SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
เอกสารหมายเลข มคอ.3
ชื่อสถาบัน อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร
หมวดที่ 1 ขอมูลโดยทั่ว ไป
1. รหัสและชื่อวิชา
รหัสวิชา 2553338 ชื่อวิชา องคกรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน
2. จํานวนหนวยกิต
3 (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
กลุมวิชาการบริหารงานทองถิ่น
4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน
ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน
ภาคเรียนที่ 3 ชั้นปที่ 3
6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre - requisite)
ไมมี
7. รายวิชาที่เรียนพรอมกัน (Co-requisite) (ถามี)
8. สถานที่เรียน มหาราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งลาสุด
2 กรกฎาคม 2558
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค
1. จุดมุงหมายของรายวิชา
ศึกษาเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในแนวคิดทฤษฎีการจัดการ และความหมายขององคกร
พัฒนาเอกชนและประชาสังคม เขาใจในบทบาท การเจริญเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน และความ
เขาใจในการจัดการดานบทบาท ความสัมพันธ การจัดการภายในองคกร และความรวมมือในการพัฒา
รวมทั้งแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรพัฒนาเอกชน
2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
2.1 เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจบทบาทและการจัดการองคกรพัฒนาเอกชนมากยิ่งขึ้น
2.2 เพื่อใหนักศึกษาสามารถวิเคราะหแนวโนม และอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชนเพื่อจะไดทราบ
และเขาใจถึงการดําเนินการและการจัดการในอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชน และสามารถนํามาใช
ประโยชนตอการประยุกตเพื่อการทํางานในสายงานในอนาคต
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ
1. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการจัดการและความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนและประชาสังคม โดยมุงเนนบทบาทและ
การเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน การจัดการดานบทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนการจัดการดานความสัมพันธขององคกร
เอกชน การจัดการภายในองคกรพัฒนาเอกชน องคกรเอกชน และการจัดการความรวมมือกับประชาสังคมอื่นในการพัฒนา
ทองถิ่นและชุมชนทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ การวิเคราะหแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรดังกลาว
2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา
บรรยายสอนเสริมบรรยาย
45ชั่วโมง/ภาค
การศึกษา
ตามความตองการของ
นักศึกษา
การฝกปฏิบัติงาน/
ภาคสนาม/การฝกงาน
6 ชั่วโมงตอภาการศึกษา
(ศึกษาดูงานในสถานที่จริง)
การศึกษาดวยตนเอง
12 ชั่วโมงตอ
สัปดาห
3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยให คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล
- อาจารยประจํารายวิชา ประกาศเวลาใหคาปรึกษาผานเว็บไซตคณะ
- อาจารยจัดเวลา 6 ชั่วโมง /สัปดาหสาหรับใหคําปรึกษาแนะนาทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา
พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคล
การไมลอกเลียนและไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตย ซื่อตรงในการทางาน การศึกษา มีความ
รับผิดชอบตอตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้
(1) ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต
(2) มีวินัย ตรงตอเวลาและความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
(3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขปญหาขอขัดแยงรวมกัน
(4) เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นรวมทั้งเคารพในคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย
(5) เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม
(6) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
(7) มีความซื่อสัตย สุจริต
(8) เคารพปฏิบัติตามกฎระเบียบที่วางไว
(9) มีความขยันหมันเพียร อดทน เอื้ออาทรตอกัน
1.2 วิธีการสอน
การสอนเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชาใหผูเรียนทําการคนควา หรือทําความเขาใจ
ประเด็นปลีกยอยดวยตนเองเนนใหผูเรียนไดมีการฝกฝนทักษะดานตางๆ รูจักวิเคราะหสังเคราะหและแกปญหาดวยตนเองมี
การพัฒนาคนหาความรูแลวมาเสนอเพื่อสรางทักษะในการอภิปรายและการนําเสนอ การจัดการเรียนการสอนจะแทรก
เนื้อหา/กิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ไดนํารูปแบบการเรียนการสอนแบบตางๆเพื่อทําใหผูเรียนเกิด
ทักษะในการเรียนรู ทักษะในการคิดอยางมีระบบและการวิจัย และการแกปญหา มีความรูในเรื่องที่ตนเองสนใจมีทักษะ
ในการนํา เสนอและอภิปราย ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองวิชาชีพและสังคม
1.3 วิธีการประเมินผล
(1) นักศึกษาประเมินการเรียนรูดวยตนเอง โดยใชแบบสอบถามมาตรฐานที่ วัดคุณธรรมจริยธรรม
(2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหวางการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการ
