ Reference
  • 6. 6 4. พบหมวดหมู่ย่อย คือ Almanacs, Biographies, Dictionaries, Encyclopedias ฯลฯ ซึ่งก็ คือประเภทของ Reference resources นั่นเอง เช่น ต้องการเว็บไซต์สารานุกรมที่ให้บริการฟรี ก็เลือกหมวดหมู่ ย่อย Encyclopedias (ดูต่อที่ข้อ 5) 5. พบรายชื่อเว็บไซต์ Encyclopedias จานวน 26 รายการ (ดูรูปภาพด้านล่าง) เลือกเว็บไซต์ Encyclopedias ที่ต้องการ โดยมีวิธีการ ดังนี้ 5.1. เนื่องจากเว็บไซต์ที่ค้นจาก Subject Directories ผ่านการประเมินคุณค่า จากบรรณารักษ์และ ผู้เชี่ยวชาญแล้ว จึงไม่ต้องทาการประเมินค่าอีก แต่หากใช้ Search Engines หรือ Meta Search Engines ค้นหา ควรใช้เกณฑ์การประเมินค่าเว็บช่วยในการประเมินคุณค่าก่อนนาไปใช้ 5.2. อ่านบรรณนิทัศน์ประกอบเว็บนั้นๆ เพื่อดูขอบเขตเนื้อหา และตัดสินใจว่าเว็บนั้นให้ สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการผู้ใช้หรือไม่ เนื้อหาของเว็บมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้า สาหรับผู้ใช้ในหน่วยงานบริการสารสนเทศของตน
  • 7. 7 6. คัดเลือกรายชื่อเว็บไซต์ Encyclopedias ที่คาดว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้จานวน 3 เว็บ ดังนี้ Encyclopedia.Com Free access to reference works such as TheColumbia Encyclopedia, Oxford's World Encyclopedia, and the Encyclopedia of World Biography and many others. Contains free citations and excerpts to periodical articles. You have to pay money to read full text of articles. Subject: Biographies; Encyclopedias Encyclopedia of Laser Physics andTechnology This is a freely accessible encyclopedia, explaining in-depth the terms and principles of topics such as laser physics, nonlinear optics, and fiber technology. The articles are arranged alphabetically by topic, and includes reference citations for further research. Subject: Encyclopedias; Physics--Light, Waves, and Optics TheEncyclopedia of Earth Acomprehensive, authoritative, and thorough resource all about our Earth and relationship to it. Articles written by experts andscholars บรรณนิทัศน์
  • 8. 8 Subject: Agriculture & Aquaculture; Earth Sciences; Environmental Sciences & Ecology;Physics; Life Sciences--Zoology; Encyclopedias; Homework Help--Subject Area Help--Science--Earth Sciences; Homework Help--Subject Area Help--Science--Physics; Homework Help--Subject Area Help--Science--Biology--Zoology (Animal biology) ตัวอย่างที่ 1 โฮมเพจของ Encyclopedia.Com (http://www.encyclopedia.com/) ตัวอย่างที่ 2 โฮมเพจของ Encyclopedia of Laser Physics and Technology (http://www.rp-photonics.com/encyclopedia.html/)
  • 9. 9 ตัวอย่างที่ 3 โฮมเพจของ The Encyclopedia of Earth (http://www.eoearth.org/) เมื่อได้รายชื่อเว็บไซต์ที่ต้องการแล้ว ให้ดาเนินการต่อไปนี้ 1. ศึกษา ขอบเขตเนื้อหา และวิธีการสืบค้น รวมถึงเทคนิคการสืบค้นของเว็บไซต์ เหล่านั้น เพื่อจัดทาคู่มือแนะนาการใช้ ในรูปแบบไฟล์ PPT Word PDF YouTube ฯลฯ 2. หากเป็นเว็บไซต์ที่ให้ใช้ฟรี ให้ทาการ Link มาไว้ในส่วนของ Electronic Reference Sources หรือ Reference Databases หรือ Internet Resources for Reference (Virtual Reference Desk) หรือ Online Reference Shelf (Selected Reference Resources on the Web) หรือ Reference Resources Online ของห้องสมุดต่อไป โดยนาเว็บไซต์จัดเรียงภายใต้ประเภทของ Reference Resources (เช่น Almanac, Dictionaries, Encyclopedias เป็นต้น) ต่อไปจะให้ดูตัวอย่างของห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่ได้เชื่อมโยงเว็บไซต์ของ Reference Resources ที่ให้บริการฟรีรวมกับ Reference Resources ที่ห้องสมุดเสียค่าใช้จ่ายในการบอกรับเป็นสมาชิกเพื่อ ใช้ฐานข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นได้ ไว้บนเว็บไซต์ของห้องสมุด
  • 10. 10 Rutgers University Libraries (http://libguides.rutgers.edu/referencecontents)
  • 11. 11 The University of Chicago Library (http://www.lib.uchicago.edu/e/using/reference/refsources.html)
  • 12. 12 Princeton University Library (http://libguides.princeton.edu/content.php?pid=12882&sid=4986673) Tips: เพื่อให้เข้าใจในเรื่องการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของ Reference Resources ไว้บนเว็บไซต์ของห้องสมุด นักศึกษาควรลองค้นเข้าไปในห้องสมุดหลายๆ แห่ง โดยเฉพาะห้องสมุดในต่างประเทศ เพื่อศึกษาเรื่องข้างต้น การรวบรวม Reference Resources โดยใช้ Search Enginesหรือ Meta Search Enginesช่วยในการ รวบรวม ให้พิมพ์คาค้นลงไปในช่อง Search เช่น dictionaries encyclopedias almanac เป็น ต้น
