SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประวัติแบดมินตันในประเทศไทย
การเล่นแบดมินตันได้เข้ามาสู่ประเทศไทยในราวปี พ.ศ.2456 โดยเริ่มเล่นกีฬาแบดมินตันแบบมี ตา
ข่าย โดยพระยานิพัทยกุลพงษ์ได้สร้างสนามขึ้นที่บ้าน ซึ่งตั้งอยู่ริมคลองสมเด็จเจ้าพระยาธนบุรี แล้วนิยม
เล่นกันอย่างแพร่หลายออกไป ส่วนมากเล่นกันตามบ้านผู้ดีมีตระกูล วังเจ้านาย และในราชสานัก การเล่น
แบดมินตันครั้งนั้น นิยมเล่นข้างละ3 คน ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2462 สโมสรกลาโหมได้เป็นผู้จัดแข่งขัน
แบดมินตันทั่วไปขึ้นเป็นครั้งแรก โดยจัดการแข่งขัน3 ประเภทได้แก่ ประเภทเดี่ยว ประเภทคู่ และประเภท
สามคน ปรากฏว่าทีมแบดมินตันบางขวางนนทบุรี (โรงเรียนราชวิทยาลัยบางขวางนนทบุรี) ชนะเลิศทุก
ประเภท นอกจากนี้ มีนักกีฬาแบดมินตันฝีมือดีเดินทางไปแข่งขันยังประเทศใกล้เคียงอยู่บ่อยๆ
ในปี พ.ศ. 2494 พระยาจินดารักษ์ได้ก่อตั้งสมาคมชื่อว่า"สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย"เมื่อ
แรกตั้งมีอยู่7 สโมสร คือ สโมสรสมานมิตร สโมสรบางกอก สโมสรนิวบอย สโมสรยูนิตี้ สโมสร ส.ธรรม
ภักดี สโมสรสิงห์อุดม และสโมสรศิริบาเพ็ญบุญ ซึ่งในปัจจุบันนี้เหลือเป็นสโมสรสมาชิกของสมาคมอยู่
เพียง 2 สโมสร คือ สโมสรนิวบอย และสโมสรยูนิตี้เท่านั้น และในปีเดียวกัน สมาคมแบดมินตันแห่ง
ประเทศไทยก็ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติด้วย สมาคมแบดมินตันแห่ง
ประเทศไทยมีนักกีฬาแบดมินตันที่มีฝีมือดีอยู่มาก ซึ่งได้สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยจากการลงแข่งขัน
ใน รายการต่าง ๆ ของโลกเป็นอย่างมาก ทั้งโธมัสคัพ อูเบอร์คัพ และการแข่งขันออลอิงแลนด์โดยวงการ
แบดมินตันของไทยยกย่อง นายประวัติ ปัตตพงศ์ (หลวงธรรมนูญวุฒิกร) เป็นบิดาแห่งวงการแบดมินตัน
ของประเทศไทย
กติกาการเล่นแบดมินตัน
กติกาเบื้องต้น
1. การออกนอกเส้น มีการกาหนดเส้นออกแต่งต่างกันในกรณีเล่นเดี่ยวและเล่นคู่
2. การเสิร์ฟลูก ตามกติกา ที่ถูกต้อง คือ
1. หัวไม้ขณะสัมผัสลูกต้องต่ากว่าข้อมืออย่างเห็นได้ชัด
2. หัวไม้ขณะสัมผัสลูกต้องต่ากว่าเอวอย่างเห็นได้ชัด
