SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 74
นาเสนอเพือแลกเปลียนเรียนรู้ และเป็ นแนวทาง
          ่       ่
ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ ศึกษาของประเทศไทย



                    magnegis@hotmail.com
              http://teacherkobwit2010.wordpress.com
วันนีเ้ ราจะพาทุกท่ านไปเรียนรู้ และทาความเข้ าใจ
   เกียวกับวิวฒนาการของหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ ของ
      ่       ั
   ประเทศสหรัฐอเมริกา ถ้ าจะดีให้ ดเี ราก็ต้องไปศึกษา
   ที่สหรัฐอเมริกากันดีกว่ า !
ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
สนุกครับ / สนุกค่ ะ
ผมอยากรู้ ว่า สมัยก่ อนการเรียน
วิทยาศาสตร์ ของประเทศสหรัฐอเมริกา
     ของเราเป็ นอย่ างไรหรือครับ
เพือให้ ทุกๆคนเข้ าใจวิวฒนาการของหลักสู ตรวิทยาศาสตร์
    ่                   ั
ในประเทศสหรัฐอเมริกาของเรามากขึน ครูจะพา
                                     ้
                                                ว้าว!
พวกเราไปพบกับ ท่ าน ผอ. ซูซาน ซึ่งเป็ น
                                                 น่ าสนใจจัง
ผู้เชี่ยวชาญด้ านวิทยาศาสตร์ ศึกษาของสหรัฐอเมริกาเรา
สวัสดีครับ/สวัสดีค่ะ
                          ท่าน ผอ.ซู ซาน




สวัสดีจ้า! เด็กๆทุกคน
 ดิฉัน ผอ.ซู ซาน ค่ ะ
ท่ าน ผอ.ครับ พอดีว่าในคาบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
             เด็กๆเขาอยากทราบว่ า สมัยก่อนการเรียนการสอน
                   วิทยาศาสตร์ ของประเทศเราเป็ นอย่ างไร
                   ผมจึงพาเด็กๆมาเรียนรู้ กบ ท่ าน ผอ.ครับ
                                           ั


        ดีมากเลยเด็กๆ ถ้ าอยากจะ
ค่ ะ!   ทราบเกียวกับวิทยาศาสตร์
               ่
         ศึกษาของอเมริกา เดียว
                             ๋
         ผอ.จะเล่าให้ ทุกๆคนฟัง
แล้วเราจะเริ่มตั้งแต่ สมัย
 ไหนกันดีครับ เริ่มตั้งแต่
กาเนิดประเทศอเมริกาของ
   เราเลยดีไหมครับ !

                       ฮ่ า ฮ่ า ! จริงๆแล้ว
                  วิทยาศาสตร์ ศึกษาก็เริ่มต้ น
                   มานานตั้งแต่ เป็ นประเทศ
                  ของเราแล้วค่ะ แต่ ยงไม่ ค่อย
                                         ั
                    มีการบันทึกที่ชัดเจนนัก
เอาอย่ างนีนะจ๊ ะ! ผอ. จะเล่ า
             ้
   ให้ พวกเราฟังตั้งแต่ สมัยทีมี
                              ่
   การบันทึกและมีการเปลียน  ่
   แปลงทางวิทยาศาสตร์ ศึกษา
    เกิดขึนอย่ างชัดเจนแล้วกัน
          ้




รับทราบครับ /ค่ ะ
ยุคสปุตนิก
                    คศ.1960-1970

  ยุคก่อนปฏิรูป                           ยุค TIMSS
                                        (Third International
ก่อน คศ.1942-1945                  Mathematics and Science Study)
                                     คศ. 1980-ปัจจุบัน
แล้วยุคก่อนการปฏิรูป
 นี่เริ่มต้ นขึนเมื่อไหร่ ครับ
               ้
ผมค้นข้ อมูลไม่ เจอเลยครับ

                          ยุคก่อนการปฏิรูป เริ่มตั้งแต่
                            ก่อน ค.ศ. 1942 ตอนนั้น
                          วิทยาศาสตร์ เป็ นวิชาหนึ่งใน
                         หลักสู ตรการเรียนการสอนทุก
                         ระดับชั้นการสอนวิทยาศาสตร์
                            เป็ นแบบ“อนุรักษ์ นิยม”
การสอนวิทยาศาสตร์
                                  เป็ นแบบ “อนุรักษ์ นิยม”
                                    เป็ นอย่ างไรหรือครับ


การสอนวิทยาศาสตร์ เป็ นแบบ
“อนุรักษ์ นิยม” ก็คือ ครู เป็ น
ผู้ให้ ความรู้ (active) นักเรียน
   เป็ นผู้รับความรู้ (passive)
              นั่นเองค่ะ
นี่ไงค่ ะ ภาพการสอนในปี 1942 การครู เป็ นผู้ให้ ความรู้
      (active) นักเรียนเป็ นผู้รับความรู้ (passive)
ต่ อมาในปี ค.ศ. 1942 เกิด
                   เหตุการณ์ ครั้งสาคัญขึนบนโลก
                                         ้
                    ของเราแล้วเกียวข้ องประเทศ
                                  ่
                     สหรัฐอเมริกาของเราด้ วย
                   ทราบไหมคะว่ า คือเหตุการณ์ ใด


เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
    หรือเปล่าครับ ?

                          ใช่ แล้วค่ ะ
นี่ไงค่ะ ภาพสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เกิดขึน
                                         ้
แล้วรู้ไหมคะว่า สงครามครั้งนั้นส่ งผลอย่ างไร
           ต่ อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ของสหรัฐอเมริกาอย่ างไร




     เด็กหนุ่มจานวนมากถูกเกณฑ์ มาเข้ ารับการฝึ กในกรมกองต่ างๆ
เพือเข้ าสู่ สนามรบทาให้ ทหารเกณฑ์ ส่วนใหญ่ มทกษะทางคณิตศาสตร์
   ่                                         ี ั
                       และวิทยาศาสตร์ ต่ามาก
นักวิทยาศาสตร์ ช้ันนาเกิดความกังวลว่ า
คนรุ่นใหม่ อาจไม่ สามารถรักษาความเป็ นผู้นาทางเทคโนโลยี
        ด้ านการทหารของประเทศไว้ ได้ ในอนาคต
จากนั้น ในปี 1945 ดร.แวนวาร์ บุช (Dr.Vannevar Bush)
  ผู้อานวยการสานักงานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์
  จัดทารายงานชื่อ “วิทยาศาสตร์ ขอบเขตทีไม่ สิ้นสุ ด
                                         ่
  (Science the Endless Frontier)” ขึน
                                    ้
จากนั้น ได้ จัดตั้งองค์ กรระดับชาติ ทาหน้ าทีจัดสรร
                                             ่
  งบประมาณการวิจัยและดาเนินนโยบายเพือเพิม      ่ ่
  กาลังคนด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
  เทคโนโลยี ในปี 1950 มีการก่อตั้งมูลนิธิ
  วิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ (The National Science
  Foundation : NSF)
อย่ างนีการก่อตั้งมูลนิธิ
                                 ้
                      วิทยาศาสตร์ แห่ งชาติกน่าจะ
                                              ็
                         ทาให้ วทยาศาสตร์ ของ
                                   ิ
                          อเมริกาดีขนสิครับ
                                      ึ้
          มันไม่ แค่ น้ันนะสิคะ
ในปี 1957 ชาวอเมริกาเรียกร้ อง
 ให้ มการปฏิรูปเพราะความรู้ สึก
      ี
ว่ าการเป็ นผู้นา ทางวิทยาศาสตร์
     และเทคโนโลยีถูกคุกคาม
     รู้ ไหมคะ ว่ าเพราะอะไร?
อ๋อ! หนูจาได้ ว่า คุณครูเคย
สอนว่า ในวันที่ 4 ตุลาคม
ปี 1957 รัสเซียสามารถส่ ง
 ยานสปุตนิกขึนสู่ อวกาศ
                 ้




  ใช่ แล้วครับ เก่งมา
       ลูกศิษย์ ครู
นั่นคือจุดเริ่มต้ นของยุคใหม่ ของ
      การปฏิรูปการศึกษาวิทยาศาสตร์
       ของอเมริกา เป็ นทีมาของชื่อยุค
                           ่
            “สปุตนิก” นั่นเองค่ะ



                           ในปี 1958 รัฐบาลกลางอนุมัติงบประมาณ
                           จานวนมากให้ กบโครงการปฏิรูปการศึกษา
                                           ั
                           วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ ช่วงการบริหารประเทศของ
Eisenhower                 ประธานาธิบดีไอเซ่ นฮาวร์ (1953-1961) ต่ อเนื่อง
                           มาถึงประธานาธิบดีเคนเนดี(1961-1963)
                JFK
1. การเพิมความรู้ ของครู
          ่                2. การพัฒนาเนือหาวิชา
                                           ้
   วิทยาศาสตร์ ให้         หลักสู ตรและวิธีการเรี ยนการ
   มหาวิทยาลัยต่ างๆจัด    สอนวิทยาศาสตร์ จัดทา
   หลักสู ตรอบรมครู        หลักสู ตรใหม่ ให้ มีรูปแบบและ
                           เนือหาตามที่นักวิทยาศาสตร์ คิด
                                ้
                           ว่าเหมาะสมในการเตรียม
                           พืนฐานสาหรับวิชาชีพ
                              ้
                           วิทยาศาสตร์
แล้วหลักสู ตรใหม่ ที่
         พัฒนาขึนมานีมีลกษณะ
                ้      ้ ั
         สาคัญอย่ างไรบ้ างครับ?

