SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 85
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
1
สื่อผสม (Multimedia)
วัตถุประสงค
2
เพื่อใหเขาใจในความหมายของมัลติมีเดีย
เพื่อใหเขาใจองคประกอบของมัลติมีเดีย
เพื่อใหเขาใจระบบสี RGB และ CMYK
เพื่อใหเขาใจการทํางานของแสงและสี
ความหมาย
3
มัลติ (Multi) หมายถึง หลายๆ อยางผสมกัน (มีศัพทใกลเคียงกัน เชน Many,
Much และ Multiple เปนตน)
มีเดีย (Media) หมายถึง สื่อ ขาวสาร ชองทางการติดตอสื่อสาร
"สื่อผสม (Multimedia)" คือการผสมผสานหรือบูรณาการของสื่อตางๆ มากกวา 2
ประเภทขึ้นไป เพื่อสรางเนื้อหาสาระใหมสําหรับการสอนและการสื่อสาร โดยอาศัย
เครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือหรืออุปกรณการผลิตและการนําเสนอ
องคประกอบของมัลติมีเดีย
4
มัลติมีเดีย (Multimedia) จะตองมีองคประกอบตั้งแต 2 องคประกอบเปนอยาง
นอย เชน ใชตัวอักษรรวมกับการใชสีที่แตกตางกัน 2-3 สี ภาพศิลป ภาพนิ่ง จากการ
วาด หรือการสแกน นอกนั้น ก็อาจมีเสียงและวิดีทัศนรวมอยูดวยก็ได
Text
Graphics
MultimediaMultimedia
Audio Animation
Video
องคประกอบของมัลติมีเดีย (ตอ)
5
Text ตัวอักษร ในระบบคอมพิวเตอรเปนตัวอักษรระบบดิจิตอล ในโปรแกรม
คอมพิวเตอรจะมีตัวอักษรใหเลือกหลาบแบบ หลายขนาด
Graphics เปนภาพกราฟกที่ไมมีการเคลื่อนไหว เชน ภาพถาย หรือภาพวาด เปน
ตน ชวยในการเสริมความชัดเจนใหกับ Text เพื่อใหเขาใจงายขึ้น
Audio ชวยใหเกิดบรรยากาศที่นาสนใจในการรับรูทางหู โดยอาศัยจะนําเสนอในรูป
ของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสียงบรรยาย หรือเสียงพากย เปนตน
ไฟลเสียงมีหลายประเภท เชน Midi ,Wav ,Mp3
Animation หมายถึง การทําใหภาพเคลื่อนไหว โดยการเปลี่ยนตําแหนงของภาพ
หรือการแสดงภาพหลายๆ ภาพที่แตกตางกันอยางรวดเร็ว
Video นับเปนสื่ออีกรูปหนึ่งที่นิยมใชกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เนื่องจากสามารถ
แสดงผลไดทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียงไปพรอมๆ กัน
ตัวอักษร (Text)
6
แอสกี (ASCII) ยอมาจาก American Standard Code for Information
Interchange) ใชเพียงประเทศสหรัฐอเมริกาเทานั้น
ยูนิโคด (Unicode) เปนรหัสที่พัฒนาขึ้นเพื่อการใชงานที่เปนสากล โดยผูพัฒนาคือ
องคกรกําหนดมาตรฐานสากลหรือไอเอสโอ (ISO : Internation Organization for
Standardization) เพื่อรองรับตัวอักษรและสัญลักษณแบบตางๆ ของแตละภาษา
เปนรหัสขนาด 16 บิต สามารถรองรับตัวอักษรไดมาถึง 65,536 (รหัส) ในรูปแบบ
ของ “ Code Point”
รูปแบบตัวอักษร(Fonts) แบงเปน 3 ระดับ ไดแก
7
1.ประเภท (Category) เปนที่รวมของตระกูล (Family) และชื่อเฉพาะ (Face) ของแตละ
ตัวอักษร (Font)แบงไดดังนี้
1.1 Serif: เปนแบบอักษรที่ใชเปนมาตรฐาน ในแตละตัวอักษรจะมีเสนคลายๆ ขีด-
เหลี่ยม
1.2 Sans-Serif: เปนแบบอักษรที่คุนเคยมากกวา Serif เพราะเปนที่นิยมของผูเขียน
เว็บ มีรูปรางมนกลม และดูสวยงาม
1.3 Monospaced: เปนแบบอักษรที่มีขนาดความกวางของทุกตัวอักษรเทากันหมด
บางครั้งเรียกวา Typewriter Fonts เนื่องจากมีลักษณะใกลเคียงกับตัวอักษรที่ไดจาก
เครื่องพิมพดีด
1.4 Script: เปนแหลงรวมของแบบอักษรทุกชนิด ที่มีลักษณะพิเศษตางๆ เชน มีจุด มี
หาง เปนตน
รูปแบบตัวอักษร(Fonts) (ตอ)
8
2. ตระกูล (Family)
เปนหมวดที่ยอยลงไปจาก Category แตตัวอักษรที่อยูในตระกูลเดียวกัน จะมี
บรรพบุรุษรวมกัน
ตารางแสดงความสัมพันธระหวาง Category และ Family
Category Family
Serif Times, Century Schoolbook, Garamond
Sans-Serif Helvetica, Arial, Verdana
Monospaced Courier, Courier New
Decorative Whimsy, Arribal, Bergell
รูปแบบตัวอักษร(Fonts) (ตอ)
9
3. ชื่อเฉพาะ (Face)
เปนตัวอักษรที่สามารถแสดงความสัมพันธระหวาง Family และ Face
Family Face
Time Roman, Italic
Arial Regular, Bold, Italic
Courier Regular, Oblique
Whimsy Regular, Bold
การใชงานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมีเดีย
10
ในการใชตัวอักษรที่มีขนาดเล็กจะตองชัดเจนและอานงาย
ขอความที่ตองการจะเนนควรจะมีลักษณะที่แตกตางจากขอความธรรมดา
เชน มีการขีดเสนใต ตัวอักษรตัวเอียง หรือตัวหนา
จัดชองวางของบรรทัดใหเหมาะสมและอานงาย
จัดขนาดของตัวอักษรตามความสําคัญของขอความ
หัวขอที่ใชตัวอักษรขนาดใหญควรมีระยะชองไฟของตัวอักษรที่ใหความรูสึกที่
ดี ไมติด หรือหางกันเกินไป
จัดสีของขอความใหอานงาย มีความแตกตางจากสีของพื้นหลัง
ควรใชวิธีการ Anti-aliasing กับหัวขอที่เปนอักษรกราฟฟกขนาดใหญ
การใชงานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมีเดีย
(ตอ)
11
หากตองการจัดขอความใหอยูกึ่งกลางบรรทัด ไมควรทําติดตอกันหลายบรรทัดจะดูไม
สวยงาม
ในภาษาอังกฤษควรใชอักษรพิมพใหญ และพิมพเล็กอยางเหมาะสม
เนนความนาสนใจของขอความดวยการไลแสงเงาใหตัวอักษรหรือวางหัวขอหลักๆ บนพื้นที่
วาง ซึ่งเปนจุดที่สนใจที่มองเห็นไดอยางชัดเจน
สรรหาขอคิด คําเสนอแนะ หรือคําติชมจากหลายๆ ความคิดมาสรุปเพื่อเลือกใชตัวอักษรที่
เหมาะสมที่สุด
ใชคําศัพทที่มีความหมายนาสนใจและเขาใจงาย เพื่อเชื่อมโยงหัวขอกับเนื้อความเขา
ดวยกัน
ขอความสําหรับเชื่อมโยงบนหนาเว็บเพจ ควรมีลักษณะตัวอักษรที่เนนขอความ เชน ใส
สีสัน ขีดเสนใตขอความ ควรหลีกเลี่ยงการเนนดวยสีเขียวบนพื้นสีแดง
เนนเนื้อความที่เปนจุดสําคัญดวยการทําแถบสีที่ขอความนั้นๆ แตไมควรใหเหมือน Text
Link หรือขอความบนปุมกด Button
การจัดวางขอความสําหรับการอาน (Fields for Reading)
12
จัดวางขอความสําคัญๆ แตละหัวขอใหอยูบนจอภาพเดียวกัน
แบงเนื้อความอธิบายเปนสวนๆ แยกยอยกันไปในแตละยอหนา
ใชตัวอักษรที่อานงาย และมีขนาดของตัวอักษรไมใหญหรือเล็กจนเกินไป
เชื่อมโยงความสัมพันธของขอความใหงายตอการเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยาง
รวดเร็ว
ภาพกราฟก (Graphics)
13
กราฟก (Graphic) ก็คือภาพตาง ๆ ที่เกิดจากการสรางสรรค ไมวาจะเปนวาด
เสน หรือระบายสีจนเกิดเปนภาพ ลักษณะตาง ๆ ขึ้นมา สวนคําวา
คอมพิวเตอรกราฟก (Computer Graphic – CG) ก็คือภาพตาง ๆ ที่เกิดขึ้
นมา จากการใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการสรางสรรค
ตัวอยางโปรแกรม
14
โปรแกรมสําหรับวาดภาพ เชน โปรแกรม Microsoft Paint,
Illustrator, Corel Painter หรือ Corel DRAW เปนตน
โปรแกรมสําหรับการตกแตงภาพ เชน Photoshop, Paint Shop Pro
หรือ GIMP เปนตน
โปรแกรมสําหรับงานตัดตอหรือแกไขวิดีโอ Premiere Pro, Final
Cut Pro, After Effect, Newtek VT หรือ Combustion เปนตน
โปรแกรมสําหรับสรางงาน 2D Animation เชน Flash, Moho หรือ
Toon Boom เปนตน
โปรแกรมสําหับสรางงาน 3D Animation เชน 3ds Max, Maya,
Lightwave, Softimage XSI หรือ Cinema 4D เปนตน
ประเภทของภาพ
15
วิธีการที่เครื่องคอมพิวเตอรจะสามารถสรางภาพ และบันทึกขอมูล
ของภาพนั้นเก็บเอาไวมีอยู 2 วิธี หลัก ๆ ดวยกัน คือ
วิธีการสรางภาพแบบ Raster Graphic
วิธีการสรางภาพแบบ Vector Graphic
Raster Graphic
16
เปนวิธีการสรางภาพและจดจําขอมูลของภาพแบบที่เรียบ
งายที่สุด อาศัยหลักการ โดยนําเอาจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกวา Pixel
หลาย ๆ จุดมาวางเรียงกันจนกลายเปนภาพขนาดใหญ ยิ่งจุดสี
หรือ Pixel มีจํานวนมากเทาไหร ภาพก็ยิ่งมีรายละเอียดมาก
แลดูสวยงาม (ความละเอียดของภาพแบบ Raster วัดเปน
จํานวนจุด Pixel ตอพื้นที่ 1 ตารานิ้ว หรือตารางเซนติเมตร)
Raster Graphic (ตอ)
17
ถาเราขยายภาพที่เปน Raster Graphic ขึ้นมากๆ เราจะพบวาภาพนั้นประกอบไป
ดวยจุดสีสี่เหลี่ยมที่ เรียกวา Pixel หลาย ๆ จุดมาวางเรียงตอกัน ไฟลประเภทนี้ไดแก
BMP, CGM, GIF, HGL, JPEG, PBM, PCX, PGM, PNM, PPM, PSD, RLE, TGA,
TIFF และ WPG
สวนใหญภาพประเภทนี้จะนํามาจากแหลงขอมูลตางๆ ผานโปรแกรมที่รองรับการ
ทํางานเกี่ยวกับรูปภาพ การคัดลอก (Copy) ภาพที่แสดงบนจอภาพ โดยกดปุม
Print Screen บนคียบอรด จากนั้นวาง (Paste) ในโปรแกรมที่สามารถแกไขภาพ
หรือโปรแกรมที่จะใชพิมพ
การนําภาพถายผานทางเครื่องสแกนเนอร (Scanner) หรือรูปภาพจากกลอง
ถายภาพดิจิตอลหรือกลองวิดีโอดิจิตอล เปนตน
Vector Graphic
18
เปนภาพที่มีวิธีการสรางภาพและบันทึกขอมูลของภาพที่แตกตาง
ออกไปอยางสิ้นเชิง เพราะภาพแบบ Vector จะอาศัยการทางเลขาคณิตมา
เปนตัวชวยในการสรางภาพและบันทึกขอมูลภาพ เชน ภาพสี่เหลี่ยม 1 รูป
แทนที่จะบันทึกดวยขอมูลของจุด Pixel หลาย ๆ จุด ก็บันทึกเปนสูตร
คณิตศาสตรแทน เชน จําวาจุดทั้ง 4 มุม ของภาพสี่เหลี่ยมวางอยูในตําแหนง
ใดบาง สีภายในภาพสี่เหลี่ยมเปนสีอะไร ซึ่งทั้งหมดนี้จะเปนขอมูลที่มีจํานวน
นอยกวาขอมูลของจุด Pixel ทั้งหมดในภาพสี่เหลี่ยมมาก
Vector Graphic (ตอ)
19
เนื่องจากภาพแบบ Vector เปนภาพแบบที่สรางจากสูตรคณิตศาสตรหรือเลขาคณิต
จึงทําใหภาพแบบ Vector ไมมีปญหาเรื่องความคมชัดเมื่อขยายภาพขึ้นมาก ๆ
อยางภาพ Raster เพราะไมวาภาพจะเล็กหรือ ใหญเทาใด จํานวนขอมูลที่ตองจําก็มี
ขนาดเทาเดิม
แตขอเสียของการสรางจากสูตรคณิตศาสตรหรือเลขาคณิต ของภาพแบบ Vector
ก็คือมันไมสามารถสรางหรือบันทึกภาพที่มีรายละเอียดของสีมาก ๆ อยางภาพถาย
ตาง ๆ ได ดังนั้น ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสําหรับการสรางและบันทึกภาพที่มีสี
เรียบ ๆ เทานั้น ไฟลประเภทนี้ไดแก AI, CDR, CGM, CMX, DRW, DFX,EPS,PDF,
PCT, PIC, PLT และ WMF เปนตน
คุณภาพของรูปภาพ
20
ความละเอียดของภาพ (Image Resolution)
การบีบอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression)
ความละเอียดของภาพ (Image Resolution)
21
หนวยที่ใชวัดความละเอียดของภาพเรียกวา พิกเซลตอนิ้ว (Pixel Per Inch :
PPI) จอคอมพิวเตอรสวนใหญจะมีความละเอียดที่ 72 PPI คือความกวาง 1
นิ้วบนจอคอมพิวเตอรจะแสดงจุดได 72 จุดนั่นเอง ดังนั้นไฟลภาพที่เรานํามา
ไมวาจากกลองหรือเครื่องสแกนก็ตาม หากคิดวาจะใชแสดงผลแคบน
จอคอมพิวเตอรเทานั้น ก็ใหกําหนดความละเอียดเปน 72 PPI
จุดแตละจุดที่ประกอบเปนภาพ เรียกวา Pixel
300 จุด
400 จุด
Resolution ของภาพนี้
คือ 300 จุด * 400 จุด
= 120,000 pixels
การบีบอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression)
22
ลดจํานวนขอมูลในการแสดงภาพใหนอยลงโดยเมื่อนําขอมูลที่ลด
ขนาดไปมาสรางภาพขึ้นใหม คุณภาพของภาพใหมจะไมมีการสูญ
เสียหรือมีการสูญเสียที่ยอมรับได เมื่อเทียบกับภาพเดิม
การบีบอัดมาก - เสียความละเอียดมาก - ไฟลขนาดเล็ก
