SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Physics Online I                    http://www.pec9.com                บทที่ 2 การเคลื่อนที่

                         ฟ สิ ก ส บทที่      2 การเคลื่ อ นที่
  ตอนที่ 1 ระยะทาง , การขจัด , อัตราเร็ว , ความเร็ว , อัตราเรง , ความเรง
   1.1 ระยะทาง และ การขจัด
      ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวทีเ่ คลื่อนที่ไดจริง (เมตร) ( เปนปริมาณสเกลาร )
      การขจัด คือ ความยาวที่วดเปนเสนตรงจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทายของการเคลื่อนที่
                             ั
                          ( เมตร ) ( เปนปริมาณเวกเตอร )
1. จงหาระยะทาง และการขจัด
                                                               3m
    ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้
                                                     4m
วิธีทํา          ( 7 ม. , 5 ม. )



2. จงหาระยะทาง และการขจัด
                                                          2m
    ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้                        10 m
วิธีทํา          ( 12 ม. , 8 ม. )



3. จงหาระยะทาง และการขจัด
    ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้
วิธีทํา         ( 22 ม. , 14 ม. )



4. จงหาระยะทาง และการขจัด
    ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้
วิธีทํา          ( 44 ม. , 0 ม. )




                                             41
Physics Online I                http://www.pec9.com                     บทที่ 2 การเคลื่อนที่
                                      v                  v
5. จากรูปจงหาการขจัดลัพธของ          a                  b
       v และ v ตอไปนี้
       a     b
วิธีทํา
       v
6. v , b , v เปนเวกเตอรดังรูป
   a       c
                                      v                       v
                   v                  b                       c
                   a
                                  v
    รูปใดเปนเวกเตอรลัพธของ v + b + v
                              a       c
       1.                    2.                     3.             4.
                                                                                      (ขอ 2)

วิธีทํา


                                                 v
7. จากขอที่ผานมา รูปใดเปนเวกเตอรลัพธของ v − b − v
                                             a       c
          1.               2.                  3.             4.
                                                                                     (ขอ 3)
วิธีทํา


          v v v          v
8. กําหนด A , B , C แ ละ D เปนเวกเตอรทมีขนาดและทิศทางดังรูป ขอความใดถูกตอง
                                        ี่
                    v                         v v v v v
                    C                      1. A + B + C + D = 0
                                              v v v v
        v                       v          2. A + B + C = D
        D                       B             v v v v
                                           3. A + B + D = C
                     v                        v v v v
                    A                      4. A + B = C + D                 (ขอ 3)
วิธีทํา


                                          42
Physics Online I                   http://www.pec9.com                        บทที่ 2 การเคลื่อนที่

   1.2 อัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย
      อัตราเร็วเฉลี่ย คือ อัตราสวนของระยะทาง ตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ตลอดชวงนัน
                                                                                    ้
                           มีหนวยเปน เมตรตอวินาที และ เปนปริมาณสเกลาร
                              อัตราเร็ว (m/s) → v = S ← ระยะทาง ( m )
                                                         t ← เวลา (s)
       ความเร็วเฉลี่ย คือ อัตราสวนของการขจัดตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนทีตลอดชวงนั้น
                                                                        ่
                          มีหนวยเปนเมตรตอวินาที และ เปนปริมาณเวกเตอร
9. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย ของการเคลื่อนที่ตามแผน
    ภาพตอไปนี้ กําหนดเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที
วิธีทํา                                           ( 11 m/s , 7 m/s )




10. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ได 30 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงแรก และเคลื่อนที่ไดระยะทาง 50
     กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงตอมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชั่วโมงมีคาเทาใด        (80 km/hr)
วิธีทํา




1.3 ความเร็ว ณ.จุดใดจุดหนึ่ง
     ความเร็ว ณ.จุดหนึ่งๆ อาจหาคาไดโดยใชอนุพันธของฟงกชั่น ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนใน
วิชาคณิตศาสตร เรื่องแคลคูลัส หรือ อาจหาคาไดจากความชันเสนกราฟ การขจัดกับเวลา
11. กําหนดกราฟการขจัดของการเคลื่อนที่หนึ่ง               การขจัด ( m )
    เปนดังรูป จงหาความเร็ว ณ.จุดวินาทีที่ 15
วิธีทํา                          ( 0.83 m/s )     10                      (15 , 10)




                                                         (3 , 0 )
                                                                         15      เวลา ( วินาที )
                                             43
Physics Online I                    http://www.pec9.com                   บทที่ 2 การเคลื่อนที่
 1.4 อัตราเรง และ ความเรง
  อัตราเรง คือ อัตราสวนของอัตราเร็วที่เปลี่ยนไปตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที2)
             ( เปนปริมาณสเกลลาร )
                                               v − v ← อัตราเร็วที่เปลี่ยนไป (m/s)
                 อัตราเรง (m/s2) → a = 2 t 1 ← เวลา (s)
  ความเรง คือ อัตราสวนของความเร็วที่เปลี่ยนไป ตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที2)
            (เปนปริมาณเวกเตอร)
 ควรทราบ ถา a เปนบวก เรียก อัตราเรง จะทําใหอตราเร็ว (V) มีคาเพิ่มมากขึ้น
                                                     ั
            ถา a เปนบวก เรียก อัตราหนวง จะทําใหอัตราเร็ว (V) มีคาลดลง
            ถา a = 0 จะทําใหอัตราเร็ว (V) มีคาคงที่
12. รถคันหนึ่งวิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จนกระทั่งมีความเร็ว 15 เมตร/วินาที ใน
    เวลา 1.5 วินาที ในแนวเสนตรง จงหาความเรงเฉลี่ยของรถ                    (3.3 m/s2)
วิธีทํา