ประเมินหลักฐานแจงใหนักศึกษาทราบดวยทุกครั้ง
(3) ประเมินความซื่อสัตยจากการพูดคุยสัมภาษณเพื่อนรวมงานและผูเกี่ยวของ
2. ความรู
เชื่อมโยงความรูทางทฤษฎีกับการประยุกตใหเกิดผลตอความเขาใจกระบวนการขั้นตอนและวิธีการตางๆ ใน
ดานการจัดการขององคกรพัฒนาเอกชน ทั้งภายในองคกร ภายนอกองคกร เชน การประสานความรวมมือระหวาง
ภาคีตางๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ
2.1 ความรูที่ตองไดรับ
(1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) มีทักษะทางปญญาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบสามารถใช ความรูมาชี้นําสังคม
ในประเด็นที่เหมาะสมมีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุม
(3) มีทักษะการวิเคราะห การสื่อสารวิเคราะหปญหา เขาใจและอธิบายรวมทั้งประยุกตความรูทักษะที่
เหมาะสมเพื่อแกไขปญหา
(4) สามารถบูรณาการความรูในที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมาใชประโยชนในเชิงวิชาการ
และปฏิบัติ
(5) เขาใจในบทบาทหนาที่ที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติหนาที่ไดถูกตอง
2.2 วิธีการสอน
(1) บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และมอบหมายให
คนควาหาบทความ ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใชปญหา Problem-based Learning
และ เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
(2) บอกถึงแหลงขอมูลเพื่อใหนักศึกษาไดคนควาขอมูลเพื่อการเรียนรูไดดวยตนเอง
(3) จัดประชุม แบงงาน ติดตามงานเปนระยะเวลาที่กําหนดหรือตามความเหมาะสม
(4) การดูงานและศึกษาจากสถานที่จริง
(5) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ
2.3 วิธีการประเมิน
(1) ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการ
นําเสนอผลการคนควาขอมูล กรณีศึกษา หรือโจทยจาก Problem-based Learning
(2) ประเมินผลจากผลงานที่ได รับมอบหมาย ตามหัวขอที่ กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของ
(3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการไดรับการยอมรับจากผูอื่นที่เกี่ยวของ
3. ทักษะทางปญญา
พัฒนาความสามารถในการคิดอยางมีการคิดอยางเปนระบบ มีการวิเคราะห ประยุกตแนวคิดกับปรากการณ
การพัฒนาชุมชนไดเปนอยางดี สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนาแกไขปญหาของการพัฒนาชุมชน
3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา
(1) ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ
(2) ความสามารถสืบคนตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อใชในการแกไขปญหา
(3) ความสามารถรวบรวม ศึกษาวิเคราะหและสรุปประเด็นปญหาและความตองการ
(4) ทักษะการเลือกสามารถนาความรูทางทฤษฎีเปนพื้นฐานมาประยุกตเพื่อพัฒนาและการขยายผล
3.2 วิธีการสอน
(1) การมอบหมายโจทยปญหา ใหฝกการคนหาความตองการและวิเคราะหผลความตองการ
(2) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ
(3) ประชุมรวมกันระหวาง อาจารยที่ปรึกษาและนักศึกษา
(4) มอบหมายโจทยปญหา ดานการพัฒนาภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(5) การนําเสนอดวยการจัดทํารายงานและการนําเสนอรวมกัน
3.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย ตามหัวขอที่กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของและควรนํามา
เปนพื้นฐานในการนามาแกปญหา ประยุกตในการใช
4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา
(1) สามารถใหความชวยเหลือและอานวยความสะดวกแก การแกปญหาสถานการณ ตางๆ ในกลุมทั้งในบทบาท
ของผูนําหรือในบทบาทของผูรวมทีมทํางาน
(2) สามารถใช ความรูในศาสตรมาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(3) มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุม
(4) สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตัวและสวนรวมพรอมทั้งแสดงจุดยืน
อยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม
(5) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเนื่องเรียนรูภาวะทาง
อารมณของตนเอง เรียนรูการทางานรวมกับผูอื่น เรียนรูเทคนิคการขอความชวยเหลือหรือขอขอมูลเพื่อนํามา
ประกอบการทํางาน
(6) สามารถวางตัวในตําแหนงงานที่ไดรับมอบหมายไดอยางเหมาะสม
(7) กลาแสดงความคิดเห็นในขอบเขตของงานและภาระหนาที่
(8) พัฒนาตนเองจากการเรียนรูดวยตนเอง และจากการฝกอบรม หรือการสอบถามเพื่อนรวมงาน
(9) สรางความสัมพันธอันดี ทําใหเกิดสภาพแวดลอมที่เอื้อเฟอเกื้อกูลกันในหนวยงาน
4.2 วิธีการสอน
(1) สรางกิจกรรมเพื่อใหเกิดความรูรักสามัคคี พรอมทํางานเปนทีม
(2) มอบหมายงานที่ตองทางานรวมกันเปนทีม
(3) มีการแบงงานกันอยางชัดเจน มอบหมายงานที่ตองพูดคุย ประชุมรวมกัน เพื่อมอบหมายงาน
ติดตามงานประเมินผล
4.3 วิธการประเมินผล
(1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ ผูรวมงาน หรือผูเกี่ยวของ
(2) ประเมินจากขอมูลที่ไดรับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ
(3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และการไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงานหรือ
ผูเกี่ยวของ
5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขและการใช เทคโนโลยีในการสื่อสาร
5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข
(1) ทักษะในการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันตอการคนควาและนาเสนองาน
(2) ทักษะสื่อสารอยางมีประสิ ทธิภาพทั้งปากเปลาและการเขียน เลือกใชรูปแบบของสื่อการนาเสนออยาง
เหมาะสม
(3) ทักษะในการใชสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอยางเหมาะสม
(4) ทักษะในการใชเทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ ซอฟตแวร ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทางาน เชน การ
โตตอบแสดงความคิดเห็นประสานการทางาน การรับ-สงงาน การซักถามขอสงสัย
(5) สามารถใชเทคโนโลยีหรืออินเทอรเน็ตในการคนควาหาขอมูลประกอบการทํางาน
(6) สามารถสื่อสารโดยใชภาษาที่เหมาะสมและสงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางาน
5.2 วิธีการสอน
(1) มอบหมายงานผานระบบเทคโนโลยี การใชทักษะดานเทคโนโลยีในการนําเสนอขอมูล
(2) มอบหมายงานที่ตองมี การสื่อสารโดยใชภาษาทั้งไทยและตางประเทศ ทั้งการพูดเขียนในการประสาน
การทํางาน
(3) มอบหมายงานที่ตองใชเทคโนโลยี ในการแกปญหาหรือนําเสนองาน
5.3 วิธีการประเมินผล
(1) ประเมินจากเอกสาร ที่นาเสนอโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสื่อ
(2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เชน E-Mail ที่ใชสื่อสารเพื่อการทํางาน
(3) ประเมินจากผลการแกปญหาวา โดยเนนความถูกตองและเหมาะสม
1.แผนการสอน
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
1 - ภาพรวมแนวการเรียนการสอนวิธีการเรียนการสอนและ
การประเมินผลการเรียนรู้
- การมอบหมายงานการอธิบายถึงกระบวนการทํางาน
และวิธีการประเมินผลงานทีได้รับมอบหมาย
1. ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)
1.1 นิยามขององค์กรพัฒนาเอกชน(Term off
NGOs)
1.2โครงสร้างขององค์กรพัฒนาเอกชน
1.3 ภาคประชาสังคมกับองค์กรพัฒนาเอกชน
2. ประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชน
3. การจัดลําดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
2 -.ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
1.หน้าทีของคณะกรรมการ
2. อาณัตและวิธีการทํางาน
3. การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพือการแก้ไขปัญหา
4.องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
5. ระยะเวลาของกรรมการบริหาร
6. การทําหน้าที การดํารงตําแหน่งของกรรมการบริหาร
องค์กรพัฒนาเอกชน
3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
3 -การจัดระเบียบและการวางกฎเกณฑในการดําเนินงาน
1.ชื่อและวัตถุประสงคของการจัดตั้งองคกร
2.การวางโครงเรื่องตางๆเพื่อการพบปะประชุมกับ
ผูเกี่ยวของ
3.อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสมาชิกกลุมผูรวมงาน
4.การจัดทําบันทึกรายงานการดําเนินงานดานการเงิน
หนาที่ความรับผิดชอบ
5.ระเบียบขอบังคับเงื่อนไขตางในการแกไขปญหาที่อาจ
เกิดขึ้นและเงื่อนไขในการยุบเลิกองคกรเมื่อเสร็จ
สิ้นภาระกิจ
3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
4 1.แนวทางละวิธีการแกไขปญหาชุมชนขององคกรพัฒนา
เอกชน
-การจัดโครงสรางและแนวทางในการแกไขปญหาของ
ชุมชน
2.การสรางความสามารถ(CapacityBuilding)
3
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน/
สือทีใช้
ผู้สอน
5 1. การจัดการดานการเงินขององคกร
พัฒนาเอกชน
1.1 การจัดทํารายงาน
1.2 การควบคุมภายใน
1.3การงบประมาณ
1.4การรายงานดานการเงิน
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสารประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
6 1.ปญหาในการจัดองคกรขององคกรพัฒนาเอกชน
1.1ปญหาดานแผนงาน
1.2ปญหาดานการจัดการ
1.3ปญหาดานบุคลากร
1.4ปญหาของกรรมการบริหาร
1.5ปญหาดานระบบการทํางาน
1.6ปญหาดานเงินทุนสนับสนุน
1.7ปญหาดานการจัดการดานการเงิน
1.8ปญหาดานการติดตอภายในองคการ
1.9ปญหาของความสัมพันธกับองคกรและ
ชุมชนภายนอก
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสารประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
7 1. บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนตอประชาสังคม
1.1 เงื่อนไขแวดลอมของประชาสังคม
- การเปลี่ยนแปลงการเมืองโลก
- เงินทุนกับการพัฒนา
- ความหมายของประชาสังคม
1.2 บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนในประชา
สังคม
- ประชาสังคมในกระแสโลก
- การเคลื่อนไหวทางสังคมขององคกรเอกชนของ
ไทย
- บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนที่มีตอประชา
สังคมในอนาคต
-นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสารประกอบการสอน
-powerpoint
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
8 1. บทบาทของทุนทางสังคมในการจัดการการควบคุม
ระบบการดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชน
1.1 การเผชิญหนาและการแขงขันในปจจุบันกับ
คานิยมในการพัฒนาแบบดั้งเดิม
1.2 การปรับรูปแบบการจัดการไปสูรูปแบบที่เปน
ทางการ
1.3 ระบบความเชื่อในการพัฒนากับการแขงขัน
ในภาคองคกรพัฒนาเอกชน
1.4 รูปแบบความสัมพันธระหวางการจัดการการ
ควบคุมกับทุนทางสังคมและผลลัพธ
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสารประกอบการสอน
-powerpoint
-ทําแบบทดสอบกลางภาค
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สือทีใช้