การบีบอัดนอย - เสียความละเอียดนอย - ไฟลขนาดใหญ
Compressed
ชนิดของ image compression
23
Lossless Image Compression
ภาพที่สรางกลับมาจากขอมูลที่ถูกบีบอัดมีคุณภาพเหมือนภาพเดิมโดยไมมีการ
เปลี่ยนแปลง
ภาพทางการแพทยที่ตองการความแมนยํามาก ความผิดพลาดเพียงเล็กนอยอาจ
หมายถึงชีวิตของผูปวยได
Lossy Image Compression
ภาพที่สรางกลับมาจากขอมูลที่ถูกบีบอัดมีคุณภาพไมเหมือนภาพเดิม (แตตามนุษยไม
สามารถแยกออกได)
การบันทึกภาพวิดีโอ ถึงแมวาภาพที่แปลงมาจากการ compress จะไมเหมือนเดิม
ทีเดียว แตมีผลกระทบกับคุณภาพของภาพเพียงเล็กนอยก็สามารถยอมรับได
ภาพ 3 มิติ (3D Image)
24
เปนภาพประเภทหนึ่งของภาพเวกเตอร มีลักษณะมุมมองของภาพที่
เหมือนจริง อยูในรูปทรง 3 มิติ (3D: Three Dimensions) การสราง
และการแสดงผลของภาพ 3 มิตินั้น จะตองใชซอฟตแวรที่เหมาะสม
สําหรับสรางแกไข หรือแสดงภาพในรูปแบบ 3 มิติ และเพิ่มลักษณะ
พิเศษใหกับภาพ 3 มิติ เชน สรางฉากหลัง เพิ่มทิศทางของแสง และ
เพิ่มเทคนิคพิเศษใหกับภาพ
ตัวอยาง
25
สี (Color)
26
เปนสวนประกอบสําคัญในการตกแตงภาพเวกเตอรและภาพ
บิตแมปใหเปนไปตามความตองการ สําหรับงานมัลติมีเดีย
ไมวาจะแสดงผลผานจอภาพหรือพิมพลงแผนพับโฆษณา
ตางๆ
รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพิวเตอร
27
HSB
เปนพื้นฐานของการมองเห็นแสงสีของดวงตามนุษย ประกอบดวยลักษณะ
ของแสงสี 3 ประการ คือ Hue, Saturation, Brightness
Lab
คาขอมูลแสงสีของ Lab ประกอบไปดวยคาตางๆ ไดแก คาระดับความเขม
ของแสงสวาง คาแสดงการไลแสงสีจากสีเขียวไปยังแสงสีแดง และคาแสดง
การไลแสงสีจากแสงสีน้ําเงินไปยังแสงสีเหลือง
รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพิวเตอร (ตอ)
28
Saturation
เปนคาความเขมของแสงสีที่อยูในชวงแสงสีจางจนถึงแสงสีเขม จะเปนสัดสวนของแสงสี Hue ที่มีอยูในโทนสี
เทา โดยวัดคาเปนเปอรเซนต
Hue
เปนการเปลี่ยนแปลงเฉดสีที่แตกตางจากแสงหลักทั้งสาม (แดง เขียว น้ําเงิน) โดยเปรียบเทียบกับองศา
ตางๆ บนวงกลมที่เปนการนําองศาของวงกลมมาใชแบงความแตกตางของแสงสีตั้งแต 0-360 องศา
Brightness
คาความสวางของแสงสี คือ คาของแสงสีดําไลระดับสวางขึ้นเรื่อยๆ จนถึงแสงสีขาวสวาง ซึ่งวัดคาเปน
เปอรเซ็นตจาก 0% (แสงสีดํา) จนถึง 100 % (แสงสีขาว
รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพิวเตอร (ตอ)
29
RGB
เกิดจากการรวมแสงของแสงสีหลัก คือ แสงสีแดง (Red) เขียว (Green) และน้ําเงิน
(Blue) โดยแสงสีหลักทั้ง 3 จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 255 เมื่อขอมูลแสงสี RGB
เปลี่ยนไป ความเขมของแสงสีแดง เขียว และน้ําเงิน บนจอภาพจะปรับเปลี่ยน
ตามไปดวย
CMYK
เกิดจากการซึมซับหมึกพิมพลงบนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐาน คือ สีน้ําเงินเขียว
(Cyan) สีแดงมวง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow)
เสียง (Sound)
30
ประเภทของเสียง
มิดี้ (MIDI : Musical Instrument Digital Interface)
คือ ขอมูลที่แสดงถึงลักษณะเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดตางๆ ซึ่งเปนมาตรฐานในการ
สื่อสารดานเสียงหรือหมายถึง โนตเพลงที่มีรูปแบบเปนสัญลักษณหรือตัวเลข ที่จะบอกใหรู
วาตองเลนโนตตัวใดในเวลานานเทาไร เพื่อใหเกิดเปนเสียงดนตรี
ขอดี
ไฟลขอมูลมีขนาดเล็ก การสรางขอมูล MIDI ไมจําเปนตองใชเครื่องดนตรีจริงๆ ใช
หนวยความจํานอย ทําใหประหยัดพื้นที่บนฮารดดิสก เหมาะสําหรับใชงานบนระบบ
เครือขาย และงายตอการแกไขและปรับปรุง
ขอเสีย
แสดงผลเฉพาะดนตรีบรรเลงและเสียงที่เกิดจากโนตดนตรีเทานั้น และอุปกรณ
อิเล็กทรอนิกสที่ใชสรางมีราคาคอนขางสูง
31
เสียงแบบดิจิตอล (Digital Audio)
คือ สัญญาณเสียงที่สงมาจากไมโครโฟน เครื่องสังเคราะหเสียง เครื่องเลนเทป หรือจาก
แหลงกําเนิดเสียงตางๆ แลวนําขอมูลที่ไดแปลงเปนสัญญาณดิจิตอล ซึ่งขอมูลดิจิตอล
จะถูกสุมใหอยูในรูปแบบของบิต และไบต โดยเรียกอัตราการสุมขอมูลที่ไดมา วา
“Sampling Size” จะเปนตัวกําหนดคุณภาพของเสียงที่ไดจากการเลนเสียงแบบ
ดิจิตอล
เสียงดิจิตอลจะมีขนาดของขอมูลใหญ ทําใหตองใชหนวยความจําและทรัพยากรบน
หนวยประมวลผลกลางมากกวา MIDI
การบันทึกขอมูลเสียง (Recording Sound)
32
การบันทึกเสียงเปนการนําเสียงที่ไดจากการพูด การเลนเครื่อง
ดนตรี หรือเสียงจากแหลงตางๆ เชน เสียงน้ําตก ฟารอง หรือ สัตว
รอง มาทําการจัดเก็บลงในหนวยความจําหรือหนวยจัดเก็บ เพื่อ
นําไปใชงานตามที่ตองการ เสียงที่ทํางานผานคอมพิวเตอรเปน
สัญญาณดิจิตอล มี 2 รูปแบบคือ
การบันทึกขอมูลเสียง (Recording Sound) ตอ
33
Synthesize Sound เปนเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะหเสียง ที่
เรียกวา MIDI โดยเมื่อตัวโนตทํางาน คําสั่ง MIDI จะถูกสงไปยัง
Synthesize Chip เพื่อทําการแยกเสียงวาเปนเสียงดนตรีชนิดใด
ไฟลที่ไดจะมีขนาดเล็ก
Sound Data : เปนเสียงที่ไดจากการแปลงสัญญาณอนาลอกเปน
สัญญาณดิจิตอล โดยจะมีการบันทึกตัวอยางคลื่น (Sample ) ให
อยูที่ใดที่หนึ่งในชวงของเสียงนั้นๆ และการบันทึกตัวอยางคลื่นจะ
เรียงกันเปนจํานวนมาก เพื่อใหมีคุณภาพที่ดี
การแกไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ (Sound Editing and Effects)
34
คือ การตัดตอ และการปรับแตงเสียง โดยสิ่งที่สําคัญในการแกไขเสียง คือ
การจัดสรรเวลาของการแสดงผลใหสัมพันธกับองคประกอบตางๆ ที่ใชงาน
รวมกับเสียง เชน การตัดตอเสียงสําหรับนํามาใชในการนําเสนอไฟลวิดีโอ
ตัวอยางเชน โปรแกรม Audio Edit สําหรับใชแกไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ
ใหกับเสียงที่ไดทําการบันทึก เพื่อสรางความตอเนื่องของเสียง
การจัดเก็บแฟมขอมูลเสียงแบบดิจิตอล(Preparing Digital
Audio File)
35
หลักสําคัญในการจัดเก็บแฟมขอมูลเสียงแบบดิจิตอล คือ
1. จะตองเตรียม RAM และทรัพยากรบนฮารดดิสรองรับใหเหมาะสมกับ
คุณภาพของเสียงที่ตองการ
2. ปรับระดับของการบันทึกเสียงใหตรงกับคุณภาพที่ตองการและมี
มาตรการปองกันเสียงรบกวนได
การแสดงผลเสียงบนระบบเครือขายทําได 2 วิธีคือ
36
1. จัดเก็บขอมูลเสียงจากระบบเครือขาย (Download) ลงบนเครื่อง
คอมพิวเตอรของผูใชกอนแลวจึงแสดงผลเสียง ในขณะที่กําลังใชงานบน
ระบบเครือขาย (Streaming)
2. คุณภาพของเสียงจะขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของอุปกรณเชื่อมตอ
(Modem) ดวย
รูปแบบของไฟลเสียงที่นิยมใชบนระบบเครือขายไดแกไฟล AU. Wav,
MIDI, MPEG และ MP3 ซึ่งนิยมนํามาใชกับเทคโนโลยีสตรีมมิ่งมีเดีย
(Streaming Media Technology)
แอนิเมชัน (Animation)
37
หลักการของแอนิเมชัน
แอนิเมชันอาศัยปรากฎการณทางชีววิทยาที่เรียกวา “ความตอเนื่องของการ
มองเห็น รวมกับการทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่ที่ความเร็วระดับหนึ่ง จนตาของ
คนเรามองเห็นวาวัตถุนั้นมีการเคลื่อนไหว ภาพแตละภาพที่นํามาทํา
แอนิเมชันเรียกวา “เฟรม (Frame)”
วิธีการสรางแอนิเมชัน
38
1.เฟรมตอเฟรม (Frame by frame) เปนการนําภาพมาใสไวในแตละเฟรม
และทําการกําหนดคียเฟรม (คียเฟรม คือ เฟรมที่ถูกกําหนดใหมีการ
เปลี่ยนแปลงของวัตถุเพื่อสรางการเคลื่อนไหว) การสรางเคลื่อนไหวแบบ
Frame by Frame เหมาะสําหรับ ภาพอะนิเมชันที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบ
รวดเร็ว หรืองานที่ซับซอนมากๆ
วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ)
39
2.ทวีนแอนิเมชัน (Tween Animation)
Tween (ทวีน) ยอมาจากคําวา Between แปลวา “ระหวาง” ดังนั้นการสรางภาพ
แบบนี้เปนการกําหนดคียเฟรมเริ่มตนและคียเฟรมสุดทาย จากนั้นปลอยให
โปรแกรมสรางความเปลี่ยนแปลงระหวางเฟรมโดยอัตโนมัติ คือ การสราง
ภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween จะสรางเฟรมเพียงสองเฟรม คือ เฟรมเริ่มตนและ
เฟรมสุดทาย แบงได 2 แบบคือ
1.Motion Tween หรือ Motion Path:
2.Shape Tween:
วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ)
40
Motion Tween หรือ Motion Path: เปนการเคลื่อนไหวที่มีการกําหนดการ
เคลื่อนที่ หมุน ยอ หรือขยายไปตามเสนที่วาดไว โดยที่รูปทรงของวัตถุไมมีการ
เปลี่ยนแปลง และวิธีนี้นิยมใชมากที่สุด
Shape Tween: เปนการสรางภาพเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของ
วัตถุ จากรูปทรงหนึ่งไปเปนอีกรูปทรงหนึ่งโดยสามารถกําหนด ตําแหนง ขนาด
ทิศทาง และสีของวัตถุในแตละชวงเวลาตามตองการ นิยมใชกับรูปวาด
เทานั้น
วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ)
41
3.เอ็คชันสคริปต (Action Script)
เปนภาษาโปรแกรมที่นํามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของระบบ และ
สามารถโตตอบ (Interactive) กับผูใชงานได โดย Action Script จะถูกนํามาใชเมื่อ
มีการกระทําเกิดขึ้น เรียกวา “เหตุการณ”(Event) เชน การคลิกเมาส หรือการกด
คียบอรด เปนตน
รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format)
42
1. GIF (Graphics Interlace File)
ไฟล GIF (Graphics Interlace File) หรือ กิฟอะนิเมชัน เปนอะนิเมชันที่ไดรับ
ความนิยมมาก เนื่องจากประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูล โดยจัดเก็บ
ภาพนิ่งเปนลําดับตอเนื่องกัน เหมาะสําหรับการใชงานบนเว็บไซต เพื่อ
เพิ่มเติมความสวยงามและสรางความนาสนใจ
รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) ตอ
43
2. JPG (Joint Photographer’s Experts Group)
เปนไฟลภาพที่ใชงานบนระบบเครือขาย มีโปรแกรมสนับสนุนในการสรางจํานวน
มาก นําเสนอภาพที่มีความละเอียดสูง และคมชัด แตมีขอเสียคือ ไมสามารถทําให
พื้นภาพโปรงใสได เมื่อมีการสงภาพจาก Server ไปแสดงผลที่ Client จะทําใหการ
แสดงผลภาพชามาก เพราะตองเสียเวลาในการคลายไฟล
รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) ตอ
44
3. PNG (Portable Network Graphics)
เปนไฟลที่ทําใหพื้นภาพใหโปรงใสได สนับสนุนสีไดตามคา “True color) มีระบบ
แสดงผลตั้งแตความละเอียดนอยๆ และคอยๆ ขยายไปสูรายละเอียดที่มีความ
คมชัดมากขึ้น โดยผูใชสามารถกําหนดคาการบีบอัดไฟลไดตามตองการ ไฟลที่ไดมี
ขนาดเล็ก แตหากกําหนดคาการบีบไฟลไวสูง ก็จะตองใชเวลาในการคลายไฟลสูง
ไปดวย โปรแกรมสนับสนุนในการสรางมีนอย ไมสามารถเรียกดูกับ Graphic
Browser รุนเกาได
วิดีโอ (Video)
45
ชนิดของวิดีโอ
วิดีโออนาลอก (Analog Video) วิดีโออนาลอก เปนวิดีโอที่ทําการบันทึก
ขอมูลภาพและเสียงใหอยูในรูปของสัญญาณอนาลอก สําหรับวิดีโอที่เปน
