SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ ๒
                              การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาในสมัยต่างๆ

สมัยสุโขทัย
         ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย
    ๑. ความต้องการปัจจัยในการดารงชีวิต เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ เป็นต้น
    ๒. ความต้องการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น ต้องการเก็บกักนาเอาไว้ใช้ใน
         ฤดูแล้ง
    ๓. ความต้องการที่จะใช้ประโยชน์จากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อนามาสร้างความสงบสุขให้
         สังคม เช่น การปลูกฝังให้คนไทยเกรงกลัวต่อบาป
    ๔. ความต้องการให้เกิดความมั่นคงของอาณาจักร เช่น ต้องการให้คนไทยมีการพูด อ่าน เขียนภาษา
         เดียวกัน
         ผลงานการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย
         ในสมัยสุโขทัย มีผลงานด้านภูมิปัญญาไทยหลายอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของคนไทยใน
การแก้ปัญหาการดารงชีวิตในลักษณะต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยมีตัวอย่างพอสังเขป ดังนี
         ๑) การสร้างที่กักเก็บน้าเอาไว้ใช้ในหน้าแล้ง เนื่องจากสภาพดินในเขตเมืองสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นดิน
ปนทรายที่ไม่อุ้มนา ทาให้เกิดปัญหาในการเพาะปลูกเพราะขาดแคลนนา โดยเฉพาะในหน้าแล้ง ด้วยเหตุนีชาว
สุโขทัยจึงหาวิธีการแก้ไขปัญหาธรรมชาติเหล่านีด้วยการสร้างระบบชลประทาน เพื่อเก็บนาเอาไว้ใช้ได้ตลอด
ทังปี มีการชักนา เก็บกักนา และระบายนา
         การชักนาจากที่สูงทางด้านตะวันตกของสุโขทัยมายังบริเวณที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย มีการร้างแนวคัน
ดินเพื่อบังคับนาที่ไหลจากที่สูงและหุบเขามาเก็บไว้ในคู ห้วย สระนา โดยมรท่อดินขนาดใหญ่ฝังลึกอยู่ใต้ผิวดิน
แนวคันดินสาหรับบังคับนานี เรียกว่า “เขื่อนพระร่วง”
         นอกจากนีมีการสร้าง “ตระพัง” เป็นสระสาหรับเก็บนา มีการสร้างแหล่งรับนาและระบายนาที่เป็น
ส่วนเกินจากแหล่งกักเก็บนา ใช้วิธีการระบายนาโดยทางนาเล็กๆ ลงสู่ที่ต่าซึ่งมีทังสระนาขนาดใหญ่และลา
คลองที่ทาหน้าที่ระบายนาลงสู่แม่นาลาคลอง แหล่งสาหรับรับนาและเก็บนาเพื่อระบายส่วนที่เกินไปยังพืนที่ที่
ต่ากว่านันเรียกว่า “สรีดภงส์”
         การที่ชาวสุโขทัยสามารถใช้วิธีการเอาชนะปัญหาการขาดแคลนนาในหน้าแล้งด้วยการใช้วิธีการ
ชลประทาน จัดได้ว่าเป็นภูมิปัญญาไทยที่ถ่ายทอดมาสู่ปัจจุบัน
         ๒) การใช้ศิลาแลงมาสร้างอาคารสถานที่ต่างๆ ศิลาแลงเป็นหินที่จะกลายสภาพเป็นดินในระยะ
ต่อมา แต่ยังไม่เป็นดินที่แท้จริง มีสภาพแข็งและมีลักษณะพรุน มีสีแดงและสะสมอยู่ในพืนดิน สามารถนามา
สร้างโบสถ์และศาสนสถานต่างๆ ได้ คนไทยในสมัยสุโขทัยได้สกัดเอาศิลาแลงออกมาเป็นแผ่นๆ และเอามา
ซ้อนเรียงกันจนมีลักษณะเป็นผนังของอาคาร โดยใช้นายาเป็นตัวประสานให้ศิลาแลงแต่ละแผ่นเชื่อมต่อกันเป็น
ศิลาแผ่นใหญ่ เช่น กาแพงเมืองชันในของเมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น
๓) การเคลือบเครื่องปั้นดินเผา คนไทยรู้จักใช้ดินเหนียวมาปั้นเป็นภาชนะต่างๆ แล้วนาไปเผาจน
แกร่งนามาใช้งานได้ ซึ่งมีการสืบสานต่อกันมาตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แต่เมื่อมาถึงสมัยสุโขทัยได้มีการ
เคลือบเครื่องปั้นดินเผาให้มีความสวยงาม ซึ่งเรียกว่า “เครื่องสังคโลก”