                                       พัฒนาขึนโดย
                                              ้
 นาความตืนเต้ นของ
              ่
                                   นักวิทยาศาสตร์ ช้ันนา
การวิจยและการค้ นพบ
      ั
 ทางวิทยาศาสตร์ เข้ า                   ของประเทศ
    ไปสู่ ช้ ันเรียน
                                        นักเรี ยนเรี ยนรู้ แนวคิด
                                         ผ่านการทากิจกรรม
                                         ต่ างๆ ซึ่งช่ วยพัฒนา
                                         ทักษะการแก้ปัญหา
อย่ างนี! การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของ
                          ้
                   ประเทศเราก็น่าจะดีขนนะสิครับ
                                        ึ้


                  ไม่ เพียงแค่ นี้นะคะ! ในปี 1965 รอง
                  ประธานาธิบดี ฮิวเบิร์ต ฮัมฟรีย์ ได้ เสนอให้
                  รัฐบาลของประธานาธิบดีจอห์ นสั นออก
                  กฏหมายพระราชบัญญัติการศึกษาระดับ
                  ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
                  (Elementary and Secondary Education
                  Act of 1965 ) อีกด้ วย
Hubert Humphrey
ผลจากการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษา
 ในครั้งนั้น ได้ ส่งผลต่ อความสาเร็จ
   ครั้งยิงใหญ่ ของชาวอเมริกน !
          ่                   ั
    เด็กๆรู้ ไหมคะ ว่ าคืออะไร?
ใช่ แล้วค่ ะ !




ในช่ วงประธานาธิบดีเคนเนดี สหรั ฐอเมริกาส่ งมนุษย์ อวกาศไปลงดวงจันทร์ ได้
 สาเร็จ ประชาชนพอใจทีได้ รับความเป็ นผู้นากลับคืนมา และรู้ สึกว่ าปั ญหาด้ าน
                        ่
          วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศได้ รับการแก้ไขแล้ ว
โห น่ าภูมใจจังเลยครับ! อย่ างนี้
                    ิ
          แสดงว่ าหลักสู ตรใหม่ ช่วยพัฒนา
         การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของประเทศ
               ของเราให้ ดีขนนะเนี่ย
                            ึ้

เหมือนว่ ากาลังจะไปได้ ด้วยดี
  แต่ ไม่ ใช่ อย่ างนั้นนะคะ

       อ้าว ! ทาไมละครับ
             ท่ าน ผอ.
ช่ วงปี 1970 นั้น ปัญหาสั งคมต่ างๆ
                      เช่ น ปั ญหาด้ านสิ ทธิมนุษยชน
                  การแบ่ งแยกสี ผว สงครามเวียดนาม
                                     ิ
                 เศรษฐกิจตกต่า ทาให้ ประชาชนค่ อยๆ
                        ลดความสนใจในการปฏิรูป
                                วิทยาศาสตร์




สงครามเวียดนาม
                                     การแบ่ งแยกสีผว
                                                   ิ
และหลักสู ตรใหม่ ยงถูก
                        ั
       วิจารณ์ อย่ างหนัก



    ใช่ แล้ ว ครู จะบอกให้ เพราะว่าละเลยความรู้
    พืนฐาน (Basic Knowledge) ทีมีเนือหาและ
      ้                             ่ ้
แนวความคิดยากเกินความสามารถของเด็กทัวไป         ่
 ทั้งยังไม่ เหมาะสมต่ อเด็กที่เป็ นชนกลุ่มน้ อยและ
         เด็กทีมีความบกพร่ องทางสติปัญญา
               ่


                      อย่ างนีนี่เอง
                              ้
ช่ วงนั้นนะ
                    สั บสนมากเลย
                                            สั บสนอะไร
                                               ครับครู
รู ปแบบการศึกษามักจะเคลือนทีไปมาระหว่ างสองขั้ว คือ ขั้วอนุรักษ์ นิยม
                           ่ ่
ซึ่งเน้ นความรู้ พนฐาน และครู เป็ นศู นย์ กลางการเรียนการสอน กับขั้ว
                  ื้
เสรีนิยม (Progressive) ซึ่งมีนักเรี ยนเป็ นศู นย์ กลางของการเรี ยนการสอน

                 ในทีสุด ในปี
                     ่
                 1975 ก็ยกเลิก
                 หลักสู ตรใหม่
ผมเป็ นครู กอยากรู้ เหมือนกันครับ
                                    ็
                         ว่ าทาไมถึงยกเลิกหลักสู ตรใหม่

   การปฏิรูปเน้ นเฉพาะการทา                  นักการศึกษาไม่ ได้ มส่วน
                                                                 ี
  หลักสู ตร แต่ขาดกระบวนการ                 ร่ วมในการปฏิรูปตั้งแต่ ต้น
      สาคัญอืนๆ เช่ น การจัดทา
             ่                              ทาให้ ขาดการ สนับสนุนใน
  นโยบายและแผนงานระยะยาว                          หน่ วยงานอืนๆ
                                                             ่
 เพือสืบเนื่องการปฏิรูปในระดับ
    ่
        รัฐและเขตการศึกษา
                                               การปฏิรูปวิทยาศาสตร์
                                               ศึกษา ต้ องได้ รับความ
                                                ร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่
ครู ซึ่งไม่ มบทบาทใด
             ี
                                                      เกียวข้ อง
                                                         ่
 ใดเลยในการพัฒนา
    หลักสู ตรใหม่
เห็นไหมครับเด็กๆ ในทีสุด
                       ่
ก็สิ้นสุ ดยุคสปุตนิกซะแล้ว !


                               แล้วต่ อไป ยุคอะไร
                                ล่ะครับ อยากรู้ จัง
ยุคต่ อมาคือ ยค TIMSS
                   ุ
ย่ อมาจาก Third International Mathematics
                and Science Study
        ซึ่งเริ่มตั้งแต่ ปี 1980-ปัจจุบน
                                       ั



               ว้ าว! ถึงยุคปัจจุบันแล้ ว
หลังจากยุคสปุตนิกเริ่มมีเสี ยงเรี ยกร้ อง
                             ให้ รัฐบาลหันมาให้ ความสนใจการ
                               ปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาอีกครั้ง


เมื่อในปี 1981 ที.เอช.เบลล์ (T.H. Bell) รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งคณะกรรมการแห่ งชาติว่าด้ วย
ความเป็ นเลิศทางการศึกษา (The National Commision of
Excellence Education) เพือทารายงานเกี่ยวกับคุณภาพ
                            ่
การศึกษา ในสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า “ประเทศในภาวะเสี่ ยง ที.เอช.เบลล์ (T.H. Bell)
(A Nation At Risk )”            ชี้ให้ เห็นคะแนนมาตรฐาน แบบสอบ
                              ความถนัดทางวิชาการของนักเรียน
                              มัธยม ซึ่งมีแนวโน้ มต่าลงเรื่อยๆ
ช่ วงนั้นมีเอกสารสาคัญ
      สิ่ งหนึ่งเกิดขึน !
                      ้

เอกสารอะไรหรือ
  ครับ ท่ าน ผอ.
ที่มา https://www.msu.edu/~dugganha/rethinkintro.htm
เอกสารนีเ้ กียวกับ
                      ่
           อะไรหรือครับ
             ท่ าน ผอ.

กล่าวถึงความจาเป็ นในการสร้ าง
ประเทศ ซึ่งประชาชนทุกคนมี
ความรู้ ความเข้ าใจวิทยาศาสตร์
(Science literacy)
แล้วยังมีเอกสารอืนๆทีเ่ กียวข้ องกับ
                                         ่         ่
                        การศึกษาวิทยาศาสตร์ อกไหมครับ
                                                 ี
                         เอกสารสาคัญที่รัฐต่ างๆนาไปใช้ เป็ นแนวทาง
ในการจัดทามาตรฐานและโครงสร้ างหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ ในทุกระดับชั้ น รวมทั้ง
หลักสู ตรการเตรียมครู วทยาศาสตร์ การอบรมครู วทยาศาสตร์ และการวัดผล
                       ิ                         ิ
ประเมินผลทางวิทยาศาสตร์ ศึกษา ได้ แก่
                                                     National Science
                                                   Education Standards
                                                         ของ National
                                                    Research Council
                                                         (NRC, 1996)
อ๋อ! ครูเคยเห็นหนังสืออยู่ใน
ห้ องสมุดเดียวครูไปหยิบมาให้ ดูนะ
             ๋
แล้วยังมีการดาเนินการอะไรนอกจากนี้
                  อีกหรือเปล่า ครับ


มีค่ะ! ในปี 1989 รัฐบาลของประธานาธิบดี
จอร์ จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ได้ จัดทาเปาหมาย
                                      ้
การศึกษาของชาติจานวน 6 ข้ อทีรัฐบาล ่
จะต้ องทา ให้ ได้ ภายในปี 2000 โดยออกเป็ น
กฎหมายชื่อ พระราชบัญญัติอเมริกา 2000 :
                                            จอร์ จ เอช. ดับเบิลยู. บุช
ความเป็ นเลิศในการศึกษา (America 2000:
Excellence in Education Act)
ประธานาธิบดีจอร์ จ บุช นี่มีวสัยทัศน์ จริงๆ
                                    ิ
      เลยนะครับ แล้วต่ อมาในสมัยประธานาธิบดี
            คลินตัน เป็ นอย่างไรบ้ างครับ

