SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 120
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คูมือการติดตั้งระบบไฟฟาภายในที่อยูอาศัย หรือ
                 อาคารขนาดเล็ก




บรรยายโดย สําราญ ขุนฤทธิ์ แผนกบริการลูกคาและการตลาด   กฟจ.พัทลุง
วัตถุประสงคของคูมือ

  เพื่อใหงายในการนําไปใชงาน ออกแบบ
ตรวจสอบ และ ติดตั้งระบบไฟฟา ภายในที่อยู
        อาศัย หรือ อาคารขนาดเล็ก
เนื้อหาการบรรยาย

 บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
     สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
            วิธีการเดินสาย
        สายดินและการตอลงดิน
      เครื่องตัดไฟรั่วและการติดตั้ง
   ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐาน
      ที่ใชในการติดตั้ง
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
                    ตัวนําประธานระบบ
                        สายอากาศ



     มิเตอร




               หรือ ตัวนําประธาน
                                   บริภัณฑประธาน
                ระบบสายใตดิน
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
                    ขนาดสายไฟฟา เซฟตีสวิตชคัตเอาต และคารทริดจฟวสสําหรับตัวนําประธาน
                                       (สําหรับการไฟฟาสวนภูมิภาค)
                                  ขนาดตัวนําประธาน                                     บริภัณฑ ประธาน
                                 เล็กที่สุดที่ยอมใหใชได       เซฟตีสวิตชหรือ            คัตเอาตใชรวมกับ        เซอรกิต
                                  กรณี เดินสายไฟฟ าลอย          โหลดเบรกสวิตช               คารทริดจฟวส        เบรกเกอร
   ขนาดเครื่องวัด      โหลด
                                         ในอากาศ
    หนวยไฟฟ า        สูงสุด
                                         (ตร.มม.)
    (แอมแปร)        (แอมแปร)
                                                             ขนาดสวิตช   ขนาดฟ วส      ขนาดคัท       ขนาดฟ วส   ขนาดปรับตั้ง
                                    สาย           สาย
                                                               ต่ําสุด      สูงสุด       เอาทต่ําสุด     สูงสุด        สูงสุด
                                 อะลูมิเนี ยม    ทองแดง
                                                             (แอมแปร)    (แอมแปร)      (แอมแปร)      (แอมแปร)     (แอมแปร)
     5 (15)             12          10               4         30            15             20            16           15-16
     15 (45)            36          25              10         60          40-50            60           35-50         40-50
    30 (100)            80          50              35         100          100              -             -            100
 หมายเหตุ 1)สําหรับตัวนําประธานแนะนําใหใชสายทองแดง
          2)สําหรับวิ ธการเดิ นสายแบบอื่น ให พิจารณาขนาดตั วนํ าประธานอีกครั้งหนึ่ ง
                       ี
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
                 L     N              ขั้วตอสายดิน         เครื่องปองกันกระแสเกินอาจเปนฟวส
 ขั้วตอสายนิวทรัล
                                                                   หรือเซอรกิตเบรกเกอรได
                                                               ขนาดสอดคลองกับโหลดสูงสุด
                                                                         ที่คํานวณได
                                                 ไปยังจุด
                                                 จายไฟ         หากเปนเซอรกิตเบรกเกอร
                                                            ตองผานการทดสอบตามมาตรฐาน
                                                             IEC 60898 และเซอรกิตเบรก
        เซอรกิตเบรกเกอร หรือ สวิตช พรอมฟวส
                                                            เกอรเมนตองมีคาพิกัด IC ไมต่ํา
         รูปที่ 1-3 บริภัณฑประธานหรือแผงเมนสวิตช
                                                                     กวา 10 kA
มาตรฐานของเซอรกิตเบรเกอรแรงต่ํา
                          แรงต่
ในสถานที่อยูอาศัยหรือสถานที่คลายคลึงกันไม
เกิน 125 แอมป ตาม IEC 60898
ผูใชไมมีความรู และ ไมมีการบํารุงรักษา
ในสถานที่อื่นๆ ตาม IEC 60947-2
          ผูใชมีความรู และ มีการบํารุงรักษา

                 ขอ 2.3.6.5
เปรียบเทียบมาตรฐานเซอรกิต
             เบรกเกอรแรงต่ํา
                      แรงต่
     คุณสมบัติ      IEC 60898     IEC 60947-2

Operating Cycles
• With current      4,000 ครั้ง   1,500 ครั้ง
• Without current       -         8,500 ครั้ง
Pollution               2             3
D e g r e e
Pollution Degree in 60947-1
Pollution Degree 2
มีมลภาวะประเภทที่ไมทําใหเกิดการนําไฟฟา บางครั้งอาจนํา
ไฟฟาไดชั่วขณะ เมื่อเกิดการควบแนนของอากาศ

Pollution Degree 3
มีมลภาวะประเภทที่ทําใหเกิดการนําไฟฟา หรือ มีมลภาวะ
ประเภทที่ไมทําใหเกิดการนําไฟฟา แตบางครั้งอาจนําไฟฟา
เมื่อเกิดการควบแนนของอากาศ
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
           L N                                        ขั้วตอสายนิวทรัล
                                                                          ขั้วตอสายดิน

                                      สายปอน
                                                                                          วงจรยอย

                                                                                                ไปยังจุด
                                                                                                 จายไฟ
             แผงเมนสวิตช                                      แผงยอย
         ขอควรระวัง ขั้วตอสายนิวทรัล ตองไมสัมผัสกับโครงโลหะของแผงเมนสวิตช และ แผงยอย
                         รูปที่ 1-4 บริภัณฑประธาน สายปอน แผงยอย และวงจรยอย

  ขนาดของสายปอน ตองไมนอยกวาโหลดสูงสุดที่คํานวณไดและไมนอยกวาขนาดพิกัด
               ของเครื่องปองกันกระแสเกิน และ ไมเล็กกวา 4 ตร.มม.
  ขนาดของตัวนําวงจรยอย ตองไมนอยกวาโหลดสูงสุดที่คํานวณไดและไมนอกวาขนาด
           พิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกิน และ ไมเล็กกวา 2.5 ตร.มม.
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
        L N
                                                              เตารับและเตาเสียบ




         แผงเมนสวิตช               แผงยอย

                           สวิตชใชงานทั่วไป


                               รูปที่ 1-5 เตารับ เตาเสียบ

   เตารับ-เตาเสียบ อยูในระหวางการออกเปนมาตรฐานบังคับ รูปแบบของเตารับ-
                  เตาเสียบ รองรับสําหรับระบบไฟฟาที่มีระบบสายดิน
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
                                     สายตอหลักดิน