3. ผู้เล่นต้องไม่ถ่วงเวลา หรือเสริฟช้า หรือเสริฟ 2 จังหวะ การเสริฟ ต้องเสริฟไปด้วยจังหวะเดียว
4. ขณะเสิร์ฟ ส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าทั้ง2 ข้างต้องสัมผัสพื้นตลอดเวลา
5. การเสิร์ฟลูกที่ถูกต้อง ต้องให้แร็กเก็ตสัมผัสกับหัวลูกก่อน หากโดนขนก่อนถือว่าผิดกติกา
3. ขณะตีลูกโต้กัน ห้ามนาส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายหรือไม้แบดไปสัมผัสกับเน็ท
4. ห้ามตีลูกที่ฝั่งตรงข้ามโต้กลับมาในขณะที่ลูกยังไม่ข้ามเน็ทมายังแดนเรา(Over net)
รายละเอียดของกติกาการนับคะแนนมีดังนี้
1. แมทช์หนึ่งต้องชนะให้ได้มากที่สุดใน 3 เกม
2. ทุกประเภทของการแข่งขัน ฝ่ายที่ได้21 คะแนนก่อนเป็นฝ่ายชนะในเกมนั้น ยกเว้นเมื่อได้20 คะแนน
เท่ากันต้องนับต่อให้มีคะแนนห่างกัน2 คะแนน ฝ่ายใดได้คะแนนนา2 คะแนนก่อนเป็นผู้ชนะ แต่ไม่เกิน
30 คะแนน หมายความว่าหากการเล่นดาเนินมาจนถึง29 คะแนนเท่ากัน ฝ่ายใดได้30 คะแนนก่อน เป็นผู้
ชนะ
3. ฝ่ายชนะเป็นฝ่ายส่งลูกต่อในเกมต่อไป
4. ฝ่ายชนะการเสี่ยงสิทธิ์เป็นฝ่ายส่งลูกได้ก่อน หากฝ่ายตรงข้ามทาลูก "เสีย" หรือลูกไม่ได้อยู่ในการเล่น ผู้
เลือกส่งลูกก่อนจะได้คะแนนนา1-0 และได้ส่งลูกต่อ แต่หากผู้ส่งลูกทาลูก "เสีย" หรือลูกไม่อยู่ในการ
เล่น ฝ่ายตรงข้ามจะได้คะแนนตามมาทันทีเป็น1-1 และฝ่ายตรงข้ามจะได้สิทธิ์ส่งลูกแทน ดาเนินเช่นนี้
ต่อไปจนจบเกม
5. ประเภทคู่ให้ส่งลูกฝ่ายละ 1 ครั้ง ตามคะแนนที่ได้ ขณะที่เปลี่ยนฝ่ายส่งลูก หากคะแนนเป็นจานวนคี่ ผู้อยู่
คอร์ดด้านซ้ายเป็นผู้ส่งลูก หากคะแนนเป็นจานวนคู่ผู้อยู่คอร์ดด้านขวาเป็นฝ่ายส่งลูก
หมายเหตุ ศึกษากติกาโดยละเอียดได้ที่เว็บไซต์ สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
การดิวส์
รูปสนามแบดมินตัน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่PakChee
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2kuraek1530
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพKris Niyomphandh
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมkornchawanyooyued
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เส้นขนาน
เส้นขนานเส้นขนาน
เส้นขนานyingsinee
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 

