SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
รายวิชา                                                     หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                                         ใบความรู้ท่ี 1
     คณิตศาสตร์                                                  การแปลงทางเรขาคณิต
      (ค 22101)
       ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การเล่ ือนขนาน
การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุด
ทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทาง
ที่เท่ากันตามที่กำาหนด
ตัวอย่าง กำาหนดให้                   ABC เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน

ABC ไปในทิศทางและระยะทางตามที่กำาหนดดังรูป แล้วแ                              A′B ′C ′   เป็น
ภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน

                                         A                         L
                                                                   S


                        B
                                     P                  B′ P′
                                     C                      C′

จากรูป จะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด A ไปที่จุด                    A′   เลื่อนจุด B ไปที่จุด
B′   และ เลื่อนจุด C ไปที่จุด                C′   ในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่า
กัน จะได้ว่า     A′A′   ,   B ′B ′   และ      C ′C ′   ขนานกันและยาวเท่ากัน




                                                                                            1
ถ้า P เป็นจุดใด ๆ บน                             ABC แล้วจะมี   P′   บน   A′B ′C ′   เป็น
จุดที่สมนัยกันกับจุด P และ                        PP ′   จะขนานและยาวเท่ากันกับความยาว
ของ   AA′   ,   BB ′    และ           CC ′      ด้วย
      ในการบอกทิศทางและระยทางของการเลื่อนขนาน จะได้เวก
เตอร์ เป็นตัวกำาหนด
จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์ MN เพื่อบอกทิศทางและระยะทาง
                      A                                             A′
ของการเลื่อนขนานดังรูป


                        B
                                      P                    B′ P′
                                       C                       C′
                            M                                   N



      เวกเตอร์ MN อาจเขียนแทนด้วย MN ซึ่ง จะมีทิศทางจากจุด
เริ่มต้น M ไปยังจุดสิ้นสุด N และมีขนาดเท่ากับความยาวของ
      จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้นจะได้ว่า
      1.    A′ A′   ,   B ′B ′   ,   C ′C ′   และ P ′P ′    จะขนานกันกับ MN     MN

      2.    AA′ = BB ′      =        CC ′   =   PP ′     จะขนานกันกับ MN
การกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานอาจให้จุดเริ่มต้นอยู่บนรูป
ต้นแบบหรืออยู่นอกรูปต้นแบบก็ได้
      ในการเลื่อนขนาน เมือกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานรูป
                         ่
ต้นแบบมาให้ เราต้องวิเคราะห์ว่าจะต้องเลื่อนรูปต้นแบบไปในทิศทาง
ใด และเป็นระยะเท่าไร
      ถ้าเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานที่กำาหนดให้ขนานกับแกน X หรือ
แกน Y การเลื่อนขนานรูปต้นแบบก็จะกระทำาได้ง่าย แต่ถ้าเวกเตอร์ที่
                                                                                                  2
กำาหนดให้นั้นไม่ขนานกับแกน X และแกน Y แล้ว เราอาจใช้วิธีดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้เพื่อช่วยในการหาภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน
       ตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาการเลื่อนขนานจุด P ด้วย MN
                                Y
ต่อไปนี้
                       N    6


                            4

           M
                            2         P•

                                                       X

   -           -   -   -    0     2        4   6
   8           6   4   2




       วิธีท่ี 1 เลื่อนจุด P ไปทางขวาตามแนวแกน X 4 หน่วยและ

เลื่อนขึ้นไปตามแนวแกน Y 3 หน่วย จะได้ตำาแหน่งของจุด     P′   ดังรูป
                                                                  3
N   6
                                            P′
                    3   4
                                            3
    M       4
                        2       P       4

-       -       -   -   0   2       4   6        X
8       6       4   2




                                                     4
รายวิชา                                   หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                    แบบฝึ กพัฒนาการเรียน
   คณิตศาสตร์                                การแปลงทางเรขาคณิต
                           รูท่ี 1
                             ้
   (ค 22101)
    ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2


การเล่ ือนขนาน
กำำหนด      DEF จงเขียนภำพทีได้จำกกำรเลื่อนขนำน
                            ่                             DEF ด้วย
MN                        Y
                D                             M
                          6


                          4          F


                           2             N
    E


        -       -    -     0             2   4                  X
                                                      6
        6       4    2




                                                                      5
ร้ปแบบการประเมิน                                           ดี      พอใชู         ควร
                                                                              ปรับปรุง