ผู้สอน
9 1.โครงสร้างองค์กรขององค์กรพัฒนาเอกชน
1.1การจัดการในระดับบน(TopManagement)
1.2สมาขิกขององคกร
1.3 การติดต่อสือสารการกระจายกิจกรรม
1.4แผนงานโครงการและกิจกรรม
3
10 1.การกําหนดกลยุทธ
1.1ปจจัยในการกําหนดกิจกรรมการเพื่อ
พัฒนาในภาคประชาชน
1.2ปจจัยดานความตองการทรัพยากรแหลง
ทรัพยากรที่ตองนํามาใช
1.3ปจจัยดานวิธีการเฉพาะเพื่อใหเกิดความ
สอดคลองตอคานิยมของประชาชนในแต
ละพื้นที่
2.การวางแผนกิจกรรม
2.1การพัฒนาแผนกิจกรรมในการพัฒนา
ชุมชน
2.2ความชัดเจนของกิจกรรมตอนัยของเปา
หมายความสําเร็จที่มีตอชุมชน
2.3การนําทฤษฎี การเปลี่ยนแปลงมาใชเปน
เครื่องมือในการวางแผน
2.4การวิเคราะหสถานการณของกระบวนการ
การพัฒนาในแตละสวน
2.5การพัฒนาผลงานวิจัยเพื่อประโยชนในการ
วางแผนกิจกรรม
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-แบ่งกลุ่มนักศึกษา
อภิปราย
และนําเสนอประเด็นที
สนใจ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
11 1.ผลสะทอนขอเสนอแนะและกรอบหรือขอบเขต
1.1คุณภาพจํานวนการใหบริการ
1.2 ความนาเชื่อถือและจุดยืน
1.3การเปลี่ยนแปลงของประชาชน
1.4อิทธิพลที่มีตอการเปลี่ยนแปลงนโยบาย
1.5 ผลที่อาจเกิดขึ้นกับภาคประชาชน และการจัดลําดับ
ใหความสําคัญกับปญหาในอนาคตของภาคประชาชน
2.การจัดการดานความสัมพันธ
2.1มาตรฐานของการจัดการความสัมพันธ
2.2การสนับสนุนของสมาชิกองคกร
2.3การติดตามตรวจสอบความสัมพันธ
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-แบ่งกลุ่มนักศึกษา
อภิปราย
และนําเสนอประเด็นที
สนใจ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สือทีใช้
ผู้สอน
12 1.บุคลากรชององคกรพัฒนาเอกชน
1.1การจัดการ
1.2ศักยภาพและความสามารถในดานเทคนิคตางๆ
1.3ความยืดหยุนและความไมเปนระบบราชการ
2.การปรับปรุงอยางตอเนื่อง
1.1การสรางสมดุลภายในองคกร
1.2การปรับปรุงขอมูลขาวสาร
1.3การปรับคานิยมของบุคลากร
3.ความโปรงใส
3.1ภูมิหลังของขอมูลในการกําหนดวัตถุประสงค
3.2รายงานการดําเนินงาน
3.3มาตรฐานการดําเนินงาน
3.4ความรวมมือในการทํางาน
3.5กฎหมายและระเบียบ
3.6รายงานดานการเงิน
3.7ขอมูลดานขอผูกมัดและพันธะสัญญา
4.จริยธรรมในการระดมทุน
5.การเรียนรูในสาขาการพัฒนา
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-แบ่งกลุ่มนักศึกษา
อภิปราย
และนําเสนอประเด็นที
สนใจ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
13 1.ลักษณะความสัมพันธระหวางองคกรพัฒนาเอกชน
เหนือและใต
1.1ความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนเหนือ
1.2ความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนใต
2.ลักษณะของความสัมพันธระหวางกัน
2.1บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนใต
2.2บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนเหนือ
2.3ลักษณะที่เอื้ออํานวยตอการสรางความสามารถและ
ศักยภาพที่มีตอองคกรพัฒนาเอกชนใต
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-แบ่งกลุ่มนักศึกษา
อภิปราย
และนําเสนอประเด็นที
สนใจ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
14 1.การดําเนินงานของเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชน
1.1เป้ าหมาย
1.2บทบาทและการเข้าถึง
1.3 การกําหนดบทบาทหน้าที
1.4 ระบบการสือสารเครือข่าย
3.สถานการณปจจุบันปญหาและอุปสรรคในการจัดการ
เครือขายองคกรพัฒนาเอกชน
2. แนวทางการพัฒนาการจัดการเครือขายองคกรพัฒนา
เอกชน
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-แบ่งกลุ่มนักศึกษา
อภิปราย
และนําเสนอประเด็นที
สนใจ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน
ชัวโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สือทีใช้
ผู้สอน
15 1.แนวโนมขององคกรพัฒนาเอกชน
1.1การยกระดับองคความรูดานองคกรพัฒนาเอกชน
1.2แนวโนมดานความสนใจของแรงงาน
1.3แนวโนมของงานทางสังคมและภาคสาธารณะ
1.4การขาดทักษะดานสังคม
1.5ความยั่งยืนในสายอาชีพในองคกรพัฒนาเอกชน
2.แนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรrพัฒนาเอกชนใน
อนาคต
3 -นักศึกษาทําการศึกษา
เอกสาร
ประกอบการสอน
-powerpoint
-แบ่งกลุ่มนักศึกษา
อภิปราย
และนําเสนอประเด็นที
สนใจ
อ.ศุภวัฒน์
ปภัสสรากาญจน์
ผลการ
เรียนรู*
กิจกรรมที่
2
11 - 13
14 - 15
วิธีการประเมิน
วิเคราะหกรณีศึกษา คนควาการนําเสนอรายงานใน
ประเด็นที่สนใจ การทํางานกลุมและผลงาน
สัปดาหที่
ประเมิน
สัดสวนของ
การประเมิน
6
7
8
13
ตลอดภาค
การศึกษา
10%
20%
10%
10%
30%
20%
1. เอกสารและตํารา
ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน. (2552). เอกสารประกอบการสอน. เอกสารรวบรวมเย็บเลม. องคกรพัฒนาชุมชน
และการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
Robert H. Chenhall..and the other. (2010). Social capital: The role of management control
systems in NGOs. Research executive summary series. Chartered Institute of Management
Accountants.
Volume 6 | Issue 6
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
2. เอกสารและขอมูลสําคัญ
ราณี หัสสรังสี.(ม.ป.ป.) บทบาทองคการพัฒนาเอกชนในประชาสังคม. โครงการศึกษาและปฏิบัติการงานพัฒนา.
Hari Srinivas. (1997). Organizational Structure of an NGO..