  • 13. 13 ตัวอย่างเช่น ต้องการรวบรวมเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionaries) ก็มี ขั้นตอนง่ายๆ โดยพิมพ์คาค้นคือคาว่า Biographical Dictionaries ลงไปในช่อง Search ของ Search Engines หรือ Meta Search Engines ชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Google (เป็น Search Engines) Dogpile (เป็น Meta Search Engines) เป็นต้น ต่อไปจะเป็นตัวอย่างการใช้ Google ค้นหาเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionaries)
  • 14. 14 ต่อไปจะเป็นตัวอย่างการใช้ Dogpile ค้นหาเว็บไซต์อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionaries) สาหรับขั้นตอนอื่นๆก็จะเหมือนกับการใช้ SubjectDirectories ช่วยในการรวบรวมและคัดเลือกมา ไว้ให้บริการ เพียงแต่ควรมีการประเมินค่าเว็บไซต์ก่อนนามาใช้ (ดูรายละเอียดในเกณฑ์การประเมินคุณค่า Reference Resources)
  • 15. 15 การรวบรวม Reference Resources โดยค้นจากเว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัย เว็บไซต์องค์กรด้านการศึกษา/วิจัย หมายถึง เว็บไซต์ของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย หรือสมาคมวิชาชีพ เป็นต้น ตัวอย่างเช่น University of Delaware Library (http://www2.lib.udel.edu/ref/virtual/index.htm)
  • 16. 16 ตัวอย่างเช่น American Library Association (http://www.ala.org/offices/library/librariantools/librariantools)
  • 17. 17 การรวบรวม Reference Resources โดยติดตามข่าวสารจากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือแนะนา Reference Databases ใหม่ ๆ เช่น วารสาร Choice, Booklist, Library Journal เป็นต้น Choice (http://www.ala.org/acrl/choice)
  • 19. 19 การรวบรวม ReferenceResources จากวารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือแนะนา ReferenceDatabases ใหม่ ๆ เช่น วารสาร Choice, Booklist, Library Journal เป็นต้น การประเมิน ค่าทาได้โดยอ่านบทวิจารณ์ที่ทางวารสารจัดทา และตรวจสอบขอบเขตเนื้อหาของ Reference Resources ว่ามีประโยชน์กับผู้ใช้หรือไม่ หากมีประโยชน์ก็จัดหามาให้บริการต่อไป
  • 20. 20 การรวบรวม Reference Resources โดยติดตามข่าวสารจาก Catalogsของสานักพิมพ์ หรือจากเว็บไซต์ ของสานักพิมพ์นั้น ๆ โดยเฉพาะถ้าเป็น ReferenceResources ที่ต้องสั่งซื้อ EBSCO Industries, Inc (http://www.ebscohost.com/wilson)
  • 21. 21 เนื่องจากสานักพิมพ์มีการประเมินคุณค่า Reference Resources ไว้แล้ว ดังนั้นก่อนการ คัดเลือกเพื่อจัดหา ReferenceResources ชื่อเรื่องใดมาไว้ให้บริการควรอ่านบทวิจารณ์เหล่านั้น และ ตรวจสอบขอบเขตเนื้อหาว่ามีประโยชน์กับผู้ใช้หรือไม่ หากมีประโยชน์ก็จัดหามาให้บริการต่อไป
  • 22. 22 แบบฝึกหัด 1. สมมุติว่าท่านทางานในสานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และได้รับมอบหมายจาก ผู้อานวยการห้องสมุดให้รวบรวมเว็บไซต์ของ Reference Resources ที่ให้บริการฟรีบนอินเทอร์เน็ต ที่คาดว่าจะมี ประโยชน์ต่อผู้ใช้ห้องสมุด จงบอกวิธีการและขั้นตอนการทางานมาโดยละเอียด 2. ให้นักศึกษารวบรวม Reference Resources ที่เป็นเว็บไซต์ฟรีมา 2 ชื่อเรื่อง พร้อมบอกขอบเขต เนื้อหาของเว็บไซต์ โดยใช้ Subject Directories หรือ Search Engines หรือ Meta Search Engines และ ให้เลือก 1เว็บเพื่ออธิบายวิธีการใช้โดยละเอียด โดยนาเสนอหน้าชั้นเรียนด้วยโปรแกรม Keynote ในไอแพด
  • 23. 23 บรรณานุกรม ศรีอร เจนประภาพงศ์. (2555).การสารวจและรวบรวม Internet Reference Resources เพื่อให้บริการสารสนเทศ [พาวเวอร์พอยด์สไลด์]. สืบค้นจาก http://www.slideshare.net/thai2104/internet-reference-resources Farr-Out Links to Learning. (2006). Effective web searching: Subjectdirectories. Retrieved August 23, 2014,from http://farr-integratingit.net/Trainings/Searching/subjectdirectory-def.htm HKIEd Library. (2013). Internet resources. Retrieved August 23,2014, from http://www.lib.ied.edu.hk/is/tutorial/module3/internet_resources/4_1/4_1_content.htm Lenn andDixie Hannon Library. (2012). Internet searching tools . Retrieved August23, 2014, from http://hanlib.sou.edu/searchtools/subjdir.html UC Berkeley Library. (2012). Recommended subject directories. Retrieved August 23, 2014,from http://www.lib.berkeley.edu/TeachingLib/Guides/Internet/SubjDirectories.html *********************