อนาลอก ไดแก VHS ( Video Home System) เปนมวนเทป วิดีโอที่ใชคู
กันตามบาน
ชนิดของวิดีโอ (ตอ)
46
วิดีโอดิจิตอล (Digital Video) เปนวิดีโอที่ทําการบันทึกขอมูลภาพและ
เสียงที่ไดมา จากกลองวิดีโอดิจิตอล ใหอยูในรูปของสัญญาณดิจิตอล คือ 0
กับ 1 สวนการตัดตอขอมูลของภาพและเสียงที่ไดมาจากวิดีโอดิจิตอลนั้น
จะแตกตางจากวิดีโออนาลอก เพราะขอมูลที่ไดจะยังคงคุณภาพความคมชัด
เหมือนกับขอมูลตนฉบับ
แหลงที่มาของวิดีโอ
47
แผนวีดีโอซีดี (VCD)
กลองดิจิตอล (Digital Camera)
แผนดีวีดี (DVD)
เทปวีดีโอที่ใชดูกันตามบาน (VHS)
เว็บไซตตางๆ
ลักษณะการทํางานของวิดีโอ
48
กลองวิดีโอเปนการนําเอาหลักการของแสงที่วา “แสงตกกระทบกับวัตถุแลว
สะทอนสูเลนสในดวงตาของมนุษยทําใหเกิดการมองเห็น “มาใชในการสราง
ภาพรวมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส โดยภาพที่ไดจะถูกเก็บบันทึกเปนสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส ที่เรียกวา “สัญญาณอนาลอก (Analog Signal) ประกอบดวย
ขอมูลสี 3 ชนิด คือ แดง เขียว น้ําเงิน (Red, Green, Blue : RGB)
ลักษณะการทํางานของวิดีโอ (ตอ)
49
สัญญาณวิดีโอจะถูกสงไปบันทึกยังตลับเทปวิดีโอ (Video Cassette
Recorder VCR) โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสเปนสัญญาณ
ดิจิตอลและบันทึกลงบนอุปกรณบันทึกขอมูลดวยหลักการของสนามแมเหล็ก
การบันทึกจะตองกระทําผานอุปกรณที่เรียกวา “หัวเทปวิดีโอ “ ที่สามารถ
บันทึกไดทั้งภาพ (Video Track) เสียง (Audio Track) และขอมูลควบคุม
การแสดงภาพ (Control Track)
มาตรฐานการแพรภาพวิดีโอ
50
National Television System Committee (NTSC) เปนมาตรฐานเกี่ยวกับ
โทรทัศนและวิดีโอในสหรัฐอเมริกา
Phase Alternate Line (PAL) เปนมาตรฐานของโทรทัศนและวิดีโอที่
นิยมใชกันในแถบยุโรป อังกฤษ ออสเตรเลีย อัฟริกาใต และประเทศไทย
Sequential Color and Memory (SECAM) เปนมาตรฐานการเผยแพร
สัญญาณโทรทัศนและวิดีโอที่ใชกันในประเทศฝรั่งเศส รัสเซีย ยุโรปตะวันออก
ตะวันออกกลาง
High Definition Television (HDTV) เปนเทคโนโลยีของการแพรภาพ
โทรทัศนที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อแสดงภาพที่มีความละเอียดสูง
การบีบอัดวิดีโอ
51
เจเพ็ก (JPEG) เปนมาตรฐานการบีบอัดขอมูลที่คิดขึ้นในยุคปลายทศวรรษ
1980
Motion – JPEC หรือ M-JPEG เปนมาตรฐานการบีบอัดขอมูลที่สามารถบีบ
อัดและขยายสัญญาณไดตั้งแต12:1 , 5 : 1 และ 2 : 1
CODEC เปนเทคโนโลยีการบีบอัดและการคลายขอมูล สามารถนําไปใชกับ
ซอฟตแวรและฮารดแวร สวนมาก CODEC นิยมใชบีบอัดแบบ MPEG ,
Indeo และ Cinepak
เอ็มเพ็ก (MPEG : Moving Picture Experts Group) เปนมาตรฐานการบีบ
อัดสัญญาณภาพและเสียง โดยใชระบบ DCT ที่ใชกับระบบวิดีโอคุณภาพสูง
ทั่วไป
คุณภาพของวิดีโอ
52
อัตราเฟรม (Frame Rate)
คืออัตราความถี่ในการแสดงภาพจาก Timeline ออกทางหนาจอ อัตราที่
เฟรมถูกแสดงในวิดีโอมีหนวยเปนเฟรมตอวินาที
ความละเอียด (Resolution)
หมายถึง ความคมชัดของภาพที่แสดงผลออกทางจอภาพ ความละเอียด
ของจอภาพขึ้นอยูกับจํานวนจุดทั้งหมดที่เกิดบนจอ จุดตางๆ นี้เรียกวา พิก
เซล (Pixels)
รูปแบบของไฟลวิดีโอ เชน *rm / *.ra / *.ram *.MPEG2 / *.MPEC4*.viv *.mov
*. Avi (Audio / Video Interleave)
ความสําคัญของสี
53
สี คือลักษณะของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี (พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน)
ในทางวิทยาศาสตรใหคําจํากัดความของสีวา เปนคลื่นแสงหรือความเขมของแสงที่
สายตาสามารถมองเห็น
ในทางศิลปะ สีคือ ทัศนธาตุอยางหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคัญของงานศิลปะ และ
ใชในการสรางงานศิลปะ โดยจะทําใหผลงานมีความสวยงาม ชวยสรางบรรยากาศ
มีความสมจริง เดนชัดและนาสนใจมากขึ้น
ประโยชนของสี
54
1. ใชในการจําแนกสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเห็นชัดเจน
2.ใชในการจัดองคประกอบของสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเกิดความสวยงาม กลมกลืน เชน การ
แตงกาย การจัดตกแตงบาน
3. ใชในการจัดกลุม พวก คณะ ดวยการใชสีตาง ๆ เชน คณะสี เครื่องแบบตาง ๆ
4. ใชในการสื่อความหมาย เปนสัญลักษณ หรือใชบอกเลาเรื่องราว
5. ใชในการสรางสรรคงานศิลปะ เพื่อใหเกิดความสวยงาม สรางบรรยากาศ สมจริง
และนาสนใจ
6. เปนองคประกอบในการมองเห็นสิ่งตาง ๆ ของมนุษย
แสงสี
55
แสง เปนพลังงานรังสี (Radiation Energy) ที่ตารับรูและมีปฏิกิริยาตอบสนอง
ดวยกระบวนการ วิเคราะหแยกแยะของสมอง ตาสามารถวิเคราะหพลังงาน
แสงโดยการรับรูวัตถุ สัมพันธกับตําแหนง ทิศทาง ระยะทาง ความเขมของแสง
และความยาวคลื่นที่มองเห็นได
สี คือลักษณะความเขมของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี โดยผาน
กระบวนการรับรูดวยตา มองจะรับขอมูลจากตา โดยที่ตาไดผานกระบวนการ
วิเคราะหขอมูลพลังงานแสงมาแลว ผานประสาท สัมผัสการมองเห็น ผาน
ศูนยสับเปลี่ยนในสมองไปสูศูนยการมองเห็นภาพ การสรางภาพหรือการ
มองเห็นก็คือ การที่ขอมูลไดผานการวิเคราะหแยกแยะใหเรารับรูถึงสรรพสิ่ง
รอบตัว
เกี่ยวกับสี
56
ในราวป ค.ศ. 1666 เซอร ไอแซค นิวตันไดแสดงใหเห็นวา สีคือสวนหนึ่งใน
ธรรมชาติของแสงอาทิตย โดยใหลําแสงสองผานแทงแกวปริซึม แสงจะหักเห
เพราะแทงแกวปริซึมความหนาแนนมากกวาอากาศ
เมื่อลําแสงหักเหผานปริซึมจะปรากฏแถบสีสเปคตรัม ( Spectrum) หรือที่เรียกวา สี
รุง (Rainbow) คือ สีมวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อแสงตกกระทบ
โมเลกุลของสสาร พลังงานบางสวนจะดูดกลืนสีจาก แสงบางสวน และสะทอนสี
บางสีใหปรากฏเห็นได พื้นผิววัตถุที่เราเห็นเปนสีแดง เพราะ วัตถุดูดกลืนแสงสี
อื่นไว สะทอนเฉพาะแสงสีแดงออกมา วัตถุสีขาวจะสะทอนแสงสีทุกสี และวัตถุสีดํา
จะดูดกลืนทุกสี
เกี่ยวกับสี (ตอ)
57
จากทฤษฎีการการหักเหของแสงของ ของนิวตัน และจากสามเหลี่ยมสี CIE พบวา
แสงสีเปนพลังงานเพียง ชนิดเดียวที่ปรากฎสี จากดานทั้ง 3 ดานของรูป
สามเหลี่ยมสี CIE นักวิทยาศาสตรไดกําหนดแมสีของแสงไว 3 สี คือ สีแดง ( Red )
สีเขียว (Green) และสีน้ําเงิน ( Blue ) แสงทั้งสามสี เมื่อนํามาฉายสองรวมกัน จะ
ทําใหเกิด สีตาง ๆ ขึ้นมา คือ
แสงสีแดง + แสงสีเขียว = แสงสีเหลือง ( Yellow )
แสงสีแดง + แสงสีน้ําเงิน = แสงสีแดงมาเจนตา ( Magenta)
แสงสีน้ําเงิน + แสงสีเขียว = แสงสีฟาไซแอน ( Cyan )
เกี่ยวกับสี (ตอ)
58
และถาแสงสีทั้งสามสีฉายรวมกัน จะไดแสงสีขาว หรือ ไมมีสี เราสามารถสังเกต
แมสีของแสง ไดจากโทรทัศนสี หรือจอคอมพิวเตอรสี โดยใชแวนขยายสองดูหนาจอ
จะเห็นเปนแถบสีแสงสวาง 3 สี คือ แดง เขียว และน้ําเงิน นอกจากนี้เราจะ
สังเกตเห็นวา เครื่องหมายของสถานีโทรทัศนสีหลาย ๆ ชอง จะใชแมสีของแสง
ดวยเชนกัน
ทฤษฎีของแสงสีนี้ เปนระบบสีที่เรียกวา RGB ( Red - Green - Blue ) เราสามารถ
นําไปใชในการ ถายทําภาพยนตร บันทึกภาพวิดีโอ การสรางภาพ เพื่อแสดงทาง
คอมพิวเตอร การจัดไฟแสงสีในการแสดง การจัดฉากเวที
59
แสงสีที่เปนแมสี คือ สีแดง น้ําเงิน เขียว จะเรียกวา สีพื้นฐานบวก ( Additive
primary colors ) คือ เกิดจาก การหักเหของแสงสีขาว
สวนสีใหมที่เกิดจากการผสมกันของแมสีของแสงทั้งสามสี จะเรียกวา สีพื้นฐาน
ลบ (Subtractive primary colors ) คือ สีฟาไซแอน (Cyan) สีแดงมาเจนตา
(Magenta) และสีเหลือง (Yellow) ทั้งสามสีเปนแมสีแมใชในระบบการพิมพออฟ
เซท หรือที่เรียกวา ระบบสี CMYK โดยที่มีสีดํา (Black) เพิ่มเขามา
แมสี Primary Colour
60
แมสี คือ สีที่นํามาผสมกันแลวทําใหเกิดสีใหม ที่มีลักษณะแตกตางไปจากสี
เดิมแมสี มือยู 2 ชนิด คือ
1. แมสีของแสง เกิดจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปริซึม มี 3 สี คือ สี
แดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน อยูในรูปของแสงรังสี ซึ่งเปนพลังงานชนิดเดียวที่มี
สี คุณสมบัติของแสงสามารถนํามาใช ในการถายภาพ ภาพโทรทัศน การจัด
แสงสีในการแสดงตาง ๆ เปนตน
แมสี Primary Colour (ตอ)
61
2. แมสีวัตถุธาตุ เปนสีที่ไดมาจากธรรมชาติ และจากการ
สังเคราะหโดยกระบวน ทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ํา
เงิน แมสีวัตถุธาตุเปนแมสีที่นํามาใช งานกันอยางกวางขวาง ใน
วงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ
62
แมสีวัตถุธาตุ เมื่อนํามาผสมกันตามหลักเกณฑ จะทําใหเกิด วงจรสี ซึ่งเปนวง
สี ธรรมชาติ เกิดจากการผสมกันของแมสีวัตถุธาตุ เปนสีหลักที่ใชงานกันทั่วไป
ใน วงจรสี จะแสดงสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้
วงจรสี ( Colour Circle)
63
สีขั้นที่ 1 คือ แมสี ไดแก สีแดง สีเหลือง สีน้ําเงิน
สีขั้นที่ 2 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 หรือแมสีผสมกันในอัตราสวนที่เทากัน จะทําให
เกิดสีใหม 3 สี ไดแก
สีแดง ผสมกับสีเหลือง ไดสี สม
สีแดง ผสมกับสีน้ําเงิน ไดสีมวง
สีเหลือง ผสมกับสีน้ําเงิน ไดสีเขียว
64
สีขั้นที่ 3 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 ผสมกับสีขั้นที่ 2 ในอัตราสวนที่เทากัน จะไดสีอื่น
ๆ
อีก 6 สี คือ
สีแดง ผสมกับสีสม ไดสี สมแดง
สีแดง ผสมกับสีมวง ไดสีมวงแดง
สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวเหลือง
สีน้ําเงิน ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวน้ําเงิน
สีน้ําเงิน ผสมกับสีมวง ไดสีมวงน้ําเงิน
สีเหลือง ผสมกับสีสม ไดสีสมเหลือง
65
วรรณะของสี คือสีที่ใหความรูสึกรอน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีรอน 7 สี และ
สีเย็น 7 สี ซึ่งแบงที่ สีมวงกับสีเหลือง ซึ่งเปนไดทั้งสองวรรณะ
66
สีตรงขาม หรือสีตัดกัน หรือสีคูปฏิปกษ เปนสีที่มีคาความเขมของสี ตัดกัน
อยาง รุนแรง ในทางปฏิบัติไมนิยมนํามาใชรวมกัน เพราะจะทําใหแตละสีไม
สดใส เทาที่ควร การนําสีตรงขามกันมาใชรวมกัน อาจกระทําไดดังนี้
1. มีพื้นที่ของสีหนึ่งมาก อีกสีหนึ่งนอย
2. ผสมสีอื่นๆ ลงไปสีสีใดสีหนึ่ง หรือทั้งสองสี
3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทั้งสองสี
67
สีกลาง คือ สีที่เขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ําตาล กับ สีเทา สี
น้ําตาล เกิดจากสีตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนที่เทากัน สีน้ําตาล
มี คุณสมบัติสําคัญ คือ ใชผสมกับสีอื่นแลวจะทําใหสีนั้น ๆ เขมขึ้นโดยไม
เปลี่ยน แปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ
สีในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนเทากัน สีเทา มีคุณสมบัติ ที่สําคัญ คือ ใชผสมกับสี
อื่น ๆ แลวจะทําให มืด หมน ใชในสวนที่เปนเงา ซึ่งมีน้ําหนัก ออนแกในระดับตาง ๆ
ถาผสมมาก ๆ เขาจะกลายเปนสีเทา
ระบบสี RGB
68
ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง ซึ่งเกิดจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปริซึม
จะเกิดแถบสีที่เรียกวา สีรุง ( Spectrum ) ซึ่งแยกสีตามที่สายตามองเห็นได 7 สี คือ
แดง แสด เหลือง เขียว น้ําเงิน คราม มวง ซึ่งเปนพลังงานอยูในรูปของรังสี ที่
มีชวงคลื่นที่สายตาสามารถมองเห็นได แสงสีมวงมีความถี่คลื่นสูงที่สุด คลื่นแสง
ที่มีความถี่สูงกวาแสงสีมวง เรียกวา อุลตราไวโอเลต ( Ultra Violet ) และคลื่นแสงสี
แดง มีความถี่คลื่นต่ําที่สุด คลื่นแสง ที่ต่ํากวาแสงสีแดงเรียกวา อินฟราเรด (
Infrared) คลื่นแสงที่มีความถี่สูงกวาสีมวง และต่ํา กวาสีแดงนั้น สายตาของมนุษย
ไมสามารถรับได และเมื่อศึกษาดูแลวแสงสีทั้งหมดเกิดจาก
การนํา RGB มาใชงาน
69
แสงสี 3 สี คือ สีแดง ( Red ) สีน้ําเงิน ( Blue)และสีเขียว ( Green )ทั้งสามสีถือ
เปนแมสี ของแสง เมื่อนํามาฉายรวมกันจะทําใหเกิดสีใหม อีก 3 สี คือ สีแดงมา
เจนตา สีฟาไซแอน และสีเหลือง และถาฉายแสงสีทั้งหมดรวมกันจะไดแสงสี
ขาว จากคุณสมบัติของแสงนี้เรา ไดนํามาใชประโยชนทั่วไป ในการฉาย
ภาพยนตร การบันทึกภาพวิดีโอ ภาพโทรทัศน การสรางภาพเพื่อการนําเสนอ
ทางจอคอมพิวเตอร และการจัดแสงสีในการแสดง เปนตน
RED BLUE GREEN
ระบบสี CMYK
70
ระบบสี CMYK เปนระบบสีชนิดที่เปนวัตถุ คือสีแดง เหลือง น้ําเงิน แตไมใชสีน้ําเงิน
ที่เปนแมสีวัตถุธาตุ แมสีในระบบ CMYK เกิดจากการผสมกันของแมสีของแสง หรือ
ระบบสี RGB คือ
แสงสีน้ําเงิน + แสงสีเขียว = สีฟา (Cyan)
แสงสีน้ําเงิน + แสงสีแดง = สีแดง (Magenta)
แสงสีแดง + แสงสีเขียว = สีเหลือง (Yellow)
CYAN MAGENTA YELLOW BLACK
การนํา CMYK มาใชดานการพิมพ
71
ทั้ง 3 สี ไดแก สีฟา (Cyan) สีแดง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) นี้นํามาใชในระบบการ
พิมพ และ มีการเพิ่มเติม สีดําเขาไป เพื่อใหมีน้ําหนักเขมขึ้นอีก เมื่อรวมสีดํา ( Black=K )
เขาไป จึงมีสี่สีโดยทั่วไปจึงเรียกระบบการพิมพนี้วาระบบการพิมพสี่สี ( CMYK )
ระบบการพิมพสี่สี ( CMYK ) เปนการพิมพภาพในระบบที่ทันสมัยที่สุด และไดภาพ
ใกลเคียงกับภาพถายมากที่สุด โดยทําการพิมพทีละสี จากสีเหลือง สีแดง สีน้ําเงิน และ
สีดํา ถาลองใชแวนขยายสองดู ผลงานพิมพชนิดนี้ จะพบวา จะเกิดจากจุดสีเล็ก ๆ สี่สีอยู
เต็มไปหมด การที่เรามองเห็นภาพมีสีตาง ๆ นอกเหนือจากสี่สีนี้ เกิดจากการผสมของ
เม็ดสีเหลานี้ใน ปริมาณตาง ๆ คิดเปน % ของปริมาณเม็ดสี ซึ่งกําหนดเปน 10-20-30-
40-50-60-70-80-90 จนถึง 100 %
ความรูสึกเกี่ยวกับสีในเชิงจิตวิทยา
72
-สีแดง ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง
ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคั่ง ความรัก ความสําคัญ อันตราย
-สีสม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึก
คะนอง การปลดปลอย ความเปรี้ยว การระวัง
-สีเหลือง ใหความรูสึกแจมใส ความสดใส ความราเริง ความเบิกบานสดชื่น
ชีวิตใหม ความสด ใหม ความสุกสวาง การแผกระจาย อํานาจบารมี
ความรูสึกเกี่ยวกับสีในเชิงจิตวิทยา (ตอ)
73
-ใหความรูสึก สงบ เงียบ รมรื่น รมเย็น การพักผอน การผอนคลาย ธรรมชาติ
ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยือกเย็น
-สีน้ําเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน
ละเอียด รอบคอบ สงางาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เปนระเบียบถอมตน
-สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลัง
แฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์
-สีฟา ใหความรูสึก ปลอดโปรงโลง กวาง เบา โปรงใส สะอาด ปลอดภัย
ความสวาง ลมหายใจ ความเปนอิสระเสรีภาพ การชวยเหลือ แบงปน
ความรูสึกเกี่ยวกับสีในเชิงจิตวิทยา (ตอ)
74
-สีขาว ใหความรูสึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง ออนโยน เปดเผย การ
เกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม
-สีดํา ใหความรูสึก มืด สกปรก ลึกลับ ความสิ้นหวัง จุดจบ ความตาย
ความชั่ว ความลับ ทารุณ โหดราย ความเศรา หนักแนน เขมเข็ง อดทน มีพลัง
-สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส
วัยรุน หนุมสาว ความนารัก ความสดใส
-สีเทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา
ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถอมตน
-สีทอง ใหความรูสึก ความหรูหรา โออา มีราคา สูงคา สิ่งสําคัญ ความ
เจริญรุงเรือง ความสุข ความมั่งคั่ง ความร่ํารวย การแผกระจาย
การใชสีในเชิงสัญลักษณ
75
สีแดง
มีความอบอุน รอนแรง เปรียบดังดวงอาทิตย นอกจากนี้ยังแสดงถึงความมีชีวิตชีวา
ความรัก ความปรารถนา เชนดอกกุหลาบแดงวัน วาเลนไทน ในทางจราจรสีแดง
เปนเครื่องหมายประเภทหาม แสดง ถึงสิ่งที่อันตราย เปนสีที่ตองระวัง เปนสีของ
เลือด ในสมัยโรมัน สีของราชวงศเปนสีแดง แสดงความมั่งคั่งอุดมสมบูรณและ
อํานาจ
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
76
สีเขียว
แสดงถึงธรรมชาติสีเขียว รมเย็น มักใชสื่อความหมายเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ
เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม การเกษตร การเพาะปลูกการเกิดใหม ฤดูใบไมผลิ การงอก
งาม ในเครื่องหมายจราจร หมายถึงความปลอดภัย ในขณะเดียวกัน อาจหมายถึง
อันตราย ยาพิษ เนื่องจากยาพิษ และสัตวมีพิษ ก็มักจะมีสีเขียวเชนกัน
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
77
สีเหลือง
แสดงถึงความสดใส ความเบิกบาน โดยเรามักจะใชดอกไมสีเหลือง ในการไปเยี่ยม
ผูปวย และแสดงความรุงเรืองความมั่งคั่ง และฐานันดรศักดิ์ ในทางตะวันออกเปนสี
ของกษัตริย จักรพรรดิ์ของจีนใชฉลองพระองคสีเหลือง ในทางศาสนาแสดงความ
เจิดจา ปญญา พุทธศาสนาและยังหมายถึงการเจ็บปวย โรคระบาด ความริษยา
ทรยศ หลอกลวง
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
78
สีน้ําเงิน
แสดงถึงความเปนสุภาพบุรุษ มีความสุขุม หนักแนน และยังหมายถึงความสูงศักดิ์
ในธงชาติไทย สีน้ําเงินหมายถึงพระมหากษัตริย ในศาสนาคริตสเปนสีประจําตัวแม
พระ โดยทั่วไป สีน้ําเงินหมายถึงโลก ซึ่งเราจะ เรียกวา โลกสีน้ําเงิน (Blue Planet)
เนื่องจากเปนดาวเคราะหที่มองเห็นจากอวกาศโดยเห็นเปนสีน้ําเงินสดใส เนื่องจาก
มีพื้นน้ําที่กวางใหญ
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
79
สีมวง
แสดงถึงพลัง ความมีอํานาจ ในสมัยอียิปตสีมวงแดงเปนสีของกษัติรยตอเนื่องมา
จนถึงสมัยโรมัน นอกจากนี้ สีมวงแดงยังเปนสีชุดของพระสังฆราช สีมวงเปนสีที่มี
พลังหรือการมีพลังแอบแฝงอยู และเปนสีแหงความผูกพัน องคการลูกเสือโลกก็ใชสี
มวง สวนสีมวงออนมักหมายถึง ความเศรา ความผิดหวังจากความรัก
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
80
สีฟา
แสดงถึงความสวาง ความปลอดโปรง เปรียบเหมือนทองฟา เปนอิสระเสรี เปนสีของ
องคการสหประชาชาติ เปนสีของความสะอาด ปลอดภัย สีขององคการอาหารและ
ยา (อย.) แสดงถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม การใชพลังงานอยางสะอาด แสดงถึง
อิสรภาพ ที่สามารถโบยบินเปนสีแหงความคิดสรางสรรคและจินตนาการที่ไมมี
ขอบเขต
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
81
สีทอง
มักใชแสดงถึง คุณคา ราคา สิ่งของหายาก ความสําคัญ ความสูงสงสูงศักดิ์
ความศรัทธาสูงสุด ในศาสนาพุทธ หรือ เปนสีกายของพระพุทธรูป ในงาน
จิตรกรรมเปนสีกายของพระพุทธเจา พระมหากษัติรย
หรือเปนสวนประกอบของเครื่องทรง เจดียตาง ๆ มักเปนสีทอง หรือขาว และเปน
เครื่องประกอบยศศักดิ์ ของกษัตริยและขุนนาง
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
82
สีขาว
แสดงถึงความสะอาด บริสุทธิ์ เหมือเด็กแรกเกิด แสดงถึงความวางเปลาปราศจาก
กิเลส ตัณหา เปนสีอาภรณของผูทรงศีล ความเชื่อถือ ความดีงาม ความศรัทธา และ
หมายถึงการเกิดโดยที่แสงสีขาว เปนที่กําเนิดของแสงสี ตาง ๆ เปนความรักและ
ความหวัง ความหวงใยเอื้ออาทรและเสียสละของ พอแม ความออนโยน จริงใจ บาง
กรณีอาจหมายถึง ความออนแอ ยอมแพ
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
83
สีดํา
แสดงถึงความมืด ความลึกลับ สิ้นหวัง ความตายเปนที่สิ้นสุดของทุกสิ่ง โดยที่สีทุกสี
เมื่ออยูในความมืด จะเห็นเปนสีดํา นอกจากนี้ยังหมายถึง ความชั่วราย ในคริสต
ศาสนาหมายถึง ซาตาน อาถรรพเวทมนต มนตดํา ไสยศาสตร ความชิงชัง ความ
โหดราย ทําลายลาง ความลุมหลงเมามัว แตยังหมายถึงความอดทน กลาหาญ
เขมแข็ง และเสียสละไดดวย
การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ)
84
สีชมพู
แสดงถึงความอบอุน ออนโยน ความออนหวาน นุมนวล ความนารัก แสดงถึงความ
รักของมนุษยโดยเฉพาะรุนหนุมสาว เปนสีของความ เอื้ออาทร ปลอบประโลม เอา
ใจใสดูแล ความปรารถนาดี และอาจ หมายถึงความเปนมิตร เปนสีของวัยรุน
โดยเฉพาะผูหญิง และนิยม ใชกับสิ่งของเครื่องใชของเด็กวัยรุนเปนสวนใหญ
85
ซักซัก--ถามถาม

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3aj.mapling
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมkrunueng1
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียBeerza Kub
 
เทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดียเทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดียguphan
 
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูบทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูBeauso English
 
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัว Animation 3D movies Three Little Pigs
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัวAnimation 3D movies Three Little Pigsแอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัวAnimation 3D movies Three Little Pigs
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัว Animation 3D movies Three Little PigsChicharito Iamjang
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPattama Poyangyuen
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphicpisandesign
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศYongyut Nintakan
 

Ähnlich wie 11 สื่อผสม (multimedia) 001272 (20)

Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
 
Multimedia
MultimediaMultimedia
Multimedia
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
เทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดียเทคโนโลยีมัลติมิเดีย
เทคโนโลยีมัลติมิเดีย
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูบทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
 
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัว Animation 3D movies Three Little Pigs
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัวAnimation 3D movies Three Little Pigsแอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัวAnimation 3D movies Three Little Pigs
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัว Animation 3D movies Three Little Pigs
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Multimedia
MultimediaMultimedia
Multimedia
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
Job1
Job1Job1
Job1
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Title
TitleTitle
Title
 

Mehr von teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 

Mehr von teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

11 สื่อผสม (multimedia) 001272

  • 3. ความหมาย 3 มัลติ (Multi) หมายถึง หลายๆ อยางผสมกัน (มีศัพทใกลเคียงกัน เชน Many, Much และ Multiple เปนตน) มีเดีย (Media) หมายถึง สื่อ ขาวสาร ชองทางการติดตอสื่อสาร "สื่อผสม (Multimedia)" คือการผสมผสานหรือบูรณาการของสื่อตางๆ มากกวา 2 ประเภทขึ้นไป เพื่อสรางเนื้อหาสาระใหมสําหรับการสอนและการสื่อสาร โดยอาศัย เครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือหรืออุปกรณการผลิตและการนําเสนอ
  • 4. องคประกอบของมัลติมีเดีย 4 มัลติมีเดีย (Multimedia) จะตองมีองคประกอบตั้งแต 2 องคประกอบเปนอยาง นอย เชน ใชตัวอักษรรวมกับการใชสีที่แตกตางกัน 2-3 สี ภาพศิลป ภาพนิ่ง จากการ วาด หรือการสแกน นอกนั้น ก็อาจมีเสียงและวิดีทัศนรวมอยูดวยก็ได Text Graphics MultimediaMultimedia Audio Animation Video
  • 5. องคประกอบของมัลติมีเดีย (ตอ) 5 Text ตัวอักษร ในระบบคอมพิวเตอรเปนตัวอักษรระบบดิจิตอล ในโปรแกรม คอมพิวเตอรจะมีตัวอักษรใหเลือกหลาบแบบ หลายขนาด Graphics เปนภาพกราฟกที่ไมมีการเคลื่อนไหว เชน ภาพถาย หรือภาพวาด เปน ตน ชวยในการเสริมความชัดเจนใหกับ Text เพื่อใหเขาใจงายขึ้น Audio ชวยใหเกิดบรรยากาศที่นาสนใจในการรับรูทางหู โดยอาศัยจะนําเสนอในรูป ของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสียงบรรยาย หรือเสียงพากย เปนตน ไฟลเสียงมีหลายประเภท เชน Midi ,Wav ,Mp3 Animation หมายถึง การทําใหภาพเคลื่อนไหว โดยการเปลี่ยนตําแหนงของภาพ หรือการแสดงภาพหลายๆ ภาพที่แตกตางกันอยางรวดเร็ว Video นับเปนสื่ออีกรูปหนึ่งที่นิยมใชกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เนื่องจากสามารถ แสดงผลไดทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียงไปพรอมๆ กัน
  • 6. ตัวอักษร (Text) 6 แอสกี (ASCII) ยอมาจาก American Standard Code for Information Interchange) ใชเพียงประเทศสหรัฐอเมริกาเทานั้น ยูนิโคด (Unicode) เปนรหัสที่พัฒนาขึ้นเพื่อการใชงานที่เปนสากล โดยผูพัฒนาคือ องคกรกําหนดมาตรฐานสากลหรือไอเอสโอ (ISO : Internation Organization for Standardization) เพื่อรองรับตัวอักษรและสัญลักษณแบบตางๆ ของแตละภาษา เปนรหัสขนาด 16 บิต สามารถรองรับตัวอักษรไดมาถึง 65,536 (รหัส) ในรูปแบบ ของ “ Code Point”
  • 7. รูปแบบตัวอักษร(Fonts) แบงเปน 3 ระดับ ไดแก 7 1.ประเภท (Category) เปนที่รวมของตระกูล (Family) และชื่อเฉพาะ (Face) ของแตละ ตัวอักษร (Font)แบงไดดังนี้ 1.1 Serif: เปนแบบอักษรที่ใชเปนมาตรฐาน ในแตละตัวอักษรจะมีเสนคลายๆ ขีด- เหลี่ยม 1.2 Sans-Serif: เปนแบบอักษรที่คุนเคยมากกวา Serif เพราะเปนที่นิยมของผูเขียน เว็บ มีรูปรางมนกลม และดูสวยงาม 1.3 Monospaced: เปนแบบอักษรที่มีขนาดความกวางของทุกตัวอักษรเทากันหมด บางครั้งเรียกวา Typewriter Fonts เนื่องจากมีลักษณะใกลเคียงกับตัวอักษรที่ไดจาก เครื่องพิมพดีด 1.4 Script: เปนแหลงรวมของแบบอักษรทุกชนิด ที่มีลักษณะพิเศษตางๆ เชน มีจุด มี หาง เปนตน
  • 8. รูปแบบตัวอักษร(Fonts) (ตอ) 8 2. ตระกูล (Family) เปนหมวดที่ยอยลงไปจาก Category แตตัวอักษรที่อยูในตระกูลเดียวกัน จะมี บรรพบุรุษรวมกัน ตารางแสดงความสัมพันธระหวาง Category และ Family Category Family Serif Times, Century Schoolbook, Garamond Sans-Serif Helvetica, Arial, Verdana Monospaced Courier, Courier New Decorative Whimsy, Arribal, Bergell
  • 9. รูปแบบตัวอักษร(Fonts) (ตอ) 9 3. ชื่อเฉพาะ (Face) เปนตัวอักษรที่สามารถแสดงความสัมพันธระหวาง Family และ Face Family Face Time Roman, Italic Arial Regular, Bold, Italic Courier Regular, Oblique Whimsy Regular, Bold
  • 10. การใชงานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมีเดีย 10 ในการใชตัวอักษรที่มีขนาดเล็กจะตองชัดเจนและอานงาย ขอความที่ตองการจะเนนควรจะมีลักษณะที่แตกตางจากขอความธรรมดา เชน มีการขีดเสนใต ตัวอักษรตัวเอียง หรือตัวหนา จัดชองวางของบรรทัดใหเหมาะสมและอานงาย จัดขนาดของตัวอักษรตามความสําคัญของขอความ หัวขอที่ใชตัวอักษรขนาดใหญควรมีระยะชองไฟของตัวอักษรที่ใหความรูสึกที่ ดี ไมติด หรือหางกันเกินไป จัดสีของขอความใหอานงาย มีความแตกตางจากสีของพื้นหลัง ควรใชวิธีการ Anti-aliasing กับหัวขอที่เปนอักษรกราฟฟกขนาดใหญ
  • 11. การใชงานตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมีเดีย (ตอ) 11 หากตองการจัดขอความใหอยูกึ่งกลางบรรทัด ไมควรทําติดตอกันหลายบรรทัดจะดูไม สวยงาม ในภาษาอังกฤษควรใชอักษรพิมพใหญ และพิมพเล็กอยางเหมาะสม เนนความนาสนใจของขอความดวยการไลแสงเงาใหตัวอักษรหรือวางหัวขอหลักๆ บนพื้นที่ วาง ซึ่งเปนจุดที่สนใจที่มองเห็นไดอยางชัดเจน สรรหาขอคิด คําเสนอแนะ หรือคําติชมจากหลายๆ ความคิดมาสรุปเพื่อเลือกใชตัวอักษรที่ เหมาะสมที่สุด ใชคําศัพทที่มีความหมายนาสนใจและเขาใจงาย เพื่อเชื่อมโยงหัวขอกับเนื้อความเขา ดวยกัน ขอความสําหรับเชื่อมโยงบนหนาเว็บเพจ ควรมีลักษณะตัวอักษรที่เนนขอความ เชน ใส สีสัน ขีดเสนใตขอความ ควรหลีกเลี่ยงการเนนดวยสีเขียวบนพื้นสีแดง เนนเนื้อความที่เปนจุดสําคัญดวยการทําแถบสีที่ขอความนั้นๆ แตไมควรใหเหมือน Text Link หรือขอความบนปุมกด Button
  • 12. การจัดวางขอความสําหรับการอาน (Fields for Reading) 12 จัดวางขอความสําคัญๆ แตละหัวขอใหอยูบนจอภาพเดียวกัน แบงเนื้อความอธิบายเปนสวนๆ แยกยอยกันไปในแตละยอหนา ใชตัวอักษรที่อานงาย และมีขนาดของตัวอักษรไมใหญหรือเล็กจนเกินไป เชื่อมโยงความสัมพันธของขอความใหงายตอการเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยาง รวดเร็ว
  • 13. ภาพกราฟก (Graphics) 13 กราฟก (Graphic) ก็คือภาพตาง ๆ ที่เกิดจากการสรางสรรค ไมวาจะเปนวาด เสน หรือระบายสีจนเกิดเปนภาพ ลักษณะตาง ๆ ขึ้นมา สวนคําวา คอมพิวเตอรกราฟก (Computer Graphic – CG) ก็คือภาพตาง ๆ ที่เกิดขึ้ นมา จากการใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการสรางสรรค
  • 14. ตัวอยางโปรแกรม 14 โปรแกรมสําหรับวาดภาพ เชน โปรแกรม Microsoft Paint, Illustrator, Corel Painter หรือ Corel DRAW เปนตน โปรแกรมสําหรับการตกแตงภาพ เชน Photoshop, Paint Shop Pro หรือ GIMP เปนตน โปรแกรมสําหรับงานตัดตอหรือแกไขวิดีโอ Premiere Pro, Final Cut Pro, After Effect, Newtek VT หรือ Combustion เปนตน โปรแกรมสําหรับสรางงาน 2D Animation เชน Flash, Moho หรือ Toon Boom เปนตน โปรแกรมสําหับสรางงาน 3D Animation เชน 3ds Max, Maya, Lightwave, Softimage XSI หรือ Cinema 4D เปนตน
  • 15. ประเภทของภาพ 15 วิธีการที่เครื่องคอมพิวเตอรจะสามารถสรางภาพ และบันทึกขอมูล ของภาพนั้นเก็บเอาไวมีอยู 2 วิธี หลัก ๆ ดวยกัน คือ วิธีการสรางภาพแบบ Raster Graphic วิธีการสรางภาพแบบ Vector Graphic
  • 16. Raster Graphic 16 เปนวิธีการสรางภาพและจดจําขอมูลของภาพแบบที่เรียบ งายที่สุด อาศัยหลักการ โดยนําเอาจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกวา Pixel หลาย ๆ จุดมาวางเรียงกันจนกลายเปนภาพขนาดใหญ ยิ่งจุดสี หรือ Pixel มีจํานวนมากเทาไหร ภาพก็ยิ่งมีรายละเอียดมาก แลดูสวยงาม (ความละเอียดของภาพแบบ Raster วัดเปน จํานวนจุด Pixel ตอพื้นที่ 1 ตารานิ้ว หรือตารางเซนติเมตร)
  • 17. Raster Graphic (ตอ) 17 ถาเราขยายภาพที่เปน Raster Graphic ขึ้นมากๆ เราจะพบวาภาพนั้นประกอบไป ดวยจุดสีสี่เหลี่ยมที่ เรียกวา Pixel หลาย ๆ จุดมาวางเรียงตอกัน ไฟลประเภทนี้ไดแก BMP, CGM, GIF, HGL, JPEG, PBM, PCX, PGM, PNM, PPM, PSD, RLE, TGA, TIFF และ WPG สวนใหญภาพประเภทนี้จะนํามาจากแหลงขอมูลตางๆ ผานโปรแกรมที่รองรับการ ทํางานเกี่ยวกับรูปภาพ การคัดลอก (Copy) ภาพที่แสดงบนจอภาพ โดยกดปุม Print Screen บนคียบอรด จากนั้นวาง (Paste) ในโปรแกรมที่สามารถแกไขภาพ หรือโปรแกรมที่จะใชพิมพ การนําภาพถายผานทางเครื่องสแกนเนอร (Scanner) หรือรูปภาพจากกลอง ถายภาพดิจิตอลหรือกลองวิดีโอดิจิตอล เปนตน
  • 18. Vector Graphic 18 เปนภาพที่มีวิธีการสรางภาพและบันทึกขอมูลของภาพที่แตกตาง ออกไปอยางสิ้นเชิง เพราะภาพแบบ Vector จะอาศัยการทางเลขาคณิตมา เปนตัวชวยในการสรางภาพและบันทึกขอมูลภาพ เชน ภาพสี่เหลี่ยม 1 รูป แทนที่จะบันทึกดวยขอมูลของจุด Pixel หลาย ๆ จุด ก็บันทึกเปนสูตร คณิตศาสตรแทน เชน จําวาจุดทั้ง 4 มุม ของภาพสี่เหลี่ยมวางอยูในตําแหนง ใดบาง สีภายในภาพสี่เหลี่ยมเปนสีอะไร ซึ่งทั้งหมดนี้จะเปนขอมูลที่มีจํานวน นอยกวาขอมูลของจุด Pixel ทั้งหมดในภาพสี่เหลี่ยมมาก
  • 19. Vector Graphic (ตอ) 19 เนื่องจากภาพแบบ Vector เปนภาพแบบที่สรางจากสูตรคณิตศาสตรหรือเลขาคณิต จึงทําใหภาพแบบ Vector ไมมีปญหาเรื่องความคมชัดเมื่อขยายภาพขึ้นมาก ๆ อยางภาพ Raster เพราะไมวาภาพจะเล็กหรือ ใหญเทาใด จํานวนขอมูลที่ตองจําก็มี ขนาดเทาเดิม แตขอเสียของการสรางจากสูตรคณิตศาสตรหรือเลขาคณิต ของภาพแบบ Vector ก็คือมันไมสามารถสรางหรือบันทึกภาพที่มีรายละเอียดของสีมาก ๆ อยางภาพถาย ตาง ๆ ได ดังนั้น ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสําหรับการสรางและบันทึกภาพที่มีสี เรียบ ๆ เทานั้น ไฟลประเภทนี้ไดแก AI, CDR, CGM, CMX, DRW, DFX,EPS,PDF, PCT, PIC, PLT และ WMF เปนตน
