SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
File : cpu2000.doc page : 1
Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง
"ซีพียู 2000" เร็วเท่าไหร่ก็ไม่พอ
สุรพล ศรีบุญทรง
ในที่สุดโลกเราก็พนวิกฤต Y2K มาไดอยางราบรื่นและจืดชืด จนคอหนังซาดิสตสไตลฮอลลีวูดอยางพี่ไทย
เราบนกันอุบ เพราะไมไดมีโอกาสเห็นอะไรสนุกๆ ตื่นเตนๆ เหมือนอยางโหมโฆษณากันมานานรวมป จนกระทั่งหมอดู
คอมพิวเตอร และนักสรางความสําคัญใหกับตนเองอีกหลายทานตองออกมาปลอบใจกันเปนการใหญวา "ไมเปนไรหรอก
นา อยางนอยก็ยังมีโอกาสไดลุนอีกกันอีกรอบสองรอบ เอาใกลๆ แควิกฤตวันที่ 29 กุมภาพันธนี่ ก็ยังไดลุนเอามันอีกที "
แตใครจะเชื่อหรือไมเชื่ออยางไรก็คงตองอาศัยสติปญญาพินิจพิจารณากันเอง เพราะเรื่องทํานองนี้บางทีก็สอนกันไมได
คลายๆ กับที่พระทานวาคนเรานั้นเปรียบเหมือนบัวสี่เหลา บางเหลาก็จมปรักงมงายใหเขา
หลอกแลวหลอกเลา
พูดเรื่องนี้แลวเศรา ผูเขียนวาเรามาพูดถึงเรื่องที่เปนจริง และมีหลักฐานเปน
ชิ้นเปนอันใหสัมผัสจับตองไดอยางเรื่องความเร็วของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมๆ
และเทคนิคที่ผูผลิตชิปเหลานี้นํามาใชเพิ่มความเร็วในผลิตภัณฑของตนกันดีกวา เพราะ
บางครั้งเรื่องที่ดูจริงจังเหลานี้ บางทีผูผลิตเขาก็ยังเอาเทคนิคโฆษณาประชาสัมพันธมาใชกระตุนความตองการของ
ผูบริโภคกันในลักษณะแปลกๆ และออกจะเกินจริง จนหลายครั้งทําใหเกิดความเชื่อความเขาใจผิดๆ ในหมูผูบริโภคได
เหมือนกัน เชน เมื่อกอนนี้ก็หลงกันไปวาความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรอยูที่ความเร็วสัญญาณนาฬิกาแตเพียงอยางเดียว
ทําใหเวลาจะซื้อเครื่องคอมพิวเตอรสักเครื่องก็ตั้งหนาตั้งตาเทียบกันที่ตัวเลขหนาคําวาเมกกะเฮิรซ จน
เลเพเลพาดมาถึงยุค 2000 ที่เริ่มจะมาพูดถึงตัวเลขหนาคําวากิกะเฮิรซกันบางแลว ในขณะที่ผูผลิตคอมพิวเตอรบางกลุมก็
พยายามฝงคําวา "ไอทาเนี่ยม" และ "ค็อปเปอร อินเตอรคอนเน็ค" เขาไปในหัวผูบริโภค (ดูๆ ไปแลวก็นาขัน เพราะมันชาง
คลายกับพวกขายอาหารเสริม และเครื่องสําอาง ที่ตั้งหนาตั้งตาฝงคําวา "วิตามิน อี" "บีเอชเอ" "เอเอชเอ" และ "ดีเอชเอ"
เขาไปในหัวผูบริโภค โดยไมตองมานั่งอธิบายกันวาสารเคมีแตละตัวนั้นมีชื่อจริงเสียงจริงวาอะไร และอาจกอใหเกิด
ผลขางเคียงที่เปนอันตรายไดมากนอยแคไหน หากบริโภคเขาไปเยอะๆ) ดังนั้น ผูเขียนจึงเห็นวาเปนโอกาสดีที่จะนําเอา
เรื่องราวเกี่ยวกับ "ไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมแหงป 2000" ของ ลอริแอนน แม็คลาฟลิน ที่ลงตีพิมพไวในนิตยสาร พีซี
เวิลด ฉบับมกราคม 2000 มาเลาสูกัน
ฟง
มหัศจรรยแหงเมกกะเฮิรซ
ทุกเดือนตุลาคม ใน
อเมริกาจะมีการประชุมใหญของ
ผูประกอบการดานไมโครโพรเซสเซอร