                1. แทงหลักดิน

                2. แผนหลักดิน
                                            แทงเหล็กหุม
                                            ดวยทองแดง      > 2.4 เมตร
                                               เสนผาน
                                            ศูนยกลางไม
                     สายตอหลักดิน          นอยกวา 5/8
                                                  นิ้ว
สัมผัสดินไมนอยกวา 0.18 ตร.ม.
แผนเหล็กหนา > 6 มม. หรือ
แผนทองแดงหนา > 1.5 มม.
บริภัณฑไฟฟาและมาตรฐานที่ใชในการติดตั้ง
                                              ตารางที่ 1-3
                 ความหมายตัวเลขกํากับ ระดับ การปองกันหลัง สัญ ลักษณIP
                       ตัวเลขตัวที่ 1                                  ตัวเลขตัวที่ 2
          ประเภทการปองกันวัต ถุจากภายนอก                     ประเภทการปองกันของเหลว
        เลข               ระดับการปองกัน                เลข              ระดับการปองกัน
         0 ไมมีการปองกัน                                 0 ไมมีการปองกัน
              ปอ งกัน วัต ถุที่มีข นาดใหญ กวา 50
         1                                                 1 ปองกันหยดเฉพาะในแนวดิ่ง
              มิล ลิเมตร เชน สัมผัสดวยมือ
              ปอ งกัน วัต ถุที่มีข นาดใหญ กวา 12          ปองกั นหยดและน้ํา สาดทํามุมไมเ กิน 15
         2                                                 2
              มิล ลิเมตร เชน นิ้ว มือ                       องศากับ แนวดิ่ง
              ปองกัน วัต ถุที่มีข นาดใหญก วา 2.5          ปองกั นหยดและน้ํา สาดทํามุมไมเ กิน 60
         3                                                 3
              มิลลิ เมตร เชน เครื่องมือ เส น ลวด           องศากับ แนวดิ่ง
              ปอ งกั น วัต ถุ ที่มีข นาดใหญ ก วา 1
         4 มิลลิเ มตร เชน เครื่องมือเล็ กๆ เสน           4 ปองกันน้ําสาดเขาทุกทิศทาง
              ลวดเล็ กๆ
         5 ปองกั นฝุน                                    5 ปองกันน้ําฉีด เขาทุกทิศทาง
         6 ผนึกกั นฝุน                                    6 ปองกันน้ําฉีด อยา งแรงเขาทุกทิศทาง
                                                           7 ปองกันน้ําท ว มชั่ว คราว
                                                           8 ปองกันน้ํา เมื่อใชงานอยูใตน้ํา
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
ขอกําหนดทั่วไป                                     สาย VAF เดินเกาะผนัง ซอนในผนัง
                                                    หามเดินในชองเดินสาย และ หามเดิน
                                                    ในทอฝงดิน หรือ ฝงดินโดยตรง
                          มอก.11-2531
 ตัวนํา                                             ยกเวน สาย VAF แบบกลม สามารถ
          ฉนวน                        เปลือก        เดินในชองเดินสาย เดินในทอฝงดินได
                                                             แตตองปองกันน้ําเขา
                        มอก.11-2531                 สาย THW เดินลอยตองยึดดวยวัสดุ
   ตัวนํา                                           ฉนวน เดินในชองเดินสาย และ หามฝง
                                         ฉนวน        ดินในเขตที่มีฝนตกชุกและความชื้นสูง

   ตัวนํา                      มอก.11-2531
                                                    สาย NYY ใชงานไดทั่วไป เดินในทอ
            ฉนวน                                    ฝงดิน      และ        ฝงดินโดยตรง
                                                เปลือกนอก
                             เปลือกใน
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน

1. ตัวนิวทรัล ใชสีเทาออนหรือขาว                มอก.11-2531


2. สายเสนไฟ                   ฉนวน             เปลือก
                      ตัวนํา
    เฟส 1 (A) สีดํา                        มอก.11-2531

    เฟส 2 (B) สีแดง ฉนวน
                                                  เปลือกนอก
    เฟส 3 (C) สีน้ําเงิน               เปลือกใน
3. สายดินของบริภัณฑไฟฟา เปน สีเขียวหรือเขียวแถบ
   เหลือง
ยกเวน 1
สายที่ใหญกวา 16 ตร.มม.
สามารถทําเครื่องหมายได
ยกเวน 2
สายจากเครื่องวัด
ถึงเมนสวิตช
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
แรงดันไฟฟาที่สายทนได

        ตาม มอก. 11-2531
        : แรงดัน 300 โวลต สําหรับระบบ 1 เฟส
        : แรงดัน 750 โวลต สําหรับระบบ 3 เฟส
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
  ขนาดกระแสไฟฟา
• ชนิดและขนาดของตัวนํา           อะลูมิเนียม
• ชนิดของฉนวน                PVCทองแดง
• อุณหภูมิโดยรอบ
                         เดิXLPE 40 0C
                            นในอากาศ
• ลักษณะการติดตั้ง                  เดินลอย
                            เดินใตดิน 30 0C
                               เดินในทอรอยสาย
                                    เดินตีกิ๊บ
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
                                  ขนาดกระแส (แอมแปร)
                                                                                   สายไฟทองแดงหุมฉนวน
                               วิธีการเดินสาย (หมายเหตุ 2)
                                                                                     พีวีซี ตาม มอก.11
ขนาดสาย                                                                            • อุณหภูมิตัวนํา 70 0C
(ตร.มม.)            D                   หรือ                               หรือ
                                                             หรือ                  • ขนาดแรงดัน 300 หรือ 750 V
            0.5D                                                                  • เดินสายในอากาศ
               ก         ข               ค                     ง             จ      อุณหภูมิโดยรอบ 40 0C
                                   ทอ        ทอ      ทอ           ทอ
                                  โลหะ       อโลหะ    โลหะ          อโลหะ          • เดินสายใตดิน
  0.5          9          8         8          7       10             9      -      อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
   1          14         11        11          10      15             13    21
  1.5         17         15        14          13      18             16    26
  2.5         23         20        18          17      24             21    34
   4          31         27        24          23      32             28    45
   6          42         35        31          30      42             36    56
  10          60         50        43          42      58             50    75
  16          81         66        56          54      77             65    97
  25          111        89        77          74      103            87    125
  35          137        110       95          91      126           105    150
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
                                 ตัวคูณ
อุณหภูมิโดยรอบ
                 วิธีเดินสาย ก-ค       วิธีเดินสาย ง และ จ
(องศาเซลเซียส)
                  (หมายเหตุ 1)             (หมายเหตุ 1)
   21-25                  -                    1.06
   26-30                  -                      1
   31-35                1.08                   0.94
   36-40                  1                    0.87
   41-45                0.91                   0.79
   46-50                0.82                   0.71
   51-55                0.71                     -
   56-60                0.58                     -
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
แรงดันตก     บริภัณฑไฟฟาไปโหลด นอยกวา 5%
             : ในสายปอน นอยกวา 2%
             : ในตัวนําวงจรยอย นอยกวา 3%