มีค่ะ! ในปี 1992 ได้ ออกกฎหมายชื่อ Goals
2000: Education America Act (1994) โดย
กาหนดเปาหมายการศึกษาของชาติเพิมขึน
         ้                           ่ ้
จากของประธานาธิบดีบุชอีก 2 ข้ อ รวมเป็ น
8 ข้ อโดยเปาหมายข้ อ 4 กล่าวว่าภายในปี
            ้
2000 นักเรียนอเมริกนต้ องสอบวิทยาศาสตร์ ประธานาธิบดีคลินตัน
                      ั
 และคณิตศาสตร์ ได้ เป็ นที่ 1 ของโลก

                               โห! ที่ 1 ของโลกเลย
อ๋อ! ผมจาได้ แล้ว มีการจัดตั้งหน่ วยงาน
 ชื่อ สถาบันมาตรฐานการศึกษาและการ
  พัฒนาแห่ งชาติ (National Education
Standards and Improvement Council :
      NESIC) ทาหน้ าทีออกใบรับรอง
                       ่
มาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์ ให้ กบรัฐ ั
        และเขตการศึกษาทีสนใจ
                           ่


                  อเมริกาเราทุ่มขนาดนี้ การศึกษา
                   วิทยาศาสตร์ ของเราต้ องดีขนึ้
                        แน่ นอนใช่ ไหมครับ
ผิดคาดค่ ะ!
ในปี 1995
มีรายงานผลการสอบวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
ในระดับนานาชาติ (The Third International Mathematics
and Science Study, TIMSS) ผลพบว่านักเรียนในเกรด 8
และ เกรด 12 ของอเมริกามีคะแนนสอบอยู่ในกลุ่มสุ ดท้ าย
ส่ งผลให้ ประชาชนและนักการเมืองมองเห็นอย่างชัดเจนว่ า
ภาวะความเป็ นผู้นา ของอเมริกากาลังสั่ นคลอน การปฏิรูป
วิทยาศาสตร์ ศึกษา คือทางออกเพือช่ วงชิงความเป็ นหนึ่งใน
                              ่
โลกกลับคืนมา
                        อ้าว! ทาไมกลับกลายเป็ นแบบนี้
                        แล้วทายังไงกันต่ อไปล่ะครับทีนี้
ทั้ง 50 รัฐมีมติเป็ นเอกฉันท์ ยอมรับเป้ าหมายและมาตรฐาน
              การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของชาติ
แล้วประเทศของเราทาอย่ างกันต่ อไปล่ะ
                  ครับทีนี้ !

ในปี 1993 –2001 ประธานาธิบดีคลินตันแห่ ง
พรรคเดโมแครต ซึ่งดารงตาแหน่ งติดต่ อกันถึง
2 วาระเป็ นเวลา 8 ปี ได้ ประกาศให้ การปฏิรูป
การศึกษาเป็ นวาระแห่ งชาติและได้ เป็ นผู้นาใน
การปฏิรูปการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง โดยให้ ความ
สนับสนุนทั้งด้ านการเสนอกฎหมายและ
งบประมาณเพือการปฏิรูปการศึกษา รวมทั้ง ประธานาธิบดีคลินตัน
               ่
การดาเนินงานตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาให้
บรรลุตามเปาหมาย
            ้
ท่ านประธานาธิบดีคลินตัน นี่เก่งจังเลย
        นะครับ ให้ ความสาคัญและสนับสนุน
            ในด้ านการศึกษาเป็ นอย่ างมาก
ในปี 2001 – 2009 ประธานาธิบดีจอร์ จ
ดับเบิลยู บุช ได้ ให้ ความ สาคัญต่ อการ
ปฏิรูปการศึกษาเป็ นอันดับแรกเช่ นเดียวกัน
โดยมุ่งดาเนินการปฏิรูปการศึกษาเพือ    ่
อนาคตของเยาวชนอเมริกนทุกคน จึงได้
                            ั
ดา เนินการสานต่ อด้ านนโยบายเพือ    ่
ปรับปรุงการ ดาเนินงานปฏิรูปการศึกษาให้
บรรลุเป้ าหมายยิงขึน
                   ่ ้
ครู ทราบมาอีกว่ า นอกจากนี้การปฏิรูป
                         การศึกษาของประธานาธิบดีบุช ยังมี
                     เปาหมายทีจะให้ เด็กอเมริกนทุกคนได้ รับ
                       ้         ่             ั
                               การศึกษาทีมีคุณภาพสู ง
                                         ่

โดยจัดทาแผนการปฏิรูปการศึกษาของประธานาธิบดีจอร์ จ ดับเบิลยู บุช
ปรากฏตามร่ างกฎหมาย “เยาวชนอเมริกนทุกคนต้ องได้ รับการศึกษาทีมี
                                    ั                           ่
คุณภาพสู ง” (No Child Left Behind Act of 2001) เพือปรับปรุ งการ
                                                  ่
ปฏิรูปการศึกษาตามกฎหมายว่ าด้ วยการประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ถึงกระนั้น ผลการเรียนของนักเรียน
              สหรัฐอเมริกาในวิชาคณิตศาสตร์
             และวิทยาศาสตร์ ก็ยงอยู่ในเกณฑ์ ต่า
                                ั
                                          อ้าว ทาไม
                                            ล่ะครับ

เดี๋ยว ผอ.จะวิเคราะห์ ให้ ฟังนะคะ

        มีปัญหาสาคัญสามประการที่ต้องนา มาพิจารณา กล่ าวคือ มีครู
        จานวนมากเกินไปทีสอนไม่ ตรงวุฒิ (Out – of – field) มีนักเรียน
                            ่
        น้ อยเกินไปทีลงทะเบียนเรี ยนรายวิชาชั้ นสู งและมีโรงเรี ยนน้ อย
                     ่
        เกินไปทีจัดการเรี ยนการสอนตามหลักสู ตรและใช้ ตารา
                  ่
        เรียนทีมีความท้าทาย
                ่
รู้ อย่ างนีแล้ว รัฐบาลดาเนินการ
                                             ้
                                         อย่ างไรบ้ างหรือครับ
                                             การพัฒนาหลักสู ตรคณิต
ประชาคมอุดมศึกษา (Higher                     ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ให้
Education Community) เพือ   ่                เข้ มข้ นมากขึน การปรับปรุง
                                                           ้
สร้ างรู ปแบบหุ้นส่ วนความ                   การพัฒนาวิชาชีพครู ด้าน
ร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยเพือ่                  คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
ยกระดับมาตรฐานวิชา
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
                                                  ให้ สถาบันวิจยหลักมีส่วน
                                                                  ั
                                                   ร่ วมเสริมสร้ างการศึกษา
การเสริมสร้ างการศึกษา                                ด้ านคณิตศาสตร์ และ
 ด้ านคณิตศาสตร์ และ                              วิทยาศาสตร์ ระดับอนุบาล
วิทยาศาสตร์ ให้ เข้ มแข็ง                           ถึงชั้นปี ที12ให้ เข้ มแข็ง
                                                                ่
และแล้ วก็มาถึงท่ านประธานาธิบดี
บารัก โอบาโม คนปัจจุบันกันบ้ าง อยากรู้
จังว่ ามีเหตุการณ์ สาคัญอะไรเกิดขึนบ้ าง
                                  ้




                                   ประธานาธิบดี โอบามา
รู้ อย่ างนีแล้ว รัฐบาลโอบามา
                                             ้
                                ดาเนินการอย่ างไรบ้ างหรือครับ
                                               สนับสนุนให้ แรงงานใน
  ประกาศว่ าจะตั้งประธานฝ่ าย               อุตสาหกรรมพัฒนาทักษะการ
  เทคโนโลยี (CTO – Chief                    ทางานตัวเองให้ ตรงกับความ
  Technology Officer) ของ                      ต้ องการของภาคธุรกิจที่
  ประเทศเป็ นคนแรกใน                            เปลียนไปอย่ างรวดเร็ว
                                                    ่
  ประวัตศาสตร์ เพือมาคุมงาน
          ิ         ่
  ด้ านวิทยาศาสตร์ โดยตรง

  จ้ างครู สายวิทยาศาสตร์
       เพิมเติม อุดหนุน
          ่
     ทุนการศึกษาสาหรับ
นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
นอกจากนี้ ประธานาธิบดี บารัค โอบามา
                      (Barack Obama) ต้ องการสร้ างนวัตกรรมด้ าน
                         วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพือปรับปรุ ง
                                                    ่
                           ประสิ ทธิภาพในการผลิตของอเมริกา
ในแผนการของโอบามานั้นกล่าวถึงกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใน
  ภาพรวม โดยเน้ นเทคโนโลยีทอเมริกาต้ องลงทุนอย่ างเร่ งด่ วนใน
                                 ี่
  ระยะเวลาสิ บปี ข้ างหน้ า 3 ชนิด คือ พลังงานทดแทน, ชีวการแพทย์
  (biomedical) และสเต็มเซลล์
โห! ท่ าน โอบามา เน้ นพัฒนาการศึกษา
                     วิทยาศาสตร์ มากๆเลยนะครับ