                                                                      ภูมิปัญญาในการทาเครื่องสังคโลกของ
                                                             ชาวสุโขทัยเริ่มตังแต่การรู้จักใช้ดินเหนียวและ
                                                             ดินขาวที่มีคุณภาพมาปั้น นายางไม้บางชนิดมา
                                                             ประกอบในการผลิตนายาเคลือบภาชนะเพื่อให้ดู
                                                             สวยงาม การสร้างเตาเผาที่สามารถระบายความ
                                                             ร้อนได้ ดังหลักฐานที่พบในบริเวณแหล่งผลิตที่
                                                             สาคัญ เช่น เตาทุเรียงที่เกาะน้อยและป่ายาง
                                                             ตอนเหนือของเมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น
                                                                      ภูมิปัญญาอีกอย่างหนึ่ง คือ การเผา
เครื่องปั้นดินเผา ซึ่งมักจะเผากันมากในฤดูฝน เพราะว่าทาให้อากาศในเตาและฝืนที่จะใช้เผามีความชืนมากขึน
ทาให้เครื่องเคลือบดินเผาสีเขียวไข่กา ความสวยงามกว่าเผาในฤดูร้อน
           ๔) การประดิษฐ์โลหกรรมส้าริด มนุษย์รู้จักการ
ประดิษฐ์โลหกรรมมาตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แต่ชาว
สุโขทัยได้ทดลองจนพบว่า การผสมตะกั่วลงในสาริดนันทาให้
โลหะหลอมได้ง่ายขึน และช่วยลดฟองอากาศในโลหะเหลว
ทาให้วัตถุที่หล่อมีคุณภาพกับการใช้ทาภาชนะ เครื่องประดับ
และวัตถุที่มีรูปร่างซับซ้อน เครื่องมือและอาวุธ หรือ
พระพุทธรูปสาริดที่มักจะไม่ผสมตะกั่วลงในสาริด เพราะ
ต้องการให้สาริดแข็งแกร่งและทนทาน
           ๕) การใช้วัสดุที่ส่วนผสมเหมาะส้าหรับท้าให้ปูนปั้นแข็งตัวได้เร็ว เนื่องจากในสมัยสุโขทัยมีการสร้าง
พระพุทธรูปและประดับตกแต่งด้วยปูนปั้น ชาวสุโขทัยจึงมีกรรมวิธีเพื่อให้ปูนนันแข็ง พบว่าการใช้ปูน ทราย
และนาอ้อยผสมกันนันทาให้ปูนปั้นแข็งตัวได้ภายในเวลานาน
           ๖) การใช้คติความเชื่อในเรื่องพระพุทธศาสนาควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม การปลูกฝังนิสัย
ของคนไทยในสมัยสุโขทัยให้มีแต่ความสงบและมีศีลธรรม เพื่อความร่มเย็น จาเป็นต้องอาศัยวิธีการที่แยบยล
จึงมีการประยุกต์นาเอาคาสอนในพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องมือในการปลูกฝังศีลธรรมของคนในสังคม
ตัวอย่างเช่น การนาเรื่องราวในไตรภูมิพระร่วงมาสอนให้คนทาความดีและเกรงกลัวต่อบาป
           ๗) การประดิษฐ์อักษรไทยขึนมาใช้เป็นแบบฉบับของตนเอง การประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกว่า
“ลายสือไทย” ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เมื่อ พ.ศ.๑๘๒๖ ได้ทรงดัดแปลงตัวหนังสือขอม มอญ ซึ่งนิยมใช้
กันอยู่ รวมทังน่าจะได้รับอิทธิพลจากตัวอักษรของลังกา และเทวนาครีของอินเดีย
ลายสือไทย ลักษณะพิเศษ เช่น การนาสระมาเรียงอยู่ระดับเดียวกับพยัญชนะจึงทาให้เกิดความ
สะดวกต่อการพิมพ์ในยุคปัจจุบัน (แต่สมัยต่อมาได้นาเอาสระไปไว้ข้างบนบ้าง ข้างล่างบ้าง) หรือการเขียน
พยัญชนะทุกตัวเรียงอยู่บรรทัดเดียวกัน มีตัวพยัญชนะซ้อนกันเหมือนตัวหนังสือของเขมร มอญ พม่า จึงถือได้
ว่าอักษรไทยครังนีเป็นภูมิปัญญาไทยที่เป็นมรดกตกทอดมาจนถึงทุกวันนี

สมัยอยุธยา
          ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย
          ๑. ลักษณะทางภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม บริเวณที่ตังของอาณาจักรอยุธยา มีสภาพพืนที่เป็นที่ราบ
ลุ่ม มีแม่นาไหลผ่านหลายสาย ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกและทาการค้ากับต่างชาติ ทาให้การดารงชีวิต
เปลี่ยนแปลงไปจากสมัยสุโขทัย
          ๒. ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม มีรูปแบบการปกครองแบบสังคมศักดินา พระมหากษัตริย์เป็น
ศูนย์กลางการปกครอง คติความเชื่อศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีอิทธิพลอย่างมาก การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาจึง
เกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
          ๓. การรับอิทธิพลจากภายนอก อยุธยาได้มีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติทังในทวีปเอเชียและยุโรป
เป็นผลให้สามารถนาเอาภูมิปัญญาบางอย่างของชาตินันๆมาปรับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชาวอยุธยา จน
กลายเป็นภูมิปัญญาไทย
ตัวอย่างการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา
     ๑) ด้านการเมืองการปกครอง
          ๑.๑ การสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมของคนไทย ได้ให้ความสาคัญต่อพระมหากษัตริย์
อย่างมาก โดยนาเอาลัทธิเทวราชาจากเขมรมาดัดแปลงให้สอดคล้องกับสังคมไทยพระมหากษัตริย์เปรียบเสมือน
เป็นสมมติเทพ แต่ยังทรงเป็นธรรมราชาตามแบบอย่างสุโขทัย
๑.๒ การควบคุมกาลังคน เนื่องจากอาณาจักรขยายอาณาเขตออกไปมากผู้คนก็เริ่มมีจานวนมากขึน
การควบคุมคนจึงมีความสาคัญมากขึน จึงมีการจัดระบบของสังคมศักดินาหรือการแบ่งชนชันขึนมา เพื่อให้การ
ดูแลได้ทั่วถึง ควบคุมได้ง่ายขึนกว่าเดิม
     ๒) ด้านภาษาและวรรณกรรม
          ๒.๑ การแต่งหนังสือ “จินดามณี” เพื่อให้ชาวอยุธยาการศึกษา อ่านออกเขียนได้ จะได้ไม่ไปเข้ารีต
ตามแบบฝรั่ง จึงเป็นภูมิปัญญาไทยอย่างหนึ่งที่ป้องกันการแทรกแซงทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศส ขณะเดียวกันก็
กลายเป็นแบบเรียนเล่มแรกสาหรับคนไทยที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
      ๓) ด้านการแพทย์แผนไทย ได้พัฒนามาจากความรู้ของคนไทยในอดีตผสมผสานกับคติความเชื่อใน
พระพุทธศาสนา มีการแพทย์เฉพาะทางเกิดขึน เช่น กรมแพทย์ยา กรมหมอกุมาร กรมหมอนวด เป็นต้น ใน
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีการรวบรวมตารายาที่เรียกว่า “ตาราพระโอสถพระนารายณ์”
     ๔) ด้านศิลปกรรม
          ๔.๑ สถาปัตยกรรม มีการสร้างสรรค์ที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ การสร้างที่อยู่อาศัย เช่น เรือน
เครื่องสับ เรือนเครื่องผูก การก่ออิฐถือปูน งานสถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยามีคุณค่าทังในด้านความงามและ
                                                       ประโยชน์ใช้สอย ที่แสดงถึงความสามารถอันสูงส่งของ
                                                       บรรดาช่างสมัยอยุธยาที่ปรากฏมาจนถึงปัจจุบันนี
                                                                 ๔.๒ จิตรกรรม ส่วนใหญ่ช่างจะนิยมเขียน
                                                       เป็นพุทธบูชาตามผนังโบสถ์ วิหาร ซึ่งเรียกว่า
                                                       “จิตรกรรมฝาผนัง” เป็นจิตรกรรมแบบประเพณีซึ่ง
                                                       เขียนด้วยสีฝุ่นผสมกาว การจัดวางภาพอย่างมีระบบ