และทุกปคําพูดยอดฮิตในหมูผูผลิตไม
โครโพรเซสเซอรเหลานี้ก็จะเปนไปใน
ทํานองวา ผูซื้อเครื่องคอมพิวเตอร
สวนใหญมักจะหลงเขาใจผิดวาตัวเลข
เมกกะเฮิรซคือตัววัดระดับคุณภาพของ
File : cpu2000.doc page : 2
Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง
เครื่อง แลวก็เลยไมคอยยอมเสียเวลาเปรียบเทียบคุณสมบัติของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรเวลาที่คิดจะหาซื้อเครื่อง
คอมพิวเตอรใหมสักเครื่อง พวกเขาเพียงแตเลือกเอาผลิตภัณฑที่มีตัวเลขเมกกะเฮิรซมากที่สุดเทานั้น จนแมกระทั่ง
เกล็น แฮรรี่ ประธานบริษัทเซนธอร เทคโนโลยี ซึ่งเปนผูผลิตชิปไมโครโพรเซสเซอรรุนประหยัดก็ยังออกมาบนเลยวา
"เมกกะเฮิรซคือสิ่งเดียวที่ผูคนใหความสนใจ"
นาสนใจวาขนาดผูผลิตไมโครโพรเซสเซอรราคาถูกอยางเซนธอร เทคโนโลยี ยังออกมาพูดเรื่องความหลง
ผิดในคาเมกกะเฮิรซของผูซื้อคอมพิวเตอร ก็แสดงวาความหลงผิดที่วานั้นคงจะฝงลึกจริงๆ ปญหาจึงอยูที่วาจะทําอยางไร
ใหผูบริโภคเรียนรูวาสมรรถนะความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรนั้นเปนคนละคาเมกกะเฮิรซ ยกตัวอยางงายๆ ดูแคเครื่อง
คอมพิวเตอรที่ใชชิปเพนเที่ยมทรี 550 เมกกะเฮิรซ ก็ยังรันโปรแกรมกลุมที่ใชในสํานักงานธุรกิจทั่วไปไดเร็วกวาเครื่องเพน
เที่ยมทรี 500 เมกกะเฮิรซ แค 5 % เทานั้น ทั้งที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาสูงกวากันถึง 10 %
และอาจจะเปนดวยเหตุผลความเชื่อผิดๆ เรื่อง
ความเร็วสัญญานนาฬิกาของผูบริโภคนี่ก็ได ทําใหบริษัทยักษใหญ
ดานไมโครโพรเซสเซอรรายใหม อยาง เวีย เทคโนโลยี มีแผนจะผลิต
สินคาตัวใหมของตนออกมาใหมีคาเมกกะเฮิรซชนิดสุดๆ แบบไมตองใส
ใจกังวลกับเรื่องสมรรถนะความเร็วที่แทจริงกันใหมากนักออกมาใน
กลางปหนา โดยจะตั้งราคาจําหนายชิปรุนดังกลาวไวในระดับไมเกิน
50 เหรียญ เพื่อใหเหมาะกับการนําไปประกอบเครื่องคอมพิวเตอรรุน
ราคาต่ํากวา 1,000 เหรียญ อยางไรก็ตาม มีผูเชี่ยวชาญหลายคนตั้งขอสังเกตุวาชิปรุนที่วานั้นอาจจะมีคาเมกกะเฮิรซสูง
จริง แตเมื่อนํามารันโปรแกรมประยุกตที่นิยมใชกันอยูทั่วไปในขณะนี้ อาจจะทําความเร็วไดไมเทากับชิปเซรีลอนซึ่งมีคา
เมกกะเฮิรซเทาๆ กันของบริษัทอินเทล เพราะขอจํากัดในการออกแบบวงจรภายในตัวชิปของเวีย เทคโนโลยี (ที่บอกวา
บริษัท เวีย เทคโนโลยี เปนยักษใหญดานการผลิตชิปไมโครโพรเซสเซอรราคาถูก เพราะเพิ่งซื้อกิจการของ "ไซริกซ" และ
"เซนธอร" มาไวในครอบครอง)
กลาวไดวา ความเร็วของความเร็วสัญญานนาฬิกานั้นจะมีผลตอสมรรถนะของไมโครโพรเซสเซอรอยาง
เต็มที่ก็ตอเมื่อชิปดังกลาวไดรับการ
ออกแบบวงจรสวนประกอบอื่นๆ
มารองรับไวอยางพอเหมาะพอเจาะ
ยกตัวอยางเชน ชิปเพนเทียมทรีตัว
ลาสุดของบริษัทอินเทลที่มีชื่อรหัส