Was ist angesagt? (20)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
เส้นขนาน
เส้นขนานเส้นขนาน
เส้นขนาน
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Mehr von Supichaya Tamaneewan

น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610Supichaya Tamaneewan
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวSupichaya Tamaneewan
 
ใบงานคอมไทน์
ใบงานคอมไทน์ใบงานคอมไทน์
ใบงานคอมไทน์Supichaya Tamaneewan
 
โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16Supichaya Tamaneewan
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้Supichaya Tamaneewan
 
โครงงานคอมแจมยุง
โครงงานคอมแจมยุงโครงงานคอมแจมยุง
โครงงานคอมแจมยุงSupichaya Tamaneewan
 
ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่
ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่
ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่Supichaya Tamaneewan
 

Mehr von Supichaya Tamaneewan (20)

เฉลยPat5
เฉลยPat5เฉลยPat5
เฉลยPat5
 
Pat5153
Pat5153Pat5153
Pat5153
 
น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610น้ำซาวข้าวๆ610
น้ำซาวข้าวๆ610
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าว
 
ใบงานคอมไทน์
ใบงานคอมไทน์ใบงานคอมไทน์
ใบงานคอมไทน์
 
โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16โครงงานคอม 9 16
โครงงานคอม 9 16
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้
 
โครงงานคอมแจมยุง
โครงงานคอมแจมยุงโครงงานคอมแจมยุง
โครงงานคอมแจมยุง
 
ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่
ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่
ใบงานสำรวจตนเองจิมมี่
 
ประว ต คอมหม_
ประว ต คอมหม_ประว ต คอมหม_
ประว ต คอมหม_
 
Key m 6 53 7 subjects
Key m 6 53 7 subjectsKey m 6 53 7 subjects
Key m 6 53 7 subjects
 
M6thai2553
M6thai2553M6thai2553
M6thai2553
 
M6social2553
M6social2553M6social2553
M6social2553
 
M6science2553
M6science2553M6science2553
M6science2553
 
M6math2553
M6math2553M6math2553
M6math2553
 
M6health+art+tech2553
M6health+art+tech2553M6health+art+tech2553
M6health+art+tech2553
 
M6eng2553
M6eng2553M6eng2553
M6eng2553
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
Key m 6 53 7 subjects
Key m 6 53 7 subjectsKey m 6 53 7 subjects
Key m 6 53 7 subjects
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53
 