                                                       และกันภาพด้วยลวดลายชนิดต่างๆ ภูมิปัญญาของ
                                                       จิตรกรรมไทยเป็นการสะท้องความเป็นไปทาง
                                                       ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศาสนา ลัทธิความเชื่อ
วัฒนธรรม และจารีตประเพณีแต่ละสมัยด้วย
          ๔.๓ งานเครื่องไม้จาหลัก เป็นงานที่ช่างต้องรู้จักวิธีการสลัก ฉลัก หรือจาหลักบนเนือไม้ให้เป็นรูปร่าง
ลวดลาย ด้วยเครื่องมือที่ทาจากโลหะในการแกะสลัก ต้องมีความรู้และเข้าใจลวดลายต่างๆ พอสมควร
          ๔.๔ งานปูนปั้น หมายถึงลวดลายหรือภาพที่เกิดจากการปั้นปูน เพื่อใช้ประดับตกแต่งและเป็น
ส่วนประกอบของสถาปัตยกรรม ปูนที่ใช้เป็นวัสดุที่ได้มาจากหินปูนหรือเปลือกหอยทะเลเผาไฟจนกลายเป็นผง
สีขาวที่เรียกว่า “ปูนขาว”
          ๔.๕ งานประดับมุก เป็นศิลปกรรมที่ทาขึนมาจากเปลือกหอยที่มีคุณลักษณะพิเศษ ความแวววาว
สามารถสะท้องให้เกิดเป็นสีต่างๆ ได้ นามาฉลุเป็นชินเล็กๆ นาไปประดับตกแต่งพืนผิวของภาชนะใช้สอยและ
อาคาร ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากช่างชาวจีน ศิลปกรรมที่ยังคงปรากฏให้เห็นคือ บานประตูประดับมุก ที่วิหาร
หลวง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
๔.๖ เครื่องเบญจรงค์ เป็นเครื่องถ้วยที่สั่งทาจาก
                                              จีน แต่ลวดลายสีสันเป็นฝีมือเขียนของช่างไทย สีที่ใช้ใน
                                              เครื่องถ้วยเบญจรงค์ที่เป็นหลักจะมี สีแดง เหลือง ขาว ดา
                                              เขียวหรือนาเงิน มักจะมีลวดลายเป็นเทพนม นรสิงห์ มีลาย
                                              กนกเป็นเปลวประกอบ


สมัยรัตนโกสินทร์
         ปัจจัยพืนฐานในสมัยสุโขทัยและอยุธยา ยังคงมีอิทธิพลต่อภูมิปัญญาไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการ
พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสังคมวัฒนธรรม สิ่งที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิปัญญาไทยก็คือ ความรู้ความเข้าใจทางด้านองค์ความรู้ต่างๆ จากภายนอกอันเกิดจากการที่คน
ไทยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบุคคลต่างอารยธรรม เช่น จีน ยุโรป และอินเดีย รวมทังการรุกรานของข้าศึก เช่น
พม่า จึงมีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย
ตัวอย่างการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์
         ๑) การสร้างราชธานี โดยการเลือกพืนที่ชัยภูมิ ที่มีแม่นาเป็นคูเมืองเพื่อป้องกันข้าศึกศัตรู ตลอดจน
คานึงถึงการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ
                                                ๒) การแพทย์ มีการรวบรวมจารึกตารายาและรูปฤาษีดัด
                                        ตนไว้ตามศาสนสถาน และจารึกตารายาไว้ตามฝาผนัง โดยเฉพาะที่
                                        วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ ถือว่าเป็นโรงพยาบาลแห่งแรก
                                        สาหรับรักษาราษฎร์
                                                ๓) การสร้างพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเป็น
                                        ศูนย์กลางราชธานีโดยให้