13. ขับจักรยานดวยอัตราเร็วดังนี้
         อัตราเร็ว (m/s)     10       8       6       4       2       0
         เวลา (S)             0       1       2       3       4       5
    จงหาอัตราเรง                                                                   (–2 m/s2)
วิธีทํา




14. ลิฟตกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเร็วทีลดลงอยางสม่ําเสมอ ความเรงเปนอยางไร
                                           ่
วิธีทํา



                                             44
Physics Online I                  http://www.pec9.com                      บทที่ 2 การเคลื่อนที่
15. เมื่อลากแผนกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดเคาะ 50 ครั้งตอวินาที ปรากฏจุบน
แถบกระดาษดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหวาง A ถึง B                     (0.8 m/s)

                                                                      B
                        .
                   .. . A           .        .          .     .        .
วิธีทํา                                          8 ซม.




                      ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



  ตอนที่ 2 สมการการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยอัตราเรงคงที่
    สมการการเคลื่อนที่เปนเสนตรง ดวยความเรงคงที่
         v = u+at                     เมื่อ u =       ความเร็วตน (m/s)
         S = (u + v ) t
                   2                          v =     ความเร็วปลาย (m/s)
         S = ut + 1 a t2
                       2                       a =     ความเรง (m/s2)
        v2 = u2 + 2 a s                        t =    เวลา (s)
                                              s =      การขจัด (m)
         S = Vt                             V =        ความเร็วซึ่งคงที่
16. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แลวเรงเครื่องดวยความเรง 5 เมตร/-
    วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่ เมตรตอวินาที          (110 m/s)
วิธีทํา




                                            45
Physics Online I                   http://www.pec9.com                    บทที่ 2 การเคลื่อนที่
17. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที แลวเรงเครื่องดวยความเรง 8 เมตร/-
    วินาที2 ภายในเวลา 10 วินาที จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่ เมตรตอวินาที           (85 m/s)
วิธีทํา




18. นองบีขับรถดวยความเร็ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิ่งขามถนนจึงเหยียบเบรกทําใหความเร็ว
    ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในชวงทีเ่ บรกในหนวยเปนเมตร
        1. 10               2. 20                  3. 30                 4. 40     (ขอ 3)
วิธีทํา




19. ถาเครื่องบินตองใชเวลาในการเรงเครือง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใชระยะทาง 400 เมตร
                                         ่
    กอนที่จะขึ้นจากทางวิ่งได จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินขณะที่ขึ้นจากทางวิ่งเทากับกี่เมตรตอ
    วินาที                                                                          ( 40 m/s )
วิธีทํา




20. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 2 วินาที จะ
    เคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร                                              ( 10 เมตร)
วิธีทํา




                                             46
Physics Online I                  http://www.pec9.com                   บทที่ 2 การเคลื่อนที่
21. รถยนตคันหนึ่งออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงดวยขนาดความเรงคงตัว และวิ่งได
    ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเรงของรถยนตเปนเทาไร     (6 m/s2)
วิธีทํา




22. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็วตน 36 กม/ชม ตอมาเรงเครื่องดวยความเรง 3 เมตร /-
   วินาที2 จงหาวาภายในระยะทาง 50 เมตร รถคันนี้จะมีความเร็วปลายกี่เมตร/วินาที ( 20 )
วิธีทํา




23. “ความไว” ของการตอบสนองคนขับรถยนตคันหนึงเทากับ 1/5 วินาที ซึ่งหมายความวา
                                                    ่
    ถาคนขับรถยนตคน หนึ่งเห็นสิ่งของใดอยูขางหนา ชวงเวลาที่สั้นที่สุดที่สมองของเขาจะสั่ง
                                          
    ใหกระทําการอันใดอันหนึ่งตอบสนอง ตอสิ่งที่สังเกตเห็น คือ 1/5 วินาที ถาขณะที่เขาขับ
    รถยนตดวยความเร็วคงตัว 25 เมตรตอวินาที อยากทราบวาจากชวงเวลาที่เห็นรถคันขางหนา
    ลดความเร็วอยางกระทันหันและเริ่มเหยียบหามลอ รถยนตของเขาแลนไดระยะทางอยางนอย
    ที่สุดกี่เมตร                                                                  (5m)
วิธีทํา



 เกี่ยวกับการเคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวดิง
                                         ่




                                             47
Physics Online I                 http://www.pec9.com                  บทที่ 2 การเคลื่อนที่
24. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผานไป 4 วินาที วัตถุ
    จะเคลื่อนลงมาไดระยะทางเทากี่เมตร                                        ( 120 ม.)
วิธีทํา




25. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ใชเวลา 3 วินาที จึงจะถึงพืน
                                                                                   ้
    ถามวาความเร็วของลูกบอลขณะกระทบพืนมีคากี่เมตร/วินาที
                                       ้
        1. 15             2. 25                3. 30               4. 40      (ขอ 4)
วิธีทํา




26. ปลอยวัตถุใหตกลงในแนวดิ่งจากที่สูง 20 เมตร จงหาความเร็วขณะกระทบพืน (20 m/s)
                                                                      ้
วิธีทํา




27. โยนวัตถุกอนหนึงขึ้นจากพื้นดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที ถามวาจุดทีวัตถุอยูสูงจาก
                    ่                                                    ่
    พื้น 25 เมตร จะมีความเร็วเทาใด                                             (20 m/s)
วิธีทํา