ยังไม่ หมดเพียงเท่านีนะคะ ท่ าน
                     ้
ประธานาธิบดี บารัค โอบามา ยังมี
นโยบายในการพัฒนาการศึกษา
วิทยาศาสตร์ ของอเมริกาอีกดังนีค่ะ
                                ้
พัฒนาศักยภาพในการแข่ งขันของ
                  อเมริกา



- ลงทุนในวิทยาศาสตร์ : เพิมงบประมาณภาครัฐ
                            ่
ด้ านการวิจัยทัวไปเป็ น 2 เท่าภายในเวลา 10 ปี
               ่
- ลงทุนในการวิจัยระดับมหาวิทยาลัย: ขยาย
ขอบเขตการวิจัยของมหาวิทยาลัยและสถาบัน
อุดมศึกษา
เตรียมความพร้ อมให้ เด็กและเยาวชน
                 อเมริกนสู่ ศตวรรษที่ 21
                       ั



- ประกาศให้ การศึกษาด้ านคณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ เป็ นวาระแห่ งชาติ: รับสมัครครู ทจบ
                                              ี่
การศึกษาด้ านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยตรง
-พัฒนาคุณภาพการสอบวัดความทางวิทยาศาสตร์ :
ทางานร่ วมกับผู้ว่าการรั ฐและนักการศึกษาเพือ่
ปรับปรุ งวิธีการสอบวัดความรู้ ให้ สามารถ
วัดผลทักษะการคิดเชิ งทีเ่ ป็ นเหตุเป็ นผล
เตรียมความพร้ อมให้ เด็กและเยาวชน
                อเมริกนสู่ ศตวรรษที่ 21
                      ั



-สนับสนุนทุนเรี ยนด้ านคณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ ในระดับอุดมศึกษา
- เพิมจานวนบัณฑิตด้ านวิทยาศาสตร์ และ
     ่
คณิตศาสตร์ : ปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาด้ าน
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมปลาย
ใช้ วทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
                       ิ
                  นวัตกรรมเพือแก้ ปัญหาร้ ายแรงที่
                              ่
                  ประเทศกาลังเผชิ ญเทคโนโลยีและการ
                  สื่ อสารในศตวรรษที่ 21


-ลงทุนในการพัฒนาพลังงานทดแทนที่
เป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้อม
- ปรับปรุ งโครงข่ ายความปลอดภัยสาธารณะ:
นาเทคโนโลยีสมัยใหม่
- ลงทุนในการวิจัยด้ านชี วการแพทย์ (biomedical):
- ลงทุนในการวิจัยสเต็มเซลล์ (stem cell):
โห! ท่ านโอบามาเนี่ย ทุ่มเททั้ง
                     นโยบายและงบประมาณเพือพัฒนา ่
                      วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของ
                      อเมริกาอย่ างมากมายเลยนะครับ

ใช่ แล้ วค่ ะ พวกหนูจึงนับว่ าโชคดีมากที่
ได้ เกิดอยู่ในยุคสมัยนี้ ซึ่งจะเติบโตเป็ น
กาลังสาคัญของประเทศชาติในอนาคต

                     เอ! แล้วครู หลายๆคนทีเ่ ก่งๆ ทีเ่ ข้ า
                     มาสอนวิทยาศาสตร์ ทโรงเรียนของ
                                           ี่
                         เรานี่เขาเป็ นใครหรือครับ
อ๋อ ! เด็กๆหมายถึงพวกเขาเหล่านีใช่ ไหมเอ่ย!
                               ้
อ๋อ! พวกเขาเหล่านีกเ็ ป็ น
                    ้
อาสาสมัครในโครงการ Teach
  for America นั่นเองครับ

                  ใช่ แล้วค่ ะ ! นับว่าเป็ นอีกหนึ่งส่ วน
                  สาคัญทีชาวอเมริกัน ร่ วมกันระดม
                           ่
                  ความรู้ ความสามารถเพือมาเป็ นครู
                                              ่
                  สอนหนังสื อทีโรงเรียนเพือยกระดับ
                                    ่           ่
                  การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของอเมริกา

พีๆ เขาเก่ง และใจดีมากๆเลยครับ ผม
  ่
ชอบเรียนวิทยาศาสตร์ กบพีๆเขามาก
                       ั ่
“Teach for America” ซึ่งเปิ ดโอกาสให้
นักศึกษาทีเ่ รียนจบปริญญาตรีใหม่ ๆ หรือทางานมาพัก
หนึ่งเข้ าอบรมเป็ นเวลา 3 - 6 เดือน เพือเข้ าถึงจิตวิทยา
                                       ่
ของเด็กๆ เข้ าใจวิธีการสอนทีถูกหลัก หลังจากนั้นพวก
                              ่
เขาจะถูกส่ งไปสอนทัวประเทศ ผสมผสานกับอาจารย์
                       ่
ประจา ทาการเรียนไม่ ให้ เป็ นการเรียนแบบ “จมกับ
หนังสื อ” แต่ เรียนแล้วสามารถนาไปปฏิบัตได้ จริง
                                             ิ
ครู ทมาจากโปรแกรม Teach for America
              ี่
เป็ นหนุ่มสาวไฟแรงต่ างสาขาอาชีพ พวกเขาต่ างมี
ความปรารถนาทีจะพัฒนาประเทศสิ่ งทีได้ ตอบแทน
                       ่                ่
คือเงินเดือนทีคดเป็ นรายได้ ไม่ แพ้การทางานออฟฟิ ศ
                   ่ ิ
ทีสาคัญพวกเขาได้ รับเกียรติและการสรรเสริญจาก
   ่
สั งคมอเมริกนเป็ นอย่ างมาก
                 ั
จากที่ ผอ. กับคุณครู เล่ ามาให้ เด็กๆฟังนี้
พอทาให้ เด็กๆเข้ าใจเกี่ยวกับ ความ
เป็ นมาของการศึกษาวิทยาศาสตร์ ของ
ประเทศเรามากขึนไหมคะ
                  ้




   เข้ าใจครับ/ค่ ะ
ดังนั้น ความหวังของประเทศสหรัฐอเมริกา
ในการพัฒนาด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
 เพือเป็ นผู้นาของโลก ก็ฝากไว้ กบเด็กๆทุกคน
     ่                          ั
 ทีจะต้ องเติบโตเป็ นกาลังสาคัญในการพัฒนา
   ่
         ประเทศของเราในอนาคตต่ อไป
อ้าว! เด็กๆครับวันนี้หมด
               เวลาแล้ ว ขอบคุณท่ าน
             ผอ.ซู ซานทีได้ ให้ ความรู้ กบ
                         ่               ั
                 เราทุกคนกันหรือยัง




ขอบคุณค่ ะ      ขอบคุณครับ
บทสรุป
     การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาในอเมริกา เกิดขึนจากความต้ องการ
                                                  ้
เป็ นทีหนึ่งในโลกไม่ ว่าจะด้ านเศรษฐกิจ สั งคม หรือการเมือง บทเรียน
       ่
จากจุดอ่อนของการปฏิรูปครั้งแรกในยุคสปุตนิก ถูกนามาแก้ไขอย่ าง
ระมัดระวังในการปฏิรูปครั้งหลัง โดยเน้ นความสาคัญทีการพัฒนาครู
                                                      ่
ทั้งทางด้ านองค์ความรู้ ทักษะการสอนและการวัดผล ควบคู่ไปกับการ
พัฒนาบุคลากรและโครงสร้ างของหน่ วยงานอืนๆทั้งหมดทีเ่ กียวข้ อง
                                              ่             ่
กับระบบการศึกษา เนื่องจากการปฏิรูปเป็ นสิ่ งทีไม่สามารถทาให้ เสร็จ
                                                ่
ได้ โดยรวดเร็ว แนวนโยบายทีมนคง ไม่ เปลียนแปลงตามภาวะ
                               ่ ั่         ่
การเมือง การสนับสนุนด้ านงบประมาณอย่ างต่ อเนื่องจากรัฐบาลกลาง
รวมทั้งวิสัยทัศน์ ของผู้นา ประเทศ จึงเป็ นปัจจัยสาคัญทีจะนาการ
                                                        ่
ปฏิรูปไปสู่ เป้ าหมายทีต้องการ
                        ่
การศึกษาเป็ นปัจจัยพืนฐานทีสาคัญทีสุดในการวางรากฐานความ
                                ้     ่       ่
เข้ มแข็งทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะประเทศมหาอานาจอย่ าง
สหรัฐอเมริกา แต่ หากประชาชนส่ วนใหญ่ ขาดศักยภาพทีจาเป็ นต่ อการ
                                                           ่
พัฒนาประเทศแล้ว ย่ อมไม่ อาจรักษาความเป็ นมหาอานาจไว้ ได้ ดังนั้น
ผู้นาสหรัฐฯ คนปัจจุบันจึงต้ องหาแนวทางพัฒนาการศึกษาของประเทศ
อย่ างเร่ งด่ วน ทั้งนี้ เบืองหลังนโยบายด้ านการศึกษาทั้งหมดของนาย
                            ้
โอบามา คือ การระดมความคิดเห็นจากครู อาจารย์ นักการศึกษาทัวสหรัฐฯ  ่
รวมถึงการดึงผู้มประสบการณ์ ด้านการศึกษาเข้ ามาร่ วมงาน จึงมันใจใน
                     ี                                          ่
ระดับหนึ่งได้ ว่าการศึกษาของสหรัฐฯ จะพัฒนาในทางทีดีขน     ่ ึ้
เอกสารอ้ างอิง
นลินี ทวีสิน. ผู้นาสหรัฐฯ เร่ งแก้วกฤติการศึกษาของประเทศ .
                                   ิ
       http://www.vcharkarn.com/varticle/38475 . สื บค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2555
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา .
       กรุ งเทพฯ : กลุ่มพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา สกศ., 2543.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ . แผนการปฏิรูปการศึกษาของประธานาธิบดีจอร์ จ
       ดับเบิลยู. บุช .กรุ งเทพฯ : กลุ่มพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา สกศ., 2544.
ไม่ปรากฏผูแต่ง . นโยบายด้านเทคโนโลยีของบารัค โอบามา .
             ้
       http://www.siamintelligence.com/obama-technology-agenda/ . สื บค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2555
Jim Goodnight and Keith Krueger. 2008.Why Obama Can't Ignore Education Tech.
      http://www.businessweek.com/technology/content/dec2008/tc20081223_067401.htm?campaign_id=rss_tech.
AAAS (American Association for the Advancement of Science). 1998. Blueprints for Reform: Science,
     Mathematics, and Technology Education. Project 2061. Washington, D.C.: AAAS.
NSTA (National Science Teachers Association). 1998. NSTA Standards for Science Teacher
     Preparation. http://www.iuk.edu/faculty/sgilbert/nstastand98.htm.