                                        เป็นไปตามแบบของกรุงศรี
                                        อยุธยา ประกอบด้วย หมู่
พระมหามณเฑียร (พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
และพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน) พระมหาปราสาท (พระที่นั่งดุสิตมหา
ปราสาท พระที่นั่งพิมานรัตยา) พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท (เป็น
สถาปัตยกรรมแบบยุโรปในสมัยสมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย)
         ๔) การทดผ้ามัดหมี่ เป็นผ้าทอพืนบ้านของคนไทยเชือสายลาว ซึ่งเรียกว่า “ไทยพวน” ได้นาภูมิ
ปัญญาการนาวัสดุธรรมชาติมาทอ เช่น ไหม ฝ้าย ใช้เชือกมัดเส้นไหมแล้วนาไปย้อม เมื่อตัดเชือกที่มัดออกก็จะ
เกิดลวดลายต่างๆ จึงกลายเป็นภูมิปัญญาที่ตกทอดลงมาถึงปัจจุบันและส่งผลไปถึงในระดับโลกด้วย
ความสามารถของคนไทย
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
      ๑. การหาโอกาสใช้สินค้าที่จาเป็นและเป็นผลผลิตที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย หรือถ้าสามารถสร้างเองได้ก็
นับว่ามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยได้ทางหนึ่ง เช่น การใช้เครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นงานหัตถกรรมไทย
การใช้สมันไพรในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบืองต้น
      ๒. การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในขณะที่เดินทางไปในสถานที่ต่างๆ เพื่อให้เห็นคุณค่าของ
ภูมิปัญญาไทย เช่น การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผาตามแหล่งผลิตต่างๆ การศึกษาเกี่ยวกับ
เครื่องมือเครื่องใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น การศึกษาเกี่ยวกับพืชสมุนไพร เป็นต้น
      ๓. การเผยแพร่ความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยให้กับคนรอบข้างและคนรุ่นต่อไป เพื่อให้เห็นประโยชน์และ
ความสาคัญของภูมิปัญญาไทย เพื่อช่วยกันอนุรักษ์ให้ยั่งยืนสืบต่อไป
      ๔. การเป็นสมาชิกของชมรมอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย เพื่อช่วยสืบสานภูมิปัญญาไทยต่อไป




                               ****************************************

Weitere ähnliche Inhalte

Empfohlen

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Empfohlen (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Unit2

  • 1. บทที่ ๒ การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาในสมัยต่างๆ สมัยสุโขทัย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ๑. ความต้องการปัจจัยในการดารงชีวิต เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ เป็นต้น ๒. ความต้องการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น ต้องการเก็บกักนาเอาไว้ใช้ใน ฤดูแล้ง ๓. ความต้องการที่จะใช้ประโยชน์จากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อนามาสร้างความสงบสุขให้ สังคม เช่น การปลูกฝังให้คนไทยเกรงกลัวต่อบาป ๔. ความต้องการให้เกิดความมั่นคงของอาณาจักร เช่น ต้องการให้คนไทยมีการพูด อ่าน เขียนภาษา เดียวกัน ผลงานการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย ในสมัยสุโขทัย มีผลงานด้านภูมิปัญญาไทยหลายอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของคนไทยใน การแก้ปัญหาการดารงชีวิตในลักษณะต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยมีตัวอย่างพอสังเขป