                                          48
Physics Online I                    http://www.pec9.com                บทที่ 2 การเคลื่อนที่
28. โยนวัตถุขึ้นจากพืนดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที ผานไป 2 วินาที วัตถุจะอยูสูงจาก
                     ้
    พื้นกี่เมตร                                                            ( 40 เมตร )
วิธีทํา




29. โยนวัตถุขึ้นจากพืนดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที วัตถุจะขึนไปถึงจุดสูงสุดภายในเวลา
                      ้                                       ้
    กี่วินาที และ จุดสูงสุดนั้นอยูสูงจากพืนกี่เมตร
                                           ้                        ( 3 วินาที , 45 เมตร )
วิธีทํา




    เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ซึ่งมีความเร็วตนในทิศขึ้น
30. โยนวัตถุจากพื้นดวยความเร็วตน 20 m/s จงหา
        ก. ความเร็ว เมื่อเวลาผานไป 1 และ 5 วินาที                        (10 m/s , –30 m/s)
        ข. การขจัด เมื่อเวลาผานไป 1 และ 5 วินาที                            (15 m , –25 m)
วิธีทํา




                                               49
Physics Online I                 http://www.pec9.com                  บทที่ 2 การเคลื่อนที่
31(มช 30) ชายคนหนึ่งยืนอยูบนดาดฟาของตึกเขาขวางกอนหินมวล 0.1 กิโลกรัม ขึ้นไปใน
    อากาศในแนวดิ่งดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที หลังจากกอนหินหลุดจากมือเขา 6 วินาที
    ก็ตกถึงพื้นดินความสูงของตึกเปนเทาไร                                    (ขอ 2)
        1. 125.0 เมตร       2. 150.0 เมตร       3. 151.25 เมตร     4. 152.5 เมตร
วิธีทํา




32(มช 41) เด็กคนหนึ่งโยนกอนหินขึนไปในแนวดิ่งดวยอัตราเร็วตน 10 เมตร/วินาที กอนหิน
                                         ้
    ตกถึงพื้นซึ่งอยูต่ํากวาตําแหนงมือที่กําลังโยนเปนระยะทาง 15 เมตร จงหาวากอนหิน
    เคลื่อนที่อยูในอากาศเปนเวลานานกีวินาที
                                           ่                                 (3 วินาที )
วิธีทํา




33. โยนกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งจากพืนดิน ดวยความเร็วตน 20 เมตรตอวินาที หลังจากที่
                                   ้
    โยนไปแลวเปนเวลาเทาไร กอนหินจึงตกลงมาดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที (3 วินาที )
วิธีทํา




                                          50
Physics Online I                   http://www.pec9.com                    บทที่ 2 การเคลื่อนที่
34. บอลลูนลูกหนึ่งกําลังลอยขึ้นตรงๆ ในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ขณะอยูสูงจาก
    พื้นดิน 400 เมตร ก็ปลอยถุงทรายลงมา อยากทราบวานานเทาใดถุงทรายถึงพื้นดานลาง
วิธีทํา                                                                    ( 10 วินาที )




35. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางระหวางวินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 8
        ก. 320 m               ข. 280 m           ค. 240 m          ง. 200 m (ขอ ค)
วิธีทํา




36. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในวินาทีที่ 5    (45 m)
วิธีทํา



37(มช 48) วัตถุถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็ว 80 เมตรตอวินาที ระยะทางที่วัตถุเคลื่อน
    ที่ไดในชวงวินาทีที่ 1 ตอระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในชวงวินาทีที่ 7 เปนเทาไร (5)
วิธีทํา




                                             51
Physics Online I                   http://www.pec9.com                    บทที่ 2 การเคลื่อนที่
   ตอนที่ 3 กราฟของการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยอัตราเรงคงที่
   ความสัมพันธแทงกราฟ ความเรง ความเร็ว และการขจัด
   กราฟชุดที่ 1




                   ความเรง = 0         ความเร็วคงที่      การขจัดเพิ่มขึ้นเปนกราฟเสนตรง
   กราฟชุดที่ 2




      ความเรงเปนบวกคงที่        ความเร็วเพิ่มเปนเสนตรง การขจัดเพิ่มขึนเปนเสนโคงพารา
                                                                         ้

   กราฟชุดที่ 3




      ความเรงเปนลบคงที่         ความเร็วลดลงเปนเสนตรง การขจัดลดเปนเสนโคงพารา



                                     การขจัดคงที่ แสดงวา วัตถุหยุดนิ่ง
                                      ความเร็ว = 0 ความเรง = 0




                                             52
Physics Online I               http://www.pec9.com                  บทที่ 2 การเคลื่อนที่
38. ตามรูปเปนกราฟระหวางการขจัด – เวลา ชวงเวลาขอใด
   ที่ความเร็วเปนศูนย                        (ขอ 3)
       1. 0→t1 , t2→t4          2. t2 , t3→t4
       3. 0→t1 , t3→t4          4. 0→t1 , t2→t3
วิธีทํา

39. พิจารณาการเคลื่อนที่ของจักรยานคันหนึ่งในแนวเสนตรง กราฟระหวางการขจัด – เวลาใน
    ขอใดตอไปนีที่แสดงวาจักรยานมีความเร็วคงที่
                ้                                                            (ขอ ข)
         ก.                                        ข.


           ค.                                        ง.