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพMaprang-jaa
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
สัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comteสัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comteSani Satjachaliao
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 

Ähnlich wie The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ (20)

9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22
 
สัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comteสัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comte
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 

Mehr von Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 

Mehr von Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 

The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

  • 1.
  • 2. นาเสนอเพือแลกเปลียนเรียนรู้ และเป็ นแนวทาง ่ ่ ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ ศึกษาของประเทศไทย magnegis@hotmail.com http://teacherkobwit2010.wordpress.com
  • 3. วันนีเ้ ราจะพาทุกท่ านไปเรียนรู้ และทาความเข้ าใจ เกียวกับวิวฒนาการของหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ ของ ่ ั ประเทศสหรัฐอเมริกา ถ้ าจะดีให้ ดเี ราก็ต้องไปศึกษา ที่สหรัฐอเมริกากันดีกว่ า !
  • 5.
  • 7. ผมอยากรู้ ว่า สมัยก่ อนการเรียน วิทยาศาสตร์ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ของเราเป็ นอย่ างไรหรือครับ
  • 8. เพือให้ ทุกๆคนเข้ าใจวิวฒนาการของหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ ่ ั ในประเทศสหรัฐอเมริกาของเรามากขึน ครูจะพา ้ ว้าว! พวกเราไปพบกับ ท่ าน ผอ. ซูซาน ซึ่งเป็ น น่ าสนใจจัง ผู้เชี่ยวชาญด้ านวิทยาศาสตร์ ศึกษาของสหรัฐอเมริกาเรา
  • 9. สวัสดีครับ/สวัสดีค่ะ ท่าน ผอ.ซู ซาน สวัสดีจ้า! เด็กๆทุกคน ดิฉัน ผอ.ซู ซาน ค่ ะ
  • 10. ท่ าน ผอ.ครับ พอดีว่าในคาบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เด็กๆเขาอยากทราบว่ า สมัยก่อนการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ ของประเทศเราเป็ นอย่ างไร ผมจึงพาเด็กๆมาเรียนรู้ กบ ท่ าน ผอ.ครับ ั ดีมากเลยเด็กๆ ถ้ าอยากจะ ค่ ะ! ทราบเกียวกับวิทยาศาสตร์ ่ ศึกษาของอเมริกา เดียว ๋ ผอ.จะเล่าให้ ทุกๆคนฟัง
  • 11. แล้วเราจะเริ่มตั้งแต่ สมัย ไหนกันดีครับ เริ่มตั้งแต่ กาเนิดประเทศอเมริกาของ เราเลยดีไหมครับ ! ฮ่ า ฮ่ า ! จริงๆแล้ว วิทยาศาสตร์ ศึกษาก็เริ่มต้ น มานานตั้งแต่ เป็ นประเทศ ของเราแล้วค่ะ แต่ ยงไม่ ค่อย ั มีการบันทึกที่ชัดเจนนัก
  • 12. เอาอย่ างนีนะจ๊ ะ! ผอ. จะเล่ า ้ ให้ พวกเราฟังตั้งแต่ สมัยทีมี ่ การบันทึกและมีการเปลียน ่ แปลงทางวิทยาศาสตร์ ศึกษา เกิดขึนอย่ างชัดเจนแล้วกัน ้ รับทราบครับ /ค่ ะ
  • 13. ยุคสปุตนิก คศ.1960-1970 ยุคก่อนปฏิรูป ยุค TIMSS (Third International ก่อน คศ.1942-1945 Mathematics and Science Study) คศ. 1980-ปัจจุบัน
  • 14. แล้วยุคก่อนการปฏิรูป นี่เริ่มต้ นขึนเมื่อไหร่ ครับ ้ ผมค้นข้ อมูลไม่ เจอเลยครับ ยุคก่อนการปฏิรูป เริ่มตั้งแต่ ก่อน ค.ศ. 1942 ตอนนั้น วิทยาศาสตร์ เป็ นวิชาหนึ่งใน หลักสู ตรการเรียนการสอนทุก ระดับชั้นการสอนวิทยาศาสตร์ เป็ นแบบ“อนุรักษ์ นิยม”
  • 15. การสอนวิทยาศาสตร์ เป็ นแบบ “อนุรักษ์ นิยม” เป็ นอย่ างไรหรือครับ การสอนวิทยาศาสตร์ เป็ นแบบ “อนุรักษ์ นิยม” ก็คือ ครู เป็ น ผู้ให้ ความรู้ (active) นักเรียน เป็ นผู้รับความรู้ (passive) นั่นเองค่ะ
  • 16. นี่ไงค่ ะ ภาพการสอนในปี 1942 การครู เป็ นผู้ให้ ความรู้ (active) นักเรียนเป็ นผู้รับความรู้ (passive)
  • 17. ต่ อมาในปี ค.ศ. 1942 เกิด เหตุการณ์ ครั้งสาคัญขึนบนโลก ้ ของเราแล้วเกียวข้ องประเทศ ่ สหรัฐอเมริกาของเราด้ วย ทราบไหมคะว่ า คือเหตุการณ์ ใด เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือเปล่าครับ ? ใช่ แล้วค่ ะ
  • 19. แล้วรู้ไหมคะว่า สงครามครั้งนั้นส่ งผลอย่ างไร ต่ อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ของสหรัฐอเมริกาอย่ างไร เด็กหนุ่มจานวนมากถูกเกณฑ์ มาเข้ ารับการฝึ กในกรมกองต่ างๆ เพือเข้ าสู่ สนามรบทาให้ ทหารเกณฑ์ ส่วนใหญ่ มทกษะทางคณิตศาสตร์ ่ ี ั และวิทยาศาสตร์ ต่ามาก
  • 20. นักวิทยาศาสตร์ ช้ันนาเกิดความกังวลว่ า คนรุ่นใหม่ อาจไม่ สามารถรักษาความเป็ นผู้นาทางเทคโนโลยี ด้ านการทหารของประเทศไว้ ได้ ในอนาคต
  • 21. จากนั้น ในปี 1945 ดร.แวนวาร์ บุช (Dr.Vannevar Bush) ผู้อานวยการสานักงานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ จัดทารายงานชื่อ “วิทยาศาสตร์ ขอบเขตทีไม่ สิ้นสุ ด ่ (Science the Endless Frontier)” ขึน ้
  • 22. จากนั้น ได้ จัดตั้งองค์ กรระดับชาติ ทาหน้ าทีจัดสรร ่ งบประมาณการวิจัยและดาเนินนโยบายเพือเพิม ่ ่ กาลังคนด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี ในปี 1950 มีการก่อตั้งมูลนิธิ วิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ (The National Science Foundation : NSF)
  • 23. อย่ างนีการก่อตั้งมูลนิธิ ้ วิทยาศาสตร์ แห่ งชาติกน่าจะ ็ ทาให้ วทยาศาสตร์ ของ ิ อเมริกาดีขนสิครับ ึ้ มันไม่ แค่ น้ันนะสิคะ ในปี 1957 ชาวอเมริกาเรียกร้ อง ให้ มการปฏิรูปเพราะความรู้ สึก ี ว่ าการเป็ นผู้นา ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีถูกคุกคาม รู้ ไหมคะ ว่ าเพราะอะไร?
  • 24. อ๋อ! หนูจาได้ ว่า คุณครูเคย สอนว่า ในวันที่ 4 ตุลาคม ปี 1957 รัสเซียสามารถส่ ง ยานสปุตนิกขึนสู่ อวกาศ ้ ใช่ แล้วครับ เก่งมา ลูกศิษย์ ครู
  • 25. นั่นคือจุดเริ่มต้ นของยุคใหม่ ของ การปฏิรูปการศึกษาวิทยาศาสตร์ ของอเมริกา เป็ นทีมาของชื่อยุค ่ “สปุตนิก” นั่นเองค่ะ ในปี 1958 รัฐบาลกลางอนุมัติงบประมาณ จานวนมากให้ กบโครงการปฏิรูปการศึกษา ั วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ ช่วงการบริหารประเทศของ Eisenhower ประธานาธิบดีไอเซ่ นฮาวร์ (1953-1961) ต่ อเนื่อง มาถึงประธานาธิบดีเคนเนดี(1961-1963) JFK