กีฬาแบดมินตัน

  • 1. ประวัติแบดมินตันในประเทศไทย การเล่นแบดมินตันได้เข้ามาสู่ประเทศไทยในราวปี พ.ศ.2456 โดยเริ่มเล่นกีฬาแบดมินตันแบบมี ตา ข่าย โดยพระยานิพัทยกุลพงษ์ได้สร้างสนามขึ้นที่บ้าน ซึ่งตั้งอยู่ริมคลองสมเด็จเจ้าพระยาธนบุรี แล้วนิยม เล่นกันอย่างแพร่หลายออกไป ส่วนมากเล่นกันตามบ้านผู้ดีมีตระกูล วังเจ้านาย และในราชสานัก การเล่น แบดมินตันครั้งนั้น นิยมเล่นข้างละ3 คน ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2462 สโมสรกลาโหมได้เป็นผู้จัดแข่งขัน แบดมินตันทั่วไปขึ้นเป็นครั้งแรก โดยจัดการแข่งขัน3 ประเภทได้แก่ ประเภทเดี่ยว ประเภทคู่ และประเภท สามคน ปรากฏว่าทีมแบดมินตันบางขวางนนทบุรี (โรงเรียนราชวิทยาลัยบางขวางนนทบุรี) ชนะเลิศทุก ประเภท นอกจากนี้ มีนักกีฬาแบดมินตันฝีมือดีเดินทางไปแข่งขันยังประเทศใกล้เคียงอยู่บ่อยๆ ในปี พ.ศ. 2494 พระยาจินดารักษ์ได้ก่อตั้งสมาคมชื่อว่า"สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย"เมื่อ แรกตั้งมีอยู่7 สโมสร คือ สโมสรสมานมิตร สโมสรบางกอก สโมสรนิวบอย สโมสรยูนิตี้ สโมสร ส.ธรรม ภักดี สโมสรสิงห์อุดม และสโมสรศิริบาเพ็ญบุญ ซึ่งในปัจจุบันนี้เหลือเป็นสโมสรสมาชิกของสมาคมอยู่ เพียง 2 สโมสร คือ สโมสรนิวบอย และสโมสรยูนิตี้เท่านั้น และในปีเดียวกัน สมาคมแบดมินตันแห่ง ประเทศไทยก็ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติด้วย สมาคมแบดมินตันแห่ง ประเทศไทยมีนักกีฬาแบดมินตันที่มีฝีมือดีอยู่มาก ซึ่งได้สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยจากการลงแข่งขัน ใน รายการต่าง ๆ ของโลกเป็นอย่างมาก ทั้งโธมัสคัพ อูเบอร์คัพ และการแข่งขันออลอิงแลนด์โดยวงการ แบดมินตันของไทยยกย่อง นายประวัติ ปัตตพงศ์ (หลวงธรรมนูญวุฒิกร) เป็นบิดาแห่งวงการแบดมินตัน ของประเทศไทย
  • 2. กติกาการเล่นแบดมินตัน กติกาเบื้องต้น 1. การออกนอกเส้น มีการกาหนดเส้นออกแต่งต่างกันในกรณีเล่นเดี่ยวและเล่นคู่ 2. การเสิร์ฟลูก ตามกติกา ที่ถูกต้อง คือ 1. หัวไม้ขณะสัมผัสลูกต้องต่ากว่าข้อมืออย่างเห็นได้ชัด 2. หัวไม้ขณะสัมผัสลูกต้องต่ากว่าเอวอย่างเห็นได้ชัด 3. ผู้เล่นต้องไม่ถ่วงเวลา หรือเสริฟช้า หรือเสริฟ 2 จังหวะ การเสริฟ ต้องเสริฟไปด้วยจังหวะเดียว 4. ขณะเสิร์ฟ ส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าทั้ง2 ข้างต้องสัมผัสพื้นตลอดเวลา 5. การเสิร์ฟลูกที่ถูกต้อง ต้องให้แร็กเก็ตสัมผัสกับหัวลูกก่อน หากโดนขนก่อนถือว่าผิดกติกา 3. ขณะตีลูกโต้กัน ห้ามนาส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายหรือไม้แบดไปสัมผัสกับเน็ท 4. ห้ามตีลูกที่ฝั่งตรงข้ามโต้กลับมาในขณะที่ลูกยังไม่ข้ามเน็ทมายังแดนเรา(Over net) รายละเอียดของกติกาการนับคะแนนมีดังนี้ 1. แมทช์หนึ่งต้องชนะให้ได้มากที่สุดใน 3 เกม 2. ทุกประเภทของการแข่งขัน ฝ่ายที่ได้21 คะแนนก่อนเป็นฝ่ายชนะในเกมนั้น ยกเว้นเมื่อได้20 คะแนน เท่ากันต้องนับต่อให้มีคะแนนห่างกัน2 คะแนน ฝ่ายใดได้คะแนนนา2 คะแนนก่อนเป็นผู้ชนะ แต่ไม่เกิน 30 คะแนน หมายความว่าหากการเล่นดาเนินมาจนถึง29 คะแนนเท่ากัน ฝ่ายใดได้30 คะแนนก่อน เป็นผู้ ชนะ 3. ฝ่ายชนะเป็นฝ่ายส่งลูกต่อในเกมต่อไป 4. ฝ่ายชนะการเสี่ยงสิทธิ์เป็นฝ่ายส่งลูกได้ก่อน หากฝ่ายตรงข้ามทาลูก "เสีย" หรือลูกไม่ได้อยู่ในการเล่น ผู้ เลือกส่งลูกก่อนจะได้คะแนนนา1-0 และได้ส่งลูกต่อ แต่หากผู้ส่งลูกทาลูก "เสีย" หรือลูกไม่อยู่ในการ เล่น ฝ่ายตรงข้ามจะได้คะแนนตามมาทันทีเป็น1-1 และฝ่ายตรงข้ามจะได้สิทธิ์ส่งลูกแทน ดาเนินเช่นนี้ ต่อไปจนจบเกม 5. ประเภทคู่ให้ส่งลูกฝ่ายละ 1 ครั้ง ตามคะแนนที่ได้ ขณะที่เปลี่ยนฝ่ายส่งลูก หากคะแนนเป็นจานวนคี่ ผู้อยู่ คอร์ดด้านซ้ายเป็นผู้ส่งลูก หากคะแนนเป็นจานวนคู่ผู้อยู่คอร์ดด้านขวาเป็นฝ่ายส่งลูก หมายเหตุ ศึกษากติกาโดยละเอียดได้ที่เว็บไซต์ สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ การดิวส์