  • 21. ความละเอียดของภาพ (Image Resolution) 21 หนวยที่ใชวัดความละเอียดของภาพเรียกวา พิกเซลตอนิ้ว (Pixel Per Inch : PPI) จอคอมพิวเตอรสวนใหญจะมีความละเอียดที่ 72 PPI คือความกวาง 1 นิ้วบนจอคอมพิวเตอรจะแสดงจุดได 72 จุดนั่นเอง ดังนั้นไฟลภาพที่เรานํามา ไมวาจากกลองหรือเครื่องสแกนก็ตาม หากคิดวาจะใชแสดงผลแคบน จอคอมพิวเตอรเทานั้น ก็ใหกําหนดความละเอียดเปน 72 PPI จุดแตละจุดที่ประกอบเปนภาพ เรียกวา Pixel 300 จุด 400 จุด Resolution ของภาพนี้ คือ 300 จุด * 400 จุด = 120,000 pixels
  • 22. การบีบอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression) 22 ลดจํานวนขอมูลในการแสดงภาพใหนอยลงโดยเมื่อนําขอมูลที่ลด ขนาดไปมาสรางภาพขึ้นใหม คุณภาพของภาพใหมจะไมมีการสูญ เสียหรือมีการสูญเสียที่ยอมรับได เมื่อเทียบกับภาพเดิม การบีบอัดมาก - เสียความละเอียดมาก - ไฟลขนาดเล็ก การบีบอัดนอย - เสียความละเอียดนอย - ไฟลขนาดใหญ Compressed
  • 23. ชนิดของ image compression 23 Lossless Image Compression ภาพที่สรางกลับมาจากขอมูลที่ถูกบีบอัดมีคุณภาพเหมือนภาพเดิมโดยไมมีการ เปลี่ยนแปลง ภาพทางการแพทยที่ตองการความแมนยํามาก ความผิดพลาดเพียงเล็กนอยอาจ หมายถึงชีวิตของผูปวยได Lossy Image Compression ภาพที่สรางกลับมาจากขอมูลที่ถูกบีบอัดมีคุณภาพไมเหมือนภาพเดิม (แตตามนุษยไม สามารถแยกออกได) การบันทึกภาพวิดีโอ ถึงแมวาภาพที่แปลงมาจากการ compress จะไมเหมือนเดิม ทีเดียว แตมีผลกระทบกับคุณภาพของภาพเพียงเล็กนอยก็สามารถยอมรับได
  • 24. ภาพ 3 มิติ (3D Image) 24 เปนภาพประเภทหนึ่งของภาพเวกเตอร มีลักษณะมุมมองของภาพที่ เหมือนจริง อยูในรูปทรง 3 มิติ (3D: Three Dimensions) การสราง และการแสดงผลของภาพ 3 มิตินั้น จะตองใชซอฟตแวรที่เหมาะสม สําหรับสรางแกไข หรือแสดงภาพในรูปแบบ 3 มิติ และเพิ่มลักษณะ พิเศษใหกับภาพ 3 มิติ เชน สรางฉากหลัง เพิ่มทิศทางของแสง และ เพิ่มเทคนิคพิเศษใหกับภาพ
  • 27. รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพิวเตอร 27 HSB เปนพื้นฐานของการมองเห็นแสงสีของดวงตามนุษย ประกอบดวยลักษณะ ของแสงสี 3 ประการ คือ Hue, Saturation, Brightness Lab คาขอมูลแสงสีของ Lab ประกอบไปดวยคาตางๆ ไดแก คาระดับความเขม ของแสงสวาง คาแสดงการไลแสงสีจากสีเขียวไปยังแสงสีแดง และคาแสดง การไลแสงสีจากแสงสีน้ําเงินไปยังแสงสีเหลือง
  • 28. รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพิวเตอร (ตอ) 28 Saturation เปนคาความเขมของแสงสีที่อยูในชวงแสงสีจางจนถึงแสงสีเขม จะเปนสัดสวนของแสงสี Hue ที่มีอยูในโทนสี เทา โดยวัดคาเปนเปอรเซนต Hue เปนการเปลี่ยนแปลงเฉดสีที่แตกตางจากแสงหลักทั้งสาม (แดง เขียว น้ําเงิน) โดยเปรียบเทียบกับองศา ตางๆ บนวงกลมที่เปนการนําองศาของวงกลมมาใชแบงความแตกตางของแสงสีตั้งแต 0-360 องศา Brightness คาความสวางของแสงสี คือ คาของแสงสีดําไลระดับสวางขึ้นเรื่อยๆ จนถึงแสงสีขาวสวาง ซึ่งวัดคาเปน เปอรเซ็นตจาก 0% (แสงสีดํา) จนถึง 100 % (แสงสีขาว
  • 29. รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพิวเตอร (ตอ) 29 RGB เกิดจากการรวมแสงของแสงสีหลัก คือ แสงสีแดง (Red) เขียว (Green) และน้ําเงิน (Blue) โดยแสงสีหลักทั้ง 3 จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 255 เมื่อขอมูลแสงสี RGB เปลี่ยนไป ความเขมของแสงสีแดง เขียว และน้ําเงิน บนจอภาพจะปรับเปลี่ยน ตามไปดวย CMYK เกิดจากการซึมซับหมึกพิมพลงบนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐาน คือ สีน้ําเงินเขียว (Cyan) สีแดงมวง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow)
  • 30. เสียง (Sound) 30 ประเภทของเสียง มิดี้ (MIDI : Musical Instrument Digital Interface) คือ ขอมูลที่แสดงถึงลักษณะเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดตางๆ ซึ่งเปนมาตรฐานในการ สื่อสารดานเสียงหรือหมายถึง โนตเพลงที่มีรูปแบบเปนสัญลักษณหรือตัวเลข ที่จะบอกใหรู วาตองเลนโนตตัวใดในเวลานานเทาไร เพื่อใหเกิดเปนเสียงดนตรี ขอดี ไฟลขอมูลมีขนาดเล็ก การสรางขอมูล MIDI ไมจําเปนตองใชเครื่องดนตรีจริงๆ ใช หนวยความจํานอย ทําใหประหยัดพื้นที่บนฮารดดิสก เหมาะสําหรับใชงานบนระบบ เครือขาย และงายตอการแกไขและปรับปรุง ขอเสีย แสดงผลเฉพาะดนตรีบรรเลงและเสียงที่เกิดจากโนตดนตรีเทานั้น และอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสที่ใชสรางมีราคาคอนขางสูง
  • 31. 31 เสียงแบบดิจิตอล (Digital Audio) คือ สัญญาณเสียงที่สงมาจากไมโครโฟน เครื่องสังเคราะหเสียง เครื่องเลนเทป หรือจาก แหลงกําเนิดเสียงตางๆ แลวนําขอมูลที่ไดแปลงเปนสัญญาณดิจิตอล ซึ่งขอมูลดิจิตอล จะถูกสุมใหอยูในรูปแบบของบิต และไบต โดยเรียกอัตราการสุมขอมูลที่ไดมา วา “Sampling Size” จะเปนตัวกําหนดคุณภาพของเสียงที่ไดจากการเลนเสียงแบบ ดิจิตอล เสียงดิจิตอลจะมีขนาดของขอมูลใหญ ทําใหตองใชหนวยความจําและทรัพยากรบน หนวยประมวลผลกลางมากกวา MIDI
  • 32. การบันทึกขอมูลเสียง (Recording Sound) 32 การบันทึกเสียงเปนการนําเสียงที่ไดจากการพูด การเลนเครื่อง ดนตรี หรือเสียงจากแหลงตางๆ เชน เสียงน้ําตก ฟารอง หรือ สัตว รอง มาทําการจัดเก็บลงในหนวยความจําหรือหนวยจัดเก็บ เพื่อ นําไปใชงานตามที่ตองการ เสียงที่ทํางานผานคอมพิวเตอรเปน สัญญาณดิจิตอล มี 2 รูปแบบคือ
  • 33. การบันทึกขอมูลเสียง (Recording Sound) ตอ 33 Synthesize Sound เปนเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะหเสียง ที่ เรียกวา MIDI โดยเมื่อตัวโนตทํางาน คําสั่ง MIDI จะถูกสงไปยัง Synthesize Chip เพื่อทําการแยกเสียงวาเปนเสียงดนตรีชนิดใด ไฟลที่ไดจะมีขนาดเล็ก Sound Data : เปนเสียงที่ไดจากการแปลงสัญญาณอนาลอกเปน สัญญาณดิจิตอล โดยจะมีการบันทึกตัวอยางคลื่น (Sample ) ให อยูที่ใดที่หนึ่งในชวงของเสียงนั้นๆ และการบันทึกตัวอยางคลื่นจะ เรียงกันเปนจํานวนมาก เพื่อใหมีคุณภาพที่ดี
  • 34. การแกไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ (Sound Editing and Effects) 34 คือ การตัดตอ และการปรับแตงเสียง โดยสิ่งที่สําคัญในการแกไขเสียง คือ การจัดสรรเวลาของการแสดงผลใหสัมพันธกับองคประกอบตางๆ ที่ใชงาน รวมกับเสียง เชน การตัดตอเสียงสําหรับนํามาใชในการนําเสนอไฟลวิดีโอ ตัวอยางเชน โปรแกรม Audio Edit สําหรับใชแกไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ ใหกับเสียงที่ไดทําการบันทึก เพื่อสรางความตอเนื่องของเสียง
  • 35. การจัดเก็บแฟมขอมูลเสียงแบบดิจิตอล(Preparing Digital Audio File) 35 หลักสําคัญในการจัดเก็บแฟมขอมูลเสียงแบบดิจิตอล คือ 1. จะตองเตรียม RAM และทรัพยากรบนฮารดดิสรองรับใหเหมาะสมกับ คุณภาพของเสียงที่ตองการ 2. ปรับระดับของการบันทึกเสียงใหตรงกับคุณภาพที่ตองการและมี มาตรการปองกันเสียงรบกวนได
  • 36. การแสดงผลเสียงบนระบบเครือขายทําได 2 วิธีคือ 36 1. จัดเก็บขอมูลเสียงจากระบบเครือขาย (Download) ลงบนเครื่อง คอมพิวเตอรของผูใชกอนแลวจึงแสดงผลเสียง ในขณะที่กําลังใชงานบน ระบบเครือขาย (Streaming) 2. คุณภาพของเสียงจะขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของอุปกรณเชื่อมตอ (Modem) ดวย รูปแบบของไฟลเสียงที่นิยมใชบนระบบเครือขายไดแกไฟล AU. Wav, MIDI, MPEG และ MP3 ซึ่งนิยมนํามาใชกับเทคโนโลยีสตรีมมิ่งมีเดีย (Streaming Media Technology)
  • 37. แอนิเมชัน (Animation) 37 หลักการของแอนิเมชัน แอนิเมชันอาศัยปรากฎการณทางชีววิทยาที่เรียกวา “ความตอเนื่องของการ มองเห็น รวมกับการทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่ที่ความเร็วระดับหนึ่ง จนตาของ คนเรามองเห็นวาวัตถุนั้นมีการเคลื่อนไหว ภาพแตละภาพที่นํามาทํา แอนิเมชันเรียกวา “เฟรม (Frame)”
  • 38. วิธีการสรางแอนิเมชัน 38 1.เฟรมตอเฟรม (Frame by frame) เปนการนําภาพมาใสไวในแตละเฟรม และทําการกําหนดคียเฟรม (คียเฟรม คือ เฟรมที่ถูกกําหนดใหมีการ เปลี่ยนแปลงของวัตถุเพื่อสรางการเคลื่อนไหว) การสรางเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame เหมาะสําหรับ ภาพอะนิเมชันที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบ รวดเร็ว หรืองานที่ซับซอนมากๆ
  • 39. วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ) 39 2.ทวีนแอนิเมชัน (Tween Animation) Tween (ทวีน) ยอมาจากคําวา Between แปลวา “ระหวาง” ดังนั้นการสรางภาพ แบบนี้เปนการกําหนดคียเฟรมเริ่มตนและคียเฟรมสุดทาย จากนั้นปลอยให โปรแกรมสรางความเปลี่ยนแปลงระหวางเฟรมโดยอัตโนมัติ คือ การสราง ภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween จะสรางเฟรมเพียงสองเฟรม คือ เฟรมเริ่มตนและ เฟรมสุดทาย แบงได 2 แบบคือ 1.Motion Tween หรือ Motion Path: 2.Shape Tween:
  • 40. วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ) 40 Motion Tween หรือ Motion Path: เปนการเคลื่อนไหวที่มีการกําหนดการ เคลื่อนที่ หมุน ยอ หรือขยายไปตามเสนที่วาดไว โดยที่รูปทรงของวัตถุไมมีการ เปลี่ยนแปลง และวิธีนี้นิยมใชมากที่สุด Shape Tween: เปนการสรางภาพเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของ วัตถุ จากรูปทรงหนึ่งไปเปนอีกรูปทรงหนึ่งโดยสามารถกําหนด ตําแหนง ขนาด ทิศทาง และสีของวัตถุในแตละชวงเวลาตามตองการ นิยมใชกับรูปวาด เทานั้น
  • 41. วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ) 41 3.เอ็คชันสคริปต (Action Script) เปนภาษาโปรแกรมที่นํามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของระบบ และ สามารถโตตอบ (Interactive) กับผูใชงานได โดย Action Script จะถูกนํามาใชเมื่อ มีการกระทําเกิดขึ้น เรียกวา “เหตุการณ”(Event) เชน การคลิกเมาส หรือการกด คียบอรด เปนตน
  • 42. รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) 42 1. GIF (Graphics Interlace File) ไฟล GIF (Graphics Interlace File) หรือ กิฟอะนิเมชัน เปนอะนิเมชันที่ไดรับ ความนิยมมาก เนื่องจากประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูล โดยจัดเก็บ ภาพนิ่งเปนลําดับตอเนื่องกัน เหมาะสําหรับการใชงานบนเว็บไซต เพื่อ เพิ่มเติมความสวยงามและสรางความนาสนใจ