  • 26. 1. การเพิมความรู้ ของครู ่ 2. การพัฒนาเนือหาวิชา ้ วิทยาศาสตร์ ให้ หลักสู ตรและวิธีการเรี ยนการ มหาวิทยาลัยต่ างๆจัด สอนวิทยาศาสตร์ จัดทา หลักสู ตรอบรมครู หลักสู ตรใหม่ ให้ มีรูปแบบและ เนือหาตามที่นักวิทยาศาสตร์ คิด ้ ว่าเหมาะสมในการเตรียม พืนฐานสาหรับวิชาชีพ ้ วิทยาศาสตร์
  • 27. แล้วหลักสู ตรใหม่ ที่ พัฒนาขึนมานีมีลกษณะ ้ ้ ั สาคัญอย่ างไรบ้ างครับ? พัฒนาขึนโดย ้ นาความตืนเต้ นของ ่ นักวิทยาศาสตร์ ช้ันนา การวิจยและการค้ นพบ ั ทางวิทยาศาสตร์ เข้ า ของประเทศ ไปสู่ ช้ ันเรียน นักเรี ยนเรี ยนรู้ แนวคิด ผ่านการทากิจกรรม ต่ างๆ ซึ่งช่ วยพัฒนา ทักษะการแก้ปัญหา
  • 28. อย่ างนี! การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของ ้ ประเทศเราก็น่าจะดีขนนะสิครับ ึ้ ไม่ เพียงแค่ นี้นะคะ! ในปี 1965 รอง ประธานาธิบดี ฮิวเบิร์ต ฮัมฟรีย์ ได้ เสนอให้ รัฐบาลของประธานาธิบดีจอห์ นสั นออก กฏหมายพระราชบัญญัติการศึกษาระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (Elementary and Secondary Education Act of 1965 ) อีกด้ วย Hubert Humphrey
  • 29. ผลจากการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษา ในครั้งนั้น ได้ ส่งผลต่ อความสาเร็จ ครั้งยิงใหญ่ ของชาวอเมริกน ! ่ ั เด็กๆรู้ ไหมคะ ว่ าคืออะไร?
  • 30. ใช่ แล้วค่ ะ ! ในช่ วงประธานาธิบดีเคนเนดี สหรั ฐอเมริกาส่ งมนุษย์ อวกาศไปลงดวงจันทร์ ได้ สาเร็จ ประชาชนพอใจทีได้ รับความเป็ นผู้นากลับคืนมา และรู้ สึกว่ าปั ญหาด้ าน ่ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศได้ รับการแก้ไขแล้ ว
  • 31. โห น่ าภูมใจจังเลยครับ! อย่ างนี้ ิ แสดงว่ าหลักสู ตรใหม่ ช่วยพัฒนา การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของประเทศ ของเราให้ ดีขนนะเนี่ย ึ้ เหมือนว่ ากาลังจะไปได้ ด้วยดี แต่ ไม่ ใช่ อย่ างนั้นนะคะ อ้าว ! ทาไมละครับ ท่ าน ผอ.
  • 32. ช่ วงปี 1970 นั้น ปัญหาสั งคมต่ างๆ เช่ น ปั ญหาด้ านสิ ทธิมนุษยชน การแบ่ งแยกสี ผว สงครามเวียดนาม ิ เศรษฐกิจตกต่า ทาให้ ประชาชนค่ อยๆ ลดความสนใจในการปฏิรูป วิทยาศาสตร์ สงครามเวียดนาม การแบ่ งแยกสีผว ิ
  • 33. และหลักสู ตรใหม่ ยงถูก ั วิจารณ์ อย่ างหนัก ใช่ แล้ ว ครู จะบอกให้ เพราะว่าละเลยความรู้ พืนฐาน (Basic Knowledge) ทีมีเนือหาและ ้ ่ ้ แนวความคิดยากเกินความสามารถของเด็กทัวไป ่ ทั้งยังไม่ เหมาะสมต่ อเด็กที่เป็ นชนกลุ่มน้ อยและ เด็กทีมีความบกพร่ องทางสติปัญญา ่ อย่ างนีนี่เอง ้
  • 34. ช่ วงนั้นนะ สั บสนมากเลย สั บสนอะไร ครับครู รู ปแบบการศึกษามักจะเคลือนทีไปมาระหว่ างสองขั้ว คือ ขั้วอนุรักษ์ นิยม ่ ่ ซึ่งเน้ นความรู้ พนฐาน และครู เป็ นศู นย์ กลางการเรียนการสอน กับขั้ว ื้ เสรีนิยม (Progressive) ซึ่งมีนักเรี ยนเป็ นศู นย์ กลางของการเรี ยนการสอน ในทีสุด ในปี ่ 1975 ก็ยกเลิก หลักสู ตรใหม่
  • 35. ผมเป็ นครู กอยากรู้ เหมือนกันครับ ็ ว่ าทาไมถึงยกเลิกหลักสู ตรใหม่ การปฏิรูปเน้ นเฉพาะการทา นักการศึกษาไม่ ได้ มส่วน ี หลักสู ตร แต่ขาดกระบวนการ ร่ วมในการปฏิรูปตั้งแต่ ต้น สาคัญอืนๆ เช่ น การจัดทา ่ ทาให้ ขาดการ สนับสนุนใน นโยบายและแผนงานระยะยาว หน่ วยงานอืนๆ ่ เพือสืบเนื่องการปฏิรูปในระดับ ่ รัฐและเขตการศึกษา การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษา ต้ องได้ รับความ ร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่ ครู ซึ่งไม่ มบทบาทใด ี เกียวข้ อง ่ ใดเลยในการพัฒนา หลักสู ตรใหม่
  • 36. เห็นไหมครับเด็กๆ ในทีสุด ่ ก็สิ้นสุ ดยุคสปุตนิกซะแล้ว ! แล้วต่ อไป ยุคอะไร ล่ะครับ อยากรู้ จัง
  • 37. ยุคต่ อมาคือ ยค TIMSS ุ ย่ อมาจาก Third International Mathematics and Science Study ซึ่งเริ่มตั้งแต่ ปี 1980-ปัจจุบน ั ว้ าว! ถึงยุคปัจจุบันแล้ ว
  • 38. หลังจากยุคสปุตนิกเริ่มมีเสี ยงเรี ยกร้ อง ให้ รัฐบาลหันมาให้ ความสนใจการ ปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาอีกครั้ง เมื่อในปี 1981 ที.เอช.เบลล์ (T.H. Bell) รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งคณะกรรมการแห่ งชาติว่าด้ วย ความเป็ นเลิศทางการศึกษา (The National Commision of Excellence Education) เพือทารายงานเกี่ยวกับคุณภาพ ่ การศึกษา ในสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า “ประเทศในภาวะเสี่ ยง ที.เอช.เบลล์ (T.H. Bell) (A Nation At Risk )” ชี้ให้ เห็นคะแนนมาตรฐาน แบบสอบ ความถนัดทางวิชาการของนักเรียน มัธยม ซึ่งมีแนวโน้ มต่าลงเรื่อยๆ
  • 39. ช่ วงนั้นมีเอกสารสาคัญ สิ่ งหนึ่งเกิดขึน ! ้ เอกสารอะไรหรือ ครับ ท่ าน ผอ.
  • 41. เอกสารนีเ้ กียวกับ ่ อะไรหรือครับ ท่ าน ผอ. กล่าวถึงความจาเป็ นในการสร้ าง ประเทศ ซึ่งประชาชนทุกคนมี ความรู้ ความเข้ าใจวิทยาศาสตร์ (Science literacy)
  • 42. แล้วยังมีเอกสารอืนๆทีเ่ กียวข้ องกับ ่ ่ การศึกษาวิทยาศาสตร์ อกไหมครับ ี เอกสารสาคัญที่รัฐต่ างๆนาไปใช้ เป็ นแนวทาง ในการจัดทามาตรฐานและโครงสร้ างหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ ในทุกระดับชั้ น รวมทั้ง หลักสู ตรการเตรียมครู วทยาศาสตร์ การอบรมครู วทยาศาสตร์ และการวัดผล ิ ิ ประเมินผลทางวิทยาศาสตร์ ศึกษา ได้ แก่ National Science Education Standards ของ National Research Council (NRC, 1996)
  • 44.
  • 45. แล้วยังมีการดาเนินการอะไรนอกจากนี้ อีกหรือเปล่า ครับ มีค่ะ! ในปี 1989 รัฐบาลของประธานาธิบดี จอร์ จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ได้ จัดทาเปาหมาย ้ การศึกษาของชาติจานวน 6 ข้ อทีรัฐบาล ่ จะต้ องทา ให้ ได้ ภายในปี 2000 โดยออกเป็ น กฎหมายชื่อ พระราชบัญญัติอเมริกา 2000 : จอร์ จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ความเป็ นเลิศในการศึกษา (America 2000: Excellence in Education Act)
  • 46. ประธานาธิบดีจอร์ จ บุช นี่มีวสัยทัศน์ จริงๆ ิ เลยนะครับ แล้วต่ อมาในสมัยประธานาธิบดี คลินตัน เป็ นอย่างไรบ้ างครับ มีค่ะ! ในปี 1992 ได้ ออกกฎหมายชื่อ Goals 2000: Education America Act (1994) โดย กาหนดเปาหมายการศึกษาของชาติเพิมขึน ้ ่ ้ จากของประธานาธิบดีบุชอีก 2 ข้ อ รวมเป็ น 8 ข้ อโดยเปาหมายข้ อ 4 กล่าวว่าภายในปี ้ 2000 นักเรียนอเมริกนต้ องสอบวิทยาศาสตร์ ประธานาธิบดีคลินตัน ั และคณิตศาสตร์ ได้ เป็ นที่ 1 ของโลก โห! ที่ 1 ของโลกเลย