วา "คอปเปอรไมน
(Coppermine)" นั้นไมเพียงแตจะ
มีตัวเลขเมกกะเฮิรซสูงเทานั้น แต
ยังเสริมเอาหนวยความจําแคช
ขนาด 256 กิโลไบท ไวภายในตัวชิป ตลอดจนมีการออกแบบวงจรภายในสวนตางๆ ใหรองรับกับโปรแกรมยอดนิยม
อยางไมโครซอฟทออฟฟซไดอยางเหมาะสมลงตัวอีกดวย (คู อินเทล-ไมโครซอฟท นี้เขารวมมือกันรวยมานานแลว จนบาง
คนถือโอกาสเรียกเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชชิปอินเทลและติดตั้งโปรแกรมวินโดวสรวมๆ กันไปเลยวา "เครื่องวินเทล")
File : cpu2000.doc page : 3
Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง
อยางไรก็ดี เรื่องสมรรถนะอันสืบเนื่องมาจากหนวยความจําแคชและการออกแบบวงจรภายในตัวชิปก็
ยังคงเปนเรื่องยุงยากเกินกวาจะใชสรางความสนใจในหมูผูบริโภคซึ่งสวนใหญยังชอบอะไรที่หวือหวาได บรรดา
บริษัทผูผลิตไมโครโพรเซสเซอรชั้นนําจึงมักจะมีการวางแผนลวงหนาในการผลักดันสินคาที่มีคาเมกกะเฮิรซสูงขึ้นออกมา
อยางตอเนื่อง เชน ในชวงไตรมาศแรกของปนี้ ทางบริษัทเอเอ็มดี ก็มีแผนจะเปดตัวสินคาใหมในชื่อรหัส "แอ็ทลอน
(Atlon)" ซึ่งมีความเร็วสัญญานนาฬิกาสูงถึง 800 และ 900 เมกกะเฮิรซ ออกมา ซึ่งก็สงผลใหทางบริษัทอินเทลทนอยูเฉย
ไมได ตองแถลงวาจะมีสินคา เพนเที่ยมทรี รุน 800 เมกกะเฮิรซ ออกมาในไตรมาศที่สองเหมือนกัน
นอกจากนั้น บริษัทอินเทลยังมีแผนจะเปดตัวผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมติดตามมาอีกสองตัว
ในชวงกลางป อันไดแกชิปแบบไอทาเนี่ยม 64 บิท ที่ออกแบบมาเพื่อการประมวลผลบนเครื่องเวิรกสเตชั่น และเครื่อง
คอมพิวเตอรที่จะใชเปนเซิรฟเวอรในเครือขายเน็ตเวิรกเปนการเฉพาะ สวนผลิตภัณฑอินเทลอีกตัวซึ่งจะถูกเปดตัว
ออกมาในชวงกลางปเหมือนกันนั้น ถูกตั้งชื่อรหัสไววา "ทิมมา (Timma)" โดยบริษัทอินเทลตั้งใจวาจะเข็นไอเจาทิมมาตัว
นี้ออกมาชนกับสินคาในตลาดลางใหรูดํารูแดงกันไปสักที (ถาจะใหไดผลจริง คงตองมีราคาไมเกิน 50 เหรียญ เหมือนชิป
ของ เวีย เทคโนโลยี)
สําหรับในไตรมาศที่
สามนั้นดูเหมือนวาจะเปนชวงพักรบ
เพราะทั้งอินเทล และเอเอ็มดี ตางก็
ไมมีแผนจะเปดตัวสินคาใหมออกมา
ในชวงนี้ แตจะไปเกิดศึกชนชางอีก
ทีในชวงปลายป เมื่อทั้งสองบริษัทมี
แผนจะทะลวงความเร็วไมโคร
โพรเซสเซอรใหทะลุคาเมกกะเฮิรซขึ้นไปเปน 1 กิกะเฮิรซ ดวยกันทั้งสองราย โดยชิป 1 กิกะเฮิรซของเอเอ็มดี จะยังคงใช
ชื่อรหัสแอ็ทลอนตอไป แมวาจะเปลี่ยนคาความเร็วสัญญานนาฬิกาจากเมกกะเฮิรซไปเปนกิกะเฮิรซแลว ในขณะที่ทางอิน
เทลถือโอกาสตั้งชื่อชิปของตนเสียใหมวา "วิลเลี่ยมเม็ท (Williammette)" ในฐานะที่ไดเข็นความเร็วขึ้นไปถึงระดับ 1 กิ
กะเฮิรซ และมีการปรับความเร็วของสัญญาณบัสไปเปน 200 เมกกะเฮิรซ เทากับความเร็วบัสของชิปแอ็ทลอน
สายนําสัญญาณทองแดงสิ เจง !!