              กรณี 1 เฟส 2 สาย
      VD = 2 * I * ( R cos + X sin  )
              กรณี 3 เฟส 4 สาย
     VD = 3 * I * ( R cos + X sin  )
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
ตารางที่ 2-1 แสดงคาแรงดันตกของสายไฟ(THW, ตารางที่ 4 ของ มอก.11-2531) ที่
เดินในทอโลหะขนาดตางๆ สําหรับระบบเฟสเดียวและระบบสามเฟส . ระบบ 1 เฟส
                                       สาย THW 2.5 ตร.มม
   ขนาด        ระบบเฟสเดียว 220 โวสต   จายโหลด 15 แอมป ยาว 20 เมตร
                                           ระบบสามเฟส 380 โวสต
    สาย อmVTHW 4 ตร.มม. ระบบ ม. เฟส mV%Vd = 0.008028x15x20
       สายป น / A /ม. %VD / A / 3            / A /ม.    %VD / A / ม.
   ตร.มม จายโหลด 24 แอมป ยาว 35 เมตร
                                                   %Vd = 2.41%
    0.5        85.7959       0.038998
              %Vd = 0.002505x24x35         74.2993        0.019552
     1         43.1372       0.019608      37.3568        0.009831
                    %Vd = 2.1%
    1.5        28.8383       0.013108      24.9740        0.006572
    2.5        17.6651       0.008028      15.2949        0.004025
     4         10.9898       0.004995      9.5172         0.002505
     6          7.3447       0.003338      6.3605         0.001674
     10         4.3683       0.001986      3.7830         0.000996
     16         2.7509        0.0013       2.3823         0.000627
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
การเดินสายควบ   เครื่องปองกันกระแสเกิน


                       OFF




                                      สายไฟเปนชนิดเดียวกัน เครื่องใชไฟฟา
                                      ความยาวเทากัน
                                      วิธีการเดินสายเดียวกัน

                                รูปที่ 2-3 การเดินสายควบ

  การเดินสายควบ สําหรับสายไฟฟาขนาดไมนอยกวา 50 ตร.มม.
วิธีการเดินสาย
วิธีการเดินสาย
   การเดินสายภายนอกอาคาร
   การเดินสายภายในอาคาร



มิเตอร




          การเดินสายตัวนํา
           ประธานใตดิน
วิธีการเดินสาย
                               ตัวนําประธาน
การเดินสายภายนอกอาคาร         ระบบสายอากาศ

 การเดินสายใตดิน
 การเดินสายเปด มิเตอร
   หรือลอยบนวัสดุฉนวน
                            หรือ ตัวนํา
                                              บริภัณฑประธาน
                           ประธานระบบ
                            สายใตดิน
วิธีการเดินสาย
  การเดินสายภายใตดิน
การเดินสายฝงดินโดยตรง หรือ
การเดินสายในทอรอยสายหาก     มิเตอร
 เปนการฝงดินโดยตรงตองใช
  สายไฟชนิดที่ยอมใหฝงดิน
โดยตรงได เชน สาย NYY หาก               หรือ ตัวนํา
                                                       บริภัณฑประธาน
                                        ประธานระบบ
 เดินสายใตดินในทอรอยสาย               สายใตดิน
สามารถใชสาย THW แตตองมี
  การปองกันน้ําเขาไปในทอ
วิธีการเดินสาย
ความลึกในการเดินสายภายใตดิน
   ความลึกในการติดตั้ง ตามตารางที่ 3-1
   บริเวณที่มีรถยนตวิ่งผานตองลึกไมนอย
  กวา 0.60 ม.
ตัวอยางความลึกในการติดตั้งใตดิน

                เคเบิลฝงดินโดยตรง > 0.6 เมตร




                       เคเบิลฝงดินโดยตรง
                   มีแผนคอนกรีต > 0.45 เมตร
ตัวอยางความลึกในการติดตั้งใตดิน


 เคเบิลเดินในทอโลหะใหฝงดิน > 0.15 เมตร



               หากเคเบิลเดินในทออโลหะ ทอใยหิน หรือ
           ทออื่นๆที่การไฟฟาเห็นชอบใหฝงดิน > 0.45 เมตร
ตัวอยางความลึกในการติดตั้งใตดิน


                     บริเวณที่มีรถวิ่งผาน
                ทุกกรณีตองมีความลึก > 0.6 เมตร
วิธีการเดินสาย
การเดินสายเปดหรือเดินลอยบนวัสดุฉนวน
       ระยะหางจุดจับยึด < 10 เมตร




         มิเตอร
                                                   > 2.5เมตร


                   ระยะหางสายไฟฟา > 0.15 เมตร
                                 การเดินสายตัวนําประธานบนลูกถวย

             สายไฟที่ใชตองเปนสายแกนเดี่ยวและ
            ตองไมถูกปดบังดวยโครงสรางของอาคาร
วิธีการเดินสาย
การเดินสายเปดหรือเดินลอยบนวัสดุฉนวน
      ระยะหางจุดจับยึด < 2.5เมตร




            มิเตอร
                                                              > 2.5เมตร


                      ระยะหางสายไฟฟา > 0.10เมตร
                                      การเดินสายตัวนําประธานบนตุม