ประเมินตนเอง
ประเมินผลจากครู
ประเมินผลจากผู้ปกครอง




 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่

        รายวิชา                                                     หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                              แบบทดสอบก่อนเรียน-
    คณิตศาสตร์                                                   การแปลงทางเรขาคณิต
                                     หลังเรียนท่ี 1
     (ค 22101)
        ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การเล่ ือนขนาน
1. จงหาพิกัดของจุด (3,-1) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกับการส่ง
จุด B (-2,6) ไปยังจุด (6,2)
ก. (11,-5)                              ข. (13-4)
ค. (5,-5)                      ง. (0,-11)
2. จงหาพิกัดของจุด A (4,-2) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกันการ
ส่งจุด B (-1,5) ไปยังจุด           B′

(5,1)

                                                                                                  6
ก. (0,-8)               ข. (2,-2)
       ค. (10,-6)                      ง. (8,4)
3. ข้อใดจัดเป็นการเลื่อนขนาน
       ก. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน
       ข. เงาของต้นไม้ในลำาธาร
       ค. รถไฟที่แล่นตรงไป
       ง. ชิงช้าสวรรค์
4. เลื่อนจุด (5,7) ไปทางซ้าย 6 หน่วย จะเป็นจุดใด
       ก. (5,13)               ข. (11,7)
       ค. (-1,7)               ง. (-5,1)
5. เลื่อนจุด (-8,3) ไปทางซ้าย 4 หน่วย จะเป็นจุดใด
       ก. (-8,7)               ข. (-4,3)
       ค. (-12,3)              ง. (-8,-1)




 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่




       รายวิชา                                                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                                     ใบความรู้ท่ี 2
    คณิตศาสตร์                                                   การแปลงทางเรขาคณิต

                                                                                                  7
(ค 22101)
       ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การสะทูอน
       การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง                          ที่
ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด P บนระนาบจะมีจุด                   P′   เป็นภาพ
ที่ได้จากการสะท้อนจุด P โดยที่
1. ถ้าจุด P ไม่อยู่บนเส้นตรง           แล้วเส้นตรง         จะแบ่งครึ่งและตั้งฉาก
กับ   PP ′

2. ถ้าจุด P อยู่บนเส้นตรง          แล้วจุด P และจุด          P ′ เป็นจุดเดียวกัน

ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง          เป็นเส้นสะท้อน

                       A
                                        C    
                                            C′
                           B

                               B′
                                                 A′

       รูปเรขาคณิตที่สามารถหารอยพับและพับรูปทั้งสองข้างของรอย
พับให้ทับกันสนิทได้เรียกว่า รูปสมมาตรบนเส้น และเรียกรอยพับนั้นว่า
                   D                C
                            P
แกนสมมาตร รูปสมมาตรบนเส้นแต่ละรูปอาจมีจำานวนแกนสมมาตรไม่
เท่ากัน เช่น       E                                 F


                       A        Q                B                                    8
ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเป็นรูปสมมาตรบนเส้นที่มี
แกนสมมาตร 4 เส้นได้แก่             AC , BD , EF และ PQ
     รูปสมมาตรบนเส้นเป็นรูปที่เกิดจากการสะท้อน โดยมีแกน
สมมาตรเป็นเส้นสะท้อน


     ในกรณีที่กำาหนดเส้นสะท้อนเป็นเส้นตรงที่ไม่ใช่แกน X หรือแกน
Y อาจหาพิกันของจุดที่เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุดที่กำาหนดให้
โดยพิจารณาดังนี้
           ถ้าเส้นสะท้อนไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y แต่
เป็นเส้นในแนวทแยง ให้ลากเส้นตรงผ่านจุดที่กำาหนดให้และตั้งฉากกับ
เส้นสะท้อน ภาพของจุดที่กำาหนดให้จะอยู่บนเส้นตั้งฉากที่สร้างขึ้น
และอยู่ห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะเท่ากันกับที่จุดที่กำาหนดให้อยู่ห่าง
                             Y
จากเส้นสะท้อน เมื่อได้ภาพของจุดนั้นแล้วจึงหาพิกัด
                                            
ตัวอย่าง   กำาหนดจุด P( -٣,٣), Q(٤,٠) และ R (-٤-,٣) มีเส้นตรง 
                      P       4
ผ่านจุด (-٢- ,٤) และ (١,٣) ดังรูป • (1,
                      •
                    (-3,      2      3)
                    -3)
                                           Q (4,
                                           • 0)                 X
            -     -      -     0     2    4      6
            6     4      2
                  • (-4,      -
                     -2)      2
                                                                       9
                       •       -
                       R       4
                      (-3,
P ′, Q ′         R′
     จากรูปหาพิกัดของจุด                และ        ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการ
สะท้อนจุด P, Q และ R ตามลำาดับดังนี้




                            Q′     Y
                    (-2,
                     6)
                      P          4
                      •
                     (-3,        2
                     -3)
                                                      Q (4,