ในยุค 2000 นี้ คําโฆษณาของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรไมไดจํากัดอยูเฉพาะเรื่องความเร็วสัญญาน
นาฬิกาเทานั้น แตยังมีคํามหัศจรรยตัวใหมอยาง "ค็อป
เปอรอินเตอรคอนเน็ค (Copper interconnect)" ที่
หมายถึงการใชโลหะทองแดงมาเปนตัวนําสัญญาณภายใน
ชิปถูกนํามาใชโฆษณาดวย โดยเกมสการแขงขันเรื่อง ค็อป
เปอรอินเตอรคอนเน็ค นี้ถูกเปดขึ้นโดยบริษัทเอเอ็มดี เมื่อ
เริ่มนําเอาโลหะทองแดงมาใชเปนวงจรนําสัญญาณภายใน
ผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมชื่อ "แอ็ทลอน" ซึ่งถูกผลิตขึ้นจากโรงงานใหมของตนในเมืองเดรสเด็น ประเทศ
เยอรมัน
File : cpu2000.doc page : 4
Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง
เมื่อเทียบกับโลหะอลูมีเนียมซึ่งยังคงใชเปนตัวนําสัญญาณภายในชิปไมโครโพรเซสเซอรทั่วไปในปจจุบัน
โลหะทองแดงจะมีความตานทานไฟฟาต่ํากวา บริษัทเอเอ็มดีจึงสามารถลดระยะเสนทางนําสัญญาณภายในวงจรชิปแอ็
ทลอนลงไปเหลือแค 0.18 ไมครอน ในขณะเดียวกัน ก็เปดโอกาสใหออกแบบตัวชิปใหมีแรงดันไฟฟาภายในที่ต่ําลง และมี
ความเร็วในการสงผานสัญญาณขอมูลไดเร็วขึ้น อีกทั้งการลดขนาดของวงจรบนชิปไมโครโพรเซสเซอรลงก็ทําใหทีมงาน
ออกแบบของเอเอ็มดีสามารถวางแผนเพิ่มหนวยความจําแคชใหกับตัวชิปโดยตรงไดมากขึ้นดวย
ผลจากความสําเร็จของบริษัทเอเอ็มดีทําใหยักษใหญอินเทลทนอยูเฉยไมได ตองออกมาขยับตัวใหผูคน
รับรูในความสําคัญของตนเองบาง เริ่มดวยการออกมาแถลงถึงผลิตภัณฑใหมชื่อวา "ทิมมา" ซึ่งจะผนวกเอาวงจรกราฟฟก
และวงจรควบคุมสัญญาณเสียงเขามารวมไวในชิปไมโครโพรเซสเซอรเล็กๆ เพียงตัวเดียว ตามดวยเทคโนโลยีการผลิตไม
โครโพรเซสเซอรแบบใหมที่ทางอินเทลเรียกวาไอทาเนี่ยม (ตั้งชื่อเหมือนกับวาจะใชโลหะไททาเนี่ยมมาเปนตัวนําสัญญาณ
ภายในชิป ? ) โดยเทคโนโลยีไอทาเนี่ยมนี้จะถูกนํามาใชเปนครั้งแรกกับผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรที่มีชื่อรหัสวา "เมอร
เซด (Merced)" อันจะเปนไมโครโพรเซสเซอรตัวแรกที่ใชระบบประมวลผล 64 บิท สมบูรณแบบ (ไมโครโพรเซสเซอรที่ใช
กันอยูทุกวันนี้ยังคงดึงเอาขอมูลเขาไปประมวลผลทีละ 32 บิทอยู)
ผลจากการเพิ่มขีดความสามารถในการดึงขอมูลเขาไปประมวลผลจาก 32 บิท ไปเปน 64 บิท ทําใหชิป
เมอรเซดสามารถจัดการกับขอมูลไดครั้งละมากๆ และรองรับกับปริมาณของหนวยความจําที่สูงขึ้น อันจะสงผลให
สมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรสูงขึ้นไปโดยปริยาย โดยเฉพาะกับการประมวลผลที่มีขอมูลถูกปอนเขามาทีละมากๆ
อยางพวกภาพวิดีโอสามมิติ (ตัวอยางของงานที่จะไดประโยชนจากระบบ
ประมวลผล 64 บิท แนๆ ก็ไดแก ระบบฐานขอมูลของสายการบิน หรือบริษัท
คาปลีก ที่ตองเก็บขอมูลสามมิติของเครื่องบิน หรือสินคาไวหลายๆ รุน เพื่อ
ใหบริการผานระบบออนไลน)
อยางไรก็ตาม ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอรหลายทานไดตั้ง
ขอสังเกตุวาเทคโนโลยีไอทาเนี่ยม และการใชประโยชนจากระบบประมวลผล
64 บิท ของชิปเมอรเซดนั้นนาจะยังไมเกิดขึ้นจริงแนในชวงปสองปนี้ เพราะ
โปรแกรมซอฟทแวรทั้งหมดที่มีอยูในทองตลาดยังคงเปนแบบ 32 บิท หาก
จะนําไปใชกับชิป 64 บิท ก็คงตองนํากลับมาเขียนใหม หรือนํากลับมาคอม
ไพลลใหมซึ่งตองใชเวลานานโขอยู ฉนั้นหากมีการผลิตชิปรุน 64 บิท อยางเมอร
เซดขึ้นมาจริงๆ มันก็คงจะถูกนํามาใชรันโปรแกรม 32 บิทไปอยางแกนๆ ซึ่งไม