วิธีทํา

40. วัตถุกอนหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงโดย มีกราฟความเร็ว–
   เวลา ดังรูปดังนั้นกราฟในขอใดตอไปนี้ แทนความสัมพันธ ระหวางความเรงกับเวลา
   ของการเคลื่อนที่นี้ไดถูก

                                                          (ขอ 4)




วิธีทํา

                                        53
Physics Online I                   http://www.pec9.com                      บทที่ 2 การเคลื่อนที่

   พื้นที่ใตกราฟ และ ความชันเสนกราฟ
                                                 พื้นที่ใตกราฟ จะไมเทากับอะไรเลย
                                                 ความชันเสนกราฟ = v



                                                 พื้นที่ใตกราฟ = s
                                                 ความชันเสนกราฟ = a


                                                 พื้นที่ใตกราฟ = v – u
                                                 ความชันเสนกราฟ ไมเทากับอะไรเลย

41. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงไดกราฟระหวาง ความเร็ว – เวลา ดังรูป ถามวาเมื่อ
      สิ้นวินาทีที่ 6 การขจัดจะเปนกี่เมตร
         1. 1190           2. 80
         3. 180            4. 90 (ขอ 4)
วิธีทํา



42. จากขอที่ผานมา คาความเร็วเฉลี่ยในชวงเวลา 0 ถึง 6 วินาที เปนกี่เมตรตอวินาที
        1. 20               2. 15                  3. 10                  4. 5      (ขอ 2)
วิธีทํา

43(En 24) วัตถุอันหนึ่งเคลือนที่โดยมีความเร็ว
                            ่
    เปลี่ยนแปลงกับเวลาเปน sine curve (ดังรูป)
    ซึ่งมีคาแอมปลิจูดเปน 0.3 เมตร/วินาที จง
    หาระยะทีวัตถุเคลื่อนไปไดระหวาง A กับ B
               ่
วิธีทํา                                                                               ( 3 เมตร )

                                             54
Physics Online I                  http://www.pec9.com                    บทที่ 2 การเคลื่อนที่
44. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ไดการกระจัด 150 เมตร โดยมีความเร็วสูงสุด 10 เมตร/วินาที และ
    ความเร็ว v กับเวลา t มีความสัมพันธดังกราฟ
    จงหาเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่         (ขอ ค)
        ก. 10 วินาที         ข. 20 วินาที
        ค. 30 วินาที         ง. 40 วินาที
วิธีทํา




45. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงรูป จงหาความเรง
                         ั                              ความเร็ว (m/s)
    ณ. วินาทีที่ 9               (– 2 m/s2)
วิธีทํา

                                                                     8 10    เวลา (s)




46(มช 36) รถคันหนึ่งวิ่งออกจากจุดสตารทไปตาม
    ลูแขงดวยอัตราเร็วดังแสดงในกราฟ จงหาอัตรา
    เรงของรถขณะวิ่งออกมาได 7 วินาที ในหนวย
    เมตรตอวินาที2                    ( -3 m/s2 )
วิธีทํา




                                            55
Physics Online I                   http://www.pec9.com   บทที่ 2 การเคลื่อนที่
47(En 31) วัตถุอันหนึ่งเคลือนที่จากนิ่งดวยความเรง a
                           ่
    ที่เวลา t ดังไดแสดงในรูป จงหาความเร็วของวัตถุ
    ที่เวลา 5 วินาที
         1. 2 m/s             2. 1 m/s
         3. 0 m/s             4. –1 m/s       (ขอ 2)
วิธีทํา




48. จากกราฟของการเคลื่อนที่ตอไปนี้ จงหาระยะทาง
    และการขจัดของการเคลื่อนที่
วิธีทํา                              ( 52 m , 28 m)




49. จากขอที่ผานมา จงหาอัตราเร็ว และ ความเร็วเฉลี่ย       ( 5.2 m/s , 2.8 m/s)
วิธีทํา




                                             56
Physics Online I                  http://www.pec9.com                   บทที่ 2 การเคลื่อนที่
50. จากการเคลื่อนที่ซึ่งแสดงไดดวยกราฟความเร็ว–เวลา ดังรูป กินเวลานานเทาไร วัตถุจึงจะ
                                
    กลับมาที่จุดเริมตน
                   ่                ความเร็ว (m/s)
        1. 16 วินาที
        2. 18.5 วินาที                                   เวลา (t)          เวลา (t)
        3. 13.5 วินาที
        4. 16.2 วินาที (ขอ 3)
วิธีทํา




51(En 38) โยนกอนหินขึ้นในแนวดิ่งจากพื้นดินดวยความเร็วตน 20.0 เมตรตอวินาที หลังจาก
    ถึงจุดสูงสุดแลว กอนหินก็ตกลงมาถึงจุดทีมีความเร็ว 10.0 เมตรตอวินาที การกระจัด และ
                                              ่
    ระยะทางทั้งหมดที่กอนหินเคลื่อนที่ไดถึงจุดนั้นเปนเทาใด (ตอบตามลําดับ หนวยเปนเมตร)
        1. 20.0 , 15.0      2. 15.0 , 15.0         3. 25.0 , 15.0    4. 15.0 , 25.0 (ขอ 4)
วิธีทํา