       R 6
          -     -
                4
                        -
                        2
                                  0      P ′ (1,      4
                                                        0)
                                                           6                 X

       (-6,                      -            -1)
       -1)                       2
                     •           -                                               10
                     R           4
                    (-3,
                    -4)
١) ลากเส้นตรง m ١ ผ่านจุด P และให้ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน                   

     ٢) หาจุด     P′   บนเส้นตรง m ١ ที่ทำาให้จุด P และจุด        P′   อยู่ห่าง
จากเส้นตรง      เท่ากัน
     ٣) จากรูป จะได้พิกัดของจุด P ′ เป็น (١-,١)
     ٤) ในทำานองเดียวกัน เมื่อลากเส้นตรง m ٢ ผ่านจุด Q และให้
                                        Q′                       Q′
ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด             จะได้พิกัดของจุด         เป็น (-٢,٦)
     ٥) ในทำานองเดียวกันเมื่อลากเส้นตรง m ٣ ผ่านจุด R และให้ตั้ง
ฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด       R′   จะได้พิกัดของจุด    R′   เป็น (-١- ,٦)




                                                                                  11
รายวิชา                                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                     แบบฝึ กพัฒนาการเรียน
   คณิตศาสตร์                               การแปลงทางเรขาคณิต
                            รูท่ี 2
                              ้
    (ค ٢٢١٠١)
     ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ ٢

การสะทูอน
ให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดเป็นรูปสะท้อน และข้อใดเป็นรูปการเลื่อน
ขนาน
1. ………………………..




2. ……………………….




3. ……………………….
                                                                 12
4. ………………………..




ร้ปแบบการประเมิน                                           ดี      พอใชู         ควร
                                                                              ปรับปรุง

ประเมินตนเอง
ประเมินผลจากครู
ประเมินผลจากผู้ปกครอง




 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่

                                                                                                13
รายวิชา                                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                     แบบทดสอบก่อนเรียน-
   คณิตศาสตร์                              การแปลงทางเรขาคณิต
                         หลังเรียนท่ี 2
    (ค 22101)
     ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การสะทูอน
ให้นักเรียนทำาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อที่เป็นคำาตอบถูก
1. ข้อใดจัดเป็นการสะท้อน
     ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร

                                                                 14
ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน
     ค. ชิงช้าสวรรค์
     ง. รถไฟที่แล่นตรงไป
2. ถ้ารูปต้นแบบคือ           แล้วภาพของ    A′   ที่เกิดจากการสะท้อนโดยมี
แกน X
เป็นเส้นสะท้อน คือข้อใด


     ก.                           ข.


     ค.                           ง.


3. กำาหนด AB โดยมีแกน X เป็นเส้นสะท้อน จุด A มีพิกัดเป็น
(-3,4) และจุด B มีพิกัดเป็น
(4,-2) จงหาพิกัดของจุด        A′ และ B ′

     ก.   A′ (-3,-4), B ′ (4,2)

     ข.   A′ (-3,4), B ′ (-4,2)

     ค.   A′ (3,4), B ′ (-4,-2)

     ง.   A′ (3,-4), B ′ (-4,2)

4 .ถ้ารูปหนึ่งเกิดจากการแปลงอีกรูปหนึ่ง โดยที่จุด P แปลงไปเป็นจุด
Y จุด Q แปลงไปเป็นจุด X และจุด R แปลงไปเป็นจุด Z ดังรูป




                                                                       15
ก. การเลื่อนขนาน
     ข. การหมุน
     ค. การสะท้อน
     ง. การสะท้อนและการหมุน
5. ข้อใดคือจุด     S′   และ      T′   ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน   ST   โดยมี
                                           L
L เป็นเส้นสะท้อน                           S




     ก.   S ′ (0,1), T ′ (-4,2)

     ข.   S ′ (2,3), T ′ (6,2)

     ค.   S ′ (1,2), T ′ (5,1)

     ง.   S ′ (0,2), T ′ (-4,1)




                                                                               16
ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่




       รายวิชา                                                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                                     ใบความรู้ท่ี 3
     คณิตศาสตร์                                                  การแปลงทางเรขาคณิต
     (ค 22101)
       ระดับชั้น
 มัธยมศึกษาปีที่ 2

การหมุน
การหมุนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด O ที่ตรึงจุดหนึ่ง
เป็นจุดหมุนแต่ละจุด P บนระนาบ มีจด
                                 ุ                       P′   เป็นภาพที่ได้จากการหมุน
จุด P รอบจุด O ตามทิศทางที่กำาหนดด้วยมุมที่มีขนาด k โดยที่
1) ถ้าจุด P ไม่ใช่จุด O แล้ว                OP = OP ′     และขนานของ             ˆ
                                                                                POP ′   เท่ากับ
k
2) ถ้าจุด P เป็นจุดเดียวกันกับ O แล้ว P เป็นจุดหมุน
       ตัวอย่าง จุดหมุน O อยู่บนรูปต้นแบบ

1)
                                                                                                17
ตัวอย่างที่ 1 ถ้า          A′B ′C ′   เป็นภาพที่ได้จากการหมุน        ABC ที่
กำาหนดให้ รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา
จงหา
                            A′, B ′         C′
       1) พิกัดของจุด                 และ        ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุนจุด
A,B และ C ตามลำาดับ
       2) ∆   A′B ′C ′   ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุน           ABC




                                                                                  18
แนวคิด          จากโจทย์กำาหนดให้ O เป็นจุดหมุน และหมุน                                 ABC
                                                                                    A′, B ′
ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา เราสามารถหาจุด                                              และ
C′   ได้โดยการลากเส้นตรงผ่านจุดยอดมุมของ                                 ABC กับจุดหมุน O
เพื่อให้เกิดมุมตรงซึ่งมีขนาด 180 องศา
                                                               A′, B ′         C′
      เมื่อลาก    AO , BO   และ    CO      แล้วให้หาจุด                  และ        ซึ่งแต่ละจุด
จะอยู่ห่างจากจุด O เป็นระยะที่เท่ากันกับระยะที่จุด A,B และ C อย่า
ห่างจากจุด O ตามลำาดับ
      จากแนวคิด ทำาได้ดังนี้
                                 A′, B ′         C′
      1. หาพิกัดของจุด                     และ        ดังนี้
               - ลาก   AO , BO    และ      CO

               - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OA เขียนส่วนโค้งตัด                              OA   ที่
จุด A′ จะได้    A′ (9,-5)


                                                                                                    19
- ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OB เขียนส่วนโค้งตัด                   OA ที่

จุด B ′ จะได้    B ′ (4,-5)

                - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OC เขียนส่วนโค้งตัด OC ที่
จุด C ′ จะได้   C ′ (4,-1)

                           A′, B ′           C′
                นั่นคือ              และ          มีพิกัดเป็น (9,-5), (4,-5) และ (4,-1)
ตามลำาดับ
2. ลาก    A′B ′ , B ′C ′    และ      C ′A′   จะได้       A′B ′C ′   เป็นภาพที่ได้จากการ
หมุน      ABC รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180
องศา




                                                                                          20
รายวิชา                                       หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                              แบบฝึ กพัฒนาการเรียน
      คณิตศาสตร์                                     การแปลงทางเรขาคณิต
                                      รูท่ี 3
                                        ้
       (ค 22101)
        ระดับชั้น
    มัธยมศึกษาปีที่ 2

     การหมุน
        P ′Q ′R ′S ′
:                      เป็นภาพที่ได้จาการหมุน   PQRS ทวนเข็มนาฬิกา
ด้วยมุมที่มีขนาด 90 องศา




                                                                          21
พิกัดของจุด        P′ =   (.....................)
                                          Q′
                       พิกัดของจุด             = (.....................)
                       พิกัดของจุด        R′   = (.....................)
                       พิกัดของจุด        S′   = (.....................)
ร้ปแบบการประเมิน                                         ดี พอใชู                ควร
                                                                              ปรับปรุง

ประเมินตนเอง
ประเมินผลจากครู
ประเมินผลจากผู้ปกครอง



 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่

       รายวิชา                                                      หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
                              แบบทดสอบก่อนเรียน-
    คณิตศาสตร์                                                   การแปลงทางเรขาคณิต
                                     หลังเรียนท่ี 3
     (ค 22101)
       ระดับชั้น

                                                                                                22
มัธยมศึกษาปีที่ 2

การหมุน
1. ข้อใดคือภาพที่เกิดจากการหมุน                รอบ
จากรูปที่กำาหนดให้ 90° ทวนเข็มนาฬิกา




ก.                               ข.




ค.                               ง.
2. รูปสามเหลี่ยม ABC จุด A มีพิกัดเป็น (3,0) จุด B มีพิกัดเป็น (5,1)
และจุด C มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด C บนภาพจากการหมุน
รูปสามเหลี่ยม ABC โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วยมุม 180°
     ก. (2,3)                    ข. (2,-3)
     ค. (-2,3)                   ง. (-2,-3)
3. รูปสามเหลี่ยม DEF จุด D มีพิกัดเป็น (3,0) จุด E มีพิกัดเป็น (5,1)
และ จุด F มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด E บนภาพจากการหมุน
รูปสามเหลี่ยม DEF โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วย 180°
     ก. (5,-1))                  ข. (-5,-1)
     ค. (5,1)                    ง. (-5,1)

                                                                  23
4. ข้อใดเป็นการหมุน                  ABC โดยการหมุนเข็มนาฬิกา และมีจุด P
เป็นจุดหมุน เป็นมุม 90 องศา
ก.                                             ข.