เพียงแตจะทําใหมันเปลงสมรรถนะความเร็วไมออกเทานั้น เผลอๆ จะทํา
ความเร็วไดนอยกวาชิป 32 บิททั่วไปเสียดวยซ้ํา (เหมือนเอารถสปอรตพอรชมาวิ่ง
ในกรุงเทพฯ แลวโดนรถจิ๋วมิรา หรือสามลอเครื่องเบียดแซงไปใหเจ็บใจเลน) ที่
หนักที่สุด เห็นจะเปนคําวิจารณของ ไมเคิล สเลเตอร นักวิเคราะหแหงไมโครดี
ไซน รีซอรส ที่ฟนธงลงไปเปรี้ยงเลยวา "เทคโนโลยีไอทาเนี่ยมจะยังไมถูกนํามาใช
กับเครื่องคอมพิวเตอรพีซีแน อยางนอยก็ไมกอนป ค.ศ. 2003 แน เผลอๆ นาจะ
ไดใชกันจริงๆ ในป ค.ศ. 2005 นั่นแหละมากกวา"

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Surapol Imi

เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998Surapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าSurapol Imi
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดSurapol Imi
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด Surapol Imi
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsSurapol Imi
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรSurapol Imi
 

Mehr von Surapol Imi (20)

เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
 

Cpu2000

  • 1. File : cpu2000.doc page : 1 Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง "ซีพียู 2000" เร็วเท่าไหร่ก็ไม่พอ สุรพล ศรีบุญทรง ในที่สุดโลกเราก็พนวิกฤต Y2K มาไดอยางราบรื่นและจืดชืด จนคอหนังซาดิสตสไตลฮอลลีวูดอยางพี่ไทย เราบนกันอุบ เพราะไมไดมีโอกาสเห็นอะไรสนุกๆ ตื่นเตนๆ เหมือนอยางโหมโฆษณากันมานานรวมป จนกระทั่งหมอดู คอมพิวเตอร และนักสรางความสําคัญใหกับตนเองอีกหลายทานตองออกมาปลอบใจกันเปนการใหญวา "ไมเปนไรหรอก นา อยางนอยก็ยังมีโอกาสไดลุนอีกกันอีกรอบสองรอบ เอาใกลๆ แควิกฤตวันที่ 29 กุมภาพันธนี่ ก็ยังไดลุนเอามันอีกที " แตใครจะเชื่อหรือไมเชื่ออยางไรก็คงตองอาศัยสติปญญาพินิจพิจารณากันเอง เพราะเรื่องทํานองนี้บางทีก็สอนกันไมได คลายๆ กับที่พระทานวาคนเรานั้นเปรียบเหมือนบัวสี่เหลา บางเหลาก็จมปรักงมงายใหเขา หลอกแลวหลอกเลา พูดเรื่องนี้แลวเศรา ผูเขียนวาเรามาพูดถึงเรื่องที่เปนจริง และมีหลักฐานเปน ชิ้นเปนอันใหสัมผัสจับตองไดอยางเรื่องความเร็วของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมๆ และเทคนิคที่ผูผลิตชิปเหลานี้นํามาใชเพิ่มความเร็วในผลิตภัณฑของตนกันดีกวา เพราะ บางครั้งเรื่องที่ดูจริงจังเหลานี้ บางทีผูผลิตเขาก็ยังเอาเทคนิคโฆษณาประชาสัมพันธมาใชกระตุนความตองการของ ผูบริโภคกันในลักษณะแปลกๆ และออกจะเกินจริง จนหลายครั้งทําใหเกิดความเชื่อความเขาใจผิดๆ ในหมูผูบริโภคได เหมือนกัน เชน เมื่อกอนนี้ก็หลงกันไปวาความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรอยูที่ความเร็วสัญญาณนาฬิกาแตเพียงอยางเดียว ทําใหเวลาจะซื้อเครื่องคอมพิวเตอรสักเครื่องก็ตั้งหนาตั้งตาเทียบกันที่ตัวเลขหนาคําวาเมกกะเฮิรซ จน เลเพเลพาดมาถึงยุค 2000 ที่เริ่มจะมาพูดถึงตัวเลขหนาคําวากิกะเฮิรซกันบางแลว ในขณะที่ผูผลิตคอมพิวเตอรบางกลุมก็ พยายามฝงคําวา "ไอทาเนี่ยม" และ "ค็อปเปอร อินเตอรคอนเน็ค" เขาไปในหัวผูบริโภค (ดูๆ ไปแลวก็นาขัน เพราะมันชาง คลายกับพวกขายอาหารเสริม และเครื่องสําอาง ที่ตั้งหนาตั้งตาฝงคําวา "วิตามิน อี" "บีเอชเอ" "เอเอชเอ" และ "ดีเอชเอ" เขาไปในหัวผูบริโภค โดยไมตองมานั่งอธิบายกันวาสารเคมีแตละตัวนั้นมีชื่อจริงเสียงจริงวาอะไร และอาจกอใหเกิด ผลขางเคียงที่เปนอันตรายไดมากนอยแคไหน หากบริโภคเขาไปเยอะๆ) ดังนั้น ผูเขียนจึงเห็นวาเปนโอกาสดีที่จะนําเอา เรื่องราวเกี่ยวกับ "ไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมแหงป 2000" ของ ลอริแอนน แม็คลาฟลิน ที่ลงตีพิมพไวในนิตยสาร พีซี เวิลด ฉบับมกราคม 2000 มาเลาสูกัน ฟง มหัศจรรยแหงเมกกะเฮิรซ ทุกเดือนตุลาคม ใน อเมริกาจะมีการประชุมใหญของ ผูประกอบการดานไมโครโพรเซสเซอร และทุกปคําพูดยอดฮิตในหมูผูผลิตไม โครโพรเซสเซอรเหลานี้ก็จะเปนไปใน ทํานองวา ผูซื้อเครื่องคอมพิวเตอร สวนใหญมักจะหลงเขาใจผิดวาตัวเลข เมกกะเฮิรซคือตัววัดระดับคุณภาพของ
  • 2. File : cpu2000.doc page : 2 Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง เครื่อง แลวก็เลยไมคอยยอมเสียเวลาเปรียบเทียบคุณสมบัติของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรเวลาที่คิดจะหาซื้อเครื่อง คอมพิวเตอรใหมสักเครื่อง พวกเขาเพียงแตเลือกเอาผลิตภัณฑที่มีตัวเลขเมกกะเฮิรซมากที่สุดเทานั้น จนแมกระทั่ง เกล็น แฮรรี่ ประธานบริษัทเซนธอร เทคโนโลยี ซึ่งเปนผูผลิตชิปไมโครโพรเซสเซอรรุนประหยัดก็ยังออกมาบนเลยวา "เมกกะเฮิรซคือสิ่งเดียวที่ผูคนใหความสนใจ" นาสนใจวาขนาดผูผลิตไมโครโพรเซสเซอรราคาถูกอยางเซนธอร เทคโนโลยี ยังออกมาพูดเรื่องความหลง ผิดในคาเมกกะเฮิรซของผูซื้อคอมพิวเตอร ก็แสดงวาความหลงผิดที่วานั้นคงจะฝงลึกจริงๆ ปญหาจึงอยูที่วาจะทําอยางไร ใหผูบริโภคเรียนรูวาสมรรถนะความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรนั้นเปนคนละคาเมกกะเฮิรซ ยกตัวอยางงายๆ ดูแคเครื่อง คอมพิวเตอรที่ใชชิปเพนเที่ยมทรี 550 เมกกะเฮิรซ ก็ยังรันโปรแกรมกลุมที่ใชในสํานักงานธุรกิจทั่วไปไดเร็วกวาเครื่องเพน เที่ยมทรี 500 เมกกะเฮิรซ แค 5 % เทานั้น ทั้งที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาสูงกวากันถึง 10 % และอาจจะเปนดวยเหตุผลความเชื่อผิดๆ เรื่อง ความเร็วสัญญานนาฬิกาของผูบริโภคนี่ก็ได ทําใหบริษัทยักษใหญ ดานไมโครโพรเซสเซอรรายใหม อยาง เวีย เทคโนโลยี มีแผนจะผลิต สินคาตัวใหมของตนออกมาใหมีคาเมกกะเฮิรซชนิดสุดๆ แบบไมตองใส ใจกังวลกับเรื่องสมรรถนะความเร็วที่แทจริงกันใหมากนักออกมาใน กลางปหนา โดยจะตั้งราคาจําหนายชิปรุนดังกลาวไวในระดับไมเกิน 50 เหรียญ เพื่อใหเหมาะกับการนําไปประกอบเครื่องคอมพิวเตอรรุน ราคาต่ํากวา 1,000 เหรียญ อยางไรก็ตาม มีผูเชี่ยวชาญหลายคนตั้งขอสังเกตุวาชิปรุนที่วานั้นอาจจะมีคาเมกกะเฮิรซสูง จริง แตเมื่อนํามารันโปรแกรมประยุกตที่นิยมใชกันอยูทั่วไปในขณะนี้ อาจจะทําความเร็วไดไมเทากับชิปเซรีลอนซึ่งมีคา เมกกะเฮิรซเทาๆ กันของบริษัทอินเทล เพราะขอจํากัดในการออกแบบวงจรภายในตัวชิปของเวีย เทคโนโลยี (ที่บอกวา บริษัท เวีย เทคโนโลยี เปนยักษใหญดานการผลิตชิปไมโครโพรเซสเซอรราคาถูก เพราะเพิ่งซื้อกิจการของ "ไซริกซ" และ "เซนธอร" มาไวในครอบครอง) กลาวไดวา ความเร็วของความเร็วสัญญานนาฬิกานั้นจะมีผลตอสมรรถนะของไมโครโพรเซสเซอรอยาง เต็มที่ก็ตอเมื่อชิปดังกลาวไดรับการ ออกแบบวงจรสวนประกอบอื่นๆ มารองรับไวอยางพอเหมาะพอเจาะ ยกตัวอยางเชน ชิปเพนเทียมทรีตัว ลาสุดของบริษัทอินเทลที่มีชื่อรหัส วา "คอปเปอรไมน (Coppermine)" นั้นไมเพียงแตจะ มีตัวเลขเมกกะเฮิรซสูงเทานั้น แต ยังเสริมเอาหนวยความจําแคช ขนาด 256 กิโลไบท ไวภายในตัวชิป ตลอดจนมีการออกแบบวงจรภายในสวนตางๆ ใหรองรับกับโปรแกรมยอดนิยม อยางไมโครซอฟทออฟฟซไดอยางเหมาะสมลงตัวอีกดวย (คู อินเทล-ไมโครซอฟท นี้เขารวมมือกันรวยมานานแลว จนบาง คนถือโอกาสเรียกเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชชิปอินเทลและติดตั้งโปรแกรมวินโดวสรวมๆ กันไปเลยวา "เครื่องวินเทล")
  • 3. File : cpu2000.doc page : 3 Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง อยางไรก็ดี เรื่องสมรรถนะอันสืบเนื่องมาจากหนวยความจําแคชและการออกแบบวงจรภายในตัวชิปก็ ยังคงเปนเรื่องยุงยากเกินกวาจะใชสรางความสนใจในหมูผูบริโภคซึ่งสวนใหญยังชอบอะไรที่หวือหวาได บรรดา บริษัทผูผลิตไมโครโพรเซสเซอรชั้นนําจึงมักจะมีการวางแผนลวงหนาในการผลักดันสินคาที่มีคาเมกกะเฮิรซสูงขึ้นออกมา อยางตอเนื่อง เชน ในชวงไตรมาศแรกของปนี้ ทางบริษัทเอเอ็มดี ก็มีแผนจะเปดตัวสินคาใหมในชื่อรหัส "แอ็ทลอน (Atlon)" ซึ่งมีความเร็วสัญญานนาฬิกาสูงถึง 800 และ 900 เมกกะเฮิรซ ออกมา ซึ่งก็สงผลใหทางบริษัทอินเทลทนอยูเฉย ไมได ตองแถลงวาจะมีสินคา เพนเที่ยมทรี รุน 800 เมกกะเฮิรซ ออกมาในไตรมาศที่สองเหมือนกัน นอกจากนั้น บริษัทอินเทลยังมีแผนจะเปดตัวผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมติดตามมาอีกสองตัว ในชวงกลางป อันไดแกชิปแบบไอทาเนี่ยม 64 บิท ที่ออกแบบมาเพื่อการประมวลผลบนเครื่องเวิรกสเตชั่น และเครื่อง คอมพิวเตอรที่จะใชเปนเซิรฟเวอรในเครือขายเน็ตเวิรกเปนการเฉพาะ สวนผลิตภัณฑอินเทลอีกตัวซึ่งจะถูกเปดตัว ออกมาในชวงกลางปเหมือนกันนั้น ถูกตั้งชื่อรหัสไววา "ทิมมา (Timma)" โดยบริษัทอินเทลตั้งใจวาจะเข็นไอเจาทิมมาตัว นี้ออกมาชนกับสินคาในตลาดลางใหรูดํารูแดงกันไปสักที (ถาจะใหไดผลจริง คงตองมีราคาไมเกิน 50 เหรียญ เหมือนชิป ของ เวีย เทคโนโลยี) สําหรับในไตรมาศที่ สามนั้นดูเหมือนวาจะเปนชวงพักรบ เพราะทั้งอินเทล และเอเอ็มดี ตางก็ ไมมีแผนจะเปดตัวสินคาใหมออกมา ในชวงนี้ แตจะไปเกิดศึกชนชางอีก ทีในชวงปลายป เมื่อทั้งสองบริษัทมี แผนจะทะลวงความเร็วไมโคร โพรเซสเซอรใหทะลุคาเมกกะเฮิรซขึ้นไปเปน 1 กิกะเฮิรซ ดวยกันทั้งสองราย โดยชิป 1 กิกะเฮิรซของเอเอ็มดี จะยังคงใช ชื่อรหัสแอ็ทลอนตอไป แมวาจะเปลี่ยนคาความเร็วสัญญานนาฬิกาจากเมกกะเฮิรซไปเปนกิกะเฮิรซแลว ในขณะที่ทางอิน เทลถือโอกาสตั้งชื่อชิปของตนเสียใหมวา "วิลเลี่ยมเม็ท (Williammette)" ในฐานะที่ไดเข็นความเร็วขึ้นไปถึงระดับ 1 กิ กะเฮิรซ และมีการปรับความเร็วของสัญญาณบัสไปเปน 200 เมกกะเฮิรซ เทากับความเร็วบัสของชิปแอ็ทลอน สายนําสัญญาณทองแดงสิ เจง !! ในยุค 2000 นี้ คําโฆษณาของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรไมไดจํากัดอยูเฉพาะเรื่องความเร็วสัญญาน นาฬิกาเทานั้น แตยังมีคํามหัศจรรยตัวใหมอยาง "ค็อป เปอรอินเตอรคอนเน็ค (Copper interconnect)" ที่ หมายถึงการใชโลหะทองแดงมาเปนตัวนําสัญญาณภายใน ชิปถูกนํามาใชโฆษณาดวย โดยเกมสการแขงขันเรื่อง ค็อป เปอรอินเตอรคอนเน็ค นี้ถูกเปดขึ้นโดยบริษัทเอเอ็มดี เมื่อ เริ่มนําเอาโลหะทองแดงมาใชเปนวงจรนําสัญญาณภายใน ผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมชื่อ "แอ็ทลอน" ซึ่งถูกผลิตขึ้นจากโรงงานใหมของตนในเมืองเดรสเด็น ประเทศ เยอรมัน