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦


                                            57
Physics Online I                     http://www.pec9.com                      บทที่ 2 การเคลื่อนที่
   ตอนที่ 4 ความเร็วสัมพัทธ
       ความเร็วสัมพัทธ คือ ความเร็วของวัตถุเมือเปรียบเทียบกับจุดอางอิงหนึ่งๆ
                                                  ่
   วิธีการหาคาความเร็วสัมพัทธ
       กรณีที่ 1 หากความเร็ววัตถุมีทิศเดียวกับความเร็วจุดอางอิง
              vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ – vจุดอางอิง
       กรณีที่ 2 หากความเร็ววัตถุมีทิศสวนทางกับความเร็วจุดอางอิง
              vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ + vจุดอางอิง
                                                              vอางอิง
       กรณีที่ 3 หากความเร็ววัตถุทํามุมกับความเร็วจุดอางอิง              vวัตถุ
         ขั้น 1 ใหกลับทิศทางของความเร็วจุดอางอิง                     θ
                                                             –vอางอิง
         ขั้น 2 เอาหางเวกเตอรความเร็ววัตถุมาตอ
                                                                         vสัมพัทธของวัตถุ
              กับ หางเวกเตอรความเร็วจุดอางอิง
                                                                                 เทียบกับจุดอางอิง
           ขั้น 3 ใชสูตร
                  vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ2 + vจุดอางอิง2 + 2 vวัตถุ vจุดอางอิง cosθ

                     เมื่อ คือ มุมระหวางหางเวกเตอร vวัตถุ กับ –vจุดอางอิง

52. วัตถุ A มีความเร็ว 4 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ว 3 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนวเสน
    ตรง จงหาความเร็วสัมพัทธของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อ
        1. วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเหมือนกัน                      ( 1 m/s )
        2. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก สวน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก ( 7 m/s )
        3. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก สวน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ            ( 5 m/s )
วิธีทํา




                       ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                                58

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
thanakit553
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
rutchaneechoomking
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
thanakit553
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
Garsiet Creus
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
jirupi
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ธงชัย ควรคนึง
 

Was ist angesagt? (20)

งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Andere mochten auch

สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่
KunKru Earn
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 

Andere mochten auch (20)

สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 

Ähnlich wie การเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
kroosarisa
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
krusridet
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Nittaya Mitpothong
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
thanakit553
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
untika
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
Print25
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
Apinya Phuadsing
 

Ähnlich wie การเคลื่อนที่ (20)

P02
P02P02
P02
 
2
22
2
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
P07
P07P07
P07
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 

Mehr von Chakkrawut Mueangkhon (10)

เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
 
Akaranee
AkaraneeAkaranee
Akaranee
 
568
568568
568
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
heat
heatheat
heat
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 