              สายไฟที่ใชตองเปนสายแกนเดี่ยวและ
             ตองไมถูกปดบังดวยโครงสรางของอาคาร
วิธีการเดินสาย
การเดินสายเปดบนตุม
                       ตารางที่ 3-2
                  การเดินสายเปดบนตุม
    ระยะสูงสุด         ระยะหางต่ําสุดระหวาง
                                                   ขนาดสาย
      ระหวาง                   (เมตร)
                                                    ใหญสุด
   จุดจับยึดสาย    สายไฟ           สายไฟฟากับ
                                                    (ตร.มม)
      (เมตร)         ฟา           สิ่งปลูกสราง
        2.5         0.10               0.025         50
วิธีการเดินสาย
การเดินสายเปดบนลูกถวย
                           ตารางที่ 3-3
                    การเดินสายเปดบนลูกถวย
                        ระยะหางต่ําสุดระหวาง   ขนาดสาย
  ระยะสูงสุดระหวาง             (เมตร)            เล็กสุด
    จุดจับยึดสาย                                 (ตร.มม.)
       (เมตร)        สายไฟฟา สายไฟฟากับสิ่ง
                                     ปลูกสราง
      ไมเกิน 10       0.15             0.05       2.5
        11-25          0.20             0.05        4
        26-40          0.20             0.05        6
วิธีการเดินสาย
ระยะหางต่ําสุดของสายไฟฟาเหนือสิ่งตางๆ
                            สาย 220 โวลต

                                                                               > 6.8 ม.
                                                         > 5.5 ม.
                                   > 2.9 ม.
           > 4.3 ม.




แหลงน้ําไมมีเรือผาน   ทางสัญจร สําหรับคน ทางสัญจร สําหรับคน แหลงน้ํากวางไมเกิน
                         หรือ รถบรรทุกไมเกิน หรือ รถบรรทุกไมเกิน 50 เมตร หรือ มีเรือสูง
                              2.45 เมตร             4.3 เมตร       ไมเกิน 4.9 เมตรผาน
วิธีการเดินสาย

การเดินสายภายในอาคาร
 การเดินสายบนผิวหรือเดินเกาะผนัง
 การเดินสายในทอรอยสาย
 การเดินสายในชองเดินสายอโลหะ
วิธีการเดินสาย
การเดินสายบนผิวหรือการเดินสายเกาะผนัง

                                  กลองตอสาย   สายไฟ
            สิ่งจับยึด

                    สายไฟ

       < 200 มม.                  หัวตอสาย



                 ขนาดกระแสเปนไปตามตารางที่ 2-2 ข
                     หามเดินสายไฟซอนกัน
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
                                  ขนาดกระแส (แอมแปร)
                                                                                   สายไฟทองแดงหุมฉนวน
                               วิธีการเดินสาย (หมายเหตุ 2)
                                                                                     พีวีซี ตาม มอก.11
ขนาดสาย                                                                            • อุณหภูมิฉนวน 70 0C
(ตร.มม.)            D                   หรือ                               หรือ
                                                             หรือ                  • ขนาดแรงดัน 300 หรือ 750 V
            0.5D                                                                  • เดินสายในอากาศ
               ก         ข               ค                     ง             จ      อุณหภูมิโดยรอบ 40 0C
                                   ทอ        ทอ      ทอ           ทอ
                                  โลหะ       อโลหะ    โลหะ          อโลหะ          • เดินสายใตดิน
  0.5          9          8         8          7       10             9      -      อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
   1          14         11        11          10      15             13    21
  1.5         17         15        14          13      18             16    26
  2.5         23         20        18          17      24             21    34
   4          31         27        24          23      32             28    45
   6          42         35        31          30      42             36    56
  10          60         50        43          42      58             50    75
  16          81         66        56          54      77             65    97
  25          111        89        77          74      103            87    125
  35          137        110       95          91      126           105    150
วิธีการเดินสาย
การเดินสายในทอรอยสาย
วิธีการเดินสาย
การเดินสายในทอรอยสาย
                    ทอโลหะ
                                       กลองตอสาย
                        บุชชิ่ง                      ทอโลหะ


                         กลองตอสาย             มุม 90 องศา      มุม 90 องศา


                    หัวตอสาย

 การตอสายทําไดที่กลองตอสาย         รัแสดงมุัดโคงไมระหวางจุดดึงสายรวมกัาน
                                       รูปที่ 3-6
                                                  ศมีด มดัดโคง นอยกวา 6 เท
                                                  ของทอโลหะ
ปริมาตรของสายและฉนวนรวมทั้ง            ยกเวน ทอ 15 มม. รัศมีดัดโคงไม
หัวตอสายตองไมเกินรอยละ 75          นอยกวา                  8          เทา
วิธีการเดินสาย
การติดตั้ง ….
 เมื่อเดินเขากลองตอสาย ตองมีบุชชิ่ง
วิธีการเดินสาย




ไมมีบุชชิ่ง สายไฟอาจจะชํารุด
     บุ
วิธีการเดินสาย




กลองตอสายมีสายแนนเกินไป
วิธีการเดินสาย
การเดินสายในทอรอยสาย
                     กลองตอสาย     อุปกรณจับยึด


    ทอโลหะ
                   < 0.9 ม <3 ม.

                           ทอโลหะออน
                                            บริภัณฑไฟฟา


               ขนาดกระแสเปนไปตามตารางที่ 2-2 ค
               หามใชทอขนาดเล็กกวา 1 5 ตร.มม.
สายไฟฟาและการเลือกใชงาน
                                  ขนาดกระแส (แอมแปร)
                                                                                   สายไฟทองแดงหุมฉนวน
                               วิธีการเดินสาย (หมายเหตุ 2)
                                                                                     พีวีซี ตาม มอก.11
ขนาดสาย                                                                            • อุณหภูมิตัวนํา 70 0C
(ตร.มม.)            D                   หรือ                               หรือ
                                                             หรือ                  • ขนาดแรงดัน 300 หรือ 750 V
            0.5D                                                                  • เดินสายในอากาศ
               ก         ข               ค                     ง             จ      อุณหภูมิโดยรอบ 40 0C
                                   ทอ        ทอ      ทอ           ทอ
                                  โลหะ       อโลหะ    โลหะ          อโลหะ          • เดินสายใตดิน
  0.5          9          8         8          7       10             9      -      อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
   1          14         11        11          10      15             13    21
  1.5         17         15        14          13      18             16    26
  2.5         23         20        18          17      24             21    34
   4          31         27        24          23      32             28    45
   6          42         35        31          30      42             36    56
  10          60         50        43          42      58             50    75
  16          81         66        56          54      77             65    97
  25          111        89        77          74      103            87    125
  35          137        110       95          91      126           105    150
วิธีการเดินาในทอรอยสาย
            จํานวนสายไฟฟ  สาย
จํานวนสายในทอรอยสาย
  • ใชตารางที่ 3-4
  • สาย มอก. ตารางที่ 11-2531 ขนาดเดียวกันใชตารางที่ 3-5