  • 47. อ๋อ! ผมจาได้ แล้ว มีการจัดตั้งหน่ วยงาน ชื่อ สถาบันมาตรฐานการศึกษาและการ พัฒนาแห่ งชาติ (National Education Standards and Improvement Council : NESIC) ทาหน้ าทีออกใบรับรอง ่ มาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์ ให้ กบรัฐ ั และเขตการศึกษาทีสนใจ ่ อเมริกาเราทุ่มขนาดนี้ การศึกษา วิทยาศาสตร์ ของเราต้ องดีขนึ้ แน่ นอนใช่ ไหมครับ
  • 48. ผิดคาดค่ ะ! ในปี 1995 มีรายงานผลการสอบวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ในระดับนานาชาติ (The Third International Mathematics and Science Study, TIMSS) ผลพบว่านักเรียนในเกรด 8 และ เกรด 12 ของอเมริกามีคะแนนสอบอยู่ในกลุ่มสุ ดท้ าย ส่ งผลให้ ประชาชนและนักการเมืองมองเห็นอย่างชัดเจนว่ า ภาวะความเป็ นผู้นา ของอเมริกากาลังสั่ นคลอน การปฏิรูป วิทยาศาสตร์ ศึกษา คือทางออกเพือช่ วงชิงความเป็ นหนึ่งใน ่ โลกกลับคืนมา อ้าว! ทาไมกลับกลายเป็ นแบบนี้ แล้วทายังไงกันต่ อไปล่ะครับทีนี้
  • 49. ทั้ง 50 รัฐมีมติเป็ นเอกฉันท์ ยอมรับเป้ าหมายและมาตรฐาน การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของชาติ
  • 50. แล้วประเทศของเราทาอย่ างกันต่ อไปล่ะ ครับทีนี้ ! ในปี 1993 –2001 ประธานาธิบดีคลินตันแห่ ง พรรคเดโมแครต ซึ่งดารงตาแหน่ งติดต่ อกันถึง 2 วาระเป็ นเวลา 8 ปี ได้ ประกาศให้ การปฏิรูป การศึกษาเป็ นวาระแห่ งชาติและได้ เป็ นผู้นาใน การปฏิรูปการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง โดยให้ ความ สนับสนุนทั้งด้ านการเสนอกฎหมายและ งบประมาณเพือการปฏิรูปการศึกษา รวมทั้ง ประธานาธิบดีคลินตัน ่ การดาเนินงานตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาให้ บรรลุตามเปาหมาย ้
  • 51. ท่ านประธานาธิบดีคลินตัน นี่เก่งจังเลย นะครับ ให้ ความสาคัญและสนับสนุน ในด้ านการศึกษาเป็ นอย่ างมาก ในปี 2001 – 2009 ประธานาธิบดีจอร์ จ ดับเบิลยู บุช ได้ ให้ ความ สาคัญต่ อการ ปฏิรูปการศึกษาเป็ นอันดับแรกเช่ นเดียวกัน โดยมุ่งดาเนินการปฏิรูปการศึกษาเพือ ่ อนาคตของเยาวชนอเมริกนทุกคน จึงได้ ั ดา เนินการสานต่ อด้ านนโยบายเพือ ่ ปรับปรุงการ ดาเนินงานปฏิรูปการศึกษาให้ บรรลุเป้ าหมายยิงขึน ่ ้
  • 52. ครู ทราบมาอีกว่ า นอกจากนี้การปฏิรูป การศึกษาของประธานาธิบดีบุช ยังมี เปาหมายทีจะให้ เด็กอเมริกนทุกคนได้ รับ ้ ่ ั การศึกษาทีมีคุณภาพสู ง ่ โดยจัดทาแผนการปฏิรูปการศึกษาของประธานาธิบดีจอร์ จ ดับเบิลยู บุช ปรากฏตามร่ างกฎหมาย “เยาวชนอเมริกนทุกคนต้ องได้ รับการศึกษาทีมี ั ่ คุณภาพสู ง” (No Child Left Behind Act of 2001) เพือปรับปรุ งการ ่ ปฏิรูปการศึกษาตามกฎหมายว่ าด้ วยการประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
  • 53. ถึงกระนั้น ผลการเรียนของนักเรียน สหรัฐอเมริกาในวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ก็ยงอยู่ในเกณฑ์ ต่า ั อ้าว ทาไม ล่ะครับ เดี๋ยว ผอ.จะวิเคราะห์ ให้ ฟังนะคะ มีปัญหาสาคัญสามประการที่ต้องนา มาพิจารณา กล่ าวคือ มีครู จานวนมากเกินไปทีสอนไม่ ตรงวุฒิ (Out – of – field) มีนักเรียน ่ น้ อยเกินไปทีลงทะเบียนเรี ยนรายวิชาชั้ นสู งและมีโรงเรี ยนน้ อย ่ เกินไปทีจัดการเรี ยนการสอนตามหลักสู ตรและใช้ ตารา ่ เรียนทีมีความท้าทาย ่
  • 54. รู้ อย่ างนีแล้ว รัฐบาลดาเนินการ ้ อย่ างไรบ้ างหรือครับ การพัฒนาหลักสู ตรคณิต ประชาคมอุดมศึกษา (Higher ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ให้ Education Community) เพือ ่ เข้ มข้ นมากขึน การปรับปรุง ้ สร้ างรู ปแบบหุ้นส่ วนความ การพัฒนาวิชาชีพครู ด้าน ร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยเพือ่ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ยกระดับมาตรฐานวิชา คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ให้ สถาบันวิจยหลักมีส่วน ั ร่ วมเสริมสร้ างการศึกษา การเสริมสร้ างการศึกษา ด้ านคณิตศาสตร์ และ ด้ านคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ระดับอนุบาล วิทยาศาสตร์ ให้ เข้ มแข็ง ถึงชั้นปี ที12ให้ เข้ มแข็ง ่
  • 55. และแล้ วก็มาถึงท่ านประธานาธิบดี บารัก โอบาโม คนปัจจุบันกันบ้ าง อยากรู้ จังว่ ามีเหตุการณ์ สาคัญอะไรเกิดขึนบ้ าง ้ ประธานาธิบดี โอบามา
  • 56. รู้ อย่ างนีแล้ว รัฐบาลโอบามา ้ ดาเนินการอย่ างไรบ้ างหรือครับ สนับสนุนให้ แรงงานใน ประกาศว่ าจะตั้งประธานฝ่ าย อุตสาหกรรมพัฒนาทักษะการ เทคโนโลยี (CTO – Chief ทางานตัวเองให้ ตรงกับความ Technology Officer) ของ ต้ องการของภาคธุรกิจที่ ประเทศเป็ นคนแรกใน เปลียนไปอย่ างรวดเร็ว ่ ประวัตศาสตร์ เพือมาคุมงาน ิ ่ ด้ านวิทยาศาสตร์ โดยตรง จ้ างครู สายวิทยาศาสตร์ เพิมเติม อุดหนุน ่ ทุนการศึกษาสาหรับ นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
  • 57. นอกจากนี้ ประธานาธิบดี บารัค โอบามา (Barack Obama) ต้ องการสร้ างนวัตกรรมด้ าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพือปรับปรุ ง ่ ประสิ ทธิภาพในการผลิตของอเมริกา ในแผนการของโอบามานั้นกล่าวถึงกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใน ภาพรวม โดยเน้ นเทคโนโลยีทอเมริกาต้ องลงทุนอย่ างเร่ งด่ วนใน ี่ ระยะเวลาสิ บปี ข้ างหน้ า 3 ชนิด คือ พลังงานทดแทน, ชีวการแพทย์ (biomedical) และสเต็มเซลล์
  • 58. โห! ท่ าน โอบามา เน้ นพัฒนาการศึกษา วิทยาศาสตร์ มากๆเลยนะครับ ยังไม่ หมดเพียงเท่านีนะคะ ท่ าน ้ ประธานาธิบดี บารัค โอบามา ยังมี นโยบายในการพัฒนาการศึกษา วิทยาศาสตร์ ของอเมริกาอีกดังนีค่ะ ้
  • 59. พัฒนาศักยภาพในการแข่ งขันของ อเมริกา - ลงทุนในวิทยาศาสตร์ : เพิมงบประมาณภาครัฐ ่ ด้ านการวิจัยทัวไปเป็ น 2 เท่าภายในเวลา 10 ปี ่ - ลงทุนในการวิจัยระดับมหาวิทยาลัย: ขยาย ขอบเขตการวิจัยของมหาวิทยาลัยและสถาบัน อุดมศึกษา
  • 60. เตรียมความพร้ อมให้ เด็กและเยาวชน อเมริกนสู่ ศตวรรษที่ 21 ั - ประกาศให้ การศึกษาด้ านคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ เป็ นวาระแห่ งชาติ: รับสมัครครู ทจบ ี่ การศึกษาด้ านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยตรง -พัฒนาคุณภาพการสอบวัดความทางวิทยาศาสตร์ : ทางานร่ วมกับผู้ว่าการรั ฐและนักการศึกษาเพือ่ ปรับปรุ งวิธีการสอบวัดความรู้ ให้ สามารถ วัดผลทักษะการคิดเชิ งทีเ่ ป็ นเหตุเป็ นผล