การเคลื่อนที่

  • 1. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ ฟ สิ ก ส บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ตอนที่ 1 ระยะทาง , การขจัด , อัตราเร็ว , ความเร็ว , อัตราเรง , ความเรง 1.1 ระยะทาง และ การขจัด ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวทีเ่ คลื่อนที่ไดจริง (เมตร) ( เปนปริมาณสเกลาร ) การขจัด คือ ความยาวที่วดเปนเสนตรงจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทายของการเคลื่อนที่ ั ( เมตร ) ( เปนปริมาณเวกเตอร ) 1. จงหาระยะทาง และการขจัด 3m ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้ 4m วิธีทํา ( 7 ม. , 5 ม. ) 2. จงหาระยะทาง และการขจัด 2m ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้ 10 m วิธีทํา ( 12 ม. , 8 ม. ) 3. จงหาระยะทาง และการขจัด ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้ วิธีทํา ( 22 ม. , 14 ม. ) 4. จงหาระยะทาง และการขจัด ของการเคลื่อนที่ ตอไปนี้ วิธีทํา ( 44 ม. , 0 ม. ) 41
  • 2. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ v v 5. จากรูปจงหาการขจัดลัพธของ a b v และ v ตอไปนี้ a b วิธีทํา v 6. v , b , v เปนเวกเตอรดังรูป a c v v v b c a v รูปใดเปนเวกเตอรลัพธของ v + b + v a c 1. 2. 3. 4. (ขอ 2) วิธีทํา v 7. จากขอที่ผานมา รูปใดเปนเวกเตอรลัพธของ v − b − v a c 1. 2. 3. 4. (ขอ 3) วิธีทํา v v v v 8. กําหนด A , B , C แ ละ D เปนเวกเตอรทมีขนาดและทิศทางดังรูป ขอความใดถูกตอง ี่ v v v v v v C 1. A + B + C + D = 0 v v v v v v 2. A + B + C = D D B v v v v 3. A + B + D = C v v v v v A 4. A + B = C + D (ขอ 3) วิธีทํา 42
  • 3. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 1.2 อัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วเฉลี่ย คือ อัตราสวนของระยะทาง ตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ตลอดชวงนัน ้ มีหนวยเปน เมตรตอวินาที และ เปนปริมาณสเกลาร อัตราเร็ว (m/s) → v = S ← ระยะทาง ( m ) t ← เวลา (s) ความเร็วเฉลี่ย คือ อัตราสวนของการขจัดตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนทีตลอดชวงนั้น ่ มีหนวยเปนเมตรตอวินาที และ เปนปริมาณเวกเตอร 9. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย ของการเคลื่อนที่ตามแผน ภาพตอไปนี้ กําหนดเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที วิธีทํา ( 11 m/s , 7 m/s ) 10. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ได 30 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงแรก และเคลื่อนที่ไดระยะทาง 50 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงตอมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชั่วโมงมีคาเทาใด (80 km/hr) วิธีทํา 1.3 ความเร็ว ณ.จุดใดจุดหนึ่ง ความเร็ว ณ.จุดหนึ่งๆ อาจหาคาไดโดยใชอนุพันธของฟงกชั่น ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนใน วิชาคณิตศาสตร เรื่องแคลคูลัส หรือ อาจหาคาไดจากความชันเสนกราฟ การขจัดกับเวลา 11. กําหนดกราฟการขจัดของการเคลื่อนที่หนึ่ง การขจัด ( m ) เปนดังรูป จงหาความเร็ว ณ.จุดวินาทีที่ 15 วิธีทํา ( 0.83 m/s ) 10 (15 , 10) (3 , 0 ) 15 เวลา ( วินาที ) 43
  • 4. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 1.4 อัตราเรง และ ความเรง อัตราเรง คือ อัตราสวนของอัตราเร็วที่เปลี่ยนไปตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที2) ( เปนปริมาณสเกลลาร ) v − v ← อัตราเร็วที่เปลี่ยนไป (m/s) อัตราเรง (m/s2) → a = 2 t 1 ← เวลา (s) ความเรง คือ อัตราสวนของความเร็วที่เปลี่ยนไป ตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที2) (เปนปริมาณเวกเตอร) ควรทราบ ถา a เปนบวก เรียก อัตราเรง จะทําใหอตราเร็ว (V) มีคาเพิ่มมากขึ้น ั ถา a เปนบวก เรียก อัตราหนวง จะทําใหอัตราเร็ว (V) มีคาลดลง ถา a = 0 จะทําใหอัตราเร็ว (V) มีคาคงที่ 12. รถคันหนึ่งวิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จนกระทั่งมีความเร็ว 15 เมตร/วินาที ใน เวลา 1.5 วินาที ในแนวเสนตรง จงหาความเรงเฉลี่ยของรถ (3.3 m/s2) วิธีทํา 13. ขับจักรยานดวยอัตราเร็วดังนี้ อัตราเร็ว (m/s) 10 8 6 4 2 0 เวลา (S) 0 1 2 3 4 5 จงหาอัตราเรง (–2 m/s2) วิธีทํา 14. ลิฟตกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเร็วทีลดลงอยางสม่ําเสมอ ความเรงเปนอยางไร ่ วิธีทํา 44
  • 5. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 15. เมื่อลากแผนกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดเคาะ 50 ครั้งตอวินาที ปรากฏจุบน แถบกระดาษดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหวาง A ถึง B (0.8 m/s) B . .. . A . . . . . วิธีทํา 8 ซม. ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 2 สมการการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยอัตราเรงคงที่ สมการการเคลื่อนที่เปนเสนตรง ดวยความเรงคงที่ v = u+at เมื่อ u = ความเร็วตน (m/s) S = (u + v ) t 2 v = ความเร็วปลาย (m/s) S = ut + 1 a t2 2 a = ความเรง (m/s2) v2 = u2 + 2 a s t = เวลา (s) s = การขจัด (m) S = Vt V = ความเร็วซึ่งคงที่ 16. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แลวเรงเครื่องดวยความเรง 5 เมตร/- วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่ เมตรตอวินาที (110 m/s) วิธีทํา 45