  จํานวนสายในทอรอยสาย          1    2    3    4 มากกวา 4
         สายไฟทั่วไป            53   31    40   40      40
  สายไฟชนิดมีเปลือกตะกั่วหุม   55   30    40   38      35
วิธีการเดินสาย
               ตารางที่ 3-4 จํานวนสูงสุดของสายไฟฟาขนาดเดียวกัน มอก.11-2531 ตารางที่ 4
                ตารางที่ 3-4
 จํานวนสาย                      ที่ใหใชในทอโลหะตาม มอก.770-2531

ในทอรอยสาย   พื้นที่หนาตัดของสายไฟฟา
                     (ตารางมิลลิเมตร)
                                               จํานวนสูงสุดของสายไฟฟาขนาดเดียวกันในทอรอยสาย

                              1                 7 13 20 33 - - - - - - - -
                            1.5                 6 11 17 28 44 - - - - - - -
                            2.5                 4 8 13 22 34 - - - - - - -
                              4                 3 5 9 15 23 36 - - - - - -
                              6                 2 4 7 12 19 29 - - - - - -
                             10                 1 3 4 7 12 19 32 - - - - -
                             16                 1 1 3 5 9 14 23 36 - - - -
                             25                 1 1 1 3 5 9 15 23 29 - - -
                             35                 - 1 1 3 4 7 12 19 24 30 - -
                            500                 - - - - - - 1 1 1 2 4 6
                  เสนผานศูนยกลางของ
                                               15 20 25 32 40 50 65 80 90 100 125 150
                     ทอรอยสาย (มม.)
วิธีการเดินสาย
การเดินสายในทอรอยสาย
                            ตารางที่ 3-6
                             ตารางที่ 3-5
        ตัวคูณลดคากระแสเนื่องจากจํานวนสายหลายเสนในชองเดิน
                            สายไฟฟาเดียวกัน
                   จํานวนสาย                ตัวคูณ
                       4-6                   0.82
                       7-9                   0.72
                      10 - 20                0.56
                      21 - 30                0.48
                      31 - 40                0.44
                      เกิน 40                0.38
วิธีการเดินสาย
การเดินสายในชองเดินสายอโลหะ

                            เปนวิธีการเดินสายที่สะดวก
                           และมีความสวยงาม

                            ชองเดินสายตองทําดวย
                           วัสดุทนความชื้น ทนบรรยากาศที่
                           มีสารเคมี ไมติดไฟ ทนแรง
                           กระแทก ไมบิดเบี้ยวจากความรอน
                           ในการใชงาน
วิธีการเดินสาย
การเดินสายในชองเดินสายอโลหะ

                                                            การตอสายใหตอไดเฉพาะ
                          ผนัง                             ในสวนที่สามารถเปดออก และ
                                                           เขาถึงไดตลอดเวลา
                                        ชองเดินสายอโลหะ

                                                            ปริมาตรของสายและ
                                                           ฉนวนรวมทั้งหัวตอสายตองไม
          หามตอชองเดินสายตรงจุดที่ผานผนัง              เกินรอยละ 75 ที่จุดตอสาย

    รูปที่ 3-8 แสดงการตอชองเดินสายตรงจุดที่ผานผนัง       ปลายชองเดินสายตอง
                                                           ปด
สายดินและการตอลงดิน
วัตถุประสงคของการตอลงดิน
 • เพื่อใหอุปกรณปองกันทํางาน
 • เพื่อใหเกิดความปลอดภัย
 • เพื่อใหเกิดคุณภาพทางไฟฟา
                             กระแสลัดวงจรง     ตอ
                             ต อ ง ม า ปลอดภัย
                                            กพอ
                             เพื่ อ ให อุ ป กรณ ผัส
                                           เมื่อสัม
                             ปองกันทํางาน
มีคุณภาพทางไฟฟา

                           A

         G   N         N,G
                   C             B
                           A
                             G
         G   N
                       N
                   C             B
กรณีไมมีสายดินตอที่อุปกรณ ?

      กรณีมีการตอหลักดินที่อุปกรณ ?

      กรณีใชสายนิวทรัลเปนสายดิน ?

กรณีมีสายดินแตไมมีการตอถึงกันกับนิวทรัล ?

กรณีมีสายดินและมีการตอถึงกันกับนิวทรัล ?
กรณีมกรณีไมนมีกไารตกอารตออถึงสายดิบนิววทรัล
     กรณีมกรณี ใมีชแตายนิมีกลงดิเปที่อกัุุปนกรณ ทรัล
          ีสายดินกส มอหลักล น นกันกรณนิ
           ีสายดิ และมีวทรั ดิ นที่อปกักั น
                      ารต ารต ถึง บ

                               1. อุปกรณปองกันทํางาน?
G
     N                         2. มีความปลอดภัยเมื่อสัมผัส?
กรณีไมมีสายดินตอที่อุปกรณ
                              คนไมปลอดภัย
G                        อุปกรณปองกันอาจไมทํางาน
    N
กรณีมีการตอหลักดินที่อุปกรณ
                         อุปกรณปองกันอาจไมทํางาน
G
    N
กรณีใชสายนิวทรัลเปนสายดิน
                          อุปกรณปองกันทํางาน
G
    N
กรณีใชสายนิวทรัลเปนสายดิน
                      คนไมปลอดภัยกรณีทํางานปกติ
G
    N
กรณีมีสายดินแตไมมีการตอถึงกันกับนิวทรัล
                        อุปกรณปองกันอาจไมทํางาน
  G
      N
กรณีมีสายดินและมีการตอถึงกันกับนิวทรัล
                            คนปลอดภัย
 G                      อุปกรณปองกันทํางาน
     N
กระแสและเวลาที่มีผลตอรางกาย IEC 479-1
               กระแสผานรางกาย mA