  • 4. File : cpu2000.doc page : 4 Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง เมื่อเทียบกับโลหะอลูมีเนียมซึ่งยังคงใชเปนตัวนําสัญญาณภายในชิปไมโครโพรเซสเซอรทั่วไปในปจจุบัน โลหะทองแดงจะมีความตานทานไฟฟาต่ํากวา บริษัทเอเอ็มดีจึงสามารถลดระยะเสนทางนําสัญญาณภายในวงจรชิปแอ็ ทลอนลงไปเหลือแค 0.18 ไมครอน ในขณะเดียวกัน ก็เปดโอกาสใหออกแบบตัวชิปใหมีแรงดันไฟฟาภายในที่ต่ําลง และมี ความเร็วในการสงผานสัญญาณขอมูลไดเร็วขึ้น อีกทั้งการลดขนาดของวงจรบนชิปไมโครโพรเซสเซอรลงก็ทําใหทีมงาน ออกแบบของเอเอ็มดีสามารถวางแผนเพิ่มหนวยความจําแคชใหกับตัวชิปโดยตรงไดมากขึ้นดวย ผลจากความสําเร็จของบริษัทเอเอ็มดีทําใหยักษใหญอินเทลทนอยูเฉยไมได ตองออกมาขยับตัวใหผูคน รับรูในความสําคัญของตนเองบาง เริ่มดวยการออกมาแถลงถึงผลิตภัณฑใหมชื่อวา "ทิมมา" ซึ่งจะผนวกเอาวงจรกราฟฟก และวงจรควบคุมสัญญาณเสียงเขามารวมไวในชิปไมโครโพรเซสเซอรเล็กๆ เพียงตัวเดียว ตามดวยเทคโนโลยีการผลิตไม โครโพรเซสเซอรแบบใหมที่ทางอินเทลเรียกวาไอทาเนี่ยม (ตั้งชื่อเหมือนกับวาจะใชโลหะไททาเนี่ยมมาเปนตัวนําสัญญาณ ภายในชิป ? ) โดยเทคโนโลยีไอทาเนี่ยมนี้จะถูกนํามาใชเปนครั้งแรกกับผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรที่มีชื่อรหัสวา "เมอร เซด (Merced)" อันจะเปนไมโครโพรเซสเซอรตัวแรกที่ใชระบบประมวลผล 64 บิท สมบูรณแบบ (ไมโครโพรเซสเซอรที่ใช กันอยูทุกวันนี้ยังคงดึงเอาขอมูลเขาไปประมวลผลทีละ 32 บิทอยู) ผลจากการเพิ่มขีดความสามารถในการดึงขอมูลเขาไปประมวลผลจาก 32 บิท ไปเปน 64 บิท ทําใหชิป เมอรเซดสามารถจัดการกับขอมูลไดครั้งละมากๆ และรองรับกับปริมาณของหนวยความจําที่สูงขึ้น อันจะสงผลให สมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรสูงขึ้นไปโดยปริยาย โดยเฉพาะกับการประมวลผลที่มีขอมูลถูกปอนเขามาทีละมากๆ อยางพวกภาพวิดีโอสามมิติ (ตัวอยางของงานที่จะไดประโยชนจากระบบ ประมวลผล 64 บิท แนๆ ก็ไดแก ระบบฐานขอมูลของสายการบิน หรือบริษัท คาปลีก ที่ตองเก็บขอมูลสามมิติของเครื่องบิน หรือสินคาไวหลายๆ รุน เพื่อ ใหบริการผานระบบออนไลน) อยางไรก็ตาม ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอรหลายทานไดตั้ง ขอสังเกตุวาเทคโนโลยีไอทาเนี่ยม และการใชประโยชนจากระบบประมวลผล 64 บิท ของชิปเมอรเซดนั้นนาจะยังไมเกิดขึ้นจริงแนในชวงปสองปนี้ เพราะ โปรแกรมซอฟทแวรทั้งหมดที่มีอยูในทองตลาดยังคงเปนแบบ 32 บิท หาก จะนําไปใชกับชิป 64 บิท ก็คงตองนํากลับมาเขียนใหม หรือนํากลับมาคอม ไพลลใหมซึ่งตองใชเวลานานโขอยู ฉนั้นหากมีการผลิตชิปรุน 64 บิท อยางเมอร เซดขึ้นมาจริงๆ มันก็คงจะถูกนํามาใชรันโปรแกรม 32 บิทไปอยางแกนๆ ซึ่งไม เพียงแตจะทําใหมันเปลงสมรรถนะความเร็วไมออกเทานั้น เผลอๆ จะทํา ความเร็วไดนอยกวาชิป 32 บิททั่วไปเสียดวยซ้ํา (เหมือนเอารถสปอรตพอรชมาวิ่ง ในกรุงเทพฯ แลวโดนรถจิ๋วมิรา หรือสามลอเครื่องเบียดแซงไปใหเจ็บใจเลน) ที่ หนักที่สุด เห็นจะเปนคําวิจารณของ ไมเคิล สเลเตอร นักวิเคราะหแหงไมโครดี ไซน รีซอรส ที่ฟนธงลงไปเปรี้ยงเลยวา "เทคโนโลยีไอทาเนี่ยมจะยังไมถูกนํามาใช กับเครื่องคอมพิวเตอรพีซีแน อยางนอยก็ไมกอนป ค.ศ. 2003 แน เผลอๆ นาจะ ไดใชกันจริงๆ ในป ค.ศ. 2005 นั่นแหละมากกวา"