ค.                                             ง.




5. ข้อใดจัดเป็นการหมุน
       ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร
       ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน
       ค. ชิงช้าสวรรค์
       ง. รถไฟที่แล่นตรงไป


 ชื่อ.......................................................................................ชั้น....
                                                                 .............เลขที..............
                                                                                   ่
                                                                                                24
25

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวทับทิม เจริญตา
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1teerachon
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตphunnika
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 

Was ist angesagt? (20)

ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
แบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉายแบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉาย
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 

Ähnlich wie การแปลงทางเรขาคณิต

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตyingsinee
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดการคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดChokchai Puatanachokchai
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 619GATPAT1
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56aui609
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56praeploy2539
 

Ähnlich wie การแปลงทางเรขาคณิต (20)

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัดการคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
การคำนวณปรับแก้สำหรับการแปลงพิกัด
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
work1
work1work1
work1
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
Onet56
Onet56Onet56
Onet56
 
M onet56
M onet56M onet56
M onet56
 
Onet5602 2
Onet5602 2Onet5602 2
Onet5602 2
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
One tmath
One tmathOne tmath
One tmath
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
Onet5602 math
Onet5602 mathOnet5602 math
Onet5602 math
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
ข้อสอบคณิตศาสตร์ O-net'56
 

Mehr von kroojaja

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2kroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1kroojaja
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์kroojaja
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันkroojaja
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01kroojaja
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-mergedkroojaja
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558kroojaja
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 

Mehr von kroojaja (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
01real
01real01real
01real
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 