  • 43. รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) ตอ 43 2. JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เปนไฟลภาพที่ใชงานบนระบบเครือขาย มีโปรแกรมสนับสนุนในการสรางจํานวน มาก นําเสนอภาพที่มีความละเอียดสูง และคมชัด แตมีขอเสียคือ ไมสามารถทําให พื้นภาพโปรงใสได เมื่อมีการสงภาพจาก Server ไปแสดงผลที่ Client จะทําใหการ แสดงผลภาพชามาก เพราะตองเสียเวลาในการคลายไฟล
  • 44. รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) ตอ 44 3. PNG (Portable Network Graphics) เปนไฟลที่ทําใหพื้นภาพใหโปรงใสได สนับสนุนสีไดตามคา “True color) มีระบบ แสดงผลตั้งแตความละเอียดนอยๆ และคอยๆ ขยายไปสูรายละเอียดที่มีความ คมชัดมากขึ้น โดยผูใชสามารถกําหนดคาการบีบอัดไฟลไดตามตองการ ไฟลที่ไดมี ขนาดเล็ก แตหากกําหนดคาการบีบไฟลไวสูง ก็จะตองใชเวลาในการคลายไฟลสูง ไปดวย โปรแกรมสนับสนุนในการสรางมีนอย ไมสามารถเรียกดูกับ Graphic Browser รุนเกาได
  • 45. วิดีโอ (Video) 45 ชนิดของวิดีโอ วิดีโออนาลอก (Analog Video) วิดีโออนาลอก เปนวิดีโอที่ทําการบันทึก ขอมูลภาพและเสียงใหอยูในรูปของสัญญาณอนาลอก สําหรับวิดีโอที่เปน อนาลอก ไดแก VHS ( Video Home System) เปนมวนเทป วิดีโอที่ใชคู กันตามบาน
  • 46. ชนิดของวิดีโอ (ตอ) 46 วิดีโอดิจิตอล (Digital Video) เปนวิดีโอที่ทําการบันทึกขอมูลภาพและ เสียงที่ไดมา จากกลองวิดีโอดิจิตอล ใหอยูในรูปของสัญญาณดิจิตอล คือ 0 กับ 1 สวนการตัดตอขอมูลของภาพและเสียงที่ไดมาจากวิดีโอดิจิตอลนั้น จะแตกตางจากวิดีโออนาลอก เพราะขอมูลที่ไดจะยังคงคุณภาพความคมชัด เหมือนกับขอมูลตนฉบับ
  • 47. แหลงที่มาของวิดีโอ 47 แผนวีดีโอซีดี (VCD) กลองดิจิตอล (Digital Camera) แผนดีวีดี (DVD) เทปวีดีโอที่ใชดูกันตามบาน (VHS) เว็บไซตตางๆ
  • 48. ลักษณะการทํางานของวิดีโอ 48 กลองวิดีโอเปนการนําเอาหลักการของแสงที่วา “แสงตกกระทบกับวัตถุแลว สะทอนสูเลนสในดวงตาของมนุษยทําใหเกิดการมองเห็น “มาใชในการสราง ภาพรวมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส โดยภาพที่ไดจะถูกเก็บบันทึกเปนสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส ที่เรียกวา “สัญญาณอนาลอก (Analog Signal) ประกอบดวย ขอมูลสี 3 ชนิด คือ แดง เขียว น้ําเงิน (Red, Green, Blue : RGB)
  • 49. ลักษณะการทํางานของวิดีโอ (ตอ) 49 สัญญาณวิดีโอจะถูกสงไปบันทึกยังตลับเทปวิดีโอ (Video Cassette Recorder VCR) โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสเปนสัญญาณ ดิจิตอลและบันทึกลงบนอุปกรณบันทึกขอมูลดวยหลักการของสนามแมเหล็ก การบันทึกจะตองกระทําผานอุปกรณที่เรียกวา “หัวเทปวิดีโอ “ ที่สามารถ บันทึกไดทั้งภาพ (Video Track) เสียง (Audio Track) และขอมูลควบคุม การแสดงภาพ (Control Track)
  • 50. มาตรฐานการแพรภาพวิดีโอ 50 National Television System Committee (NTSC) เปนมาตรฐานเกี่ยวกับ โทรทัศนและวิดีโอในสหรัฐอเมริกา Phase Alternate Line (PAL) เปนมาตรฐานของโทรทัศนและวิดีโอที่ นิยมใชกันในแถบยุโรป อังกฤษ ออสเตรเลีย อัฟริกาใต และประเทศไทย Sequential Color and Memory (SECAM) เปนมาตรฐานการเผยแพร สัญญาณโทรทัศนและวิดีโอที่ใชกันในประเทศฝรั่งเศส รัสเซีย ยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลาง High Definition Television (HDTV) เปนเทคโนโลยีของการแพรภาพ โทรทัศนที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อแสดงภาพที่มีความละเอียดสูง
  • 51. การบีบอัดวิดีโอ 51 เจเพ็ก (JPEG) เปนมาตรฐานการบีบอัดขอมูลที่คิดขึ้นในยุคปลายทศวรรษ 1980 Motion – JPEC หรือ M-JPEG เปนมาตรฐานการบีบอัดขอมูลที่สามารถบีบ อัดและขยายสัญญาณไดตั้งแต12:1 , 5 : 1 และ 2 : 1 CODEC เปนเทคโนโลยีการบีบอัดและการคลายขอมูล สามารถนําไปใชกับ ซอฟตแวรและฮารดแวร สวนมาก CODEC นิยมใชบีบอัดแบบ MPEG , Indeo และ Cinepak เอ็มเพ็ก (MPEG : Moving Picture Experts Group) เปนมาตรฐานการบีบ อัดสัญญาณภาพและเสียง โดยใชระบบ DCT ที่ใชกับระบบวิดีโอคุณภาพสูง ทั่วไป
  • 52. คุณภาพของวิดีโอ 52 อัตราเฟรม (Frame Rate) คืออัตราความถี่ในการแสดงภาพจาก Timeline ออกทางหนาจอ อัตราที่ เฟรมถูกแสดงในวิดีโอมีหนวยเปนเฟรมตอวินาที ความละเอียด (Resolution) หมายถึง ความคมชัดของภาพที่แสดงผลออกทางจอภาพ ความละเอียด ของจอภาพขึ้นอยูกับจํานวนจุดทั้งหมดที่เกิดบนจอ จุดตางๆ นี้เรียกวา พิก เซล (Pixels) รูปแบบของไฟลวิดีโอ เชน *rm / *.ra / *.ram *.MPEG2 / *.MPEC4*.viv *.mov *. Avi (Audio / Video Interleave)
  • 53. ความสําคัญของสี 53 สี คือลักษณะของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี (พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน) ในทางวิทยาศาสตรใหคําจํากัดความของสีวา เปนคลื่นแสงหรือความเขมของแสงที่ สายตาสามารถมองเห็น ในทางศิลปะ สีคือ ทัศนธาตุอยางหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคัญของงานศิลปะ และ ใชในการสรางงานศิลปะ โดยจะทําใหผลงานมีความสวยงาม ชวยสรางบรรยากาศ มีความสมจริง เดนชัดและนาสนใจมากขึ้น
  • 54. ประโยชนของสี 54 1. ใชในการจําแนกสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเห็นชัดเจน 2.ใชในการจัดองคประกอบของสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเกิดความสวยงาม กลมกลืน เชน การ แตงกาย การจัดตกแตงบาน 3. ใชในการจัดกลุม พวก คณะ ดวยการใชสีตาง ๆ เชน คณะสี เครื่องแบบตาง ๆ 4. ใชในการสื่อความหมาย เปนสัญลักษณ หรือใชบอกเลาเรื่องราว 5. ใชในการสรางสรรคงานศิลปะ เพื่อใหเกิดความสวยงาม สรางบรรยากาศ สมจริง และนาสนใจ 6. เปนองคประกอบในการมองเห็นสิ่งตาง ๆ ของมนุษย
  • 55. แสงสี 55 แสง เปนพลังงานรังสี (Radiation Energy) ที่ตารับรูและมีปฏิกิริยาตอบสนอง ดวยกระบวนการ วิเคราะหแยกแยะของสมอง ตาสามารถวิเคราะหพลังงาน แสงโดยการรับรูวัตถุ สัมพันธกับตําแหนง ทิศทาง ระยะทาง ความเขมของแสง และความยาวคลื่นที่มองเห็นได สี คือลักษณะความเขมของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี โดยผาน กระบวนการรับรูดวยตา มองจะรับขอมูลจากตา โดยที่ตาไดผานกระบวนการ วิเคราะหขอมูลพลังงานแสงมาแลว ผานประสาท สัมผัสการมองเห็น ผาน ศูนยสับเปลี่ยนในสมองไปสูศูนยการมองเห็นภาพ การสรางภาพหรือการ มองเห็นก็คือ การที่ขอมูลไดผานการวิเคราะหแยกแยะใหเรารับรูถึงสรรพสิ่ง รอบตัว
  • 56. เกี่ยวกับสี 56 ในราวป ค.ศ. 1666 เซอร ไอแซค นิวตันไดแสดงใหเห็นวา สีคือสวนหนึ่งใน ธรรมชาติของแสงอาทิตย โดยใหลําแสงสองผานแทงแกวปริซึม แสงจะหักเห เพราะแทงแกวปริซึมความหนาแนนมากกวาอากาศ เมื่อลําแสงหักเหผานปริซึมจะปรากฏแถบสีสเปคตรัม ( Spectrum) หรือที่เรียกวา สี รุง (Rainbow) คือ สีมวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อแสงตกกระทบ โมเลกุลของสสาร พลังงานบางสวนจะดูดกลืนสีจาก แสงบางสวน และสะทอนสี บางสีใหปรากฏเห็นได พื้นผิววัตถุที่เราเห็นเปนสีแดง เพราะ วัตถุดูดกลืนแสงสี อื่นไว สะทอนเฉพาะแสงสีแดงออกมา วัตถุสีขาวจะสะทอนแสงสีทุกสี และวัตถุสีดํา จะดูดกลืนทุกสี
  • 57. เกี่ยวกับสี (ตอ) 57 จากทฤษฎีการการหักเหของแสงของ ของนิวตัน และจากสามเหลี่ยมสี CIE พบวา แสงสีเปนพลังงานเพียง ชนิดเดียวที่ปรากฎสี จากดานทั้ง 3 ดานของรูป สามเหลี่ยมสี CIE นักวิทยาศาสตรไดกําหนดแมสีของแสงไว 3 สี คือ สีแดง ( Red ) สีเขียว (Green) และสีน้ําเงิน ( Blue ) แสงทั้งสามสี เมื่อนํามาฉายสองรวมกัน จะ ทําใหเกิด สีตาง ๆ ขึ้นมา คือ แสงสีแดง + แสงสีเขียว = แสงสีเหลือง ( Yellow ) แสงสีแดง + แสงสีน้ําเงิน = แสงสีแดงมาเจนตา ( Magenta) แสงสีน้ําเงิน + แสงสีเขียว = แสงสีฟาไซแอน ( Cyan )
  • 58. เกี่ยวกับสี (ตอ) 58 และถาแสงสีทั้งสามสีฉายรวมกัน จะไดแสงสีขาว หรือ ไมมีสี เราสามารถสังเกต แมสีของแสง ไดจากโทรทัศนสี หรือจอคอมพิวเตอรสี โดยใชแวนขยายสองดูหนาจอ จะเห็นเปนแถบสีแสงสวาง 3 สี คือ แดง เขียว และน้ําเงิน นอกจากนี้เราจะ สังเกตเห็นวา เครื่องหมายของสถานีโทรทัศนสีหลาย ๆ ชอง จะใชแมสีของแสง ดวยเชนกัน ทฤษฎีของแสงสีนี้ เปนระบบสีที่เรียกวา RGB ( Red - Green - Blue ) เราสามารถ นําไปใชในการ ถายทําภาพยนตร บันทึกภาพวิดีโอ การสรางภาพ เพื่อแสดงทาง คอมพิวเตอร การจัดไฟแสงสีในการแสดง การจัดฉากเวที
  • 59. 59 แสงสีที่เปนแมสี คือ สีแดง น้ําเงิน เขียว จะเรียกวา สีพื้นฐานบวก ( Additive primary colors ) คือ เกิดจาก การหักเหของแสงสีขาว สวนสีใหมที่เกิดจากการผสมกันของแมสีของแสงทั้งสามสี จะเรียกวา สีพื้นฐาน ลบ (Subtractive primary colors ) คือ สีฟาไซแอน (Cyan) สีแดงมาเจนตา (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) ทั้งสามสีเปนแมสีแมใชในระบบการพิมพออฟ เซท หรือที่เรียกวา ระบบสี CMYK โดยที่มีสีดํา (Black) เพิ่มเขามา
  • 60. แมสี Primary Colour 60 แมสี คือ สีที่นํามาผสมกันแลวทําใหเกิดสีใหม ที่มีลักษณะแตกตางไปจากสี เดิมแมสี มือยู 2 ชนิด คือ 1. แมสีของแสง เกิดจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปริซึม มี 3 สี คือ สี แดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน อยูในรูปของแสงรังสี ซึ่งเปนพลังงานชนิดเดียวที่มี สี คุณสมบัติของแสงสามารถนํามาใช ในการถายภาพ ภาพโทรทัศน การจัด แสงสีในการแสดงตาง ๆ เปนตน
  • 61. แมสี Primary Colour (ตอ) 61 2. แมสีวัตถุธาตุ เปนสีที่ไดมาจากธรรมชาติ และจากการ สังเคราะหโดยกระบวน ทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ํา เงิน แมสีวัตถุธาตุเปนแมสีที่นํามาใช งานกันอยางกวางขวาง ใน วงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ
  • 62. 62 แมสีวัตถุธาตุ เมื่อนํามาผสมกันตามหลักเกณฑ จะทําใหเกิด วงจรสี ซึ่งเปนวง สี ธรรมชาติ เกิดจากการผสมกันของแมสีวัตถุธาตุ เปนสีหลักที่ใชงานกันทั่วไป ใน วงจรสี จะแสดงสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้
  • 63. วงจรสี ( Colour Circle) 63 สีขั้นที่ 1 คือ แมสี ไดแก สีแดง สีเหลือง สีน้ําเงิน สีขั้นที่ 2 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 หรือแมสีผสมกันในอัตราสวนที่เทากัน จะทําให เกิดสีใหม 3 สี ไดแก สีแดง ผสมกับสีเหลือง ไดสี สม สีแดง ผสมกับสีน้ําเงิน ไดสีมวง สีเหลือง ผสมกับสีน้ําเงิน ไดสีเขียว