ดังนี ๑) การสร้างที่กักเก็บน้าเอาไว้ใช้ในหน้าแล้ง เนื่องจากสภาพดินในเขตเมืองสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นดิน ปนทรายที่ไม่อุ้มนา ทาให้เกิดปัญหาในการเพาะปลูกเพราะขาดแคลนนา โดยเฉพาะในหน้าแล้ง ด้วยเหตุนีชาว สุโขทัยจึงหาวิธีการแก้ไขปัญหาธรรมชาติเหล่านีด้วยการสร้างระบบชลประทาน เพื่อเก็บนาเอาไว้ใช้ได้ตลอด ทังปี มีการชักนา เก็บกักนา และระบายนา การชักนาจากที่สูงทางด้านตะวันตกของสุโขทัยมายังบริเวณที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย มีการร้างแนวคัน ดินเพื่อบังคับนาที่ไหลจากที่สูงและหุบเขามาเก็บไว้ในคู ห้วย สระนา โดยมรท่อดินขนาดใหญ่ฝังลึกอยู่ใต้ผิวดิน แนวคันดินสาหรับบังคับนานี เรียกว่า “เขื่อนพระร่วง” นอกจากนีมีการสร้าง “ตระพัง” เป็นสระสาหรับเก็บนา มีการสร้างแหล่งรับนาและระบายนาที่เป็น ส่วนเกินจากแหล่งกักเก็บนา ใช้วิธีการระบายนาโดยทางนาเล็กๆ ลงสู่ที่ต่าซึ่งมีทังสระนาขนาดใหญ่และลา คลองที่ทาหน้าที่ระบายนาลงสู่แม่นาลาคลอง แหล่งสาหรับรับนาและเก็บนาเพื่อระบายส่วนที่เกินไปยังพืนที่ที่ ต่ากว่านันเรียกว่า “สรีดภงส์” การที่ชาวสุโขทัยสามารถใช้วิธีการเอาชนะปัญหาการขาดแคลนนาในหน้าแล้งด้วยการใช้วิธีการ ชลประทาน จัดได้ว่าเป็นภูมิปัญญาไทยที่ถ่ายทอดมาสู่ปัจจุบัน ๒) การใช้ศิลาแลงมาสร้างอาคารสถานที่ต่างๆ ศิลาแลงเป็นหินที่จะกลายสภาพเป็นดินในระยะ ต่อมา แต่ยังไม่เป็นดินที่แท้จริง มีสภาพแข็งและมีลักษณะพรุน มีสีแดงและสะสมอยู่ในพืนดิน สามารถนามา สร้างโบสถ์และศาสนสถานต่างๆ ได้ คนไทยในสมัยสุโขทัยได้สกัดเอาศิลาแลงออกมาเป็นแผ่นๆ และเอามา ซ้อนเรียงกันจนมีลักษณะเป็นผนังของอาคาร โดยใช้นายาเป็นตัวประสานให้ศิลาแลงแต่ละแผ่นเชื่อมต่อกันเป็น ศิลาแผ่นใหญ่ เช่น กาแพงเมืองชันในของเมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น
  • 2. ๓) การเคลือบเครื่องปั้นดินเผา คนไทยรู้จักใช้ดินเหนียวมาปั้นเป็นภาชนะต่างๆ แล้วนาไปเผาจน แกร่งนามาใช้งานได้ ซึ่งมีการสืบสานต่อกันมาตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แต่เมื่อมาถึงสมัยสุโขทัยได้มีการ เคลือบเครื่องปั้นดินเผาให้มีความสวยงาม ซึ่งเรียกว่า “เครื่องสังคโลก” ภูมิปัญญาในการทาเครื่องสังคโลกของ ชาวสุโขทัยเริ่มตังแต่การรู้จักใช้ดินเหนียวและ ดินขาวที่มีคุณภาพมาปั้น นายางไม้บางชนิดมา ประกอบในการผลิตนายาเคลือบภาชนะเพื่อให้ดู สวยงาม การสร้างเตาเผาที่สามารถระบายความ ร้อนได้ ดังหลักฐานที่พบในบริเวณแหล่งผลิตที่ สาคัญ เช่น เตาทุเรียงที่เกาะน้อยและป่ายาง ตอนเหนือของเมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น ภูมิปัญญาอีกอย่างหนึ่ง คือ การเผา เครื่องปั้นดินเผา ซึ่งมักจะเผากันมากในฤดูฝน เพราะว่าทาให้อากาศในเตาและฝืนที่จะใช้เผามีความชืนมากขึน ทาให้เครื่องเคลือบดินเผาสีเขียวไข่กา ความสวยงามกว่าเผาในฤดูร้อน ๔) การประดิษฐ์โลหกรรมส้าริด มนุษย์รู้จักการ ประดิษฐ์โลหกรรมมาตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แต่ชาว สุโขทัยได้ทดลองจนพบว่า การผสมตะกั่วลงในสาริดนันทาให้ โลหะหลอมได้ง่ายขึน และช่วยลดฟองอากาศในโลหะเหลว ทาให้วัตถุที่หล่อมีคุณภาพกับการใช้ทาภาชนะ เครื่องประดับ และวัตถุที่มีรูปร่างซับซ้อน เครื่องมือและอาวุธ หรือ พระพุทธรูปสาริดที่มักจะไม่ผสมตะกั่วลงในสาริด เพราะ ต้องการให้สาริดแข็งแกร่งและทนทาน ๕) การใช้วัสดุที่ส่วนผสมเหมาะส้าหรับท้าให้ปูนปั้นแข็งตัวได้เร็ว เนื่องจากในสมัยสุโขทัยมีการสร้าง พระพุทธรูปและประดับตกแต่งด้วยปูนปั้น