การแปลงทางเรขาคณิต

  • 1. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใบความรู้ท่ี 1 คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การเล่ ือนขนาน การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุด ทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทาง ที่เท่ากันตามที่กำาหนด ตัวอย่าง กำาหนดให้ ABC เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน ABC ไปในทิศทางและระยะทางตามที่กำาหนดดังรูป แล้วแ A′B ′C ′ เป็น ภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน A L S B P B′ P′ C C′ จากรูป จะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด A ไปที่จุด A′ เลื่อนจุด B ไปที่จุด B′ และ เลื่อนจุด C ไปที่จุด C′ ในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่า กัน จะได้ว่า A′A′ , B ′B ′ และ C ′C ′ ขนานกันและยาวเท่ากัน 1
  • 2. ถ้า P เป็นจุดใด ๆ บน ABC แล้วจะมี P′ บน A′B ′C ′ เป็น จุดที่สมนัยกันกับจุด P และ PP ′ จะขนานและยาวเท่ากันกับความยาว ของ AA′ , BB ′ และ CC ′ ด้วย ในการบอกทิศทางและระยทางของการเลื่อนขนาน จะได้เวก เตอร์ เป็นตัวกำาหนด จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์ MN เพื่อบอกทิศทางและระยะทาง A A′ ของการเลื่อนขนานดังรูป B P B′ P′ C C′ M N เวกเตอร์ MN อาจเขียนแทนด้วย MN ซึ่ง จะมีทิศทางจากจุด เริ่มต้น M ไปยังจุดสิ้นสุด N และมีขนาดเท่ากับความยาวของ จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้นจะได้ว่า 1. A′ A′ , B ′B ′ , C ′C ′ และ P ′P ′ จะขนานกันกับ MN MN 2. AA′ = BB ′ = CC ′ = PP ′ จะขนานกันกับ MN การกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานอาจให้จุดเริ่มต้นอยู่บนรูป ต้นแบบหรืออยู่นอกรูปต้นแบบก็ได้ ในการเลื่อนขนาน เมือกำาหนดเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานรูป ่ ต้นแบบมาให้ เราต้องวิเคราะห์ว่าจะต้องเลื่อนรูปต้นแบบไปในทิศทาง ใด และเป็นระยะเท่าไร ถ้าเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานที่กำาหนดให้ขนานกับแกน X หรือ แกน Y การเลื่อนขนานรูปต้นแบบก็จะกระทำาได้ง่าย แต่ถ้าเวกเตอร์ที่ 2
  • 3. กำาหนดให้นั้นไม่ขนานกับแกน X และแกน Y แล้ว เราอาจใช้วิธีดัง ตัวอย่างต่อไปนี้เพื่อช่วยในการหาภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน ตัวอย่าง ให้นักเรียนพิจารณาการเลื่อนขนานจุด P ด้วย MN Y ต่อไปนี้ N 6 4 M 2 P• X - - - - 0 2 4 6 8 6 4 2 วิธีท่ี 1 เลื่อนจุด P ไปทางขวาตามแนวแกน X 4 หน่วยและ เลื่อนขึ้นไปตามแนวแกน Y 3 หน่วย จะได้ตำาแหน่งของจุด P′ ดังรูป 3
  • 4. N 6 P′ 3 4 3 M 4 2 P 4 - - - - 0 2 4 6 X 8 6 4 2 4
  • 5. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึ กพัฒนาการเรียน คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต รูท่ี 1 ้ (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การเล่ ือนขนาน กำำหนด DEF จงเขียนภำพทีได้จำกกำรเลื่อนขนำน ่ DEF ด้วย MN Y D M 6 4 F 2 N E - - - 0 2 4 X 6 6 4 2 5
  • 6. ร้ปแบบการประเมิน ดี พอใชู ควร ปรับปรุง ประเมินตนเอง ประเมินผลจากครู ประเมินผลจากผู้ปกครอง ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน- คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต หลังเรียนท่ี 1 (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การเล่ ือนขนาน 1. จงหาพิกัดของจุด (3,-1) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกับการส่ง จุด B (-2,6) ไปยังจุด (6,2) ก. (11,-5) ข. (13-4) ค. (5,-5) ง. (0,-11) 2. จงหาพิกัดของจุด A (4,-2) ที่เกิดจากการเลื่อนขนานเดียวกันการ ส่งจุด B (-1,5) ไปยังจุด B′ (5,1) 6
  • 7. ก. (0,-8) ข. (2,-2) ค. (10,-6) ง. (8,4) 3. ข้อใดจัดเป็นการเลื่อนขนาน ก. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน ข. เงาของต้นไม้ในลำาธาร ค. รถไฟที่แล่นตรงไป ง. ชิงช้าสวรรค์ 4. เลื่อนจุด (5,7) ไปทางซ้าย 6 หน่วย จะเป็นจุดใด ก. (5,13) ข. (11,7) ค. (-1,7) ง. (-5,1) 5. เลื่อนจุด (-8,3) ไปทางซ้าย 4 หน่วย จะเป็นจุดใด ก. (-8,7) ข. (-4,3) ค. (-12,3) ง. (-8,-1) ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใบความรู้ท่ี 2 คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต 7