                                 Zone 4 - มีโอกาสเกิดกลามเนื้อเกร็ง
                 1000


                                                    Zone 3 - ไมมีผลตอชิ้นสวนภายในรางกาย
                  100
                                 30 mA
                   10            Zone 2 - ไมมีผลตอรางกาย                                             เวลา
                                                                                                        มิลลิวินาที
                         10                      100                       1,000                   10,000
A Graphical Method for Safety Assessment of Grounding System Chieng-Hsing Lee, A.P.Sakis Meliopoulos, Rowland I. James IEEE 2000
กระแสและเวลาที่มีผลตอรางกาย IEEE 2000
        I = 0.116 / t                         50 kg.                I = 0.157 / t                         70 kg.
  กระแสผาน
  รางกาย mA                     Zone 4 - มีโอกาสเกิดกลามเนื้อเกร็ง
                 1000
   ใชไดระหวาง
  0.003 - 3 วินาที                                  Zone 3 - ไมมีผลตอชิ้นสวนภายในรางกาย
                  100
                                 30 mA
                   10            Zone 2 - ไมมีผลตอรางกาย                                                   เวลา
                                                                                                              มิลลิวินาที
                         10                      100                       1,000                   10,000
A Graphical Method for Safety Assessment of Grounding System Chieng-Hsing Lee, A.P.Sakis Meliopoulos, Rowland I. James IEEE 2000
G                                 บริภัณฑประธาน
    N
                                      หามตอลงดินที่จุด
                                      อื่นอีกทางดานไฟ
                                      ออกของบริภัณฑ
                       N      G       ประธาน

                      สายตอหลักดินเปนทองแดง หุมฉนวน
                      เสนเดียว ยาวตลอด ไมมีการตอ
        หมอแปลงนอกอาคารตองตอลงดินที่บริภัณฑ
                          ตองมีการต ลง
        ดินเพิ่มอีก 1 จุด ประธาน
ตารางที่ 4.1
ขนาดสายประธานเขาอาคาร       ขนาดสายตอหลักดิน
 (ตัวนําทองแดง) ตร.มม.      (ตัวนําทองแดง) ตร.มม.
          ไมเกิน 35                 10
    เกิน 35 แตไมเกิน 50            16
    เกิน 50 แตไมเกิน 95            25             บริภัณฑประธาน
   เกิน 95 แตไมเกิน 185            35
  เกิน 185 แตไมเกิน 300            50
  เกิน 300 แตไมเกิน 500            70
           เกิน 500                  95
                                                       N   G
ชนิดของสายตอหลักดิน
  • ตัวนําทองแดง
  • ตัวนําเดี่ยวหรือตีเกลียว
  • หุมฉนวน
  • เสนเดียวยาวตลอด ไมมีการตอ
                                                 N   G
  • ถาเปนบัสบาร อนุญาตใหมีการตอได


รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
4.15 การตอฝาก หนา 4-9
เพื่อเกิดความตอเนื่องทางไฟฟาและรับกระแสลัดวงจรได
• การตอฝากที่บริภัณฑประธาน – ทอ เครื่องหอหุม ทอหลักดิน
• วิธีตอฝากที่บริภัณฑประธาน
• การตอขั้วสายดินของเตารับเขากับกลองโลหะ
• การตอฝากเครื่องหอหุมอื่นๆ
• การตอฝากในบริเวณอันตราย
• สายตอฝากลงดินและสายตอฝากของบริภัณฑไฟฟา
  ตัวนําทองแดง ขนาดไมเล็กกวาในตารางที่ 4-1
LP2
                          N   G

    ไมมีการตอถึง
     กันระหวาง
                                  LP1
      N และ G             N   G



       ตอระหวาง
        N และ G                   MDB
                          N   G




รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
LP2
                          N   G

     ถามีการตอถึง
      กันระหวาง
                                  LP1
        N และ G           N   G



       ตอระหวาง
        N และ G                   MDB
                          N   G




รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
LP2
     ไมมีการตอถึง
      กันระหวาง          N
                                      G
       N และ G
                                          LP1
                              N   G
      ไมมีกระแส
     ไหลในสาย G
                                          MDB
                              N   G




รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
ถามีการตอถึง                       LP2   Load

      กันระหวาง          N
                                      G
        N และ G
                                          LP1
                              N   G
      มีกระแสไหล
        ในสาย G
                                          MDB
                              N   G




รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
4.17 ชนิดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา หนา 4-12
            ชนิด
             เปนสายทองแดง หุมฉนวน
             ถ า ขนาดไม เ กิ น 16 ตร.มม. ฉนวนต อ งมี สี เ ขี ย ว
             หรือเขียวแถบเหลือง (5.1.11 หนา 5-6)
         ถาขนาดเกิน 16 ตร.มม. ใหทําเครื่องหมายแทน
        ขนาด
         ตามตารางที่ 4-2
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
4.20 ขนาดสายดินบริภัณฑไฟฟา


รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
ตารางที่ 4-2 ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา

             พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ       ขนาดต่ําสุดของสายดิน
              เครื่องปองกันกระแสเกิน   ของบริภัณฑไฟฟา (ตัวนําทองแดง)
                  ไมเกิน (แอมแปร)                 ตร.มม.
                           16                        1.5*
                           20                        2.5*
                           40                         4*
                           70                         6*
                          100                         10
                          200                         16
                          400                         25
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
ตารางที่ 4-2 ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา
            พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ       ขนาดต่ําสุดของสายดิน
             เครื่องปองกันกระแสเกิน   ของบริภัณฑไฟฟา (ตัวนําทองแดง)
                   ไมเกิน (แอมแปร)               ตร.มม.
                           500                       35
                           800                       50
                          1000                       70
                          1250                       95
                          2000                      120
                          2500                      185
                          4000                      240
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
                          6000                      400
400A
                                                    LP2        1-25
                                         N   G



                200A
                                                              1-16
    (แอมแปร)             ตร.มม.                    LP1
        16                 1.5*          N   G
        20                 2.5*
        40                  4*
        70                  6*
                                   LP1
       100                  10
                                   LP2              MDB
       200                  16           N   G
       400                  25

                                             พิจารณาตารางที่ 4-2
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
(แอมแปร)           ตร.มม.             150AT
          16               1.5*
          20               2.5*
                                                     20AT          1-2.5
          40                4*
                                   LP2
          70                6*
                                         N     G     40AT
         100                10
         200                16                                         1-4
         400                25
                                                        100AT
                                   LP1
                                         N     G                1-16
       3-240, 1-150

                                   MDB                          1-10
      ตารางที่ 4-1                       N     G

           1-50
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
การกําหนดสายดินของวงจรมอเตอร

                              80 AT    40 A (50A-OL)

                                        1-6

              200 AT          125 AT   60 A (70A-OL)
                                        1-6
              1-16
                              40 AT    20 A (25A-OL)
                                        1-4