  • 61. เตรียมความพร้ อมให้ เด็กและเยาวชน อเมริกนสู่ ศตวรรษที่ 21 ั -สนับสนุนทุนเรี ยนด้ านคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ในระดับอุดมศึกษา - เพิมจานวนบัณฑิตด้ านวิทยาศาสตร์ และ ่ คณิตศาสตร์ : ปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาด้ าน วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ในระดับชั้นมัธยมปลาย
  • 62. ใช้ วทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ิ นวัตกรรมเพือแก้ ปัญหาร้ ายแรงที่ ่ ประเทศกาลังเผชิ ญเทคโนโลยีและการ สื่ อสารในศตวรรษที่ 21 -ลงทุนในการพัฒนาพลังงานทดแทนที่ เป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้อม - ปรับปรุ งโครงข่ ายความปลอดภัยสาธารณะ: นาเทคโนโลยีสมัยใหม่ - ลงทุนในการวิจัยด้ านชี วการแพทย์ (biomedical): - ลงทุนในการวิจัยสเต็มเซลล์ (stem cell):
  • 63. โห! ท่ านโอบามาเนี่ย ทุ่มเททั้ง นโยบายและงบประมาณเพือพัฒนา ่ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของ อเมริกาอย่ างมากมายเลยนะครับ ใช่ แล้ วค่ ะ พวกหนูจึงนับว่ าโชคดีมากที่ ได้ เกิดอยู่ในยุคสมัยนี้ ซึ่งจะเติบโตเป็ น กาลังสาคัญของประเทศชาติในอนาคต เอ! แล้วครู หลายๆคนทีเ่ ก่งๆ ทีเ่ ข้ า มาสอนวิทยาศาสตร์ ทโรงเรียนของ ี่ เรานี่เขาเป็ นใครหรือครับ
  • 65. อ๋อ! พวกเขาเหล่านีกเ็ ป็ น ้ อาสาสมัครในโครงการ Teach for America นั่นเองครับ ใช่ แล้วค่ ะ ! นับว่าเป็ นอีกหนึ่งส่ วน สาคัญทีชาวอเมริกัน ร่ วมกันระดม ่ ความรู้ ความสามารถเพือมาเป็ นครู ่ สอนหนังสื อทีโรงเรียนเพือยกระดับ ่ ่ การศึกษาวิทยาศาสตร์ ของอเมริกา พีๆ เขาเก่ง และใจดีมากๆเลยครับ ผม ่ ชอบเรียนวิทยาศาสตร์ กบพีๆเขามาก ั ่
  • 66.
  • 67. “Teach for America” ซึ่งเปิ ดโอกาสให้ นักศึกษาทีเ่ รียนจบปริญญาตรีใหม่ ๆ หรือทางานมาพัก หนึ่งเข้ าอบรมเป็ นเวลา 3 - 6 เดือน เพือเข้ าถึงจิตวิทยา ่ ของเด็กๆ เข้ าใจวิธีการสอนทีถูกหลัก หลังจากนั้นพวก ่ เขาจะถูกส่ งไปสอนทัวประเทศ ผสมผสานกับอาจารย์ ่ ประจา ทาการเรียนไม่ ให้ เป็ นการเรียนแบบ “จมกับ หนังสื อ” แต่ เรียนแล้วสามารถนาไปปฏิบัตได้ จริง ิ
  • 68. ครู ทมาจากโปรแกรม Teach for America ี่ เป็ นหนุ่มสาวไฟแรงต่ างสาขาอาชีพ พวกเขาต่ างมี ความปรารถนาทีจะพัฒนาประเทศสิ่ งทีได้ ตอบแทน ่ ่ คือเงินเดือนทีคดเป็ นรายได้ ไม่ แพ้การทางานออฟฟิ ศ ่ ิ ทีสาคัญพวกเขาได้ รับเกียรติและการสรรเสริญจาก ่ สั งคมอเมริกนเป็ นอย่ างมาก ั
  • 69. จากที่ ผอ. กับคุณครู เล่ ามาให้ เด็กๆฟังนี้ พอทาให้ เด็กๆเข้ าใจเกี่ยวกับ ความ เป็ นมาของการศึกษาวิทยาศาสตร์ ของ ประเทศเรามากขึนไหมคะ ้ เข้ าใจครับ/ค่ ะ
  • 70. ดังนั้น ความหวังของประเทศสหรัฐอเมริกา ในการพัฒนาด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพือเป็ นผู้นาของโลก ก็ฝากไว้ กบเด็กๆทุกคน ่ ั ทีจะต้ องเติบโตเป็ นกาลังสาคัญในการพัฒนา ่ ประเทศของเราในอนาคตต่ อไป
  • 71. อ้าว! เด็กๆครับวันนี้หมด เวลาแล้ ว ขอบคุณท่ าน ผอ.ซู ซานทีได้ ให้ ความรู้ กบ ่ ั เราทุกคนกันหรือยัง ขอบคุณค่ ะ ขอบคุณครับ
  • 72. บทสรุป การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาในอเมริกา เกิดขึนจากความต้ องการ ้ เป็ นทีหนึ่งในโลกไม่ ว่าจะด้ านเศรษฐกิจ สั งคม หรือการเมือง บทเรียน ่ จากจุดอ่อนของการปฏิรูปครั้งแรกในยุคสปุตนิก ถูกนามาแก้ไขอย่ าง ระมัดระวังในการปฏิรูปครั้งหลัง โดยเน้ นความสาคัญทีการพัฒนาครู ่ ทั้งทางด้ านองค์ความรู้ ทักษะการสอนและการวัดผล ควบคู่ไปกับการ พัฒนาบุคลากรและโครงสร้ างของหน่ วยงานอืนๆทั้งหมดทีเ่ กียวข้ อง ่ ่ กับระบบการศึกษา เนื่องจากการปฏิรูปเป็ นสิ่ งทีไม่สามารถทาให้ เสร็จ ่ ได้ โดยรวดเร็ว แนวนโยบายทีมนคง ไม่ เปลียนแปลงตามภาวะ ่ ั่ ่ การเมือง การสนับสนุนด้ านงบประมาณอย่ างต่ อเนื่องจากรัฐบาลกลาง รวมทั้งวิสัยทัศน์ ของผู้นา ประเทศ จึงเป็ นปัจจัยสาคัญทีจะนาการ ่ ปฏิรูปไปสู่ เป้ าหมายทีต้องการ ่
  • 73. การศึกษาเป็ นปัจจัยพืนฐานทีสาคัญทีสุดในการวางรากฐานความ ้ ่ ่ เข้ มแข็งทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะประเทศมหาอานาจอย่ าง สหรัฐอเมริกา แต่ หากประชาชนส่ วนใหญ่ ขาดศักยภาพทีจาเป็ นต่ อการ ่ พัฒนาประเทศแล้ว ย่ อมไม่ อาจรักษาความเป็ นมหาอานาจไว้ ได้ ดังนั้น ผู้นาสหรัฐฯ คนปัจจุบันจึงต้ องหาแนวทางพัฒนาการศึกษาของประเทศ อย่ างเร่ งด่ วน ทั้งนี้ เบืองหลังนโยบายด้ านการศึกษาทั้งหมดของนาย ้ โอบามา คือ การระดมความคิดเห็นจากครู อาจารย์ นักการศึกษาทัวสหรัฐฯ ่ รวมถึงการดึงผู้มประสบการณ์ ด้านการศึกษาเข้ ามาร่ วมงาน จึงมันใจใน ี ่ ระดับหนึ่งได้ ว่าการศึกษาของสหรัฐฯ จะพัฒนาในทางทีดีขน ่ ึ้
  • 74. เอกสารอ้ างอิง นลินี ทวีสิน. ผู้นาสหรัฐฯ เร่ งแก้วกฤติการศึกษาของประเทศ . ิ http://www.vcharkarn.com/varticle/38475 . สื บค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2555 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา . กรุ งเทพฯ : กลุ่มพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา สกศ., 2543. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ . แผนการปฏิรูปการศึกษาของประธานาธิบดีจอร์ จ ดับเบิลยู. บุช .กรุ งเทพฯ : กลุ่มพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา สกศ., 2544. ไม่ปรากฏผูแต่ง . นโยบายด้านเทคโนโลยีของบารัค โอบามา . ้ http://www.siamintelligence.com/obama-technology-agenda/ . สื บค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2555 Jim Goodnight and Keith Krueger. 2008.Why Obama Can't Ignore Education Tech. http://www.businessweek.com/technology/content/dec2008/tc20081223_067401.htm?campaign_id=rss_tech. AAAS (American Association for the Advancement of Science). 1998. Blueprints for Reform: Science, Mathematics, and Technology Education. Project 2061. Washington, D.C.: AAAS. NSTA (National Science Teachers Association). 1998. NSTA Standards for Science Teacher Preparation. http://www.iuk.edu/faculty/sgilbert/nstastand98.htm.