  • 8. (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การสะทูอน การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง  ที่ ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด P บนระนาบจะมีจุด P′ เป็นภาพ ที่ได้จากการสะท้อนจุด P โดยที่ 1. ถ้าจุด P ไม่อยู่บนเส้นตรง  แล้วเส้นตรง  จะแบ่งครึ่งและตั้งฉาก กับ PP ′ 2. ถ้าจุด P อยู่บนเส้นตรง  แล้วจุด P และจุด P ′ เป็นจุดเดียวกัน ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง  เป็นเส้นสะท้อน A C  C′ B B′ A′ รูปเรขาคณิตที่สามารถหารอยพับและพับรูปทั้งสองข้างของรอย พับให้ทับกันสนิทได้เรียกว่า รูปสมมาตรบนเส้น และเรียกรอยพับนั้นว่า D C P แกนสมมาตร รูปสมมาตรบนเส้นแต่ละรูปอาจมีจำานวนแกนสมมาตรไม่ เท่ากัน เช่น E F A Q B 8
  • 9. ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเป็นรูปสมมาตรบนเส้นที่มี แกนสมมาตร 4 เส้นได้แก่ AC , BD , EF และ PQ รูปสมมาตรบนเส้นเป็นรูปที่เกิดจากการสะท้อน โดยมีแกน สมมาตรเป็นเส้นสะท้อน ในกรณีที่กำาหนดเส้นสะท้อนเป็นเส้นตรงที่ไม่ใช่แกน X หรือแกน Y อาจหาพิกันของจุดที่เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุดที่กำาหนดให้ โดยพิจารณาดังนี้ ถ้าเส้นสะท้อนไม่ขนานกับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y แต่ เป็นเส้นในแนวทแยง ให้ลากเส้นตรงผ่านจุดที่กำาหนดให้และตั้งฉากกับ เส้นสะท้อน ภาพของจุดที่กำาหนดให้จะอยู่บนเส้นตั้งฉากที่สร้างขึ้น และอยู่ห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะเท่ากันกับที่จุดที่กำาหนดให้อยู่ห่าง Y จากเส้นสะท้อน เมื่อได้ภาพของจุดนั้นแล้วจึงหาพิกัด  ตัวอย่าง กำาหนดจุด P( -٣,٣), Q(٤,٠) และ R (-٤-,٣) มีเส้นตรง  P 4 ผ่านจุด (-٢- ,٤) และ (١,٣) ดังรูป • (1, • (-3, 2 3) -3) Q (4, • 0) X - - - 0 2 4 6 6 4 2 • (-4, - -2) 2 9 • - R 4 (-3,
  • 10. P ′, Q ′ R′ จากรูปหาพิกัดของจุด และ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการ สะท้อนจุด P, Q และ R ตามลำาดับดังนี้ Q′ Y (-2, 6) P 4 • (-3, 2 -3) Q (4, R 6 - - 4 - 2 0 P ′ (1, 4 0) 6 X (-6, - -1) -1) 2 • - 10 R 4 (-3, -4)
  • 11. ١) ลากเส้นตรง m ١ ผ่านจุด P และให้ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน  ٢) หาจุด P′ บนเส้นตรง m ١ ที่ทำาให้จุด P และจุด P′ อยู่ห่าง จากเส้นตรง  เท่ากัน ٣) จากรูป จะได้พิกัดของจุด P ′ เป็น (١-,١) ٤) ในทำานองเดียวกัน เมื่อลากเส้นตรง m ٢ ผ่านจุด Q และให้ Q′ Q′ ตั้งฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด จะได้พิกัดของจุด เป็น (-٢,٦) ٥) ในทำานองเดียวกันเมื่อลากเส้นตรง m ٣ ผ่านจุด R และให้ตั้ง ฉากกับเส้นสะท้อน  แล้วหาจุด R′ จะได้พิกัดของจุด R′ เป็น (-١- ,٦) 11
  • 12. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึ กพัฒนาการเรียน คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต รูท่ี 2 ้ (ค ٢٢١٠١) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ การสะทูอน ให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดเป็นรูปสะท้อน และข้อใดเป็นรูปการเลื่อน ขนาน 1. ……………………….. 2. ………………………. 3. ………………………. 12
  • 13. 4. ……………………….. ร้ปแบบการประเมิน ดี พอใชู ควร ปรับปรุง ประเมินตนเอง ประเมินผลจากครู ประเมินผลจากผู้ปกครอง ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ 13
  • 14. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน- คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต หลังเรียนท่ี 2 (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การสะทูอน ให้นักเรียนทำาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อที่เป็นคำาตอบถูก 1. ข้อใดจัดเป็นการสะท้อน ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร 14
  • 15. ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน ค. ชิงช้าสวรรค์ ง. รถไฟที่แล่นตรงไป 2. ถ้ารูปต้นแบบคือ แล้วภาพของ A′ ที่เกิดจากการสะท้อนโดยมี แกน X เป็นเส้นสะท้อน คือข้อใด ก. ข. ค. ง. 3. กำาหนด AB โดยมีแกน X เป็นเส้นสะท้อน จุด A มีพิกัดเป็น (-3,4) และจุด B มีพิกัดเป็น (4,-2) จงหาพิกัดของจุด A′ และ B ′ ก. A′ (-3,-4), B ′ (4,2) ข. A′ (-3,4), B ′ (-4,2) ค. A′ (3,4), B ′ (-4,-2) ง. A′ (3,-4), B ′ (-4,2) 4 .ถ้ารูปหนึ่งเกิดจากการแปลงอีกรูปหนึ่ง โดยที่จุด P แปลงไปเป็นจุด Y จุด Q แปลงไปเป็นจุด X และจุด R แปลงไปเป็นจุด Z ดังรูป 15