3. เอกสารและขอมูลแนะนํา
http://www.gdrc.org/ngo/org-chart.html
http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120884
http://ngoperformance.org/management/sector-learning/
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู (16 สัปดาห)
1 - 3
1 - 7
8 - 9
9 - 10
ทดสอบยอยครั้งที่ 1,
สอบกลางภาค
ทดสอบยอยครั้งที่ 2
นําเสนอประเด็นที่สนใจ
ทดสอบยอยครั้งที่ 3
1
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับ ปรุงการดําเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิ ชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจาก
นักศึกษาได ดังนี้
- การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน
- แบบประเมินผูสอนและแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผานเวบบอรดที่อาจารยผูสอนไดจัดทําเปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธการประเมินการสอน
ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธ ดังนี้
- การสังเกตการณสอนของผูรวมทีมการสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ 2 จึงมีการปรับปรุง การสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมองและหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรูในวิชาไดจากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก
ผลการทดสอบยอยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้
- การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุม ตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่นหรือผูทรงคุณวุฒิที่ไมใช
อาจารยประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษาโดย
ตรวจสอบขอสอบ รายงานวิธีการใหคะแนนสอบและการใหคะแนนพฤติกรรม
5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาไดมีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชาเพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอน เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตความรูนี้กับปญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารยตาง ๆ
Microsoft word   มคอ.32553338 ชื่อวิชา   องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

More Related Content

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 

Microsoft word มคอ.32553338 ชื่อวิชา องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

  • 1. เอกสารหมายเลข มคอ.3 ชื่อสถาบัน อุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร หมวดที่ 1 ขอมูลโดยทั่ว ไป 1. รหัสและชื่อวิชา รหัสวิชา 2553338 ชื่อวิชา องคกรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน 2. จํานวนหนวยกิต 3 (3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา กลุมวิชาการบริหารงานทองถิ่น 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน ภาคเรียนที่ 3 ชั้นปที่ 3 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre - requisite) ไมมี 7. รายวิชาที่เรียนพรอมกัน (Co-requisite) (ถามี) 8. สถานที่เรียน มหาราชภัฏสวนดุสิต 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งลาสุด 2 กรกฎาคม 2558 หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา ศึกษาเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในแนวคิดทฤษฎีการจัดการ และความหมายขององคกร พัฒนาเอกชนและประชาสังคม เขาใจในบทบาท การเจริญเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน และความ เขาใจในการจัดการดานบทบาท ความสัมพันธ การจัดการภายในองคกร และความรวมมือในการพัฒา รวมทั้งแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรพัฒนาเอกชน 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจบทบาทและการจัดการองคกรพัฒนาเอกชนมากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อใหนักศึกษาสามารถวิเคราะหแนวโนม และอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชนเพื่อจะไดทราบ และเขาใจถึงการดําเนินการและการจัดการในอนาคตขององคกรพัฒนาเอกชน และสามารถนํามาใช ประโยชนตอการประยุกตเพื่อการทํางานในสายงานในอนาคต
  • 2. หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการจัดการและความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนและประชาสังคม โดยมุงเนนบทบาทและ การเติบโตขององคกรพัฒนาเอกชน การจัดการดานบทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนการจัดการดานความสัมพันธขององคกร เอกชน การจัดการภายในองคกรพัฒนาเอกชน องคกรเอกชน และการจัดการความรวมมือกับประชาสังคมอื่นในการพัฒนา ทองถิ่นและชุมชนทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ การวิเคราะหแนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรดังกลาว 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยายสอนเสริมบรรยาย 45ชั่วโมง/ภาค การศึกษา ตามความตองการของ นักศึกษา การฝกปฏิบัติงาน/ ภาคสนาม/การฝกงาน 6 ชั่วโมงตอภาการศึกษา (ศึกษาดูงานในสถานที่จริง) การศึกษาดวยตนเอง 12 ชั่วโมงตอ สัปดาห 3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยให คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล - อาจารยประจํารายวิชา ประกาศเวลาใหคาปรึกษาผานเว็บไซตคณะ - อาจารยจัดเวลา 6 ชั่วโมง /สัปดาหสาหรับใหคําปรึกษาแนะนาทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคล การไมลอกเลียนและไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตย ซื่อตรงในการทางาน การศึกษา มีความ รับผิดชอบตอตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้ (1) ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต (2) มีวินัย ตรงตอเวลาและความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม (3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขปญหาขอขัดแยงรวมกัน (4) เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นรวมทั้งเคารพในคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย (5) เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม (6) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (7) มีความซื่อสัตย สุจริต (8) เคารพปฏิบัติตามกฎระเบียบที่วางไว (9) มีความขยันหมันเพียร อดทน เอื้ออาทรตอกัน 1.2 วิธีการสอน การสอนเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชาใหผูเรียนทําการคนควา หรือทําความเขาใจ ประเด็นปลีกยอยดวยตนเองเนนใหผูเรียนไดมีการฝกฝนทักษะดานตางๆ รูจักวิเคราะหสังเคราะหและแกปญหาดวยตนเองมี