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
สายดินและการตอลงดิน
อุปกรณที่ตองมีการตอลงดิน

อุปกรณที่ไมตองมีการตอลงดิน
การตอลงดินของบริภัณฑที่เดินสายถาวร
            บุคคลอาจสัมผัสได
               • ภายในระยะ 1.5 เมตรในแนวระดับ
                   • ภายในระยะ 2.4 เมตร ในแนวดิ่ง
           กรณีที่โคมอยูสูงมากในทางปฏิบัติควรติดตั้งสายดิน
            อยูในสถานที่เปยกหรือชื้น
            และไมไดมีการแยกอยูตางหาก

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
มาตรฐานกําหนดความ
                          สูงไวเพื่อไมใหสัมผัสโดย
                          บังเอิญที่ระยะ 2.5 เมตร
                           แตที่ความสูงมากๆอาจ
                          ตองติดตั้งสายดินสําหรับ
                           ชางซอมและเกิดไฟรั่ว

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
วงจรบริภัณฑประธานชุดเดียวจายใหอาคาร 2 หลังหรือมากกวา

       ตัวนําประธาน



                N           N                  N




             อาคารที่ 1    อาคารที่ 2          อาคารที่ 3
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
อนุญาตใหไมตองทําหลักดินของแตละอาคาร
        1. มีวงจรยอยชุดเดียวและไมมีบริภัณฑไฟฟาที่ตอลงดิน
          ตัวนําประธาน
                                                      กลองอโลหะ


          G        N
                                                       C



               อาคารที่ 1                     ไมตองตอลงดิน
                                         อาคารที่ 2
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
อนุญาตใหไมตองทําหลักดินของแตละอาคาร
         2. เดินสายดินตอไปสวนที่ไมเปนทางเดินของกระแส



                   G      N                 G    N




                     อาคารที่ 1            อาคารที่ 2
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
สายดินและการตอลงดิน

วิธีการตอสายหลักดินเขากับหลักดิน

ใชวิธีเชื่อมดวยความรอน (Exothermic Welding)
ใชหัวตอแบบบีบ ประกับตอสาย(connector)
หามใชวิธีบัดกรีเปนหลัก
หามตอสายมากกวา 1 เสน เขากับหลักดิน นอกจาก
จะใชอุปกรณที่เหมาะสม
สายดินและการตอลงดิน
                  ความตานทานดิน

   คาความตานทานระหวางหลักดิน
      กับดินตองไมเกิน 5 โอหม
พื้นที่ยากในทางปฏิบัติ ยอมให คาความตานทาน
 ระหวางหลักดินกับดินตองไมเกิน 25 โอหม
Four Point Method


                                  C1 P1 P2 C2




                          a               a           a
                                  0.5 a       0.5 a
                                          Q




รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
ก
                      ข
                      ค
                      ง




                      ค.ง.            ข       ก
                             0.65 a       P       C

                                      a
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
วัดความตานทานดินได 12 โอหม ตองการ
                               ใหลดลงเหลือ 5 โอหม จะทําอยางไรดี?


                          ปกเพิ่มที่ไหน และจํานวนเทาใด?


                                                       …..?

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
จํานวนอิเล็กโทรดขนานกัน    k
                               2             0.60
                               3             0.40
                               5             0.25
                               10            0.13

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
2.4 มาตรฐานหลักดิน และสิ่งที่ใชแทนหลักดิน
   • แทงเหล็กหุมทองแดง หรือแทงทองแดง หรือแทงเหล็กอาบ
     สังกะสี ตองมีขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 5/8 นิ้ว
     ยาวไมนอยกวา 2.40 เมตร
   • แผนตัวนําไมนอยกวา 0.18 ตร.เมตร ถาเปนเหล็กกันการผุ
     กรอนหนาไมนอยกวา 6 มม. ถาเปนโลหะชนิดอื่นหนาไม
     นอยกวา 1.50 มม.
   • ใชอาคารที่เปนโครงโลหะ ความตานทานไมนอยกวา 5 โอหม
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
สายดินและการตอลงดิน
ระบบสายดินที่สมบูรณประกอบดวย
     1. แผงสวิตชที่มีขั้วสายดิน
     2. สายตอหลักดิน
     3. สายตอฝาก
     4. สายดิน
     5. หลักดิน
     6. เตารับที่มีขั้วสายดิน
สรุป
  •ระวังไมใหจุดตอลงดินที่หมอแปลงหลุด
  •ตองมีการตอลงดินสายศูนย และสายดินที่แผงประธาน
  •ไมมีการตอระหวางสายศูนยและสายดินที่จุดใดอีก
  •สายดินตองไมมีกระแสผานในกรณีจายไฟปกติ
  •เตารับตองเปนแบบมีขั้วดิน
     •ตอหงติยดตั้งอุปกรณปองกันไฟรั่วตามมาตรฐาน
รศ.ดร.ชํานาญ อเกี รติ
สรุป
     •สายตอหลักดินเปนไปตามตารางที่ 4-1 และสายดินของ
      อุปกรณเปนไปตามตารางที่ 4-2
     •สายตอฝากที่บริเวณบริภัณฑประธานตองไมเล็กกวาที่
      กําหนดในตาราง 4-1 และไมเล็กกวา 12.5% ของสาย
      ประธาน
     •สายตอฝากบริภัณฑไฟฟาตองไมเล็กกวาสายดินใน
      ตารางที่ 4-2
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
เครื่องตัดไฟรั่วและการติดตั้ง
เครื่องตัดไฟรั่ว

       เครื่องตัดไฟรั่ว เปน เครื่อง
   ปองกันอันตรายจากบุคคล โดย
   ที่จะทํางานปลดวงจรออกเมื่อเกิด
               กระแสไฟรั่ว

     กระแสไฟรั่ว ขนาดกระแสต่ํา
     เกินไป เซอรกิตเบรกเกอรไม
               ทํางาน
เครื่องตัดไฟรั่ว
     ทริปคอยล
                                L     สภาวะปกติ กระแสไหลเขา
                   I1
                                N
                                        เทากับ กระแสไหลออก
                   I2                  เครื่องตัดไฟรั่วไมทํางาน
หมอแปลงแกนสมดุล                G