  • 64. 64 สีขั้นที่ 3 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 ผสมกับสีขั้นที่ 2 ในอัตราสวนที่เทากัน จะไดสีอื่น ๆ อีก 6 สี คือ สีแดง ผสมกับสีสม ไดสี สมแดง สีแดง ผสมกับสีมวง ไดสีมวงแดง สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวเหลือง สีน้ําเงิน ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวน้ําเงิน สีน้ําเงิน ผสมกับสีมวง ไดสีมวงน้ําเงิน สีเหลือง ผสมกับสีสม ไดสีสมเหลือง
  • 65. 65 วรรณะของสี คือสีที่ใหความรูสึกรอน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีรอน 7 สี และ สีเย็น 7 สี ซึ่งแบงที่ สีมวงกับสีเหลือง ซึ่งเปนไดทั้งสองวรรณะ
  • 66. 66 สีตรงขาม หรือสีตัดกัน หรือสีคูปฏิปกษ เปนสีที่มีคาความเขมของสี ตัดกัน อยาง รุนแรง ในทางปฏิบัติไมนิยมนํามาใชรวมกัน เพราะจะทําใหแตละสีไม สดใส เทาที่ควร การนําสีตรงขามกันมาใชรวมกัน อาจกระทําไดดังนี้ 1. มีพื้นที่ของสีหนึ่งมาก อีกสีหนึ่งนอย 2. ผสมสีอื่นๆ ลงไปสีสีใดสีหนึ่ง หรือทั้งสองสี 3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทั้งสองสี
  • 67. 67 สีกลาง คือ สีที่เขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ําตาล กับ สีเทา สี น้ําตาล เกิดจากสีตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนที่เทากัน สีน้ําตาล มี คุณสมบัติสําคัญ คือ ใชผสมกับสีอื่นแลวจะทําใหสีนั้น ๆ เขมขึ้นโดยไม เปลี่ยน แปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ สีในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนเทากัน สีเทา มีคุณสมบัติ ที่สําคัญ คือ ใชผสมกับสี อื่น ๆ แลวจะทําให มืด หมน ใชในสวนที่เปนเงา ซึ่งมีน้ําหนัก ออนแกในระดับตาง ๆ ถาผสมมาก ๆ เขาจะกลายเปนสีเทา
  • 68. ระบบสี RGB 68 ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง ซึ่งเกิดจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปริซึม จะเกิดแถบสีที่เรียกวา สีรุง ( Spectrum ) ซึ่งแยกสีตามที่สายตามองเห็นได 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขียว น้ําเงิน คราม มวง ซึ่งเปนพลังงานอยูในรูปของรังสี ที่ มีชวงคลื่นที่สายตาสามารถมองเห็นได แสงสีมวงมีความถี่คลื่นสูงที่สุด คลื่นแสง ที่มีความถี่สูงกวาแสงสีมวง เรียกวา อุลตราไวโอเลต ( Ultra Violet ) และคลื่นแสงสี แดง มีความถี่คลื่นต่ําที่สุด คลื่นแสง ที่ต่ํากวาแสงสีแดงเรียกวา อินฟราเรด ( Infrared) คลื่นแสงที่มีความถี่สูงกวาสีมวง และต่ํา กวาสีแดงนั้น สายตาของมนุษย ไมสามารถรับได และเมื่อศึกษาดูแลวแสงสีทั้งหมดเกิดจาก
  • 69. การนํา RGB มาใชงาน 69 แสงสี 3 สี คือ สีแดง ( Red ) สีน้ําเงิน ( Blue)และสีเขียว ( Green )ทั้งสามสีถือ เปนแมสี ของแสง เมื่อนํามาฉายรวมกันจะทําใหเกิดสีใหม อีก 3 สี คือ สีแดงมา เจนตา สีฟาไซแอน และสีเหลือง และถาฉายแสงสีทั้งหมดรวมกันจะไดแสงสี ขาว จากคุณสมบัติของแสงนี้เรา ไดนํามาใชประโยชนทั่วไป ในการฉาย ภาพยนตร การบันทึกภาพวิดีโอ ภาพโทรทัศน การสรางภาพเพื่อการนําเสนอ ทางจอคอมพิวเตอร และการจัดแสงสีในการแสดง เปนตน RED BLUE GREEN
  • 70. ระบบสี CMYK 70 ระบบสี CMYK เปนระบบสีชนิดที่เปนวัตถุ คือสีแดง เหลือง น้ําเงิน แตไมใชสีน้ําเงิน ที่เปนแมสีวัตถุธาตุ แมสีในระบบ CMYK เกิดจากการผสมกันของแมสีของแสง หรือ ระบบสี RGB คือ แสงสีน้ําเงิน + แสงสีเขียว = สีฟา (Cyan) แสงสีน้ําเงิน + แสงสีแดง = สีแดง (Magenta) แสงสีแดง + แสงสีเขียว = สีเหลือง (Yellow) CYAN MAGENTA YELLOW BLACK
  • 71. การนํา CMYK มาใชดานการพิมพ 71 ทั้ง 3 สี ไดแก สีฟา (Cyan) สีแดง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) นี้นํามาใชในระบบการ พิมพ และ มีการเพิ่มเติม สีดําเขาไป เพื่อใหมีน้ําหนักเขมขึ้นอีก เมื่อรวมสีดํา ( Black=K ) เขาไป จึงมีสี่สีโดยทั่วไปจึงเรียกระบบการพิมพนี้วาระบบการพิมพสี่สี ( CMYK ) ระบบการพิมพสี่สี ( CMYK ) เปนการพิมพภาพในระบบที่ทันสมัยที่สุด และไดภาพ ใกลเคียงกับภาพถายมากที่สุด โดยทําการพิมพทีละสี จากสีเหลือง สีแดง สีน้ําเงิน และ สีดํา ถาลองใชแวนขยายสองดู ผลงานพิมพชนิดนี้ จะพบวา จะเกิดจากจุดสีเล็ก ๆ สี่สีอยู เต็มไปหมด การที่เรามองเห็นภาพมีสีตาง ๆ นอกเหนือจากสี่สีนี้ เกิดจากการผสมของ เม็ดสีเหลานี้ใน ปริมาณตาง ๆ คิดเปน % ของปริมาณเม็ดสี ซึ่งกําหนดเปน 10-20-30- 40-50-60-70-80-90 จนถึง 100 %
  • 72. ความรูสึกเกี่ยวกับสีในเชิงจิตวิทยา 72 -สีแดง ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคั่ง ความรัก ความสําคัญ อันตราย -สีสม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึก คะนอง การปลดปลอย ความเปรี้ยว การระวัง -สีเหลือง ใหความรูสึกแจมใส ความสดใส ความราเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม ความสด ใหม ความสุกสวาง การแผกระจาย อํานาจบารมี
  • 73. ความรูสึกเกี่ยวกับสีในเชิงจิตวิทยา (ตอ) 73 -ใหความรูสึก สงบ เงียบ รมรื่น รมเย็น การพักผอน การผอนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยือกเย็น -สีน้ําเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สงางาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เปนระเบียบถอมตน -สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลัง แฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ -สีฟา ใหความรูสึก ปลอดโปรงโลง กวาง เบา โปรงใส สะอาด ปลอดภัย ความสวาง ลมหายใจ ความเปนอิสระเสรีภาพ การชวยเหลือ แบงปน
  • 74. ความรูสึกเกี่ยวกับสีในเชิงจิตวิทยา (ตอ) 74 -สีขาว ใหความรูสึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง ออนโยน เปดเผย การ เกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม -สีดํา ใหความรูสึก มืด สกปรก ลึกลับ ความสิ้นหวัง จุดจบ ความตาย ความชั่ว ความลับ ทารุณ โหดราย ความเศรา หนักแนน เขมเข็ง อดทน มีพลัง -สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุมสาว ความนารัก ความสดใส -สีเทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถอมตน -สีทอง ใหความรูสึก ความหรูหรา โออา มีราคา สูงคา สิ่งสําคัญ ความ เจริญรุงเรือง ความสุข ความมั่งคั่ง ความร่ํารวย การแผกระจาย
  • 75. การใชสีในเชิงสัญลักษณ 75 สีแดง มีความอบอุน รอนแรง เปรียบดังดวงอาทิตย นอกจากนี้ยังแสดงถึงความมีชีวิตชีวา ความรัก ความปรารถนา เชนดอกกุหลาบแดงวัน วาเลนไทน ในทางจราจรสีแดง เปนเครื่องหมายประเภทหาม แสดง ถึงสิ่งที่อันตราย เปนสีที่ตองระวัง เปนสีของ เลือด ในสมัยโรมัน สีของราชวงศเปนสีแดง แสดงความมั่งคั่งอุดมสมบูรณและ อํานาจ
  • 76. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 76 สีเขียว แสดงถึงธรรมชาติสีเขียว รมเย็น มักใชสื่อความหมายเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม การเกษตร การเพาะปลูกการเกิดใหม ฤดูใบไมผลิ การงอก งาม ในเครื่องหมายจราจร หมายถึงความปลอดภัย ในขณะเดียวกัน อาจหมายถึง อันตราย ยาพิษ เนื่องจากยาพิษ และสัตวมีพิษ ก็มักจะมีสีเขียวเชนกัน
  • 77. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 77 สีเหลือง แสดงถึงความสดใส ความเบิกบาน โดยเรามักจะใชดอกไมสีเหลือง ในการไปเยี่ยม ผูปวย และแสดงความรุงเรืองความมั่งคั่ง และฐานันดรศักดิ์ ในทางตะวันออกเปนสี ของกษัตริย จักรพรรดิ์ของจีนใชฉลองพระองคสีเหลือง ในทางศาสนาแสดงความ เจิดจา ปญญา พุทธศาสนาและยังหมายถึงการเจ็บปวย โรคระบาด ความริษยา ทรยศ หลอกลวง
  • 78. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 78 สีน้ําเงิน แสดงถึงความเปนสุภาพบุรุษ มีความสุขุม หนักแนน และยังหมายถึงความสูงศักดิ์ ในธงชาติไทย สีน้ําเงินหมายถึงพระมหากษัตริย ในศาสนาคริตสเปนสีประจําตัวแม พระ โดยทั่วไป สีน้ําเงินหมายถึงโลก ซึ่งเราจะ เรียกวา โลกสีน้ําเงิน (Blue Planet) เนื่องจากเปนดาวเคราะหที่มองเห็นจากอวกาศโดยเห็นเปนสีน้ําเงินสดใส เนื่องจาก มีพื้นน้ําที่กวางใหญ
  • 79. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 79 สีมวง แสดงถึงพลัง ความมีอํานาจ ในสมัยอียิปตสีมวงแดงเปนสีของกษัติรยตอเนื่องมา จนถึงสมัยโรมัน นอกจากนี้ สีมวงแดงยังเปนสีชุดของพระสังฆราช สีมวงเปนสีที่มี พลังหรือการมีพลังแอบแฝงอยู และเปนสีแหงความผูกพัน องคการลูกเสือโลกก็ใชสี มวง สวนสีมวงออนมักหมายถึง ความเศรา ความผิดหวังจากความรัก
  • 80. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 80 สีฟา แสดงถึงความสวาง ความปลอดโปรง เปรียบเหมือนทองฟา เปนอิสระเสรี เปนสีของ องคการสหประชาชาติ เปนสีของความสะอาด ปลอดภัย สีขององคการอาหารและ ยา (อย.) แสดงถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม การใชพลังงานอยางสะอาด แสดงถึง อิสรภาพ ที่สามารถโบยบินเปนสีแหงความคิดสรางสรรคและจินตนาการที่ไมมี ขอบเขต
  • 81. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 81 สีทอง มักใชแสดงถึง คุณคา ราคา สิ่งของหายาก ความสําคัญ ความสูงสงสูงศักดิ์ ความศรัทธาสูงสุด ในศาสนาพุทธ หรือ เปนสีกายของพระพุทธรูป ในงาน จิตรกรรมเปนสีกายของพระพุทธเจา พระมหากษัติรย หรือเปนสวนประกอบของเครื่องทรง เจดียตาง ๆ มักเปนสีทอง หรือขาว และเปน เครื่องประกอบยศศักดิ์ ของกษัตริยและขุนนาง
  • 82. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 82 สีขาว แสดงถึงความสะอาด บริสุทธิ์ เหมือเด็กแรกเกิด แสดงถึงความวางเปลาปราศจาก กิเลส ตัณหา เปนสีอาภรณของผูทรงศีล ความเชื่อถือ ความดีงาม ความศรัทธา และ หมายถึงการเกิดโดยที่แสงสีขาว เปนที่กําเนิดของแสงสี ตาง ๆ เปนความรักและ ความหวัง ความหวงใยเอื้ออาทรและเสียสละของ พอแม ความออนโยน จริงใจ บาง กรณีอาจหมายถึง ความออนแอ ยอมแพ
  • 83. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 83 สีดํา แสดงถึงความมืด ความลึกลับ สิ้นหวัง ความตายเปนที่สิ้นสุดของทุกสิ่ง โดยที่สีทุกสี เมื่ออยูในความมืด จะเห็นเปนสีดํา นอกจากนี้ยังหมายถึง ความชั่วราย ในคริสต ศาสนาหมายถึง ซาตาน อาถรรพเวทมนต มนตดํา ไสยศาสตร ความชิงชัง ความ โหดราย ทําลายลาง ความลุมหลงเมามัว แตยังหมายถึงความอดทน กลาหาญ เขมแข็ง และเสียสละไดดวย
  • 84. การใชสีในเชิงสัญลักษณ (ตอ) 84 สีชมพู แสดงถึงความอบอุน ออนโยน ความออนหวาน นุมนวล ความนารัก แสดงถึงความ รักของมนุษยโดยเฉพาะรุนหนุมสาว เปนสีของความ เอื้ออาทร ปลอบประโลม เอา ใจใสดูแล ความปรารถนาดี และอาจ หมายถึงความเปนมิตร เปนสีของวัยรุน โดยเฉพาะผูหญิง และนิยม ใชกับสิ่งของเครื่องใชของเด็กวัยรุนเปนสวนใหญ