  • 3. การพัฒนาคนหาความรูแลวมาเสนอเพื่อสรางทักษะในการอภิปรายและการนําเสนอ การจัดการเรียนการสอนจะแทรก เนื้อหา/กิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ ไดนํารูปแบบการเรียนการสอนแบบตางๆเพื่อทําใหผูเรียนเกิด ทักษะในการเรียนรู ทักษะในการคิดอยางมีระบบและการวิจัย และการแกปญหา มีความรูในเรื่องที่ตนเองสนใจมีทักษะ ในการนํา เสนอและอภิปราย ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองวิชาชีพและสังคม 1.3 วิธีการประเมินผล (1) นักศึกษาประเมินการเรียนรูดวยตนเอง โดยใชแบบสอบถามมาตรฐานที่ วัดคุณธรรมจริยธรรม (2) ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหวางการอภิปรายโดยมีการบันทึกผลการ ประเมินหลักฐานแจงใหนักศึกษาทราบดวยทุกครั้ง (3) ประเมินความซื่อสัตยจากการพูดคุยสัมภาษณเพื่อนรวมงานและผูเกี่ยวของ 2. ความรู เชื่อมโยงความรูทางทฤษฎีกับการประยุกตใหเกิดผลตอความเขาใจกระบวนการขั้นตอนและวิธีการตางๆ ใน ดานการจัดการขององคกรพัฒนาเอกชน ทั้งภายในองคกร ภายนอกองคกร เชน การประสานความรวมมือระหวาง ภาคีตางๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ 2.1 ความรูที่ตองไดรับ (1) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาที่ศึกษา (2) มีทักษะทางปญญาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบสามารถใช ความรูมาชี้นําสังคม ในประเด็นที่เหมาะสมมีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุม (3) มีทักษะการวิเคราะห การสื่อสารวิเคราะหปญหา เขาใจและอธิบายรวมทั้งประยุกตความรูทักษะที่ เหมาะสมเพื่อแกไขปญหา (4) สามารถบูรณาการความรูในที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมาใชประโยชนในเชิงวิชาการ และปฏิบัติ (5) เขาใจในบทบาทหนาที่ที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติหนาที่ไดถูกตอง 2.2 วิธีการสอน (1) บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และมอบหมายให คนควาหาบทความ ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใชปญหา Problem-based Learning และ เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (2) บอกถึงแหลงขอมูลเพื่อใหนักศึกษาไดคนควาขอมูลเพื่อการเรียนรูไดดวยตนเอง (3) จัดประชุม แบงงาน ติดตามงานเปนระยะเวลาที่กําหนดหรือตามความเหมาะสม (4) การดูงานและศึกษาจากสถานที่จริง (5) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ 2.3 วิธีการประเมิน (1) ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฎี ประเมินจากการ นําเสนอผลการคนควาขอมูล กรณีศึกษา หรือโจทยจาก Problem-based Learning (2) ประเมินผลจากผลงานที่ได รับมอบหมาย ตามหัวขอที่ กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของ
  • 4. (3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการไดรับการยอมรับจากผูอื่นที่เกี่ยวของ 3. ทักษะทางปญญา พัฒนาความสามารถในการคิดอยางมีการคิดอยางเปนระบบ มีการวิเคราะห ประยุกตแนวคิดกับปรากการณ การพัฒนาชุมชนไดเปนอยางดี สามารถเสนอแนะวิธีการพัฒนาแกไขปญหาของการพัฒนาชุมชน 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา (1) ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ (2) ความสามารถสืบคนตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อใชในการแกไขปญหา (3) ความสามารถรวบรวม ศึกษาวิเคราะหและสรุปประเด็นปญหาและความตองการ (4) ทักษะการเลือกสามารถนาความรูทางทฤษฎีเปนพื้นฐานมาประยุกตเพื่อพัฒนาและการขยายผล 3.2 วิธีการสอน (1) การมอบหมายโจทยปญหา ใหฝกการคนหาความตองการและวิเคราะหผลความตองการ (2) จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการและนําเสนอ (3) ประชุมรวมกันระหวาง อาจารยที่ปรึกษาและนักศึกษา (4) มอบหมายโจทยปญหา ดานการพัฒนาภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (5) การนําเสนอดวยการจัดทํารายงานและการนําเสนอรวมกัน 3.3 วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย ตามหัวขอที่กําหนด โดยอางอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวของและควรนํามา เปนพื้นฐานในการนามาแกปญหา ประยุกตในการใช 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา (1) สามารถใหความชวยเหลือและอานวยความสะดวกแก การแกปญหาสถานการณ ตางๆ ในกลุมทั้งในบทบาท ของผูนําหรือในบทบาทของผูรวมทีมทํางาน (2) สามารถใช ความรูในศาสตรมาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (3) มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุม (4) สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตัวและสวนรวมพรอมทั้งแสดงจุดยืน อยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม (5) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเนื่องเรียนรูภาวะทาง อารมณของตนเอง เรียนรูการทางานรวมกับผูอื่น เรียนรูเทคนิคการขอความชวยเหลือหรือขอขอมูลเพื่อนํามา ประกอบการทํางาน (6) สามารถวางตัวในตําแหนงงานที่ไดรับมอบหมายไดอยางเหมาะสม (7) กลาแสดงความคิดเห็นในขอบเขตของงานและภาระหนาที่ (8) พัฒนาตนเองจากการเรียนรูดวยตนเอง และจากการฝกอบรม หรือการสอบถามเพื่อนรวมงาน (9) สรางความสัมพันธอันดี ทําใหเกิดสภาพแวดลอมที่เอื้อเฟอเกื้อกูลกันในหนวยงาน 4.2 วิธีการสอน (1) สรางกิจกรรมเพื่อใหเกิดความรูรักสามัคคี พรอมทํางานเปนทีม