    ทริปคอยล
                                L   เมื่อกระแสไฟรั่ว กระแสไหลเขา
                   I1                   ไมเทากับ กระแสไหลออก
                                N
                   I2                     เครื่องตัดไฟรั่วทํางาน
                                G
หมอแปลงแกนสมดุล          I3                  ปลดวงจรออก
เครื่องตัดไฟรั่ว
บริเวณที่ตองติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว


                                    s


                                วงจรไฟฟาแสงสวาง
           วงจรเตารับในหองน้ํา
    ระบบไฟฟาในหองน้ํา
เครื่องตัดไฟรั่ว
บริเวณที่ตองติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว
                 วงจรเตารับในหองครัว




                         วงจรไฟฟาแสงสวาง
      ระบบไฟฟาในหองครัว
เครื่องตัดไฟรั่ว
                 บริเวณที่ตองติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว




วงจรไฟฟาแสงสวางภายนอกอาคาร วงจรเตารับภายนอกอาคาร

                         ระบบไฟฟาภายนอกอาคาร
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
การเดินสายแยกทอ
             A      B       C     N ทอเหล็ก

          ไมเดินสายรอยทอเหล็กแยกเฟสแบบนี้




           ใหเดินสายรวมทุกเฟสในทอเดียวกัน
ตัวอยาง การเดินสายในทอโลหะ
ไมไดมีการปองกันการเหนี่ยวนําทางแมเหล็กไฟฟา
ตัวอยาง การเดินสายในทอโลหะ
มีการปองกันการเหนี่ยวนําทางแมเหล็กไฟฟา
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
การเดินสายเขาแผงหรือผานแผนโลหะใดๆ
                            กรณีตองเดินสายไฟเขาแผงเหล็กหรือ
                            โลหะ ไมใหเจาะรูแยกแตละรูสําหรับ
                                แตละสายเสนไฟลอดเขาไป

         ฉนวน             ใหหาแผนฉนวนมาเจาะเพื่อใหสายเสนไฟ
                           ผานเพื่อปองกันไมใหเกิดสนามแมเหล็ก
                            ผานแผนเหล็ก ทําใหเกิดความรอนสูง

                          หรือถาเจาะรูที่แผนเหล็กเพื่อใหสายเสนไฟ
                          ลอดเขาไปก็ตองผาแผนเหล็กเพื่อใหรูทั้งสี่
                            ตอถึงกันเพื่อไมใหสนามแมเหล็กผาน
ตัวอยาง การเดินสายผานแผงโลหะหรือเหล็ก
ไมไดมีการปองกันการเหนี่ยวนําทางแมเหล็กไฟฟา
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
การตอสายดินและสายศูนยที่แผงเมนสวิตช


         N    G                   สายดินและสายศูนยตองไมตอถึงกัน
                                  อีกที่ไหนในอาคารนี้อีก
                                                                อาคาร

                  สายศูนยและสายดินตอถึงกันที่แผงเมนไฟฟานี้เทานั้น
                  และตอกับหลักดินหรือแทงสายดิน
ถามีการตอถึง                       LP2   Load

      กันระหวาง          N
                                      G
        N และ G
                                          LP1
                              N   G
      มีกระแสไหล
        ในสาย G
                                          MDB
                              N   G




รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
ตัวอยาง การใชสายไฟที่เปน
ฉนวนสีเดียวกัน ซึ่งผิดมาตรฐาน
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
ตออุปกรณลงดินโดยตรง ไมมีระบบสายดิน
              สายไฟฟาที่
            มาจากแผงสวิตช




      ระบบไฟฟาที่ไมมีระบบสายดิน แตมีการตอลงดินที่เครื่องใชไฟฟา
กรณีมีการตอหลักดินที่อุปกรณ
                         อุปกรณปองกันอาจไมทํางาน
G
    N
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
การตอสายในทอรอยสาย
 ทอรอยสาย
                                   จุดตอสายในทอรอยสายไฟ




              จุดตอสายไมดี อาจจะทําใหเกิด
                       อันตรายได
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง

                                     การติดตั้งที่ไมถูกตอง
                                     1.ใชขอตอผิดประเภท
                                     2.ตอตรงจากทอ

                                     การติดตั้งที่ถูกตอง
                                     1. ตอจากกลองตอสาย
                                     2. ใชสําหรับเดินเขาบริภัณฑไฟฟา
                                     ยาวไมเกิน 2 เมตร


          รูปที่ 6-9 การติดตั้งทอรอยสายชนิดโลหะออน
ขอผิดพลาดที่พบบอยในการติดตั้ง
ปฏิบัติตามมาตรฐานอยาง
   เครงครัดเพื่อความปลอดภัย
     ของชีวิตและทรัพยสิน
           ขอบคุณมากครับ
               สันติ บุญมี
  หากมีขอสงสัย โทร 073-240870
email : daae_pea@hotmail.com

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเดโช พระกาย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301Nattarika Somkrua
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiencytatong it
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)Rangsit
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าPrasert Boon
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Andere mochten auch (20)

แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
ไฟฟ้าอิสระ
ไฟฟ้าอิสระไฟฟ้าอิสระ
ไฟฟ้าอิสระ
 
Selfpeck3หน่วยที่3
Selfpeck3หน่วยที่3Selfpeck3หน่วยที่3
Selfpeck3หน่วยที่3
 
Selfpeck4หน่วยที่ 4
Selfpeck4หน่วยที่ 4Selfpeck4หน่วยที่ 4
Selfpeck4หน่วยที่ 4
 
Selfpeck1
Selfpeck1Selfpeck1
Selfpeck1
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301
 
Circuit analysis test
Circuit analysis testCircuit analysis test
Circuit analysis test
 
Electricity atom energy
Electricity atom energyElectricity atom energy
Electricity atom energy
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Ähnlich wie Manual forinstall

การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)
การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)
การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)Panithi Veerapatarakul
 
เล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdf
เล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdfเล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdf
เล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdfPawachMetharattanara
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeterpeerasuk
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)Pampam Chaiklahan
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.pptbaipho
 

Ähnlich wie Manual forinstall (17)

การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)
การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)
การทดสอบความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC testing)
 
6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
 
เล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdf
เล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdfเล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdf
เล่มที่1การติดตั้งสายกระจาย.pdf
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Elect
ElectElect
Elect
 
Elect
ElectElect
Elect
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
สายกีตาร์
สายกีตาร์สายกีตาร์
สายกีตาร์
 
Jn 85 utr manual
Jn 85 utr manualJn 85 utr manual
Jn 85 utr manual
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt
 

Manual forinstall