  • 6. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 17. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที แลวเรงเครื่องดวยความเรง 8 เมตร/- วินาที2 ภายในเวลา 10 วินาที จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่ เมตรตอวินาที (85 m/s) วิธีทํา 18. นองบีขับรถดวยความเร็ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิ่งขามถนนจึงเหยียบเบรกทําใหความเร็ว ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในชวงทีเ่ บรกในหนวยเปนเมตร 1. 10 2. 20 3. 30 4. 40 (ขอ 3) วิธีทํา 19. ถาเครื่องบินตองใชเวลาในการเรงเครือง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใชระยะทาง 400 เมตร ่ กอนที่จะขึ้นจากทางวิ่งได จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินขณะที่ขึ้นจากทางวิ่งเทากับกี่เมตรตอ วินาที ( 40 m/s ) วิธีทํา 20. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 2 วินาที จะ เคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร ( 10 เมตร) วิธีทํา 46
  • 7. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 21. รถยนตคันหนึ่งออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงดวยขนาดความเรงคงตัว และวิ่งได ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเรงของรถยนตเปนเทาไร (6 m/s2) วิธีทํา 22. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็วตน 36 กม/ชม ตอมาเรงเครื่องดวยความเรง 3 เมตร /- วินาที2 จงหาวาภายในระยะทาง 50 เมตร รถคันนี้จะมีความเร็วปลายกี่เมตร/วินาที ( 20 ) วิธีทํา 23. “ความไว” ของการตอบสนองคนขับรถยนตคันหนึงเทากับ 1/5 วินาที ซึ่งหมายความวา ่ ถาคนขับรถยนตคน หนึ่งเห็นสิ่งของใดอยูขางหนา ชวงเวลาที่สั้นที่สุดที่สมองของเขาจะสั่ง  ใหกระทําการอันใดอันหนึ่งตอบสนอง ตอสิ่งที่สังเกตเห็น คือ 1/5 วินาที ถาขณะที่เขาขับ รถยนตดวยความเร็วคงตัว 25 เมตรตอวินาที อยากทราบวาจากชวงเวลาที่เห็นรถคันขางหนา ลดความเร็วอยางกระทันหันและเริ่มเหยียบหามลอ รถยนตของเขาแลนไดระยะทางอยางนอย ที่สุดกี่เมตร (5m) วิธีทํา เกี่ยวกับการเคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวดิง ่ 47
  • 8. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 24. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผานไป 4 วินาที วัตถุ จะเคลื่อนลงมาไดระยะทางเทากี่เมตร ( 120 ม.) วิธีทํา 25. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ใชเวลา 3 วินาที จึงจะถึงพืน ้ ถามวาความเร็วของลูกบอลขณะกระทบพืนมีคากี่เมตร/วินาที ้ 1. 15 2. 25 3. 30 4. 40 (ขอ 4) วิธีทํา 26. ปลอยวัตถุใหตกลงในแนวดิ่งจากที่สูง 20 เมตร จงหาความเร็วขณะกระทบพืน (20 m/s) ้ วิธีทํา 27. โยนวัตถุกอนหนึงขึ้นจากพื้นดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที ถามวาจุดทีวัตถุอยูสูงจาก ่ ่ พื้น 25 เมตร จะมีความเร็วเทาใด (20 m/s) วิธีทํา 48
  • 9. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 28. โยนวัตถุขึ้นจากพืนดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที ผานไป 2 วินาที วัตถุจะอยูสูงจาก ้ พื้นกี่เมตร ( 40 เมตร ) วิธีทํา 29. โยนวัตถุขึ้นจากพืนดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที วัตถุจะขึนไปถึงจุดสูงสุดภายในเวลา ้ ้ กี่วินาที และ จุดสูงสุดนั้นอยูสูงจากพืนกี่เมตร ้ ( 3 วินาที , 45 เมตร ) วิธีทํา เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ซึ่งมีความเร็วตนในทิศขึ้น 30. โยนวัตถุจากพื้นดวยความเร็วตน 20 m/s จงหา ก. ความเร็ว เมื่อเวลาผานไป 1 และ 5 วินาที (10 m/s , –30 m/s) ข. การขจัด เมื่อเวลาผานไป 1 และ 5 วินาที (15 m , –25 m) วิธีทํา 49
  • 10. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 31(มช 30) ชายคนหนึ่งยืนอยูบนดาดฟาของตึกเขาขวางกอนหินมวล 0.1 กิโลกรัม ขึ้นไปใน อากาศในแนวดิ่งดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที หลังจากกอนหินหลุดจากมือเขา 6 วินาที ก็ตกถึงพื้นดินความสูงของตึกเปนเทาไร (ขอ 2) 1. 125.0 เมตร 2. 150.0 เมตร 3. 151.25 เมตร 4. 152.5 เมตร วิธีทํา 32(มช 41) เด็กคนหนึ่งโยนกอนหินขึนไปในแนวดิ่งดวยอัตราเร็วตน 10 เมตร/วินาที กอนหิน ้ ตกถึงพื้นซึ่งอยูต่ํากวาตําแหนงมือที่กําลังโยนเปนระยะทาง 15 เมตร จงหาวากอนหิน เคลื่อนที่อยูในอากาศเปนเวลานานกีวินาที ่ (3 วินาที ) วิธีทํา 33. โยนกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งจากพืนดิน ดวยความเร็วตน 20 เมตรตอวินาที หลังจากที่ ้ โยนไปแลวเปนเวลาเทาไร กอนหินจึงตกลงมาดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที (3 วินาที ) วิธีทํา 50
  • 11. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 34. บอลลูนลูกหนึ่งกําลังลอยขึ้นตรงๆ ในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ขณะอยูสูงจาก พื้นดิน 400 เมตร ก็ปลอยถุงทรายลงมา อยากทราบวานานเทาใดถุงทรายถึงพื้นดานลาง วิธีทํา ( 10 วินาที ) 35. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางระหวางวินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 8 ก. 320 m ข. 280 m ค. 240 m ง. 200 m (ขอ ค) วิธีทํา 36. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในวินาทีที่ 5 (45 m) วิธีทํา 37(มช 48) วัตถุถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็ว 80 เมตรตอวินาที ระยะทางที่วัตถุเคลื่อน ที่ไดในชวงวินาทีที่ 1 ตอระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในชวงวินาทีที่ 7 เปนเทาไร (5) วิธีทํา 51