  • 5. (2) มอบหมายงานที่ตองทางานรวมกันเปนทีม (3) มีการแบงงานกันอยางชัดเจน มอบหมายงานที่ตองพูดคุย ประชุมรวมกัน เพื่อมอบหมายงาน ติดตามงานประเมินผล 4.3 วิธการประเมินผล (1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ ผูรวมงาน หรือผูเกี่ยวของ (2) ประเมินจากขอมูลที่ไดรับจากที่นักศึกษาไปสัมภาษณ (3) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และการไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงานหรือ ผูเกี่ยวของ 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขและการใช เทคโนโลยีในการสื่อสาร 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข (1) ทักษะในการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบันตอการคนควาและนาเสนองาน (2) ทักษะสื่อสารอยางมีประสิ ทธิภาพทั้งปากเปลาและการเขียน เลือกใชรูปแบบของสื่อการนาเสนออยาง เหมาะสม (3) ทักษะในการใชสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอยางเหมาะสม (4) ทักษะในการใชเทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ ซอฟตแวร ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทางาน เชน การ โตตอบแสดงความคิดเห็นประสานการทางาน การรับ-สงงาน การซักถามขอสงสัย (5) สามารถใชเทคโนโลยีหรืออินเทอรเน็ตในการคนควาหาขอมูลประกอบการทํางาน (6) สามารถสื่อสารโดยใชภาษาที่เหมาะสมและสงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางาน 5.2 วิธีการสอน (1) มอบหมายงานผานระบบเทคโนโลยี การใชทักษะดานเทคโนโลยีในการนําเสนอขอมูล (2) มอบหมายงานที่ตองมี การสื่อสารโดยใชภาษาทั้งไทยและตางประเทศ ทั้งการพูดเขียนในการประสาน การทํางาน (3) มอบหมายงานที่ตองใชเทคโนโลยี ในการแกปญหาหรือนําเสนองาน 5.3 วิธีการประเมินผล (1) ประเมินจากเอกสาร ที่นาเสนอโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสื่อ (2) ประเมินจากเอกสารที่เขียน เชน E-Mail ที่ใชสื่อสารเพื่อการทํางาน (3) ประเมินจากผลการแกปญหาวา โดยเนนความถูกตองและเหมาะสม
  • 6. 1.แผนการสอน สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 1 - ภาพรวมแนวการเรียนการสอนวิธีการเรียนการสอนและ การประเมินผลการเรียนรู้ - การมอบหมายงานการอธิบายถึงกระบวนการทํางาน และวิธีการประเมินผลงานทีได้รับมอบหมาย 1. ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) 1.1 นิยามขององค์กรพัฒนาเอกชน(Term off NGOs) 1.2โครงสร้างขององค์กรพัฒนาเอกชน 1.3 ภาคประชาสังคมกับองค์กรพัฒนาเอกชน 2. ประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชน 3. การจัดลําดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน 3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 2 -.ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กรพัฒนาเอกชน 1.หน้าทีของคณะกรรมการ 2. อาณัตและวิธีการทํางาน 3. การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพือการแก้ไขปัญหา 4.องค์ประกอบของกรรมการบริหาร 5. ระยะเวลาของกรรมการบริหาร 6. การทําหน้าที การดํารงตําแหน่งของกรรมการบริหาร องค์กรพัฒนาเอกชน 3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 3 -การจัดระเบียบและการวางกฎเกณฑในการดําเนินงาน 1.ชื่อและวัตถุประสงคของการจัดตั้งองคกร 2.การวางโครงเรื่องตางๆเพื่อการพบปะประชุมกับ ผูเกี่ยวของ 3.อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสมาชิกกลุมผูรวมงาน 4.การจัดทําบันทึกรายงานการดําเนินงานดานการเงิน หนาที่ความรับผิดชอบ 5.ระเบียบขอบังคับเงื่อนไขตางในการแกไขปญหาที่อาจ เกิดขึ้นและเงื่อนไขในการยุบเลิกองคกรเมื่อเสร็จ สิ้นภาระกิจ 3 -นักศึกษาทําการศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 4 1.แนวทางละวิธีการแกไขปญหาชุมชนขององคกรพัฒนา เอกชน -การจัดโครงสรางและแนวทางในการแกไขปญหาของ ชุมชน 2.การสรางความสามารถ(CapacityBuilding) 3 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
  • 7. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน/ สือทีใช้ ผู้สอน 5 1. การจัดการดานการเงินขององคกร พัฒนาเอกชน 1.1 การจัดทํารายงาน 1.2 การควบคุมภายใน 1.3การงบประมาณ 1.4การรายงานดานการเงิน 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสารประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 6 1.ปญหาในการจัดองคกรขององคกรพัฒนาเอกชน 1.1ปญหาดานแผนงาน 1.2ปญหาดานการจัดการ 1.3ปญหาดานบุคลากร 1.4ปญหาของกรรมการบริหาร 1.5ปญหาดานระบบการทํางาน 1.6ปญหาดานเงินทุนสนับสนุน 1.7ปญหาดานการจัดการดานการเงิน 1.8ปญหาดานการติดตอภายในองคการ 1.9ปญหาของความสัมพันธกับองคกรและ ชุมชนภายนอก 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสารประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 7 1. บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนตอประชาสังคม 1.1 เงื่อนไขแวดลอมของประชาสังคม - การเปลี่ยนแปลงการเมืองโลก - เงินทุนกับการพัฒนา - ความหมายของประชาสังคม 1.2 บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนในประชา สังคม - ประชาสังคมในกระแสโลก - การเคลื่อนไหวทางสังคมขององคกรเอกชนของ ไทย - บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนที่มีตอประชา สังคมในอนาคต -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสารประกอบการสอน -powerpoint อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 8 1. บทบาทของทุนทางสังคมในการจัดการการควบคุม ระบบการดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชน 1.1 การเผชิญหนาและการแขงขันในปจจุบันกับ คานิยมในการพัฒนาแบบดั้งเดิม 1.2 การปรับรูปแบบการจัดการไปสูรูปแบบที่เปน ทางการ 1.3 ระบบความเชื่อในการพัฒนากับการแขงขัน ในภาคองคกรพัฒนาเอกชน 1.4 รูปแบบความสัมพันธระหวางการจัดการการ ควบคุมกับทุนทางสังคมและผลลัพธ 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสารประกอบการสอน -powerpoint -ทําแบบทดสอบกลางภาค อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 8. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สือทีใช้ ผู้สอน 9 1.โครงสร้างองค์กรขององค์กรพัฒนาเอกชน 1.1การจัดการในระดับบน(TopManagement) 1.2สมาขิกขององคกร 1.3 การติดต่อสือสารการกระจายกิจกรรม 1.4แผนงานโครงการและกิจกรรม 3 10 1.การกําหนดกลยุทธ 1.1ปจจัยในการกําหนดกิจกรรมการเพื่อ พัฒนาในภาคประชาชน 1.2ปจจัยดานความตองการทรัพยากรแหลง ทรัพยากรที่ตองนํามาใช 1.3ปจจัยดานวิธีการเฉพาะเพื่อใหเกิดความ สอดคลองตอคานิยมของประชาชนในแต ละพื้นที่ 2.การวางแผนกิจกรรม 2.1การพัฒนาแผนกิจกรรมในการพัฒนา ชุมชน 2.2ความชัดเจนของกิจกรรมตอนัยของเปา หมายความสําเร็จที่มีตอชุมชน 2.3การนําทฤษฎี การเปลี่ยนแปลงมาใชเปน เครื่องมือในการวางแผน 2.4การวิเคราะหสถานการณของกระบวนการ การพัฒนาในแตละสวน 2.5การพัฒนาผลงานวิจัยเพื่อประโยชนในการ วางแผนกิจกรรม 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -แบ่งกลุ่มนักศึกษา อภิปราย และนําเสนอประเด็นที สนใจ อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 11 1.