  • 16. ก. การเลื่อนขนาน ข. การหมุน ค. การสะท้อน ง. การสะท้อนและการหมุน 5. ข้อใดคือจุด S′ และ T′ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน ST โดยมี L L เป็นเส้นสะท้อน S ก. S ′ (0,1), T ′ (-4,2) ข. S ′ (2,3), T ′ (6,2) ค. S ′ (1,2), T ′ (5,1) ง. S ′ (0,2), T ′ (-4,1) 16
  • 17. ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใบความรู้ท่ี 3 คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การหมุน การหมุนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด O ที่ตรึงจุดหนึ่ง เป็นจุดหมุนแต่ละจุด P บนระนาบ มีจด ุ P′ เป็นภาพที่ได้จากการหมุน จุด P รอบจุด O ตามทิศทางที่กำาหนดด้วยมุมที่มีขนาด k โดยที่ 1) ถ้าจุด P ไม่ใช่จุด O แล้ว OP = OP ′ และขนานของ ˆ POP ′ เท่ากับ k 2) ถ้าจุด P เป็นจุดเดียวกันกับ O แล้ว P เป็นจุดหมุน ตัวอย่าง จุดหมุน O อยู่บนรูปต้นแบบ 1) 17
  • 18. ตัวอย่างที่ 1 ถ้า A′B ′C ′ เป็นภาพที่ได้จากการหมุน ABC ที่ กำาหนดให้ รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา จงหา A′, B ′ C′ 1) พิกัดของจุด และ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุนจุด A,B และ C ตามลำาดับ 2) ∆ A′B ′C ′ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการหมุน ABC 18
  • 19. แนวคิด จากโจทย์กำาหนดให้ O เป็นจุดหมุน และหมุน ABC A′, B ′ ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา เราสามารถหาจุด และ C′ ได้โดยการลากเส้นตรงผ่านจุดยอดมุมของ ABC กับจุดหมุน O เพื่อให้เกิดมุมตรงซึ่งมีขนาด 180 องศา A′, B ′ C′ เมื่อลาก AO , BO และ CO แล้วให้หาจุด และ ซึ่งแต่ละจุด จะอยู่ห่างจากจุด O เป็นระยะที่เท่ากันกับระยะที่จุด A,B และ C อย่า ห่างจากจุด O ตามลำาดับ จากแนวคิด ทำาได้ดังนี้ A′, B ′ C′ 1. หาพิกัดของจุด และ ดังนี้ - ลาก AO , BO และ CO - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OA เขียนส่วนโค้งตัด OA ที่ จุด A′ จะได้ A′ (9,-5) 19
  • 20. - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OB เขียนส่วนโค้งตัด OA ที่ จุด B ′ จะได้ B ′ (4,-5) - ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี OC เขียนส่วนโค้งตัด OC ที่ จุด C ′ จะได้ C ′ (4,-1) A′, B ′ C′ นั่นคือ และ มีพิกัดเป็น (9,-5), (4,-5) และ (4,-1) ตามลำาดับ 2. ลาก A′B ′ , B ′C ′ และ C ′A′ จะได้ A′B ′C ′ เป็นภาพที่ได้จากการ หมุน ABC รอบจุดกำาเนิด O ตามเข็มนาฬิกาด้วยมุมขนาด 180 องศา 20
  • 21. รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึ กพัฒนาการเรียน คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต รูท่ี 3 ้ (ค 22101) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การหมุน P ′Q ′R ′S ′ : เป็นภาพที่ได้จาการหมุน PQRS ทวนเข็มนาฬิกา ด้วยมุมที่มีขนาด 90 องศา 21
  • 22. พิกัดของจุด P′ = (.....................) Q′ พิกัดของจุด = (.....................) พิกัดของจุด R′ = (.....................) พิกัดของจุด S′ = (.....................) ร้ปแบบการประเมิน ดี พอใชู ควร ปรับปรุง ประเมินตนเอง ประเมินผลจากครู ประเมินผลจากผู้ปกครอง ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน- คณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิต หลังเรียนท่ี 3 (ค 22101) ระดับชั้น 22
  • 23. มัธยมศึกษาปีที่ 2 การหมุน 1. ข้อใดคือภาพที่เกิดจากการหมุน รอบ จากรูปที่กำาหนดให้ 90° ทวนเข็มนาฬิกา ก. ข. ค. ง. 2. รูปสามเหลี่ยม ABC จุด A มีพิกัดเป็น (3,0) จุด B มีพิกัดเป็น (5,1) และจุด C มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด C บนภาพจากการหมุน รูปสามเหลี่ยม ABC โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วยมุม 180° ก. (2,3) ข. (2,-3) ค. (-2,3) ง. (-2,-3) 3. รูปสามเหลี่ยม DEF จุด D มีพิกัดเป็น (3,0) จุด E มีพิกัดเป็น (5,1) และ จุด F มีพิกัดเป็น (2,3) จงหาพิกัดของจุด E บนภาพจากการหมุน รูปสามเหลี่ยม DEF โดยหมุนรอบจุดกำาเนิดด้วย 180° ก. (5,-1)) ข. (-5,-1) ค. (5,1) ง. (-5,1) 23
  • 24. 4. ข้อใดเป็นการหมุน ABC โดยการหมุนเข็มนาฬิกา และมีจุด P เป็นจุดหมุน เป็นมุม 90 องศา ก. ข. ค. ง. 5. ข้อใดจัดเป็นการหมุน ก. เงาของต้นไม้ในลำาธาร ข. เข็มนาฬิกาที่กำาลังเดิน ค. ชิงช้าสวรรค์ ง. รถไฟที่แล่นตรงไป ชื่อ.......................................................................................ชั้น.... .............เลขที.............. ่ 24
  • 25. 25