  • 12. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ ตอนที่ 3 กราฟของการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยอัตราเรงคงที่ ความสัมพันธแทงกราฟ ความเรง ความเร็ว และการขจัด กราฟชุดที่ 1 ความเรง = 0 ความเร็วคงที่ การขจัดเพิ่มขึ้นเปนกราฟเสนตรง กราฟชุดที่ 2 ความเรงเปนบวกคงที่ ความเร็วเพิ่มเปนเสนตรง การขจัดเพิ่มขึนเปนเสนโคงพารา ้ กราฟชุดที่ 3 ความเรงเปนลบคงที่ ความเร็วลดลงเปนเสนตรง การขจัดลดเปนเสนโคงพารา การขจัดคงที่ แสดงวา วัตถุหยุดนิ่ง ความเร็ว = 0 ความเรง = 0 52
  • 13. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 38. ตามรูปเปนกราฟระหวางการขจัด – เวลา ชวงเวลาขอใด ที่ความเร็วเปนศูนย (ขอ 3) 1. 0→t1 , t2→t4 2. t2 , t3→t4 3. 0→t1 , t3→t4 4. 0→t1 , t2→t3 วิธีทํา 39. พิจารณาการเคลื่อนที่ของจักรยานคันหนึ่งในแนวเสนตรง กราฟระหวางการขจัด – เวลาใน ขอใดตอไปนีที่แสดงวาจักรยานมีความเร็วคงที่ ้ (ขอ ข) ก. ข. ค. ง. วิธีทํา 40. วัตถุกอนหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงโดย มีกราฟความเร็ว– เวลา ดังรูปดังนั้นกราฟในขอใดตอไปนี้ แทนความสัมพันธ ระหวางความเรงกับเวลา ของการเคลื่อนที่นี้ไดถูก (ขอ 4) วิธีทํา 53
  • 14. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ พื้นที่ใตกราฟ และ ความชันเสนกราฟ พื้นที่ใตกราฟ จะไมเทากับอะไรเลย ความชันเสนกราฟ = v พื้นที่ใตกราฟ = s ความชันเสนกราฟ = a พื้นที่ใตกราฟ = v – u ความชันเสนกราฟ ไมเทากับอะไรเลย 41. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงไดกราฟระหวาง ความเร็ว – เวลา ดังรูป ถามวาเมื่อ สิ้นวินาทีที่ 6 การขจัดจะเปนกี่เมตร 1. 1190 2. 80 3. 180 4. 90 (ขอ 4) วิธีทํา 42. จากขอที่ผานมา คาความเร็วเฉลี่ยในชวงเวลา 0 ถึง 6 วินาที เปนกี่เมตรตอวินาที 1. 20 2. 15 3. 10 4. 5 (ขอ 2) วิธีทํา 43(En 24) วัตถุอันหนึ่งเคลือนที่โดยมีความเร็ว ่ เปลี่ยนแปลงกับเวลาเปน sine curve (ดังรูป) ซึ่งมีคาแอมปลิจูดเปน 0.3 เมตร/วินาที จง หาระยะทีวัตถุเคลื่อนไปไดระหวาง A กับ B ่ วิธีทํา ( 3 เมตร ) 54
  • 15. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 44. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ไดการกระจัด 150 เมตร โดยมีความเร็วสูงสุด 10 เมตร/วินาที และ ความเร็ว v กับเวลา t มีความสัมพันธดังกราฟ จงหาเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (ขอ ค) ก. 10 วินาที ข. 20 วินาที ค. 30 วินาที ง. 40 วินาที วิธีทํา 45. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงรูป จงหาความเรง ั ความเร็ว (m/s) ณ. วินาทีที่ 9 (– 2 m/s2) วิธีทํา 8 10 เวลา (s) 46(มช 36) รถคันหนึ่งวิ่งออกจากจุดสตารทไปตาม ลูแขงดวยอัตราเร็วดังแสดงในกราฟ จงหาอัตรา เรงของรถขณะวิ่งออกมาได 7 วินาที ในหนวย เมตรตอวินาที2 ( -3 m/s2 ) วิธีทํา 55
  • 16. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 47(En 31) วัตถุอันหนึ่งเคลือนที่จากนิ่งดวยความเรง a ่ ที่เวลา t ดังไดแสดงในรูป จงหาความเร็วของวัตถุ ที่เวลา 5 วินาที 1. 2 m/s 2. 1 m/s 3. 0 m/s 4. –1 m/s (ขอ 2) วิธีทํา 48. จากกราฟของการเคลื่อนที่ตอไปนี้ จงหาระยะทาง และการขจัดของการเคลื่อนที่ วิธีทํา ( 52 m , 28 m) 49. จากขอที่ผานมา จงหาอัตราเร็ว และ ความเร็วเฉลี่ย ( 5.2 m/s , 2.8 m/s) วิธีทํา 56
  • 17. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 50. จากการเคลื่อนที่ซึ่งแสดงไดดวยกราฟความเร็ว–เวลา ดังรูป กินเวลานานเทาไร วัตถุจึงจะ  กลับมาที่จุดเริมตน ่ ความเร็ว (m/s) 1. 16 วินาที 2. 18.5 วินาที เวลา (t) เวลา (t) 3. 13.5 วินาที 4. 16.2 วินาที (ขอ 3) วิธีทํา 51(En 38) โยนกอนหินขึ้นในแนวดิ่งจากพื้นดินดวยความเร็วตน 20.0 เมตรตอวินาที หลังจาก ถึงจุดสูงสุดแลว กอนหินก็ตกลงมาถึงจุดทีมีความเร็ว 10.0 เมตรตอวินาที การกระจัด และ ่ ระยะทางทั้งหมดที่กอนหินเคลื่อนที่ไดถึงจุดนั้นเปนเทาใด (ตอบตามลําดับ หนวยเปนเมตร) 1. 20.0 , 15.0 2. 15.0 , 15.0 3. 25.0 , 15.0 4. 15.0 , 25.0 (ขอ 4) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 57
  • 18. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ ตอนที่ 4 ความเร็วสัมพัทธ ความเร็วสัมพัทธ คือ ความเร็วของวัตถุเมือเปรียบเทียบกับจุดอางอิงหนึ่งๆ ่ วิธีการหาคาความเร็วสัมพัทธ กรณีที่ 1 หากความเร็ววัตถุมีทิศเดียวกับความเร็วจุดอางอิง vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ – vจุดอางอิง กรณีที่ 2 หากความเร็ววัตถุมีทิศสวนทางกับความเร็วจุดอางอิง vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ + vจุดอางอิง vอางอิง กรณีที่ 3 หากความเร็ววัตถุทํามุมกับความเร็วจุดอางอิง vวัตถุ ขั้น 1 ใหกลับทิศทางของความเร็วจุดอางอิง θ –vอางอิง ขั้น 2 เอาหางเวกเตอรความเร็ววัตถุมาตอ vสัมพัทธของวัตถุ กับ หางเวกเตอรความเร็วจุดอางอิง เทียบกับจุดอางอิง ขั้น 3 ใชสูตร vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ2 + vจุดอางอิง2 + 2 vวัตถุ vจุดอางอิง cosθ เมื่อ คือ มุมระหวางหางเวกเตอร vวัตถุ กับ –vจุดอางอิง 52. วัตถุ A มีความเร็ว 4 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ว 3 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนวเสน ตรง จงหาความเร็วสัมพัทธของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อ 1. วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเหมือนกัน ( 1 m/s ) 2. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก สวน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก ( 7 m/s ) 3. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก สวน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ ( 5 m/s ) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 58