ผลสะทอนขอเสนอแนะและกรอบหรือขอบเขต 1.1คุณภาพจํานวนการใหบริการ 1.2 ความนาเชื่อถือและจุดยืน 1.3การเปลี่ยนแปลงของประชาชน 1.4อิทธิพลที่มีตอการเปลี่ยนแปลงนโยบาย 1.5 ผลที่อาจเกิดขึ้นกับภาคประชาชน และการจัดลําดับ ใหความสําคัญกับปญหาในอนาคตของภาคประชาชน 2.การจัดการดานความสัมพันธ 2.1มาตรฐานของการจัดการความสัมพันธ 2.2การสนับสนุนของสมาชิกองคกร 2.3การติดตามตรวจสอบความสัมพันธ 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -แบ่งกลุ่มนักศึกษา อภิปราย และนําเสนอประเด็นที สนใจ อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 9. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สือทีใช้ ผู้สอน 12 1.บุคลากรชององคกรพัฒนาเอกชน 1.1การจัดการ 1.2ศักยภาพและความสามารถในดานเทคนิคตางๆ 1.3ความยืดหยุนและความไมเปนระบบราชการ 2.การปรับปรุงอยางตอเนื่อง 1.1การสรางสมดุลภายในองคกร 1.2การปรับปรุงขอมูลขาวสาร 1.3การปรับคานิยมของบุคลากร 3.ความโปรงใส 3.1ภูมิหลังของขอมูลในการกําหนดวัตถุประสงค 3.2รายงานการดําเนินงาน 3.3มาตรฐานการดําเนินงาน 3.4ความรวมมือในการทํางาน 3.5กฎหมายและระเบียบ 3.6รายงานดานการเงิน 3.7ขอมูลดานขอผูกมัดและพันธะสัญญา 4.จริยธรรมในการระดมทุน 5.การเรียนรูในสาขาการพัฒนา 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -แบ่งกลุ่มนักศึกษา อภิปราย และนําเสนอประเด็นที สนใจ อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 13 1.ลักษณะความสัมพันธระหวางองคกรพัฒนาเอกชน เหนือและใต 1.1ความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนเหนือ 1.2ความหมายขององคกรพัฒนาเอกชนใต 2.ลักษณะของความสัมพันธระหวางกัน 2.1บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนใต 2.2บทบาทขององคกรพัฒนาเอกชนเหนือ 2.3ลักษณะที่เอื้ออํานวยตอการสรางความสามารถและ ศักยภาพที่มีตอองคกรพัฒนาเอกชนใต 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -แบ่งกลุ่มนักศึกษา อภิปราย และนําเสนอประเด็นที สนใจ อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 14 1.การดําเนินงานของเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชน 1.1เป้ าหมาย 1.2บทบาทและการเข้าถึง 1.3 การกําหนดบทบาทหน้าที 1.4 ระบบการสือสารเครือข่าย 3.สถานการณปจจุบันปญหาและอุปสรรคในการจัดการ เครือขายองคกรพัฒนาเอกชน 2. แนวทางการพัฒนาการจัดการเครือขายองคกรพัฒนา เอกชน 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -แบ่งกลุ่มนักศึกษา อภิปราย และนําเสนอประเด็นที สนใจ อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 10. สัปดาห์ที หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชัวโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สือทีใช้ ผู้สอน 15 1.แนวโนมขององคกรพัฒนาเอกชน 1.1การยกระดับองคความรูดานองคกรพัฒนาเอกชน 1.2แนวโนมดานความสนใจของแรงงาน 1.3แนวโนมของงานทางสังคมและภาคสาธารณะ 1.4การขาดทักษะดานสังคม 1.5ความยั่งยืนในสายอาชีพในองคกรพัฒนาเอกชน 2.แนวโนมของการพัฒนาโดยองคกรrพัฒนาเอกชนใน อนาคต 3 -นักศึกษาทําการศึกษา เอกสาร ประกอบการสอน -powerpoint -แบ่งกลุ่มนักศึกษา อภิปราย และนําเสนอประเด็นที สนใจ อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ ผลการ เรียนรู* กิจกรรมที่ 2 11 - 13 14 - 15 วิธีการประเมิน วิเคราะหกรณีศึกษา คนควาการนําเสนอรายงานใน ประเด็นที่สนใจ การทํางานกลุมและผลงาน สัปดาหที่ ประเมิน สัดสวนของ การประเมิน 6 7 8 13 ตลอดภาค การศึกษา 10% 20% 10% 10% 30% 20% 1. เอกสารและตํารา ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน. (2552). เอกสารประกอบการสอน. เอกสารรวบรวมเย็บเลม. องคกรพัฒนาชุมชน และการจัดการเพื่อการพัฒนาทองถิ่นและชุมชน. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. Robert H. Chenhall..and the other. (2010). Social capital: The role of management control systems in NGOs. Research executive summary series. Chartered Institute of Management Accountants. Volume 6 | Issue 6 หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ ราณี หัสสรังสี.(ม.ป.ป.) บทบาทองคการพัฒนาเอกชนในประชาสังคม. โครงการศึกษาและปฏิบัติการงานพัฒนา. Hari Srinivas. (1997). Organizational Structure of an NGO.. 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา http://www.gdrc.org/ngo/org-chart.html http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120884 http://ngoperformance.org/management/sector-learning/ 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู (16 สัปดาห) 1 - 3 1 - 7 8 - 9 9 - 10 ทดสอบยอยครั้งที่ 1, สอบกลางภาค ทดสอบยอยครั้งที่ 2 นําเสนอประเด็นที่สนใจ ทดสอบยอยครั้งที่ 3 1
  • 11. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับ ปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิ ชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาได ดังนี้ - การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน - แบบประเมินผูสอนและแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผานเวบบอรดที่อาจารยผูสอนไดจัดทําเปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษา 2. กลยุทธการประเมินการสอน ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธ ดังนี้ - การสังเกตการณสอนของผูรวมทีมการสอน - ผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ 2 จึงมีการปรับปรุง การสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนักศึกษาในรายวิชา ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรูในวิชาไดจากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบยอยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้ - การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุม ตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่นหรือผูทรงคุณวุฒิที่ไมใช อาจารยประจาหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษาโดย ตรวจสอบขอสอบ รายงานวิธีการใหคะแนนสอบและการใหคะแนนพฤติกรรม 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาไดมีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชาเพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอน เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตความรูนี้กับปญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารยตาง ๆ