ชาวสุโขทัยจึงมีกรรมวิธีเพื่อให้ปูนนันแข็ง พบว่าการใช้ปูน ทราย และนาอ้อยผสมกันนันทาให้ปูนปั้นแข็งตัวได้ภายในเวลานาน ๖) การใช้คติความเชื่อในเรื่องพระพุทธศาสนาควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม การปลูกฝังนิสัย ของคนไทยในสมัยสุโขทัยให้มีแต่ความสงบและมีศีลธรรม เพื่อความร่มเย็น จาเป็นต้องอาศัยวิธีการที่แยบยล จึงมีการประยุกต์นาเอาคาสอนในพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องมือในการปลูกฝังศีลธรรมของคนในสังคม ตัวอย่างเช่น การนาเรื่องราวในไตรภูมิพระร่วงมาสอนให้คนทาความดีและเกรงกลัวต่อบาป ๗) การประดิษฐ์อักษรไทยขึนมาใช้เป็นแบบฉบับของตนเอง การประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกว่า “ลายสือไทย” ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เมื่อ พ.ศ.๑๘๒๖ ได้ทรงดัดแปลงตัวหนังสือขอม มอญ ซึ่งนิยมใช้ กันอยู่ รวมทังน่าจะได้รับอิทธิพลจากตัวอักษรของลังกา และเทวนาครีของอินเดีย
  • 3. ลายสือไทย ลักษณะพิเศษ เช่น การนาสระมาเรียงอยู่ระดับเดียวกับพยัญชนะจึงทาให้เกิดความ สะดวกต่อการพิมพ์ในยุคปัจจุบัน (แต่สมัยต่อมาได้นาเอาสระไปไว้ข้างบนบ้าง ข้างล่างบ้าง) หรือการเขียน พยัญชนะทุกตัวเรียงอยู่บรรทัดเดียวกัน มีตัวพยัญชนะซ้อนกันเหมือนตัวหนังสือของเขมร มอญ พม่า จึงถือได้ ว่าอักษรไทยครังนีเป็นภูมิปัญญาไทยที่เป็นมรดกตกทอดมาจนถึงทุกวันนี สมัยอยุธยา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ๑. ลักษณะทางภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม บริเวณที่ตังของอาณาจักรอยุธยา มีสภาพพืนที่เป็นที่ราบ ลุ่ม มีแม่นาไหลผ่านหลายสาย ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกและทาการค้ากับต่างชาติ ทาให้การดารงชีวิต เปลี่ยนแปลงไปจากสมัยสุโขทัย ๒. ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม มีรูปแบบการปกครองแบบสังคมศักดินา พระมหากษัตริย์เป็น ศูนย์กลางการปกครอง คติความเชื่อศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีอิทธิพลอย่างมาก การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาจึง เกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๓. การรับอิทธิพลจากภายนอก อยุธยาได้มีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติทังในทวีปเอเชียและยุโรป เป็นผลให้สามารถนาเอาภูมิปัญญาบางอย่างของชาตินันๆมาปรับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชาวอยุธยา จน กลายเป็นภูมิปัญญาไทย ตัวอย่างการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา ๑) ด้านการเมืองการปกครอง ๑.๑ การสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมของคนไทย ได้ให้ความสาคัญต่อพระมหากษัตริย์ อย่างมาก โดยนาเอาลัทธิเทวราชาจากเขมรมาดัดแปลงให้สอดคล้องกับสังคมไทยพระมหากษัตริย์เปรียบเสมือน เป็นสมมติเทพ แต่ยังทรงเป็นธรรมราชาตามแบบอย่างสุโขทัย
  • 4. ๑.๒ การควบคุมกาลังคน เนื่องจากอาณาจักรขยายอาณาเขตออกไปมากผู้คนก็เริ่มมีจานวนมากขึน การควบคุมคนจึงมีความสาคัญมากขึน จึงมีการจัดระบบของสังคมศักดินาหรือการแบ่งชนชันขึนมา เพื่อให้การ ดูแลได้ทั่วถึง ควบคุมได้ง่ายขึนกว่าเดิม ๒) ด้านภาษาและวรรณกรรม ๒.๑ การแต่งหนังสือ “จินดามณี” เพื่อให้ชาวอยุธยาการศึกษา อ่านออกเขียนได้ จะได้ไม่ไปเข้ารีต ตามแบบฝรั่ง จึงเป็นภูมิปัญญาไทยอย่างหนึ่งที่ป้องกันการแทรกแซงทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศส ขณะเดียวกันก็ กลายเป็นแบบเรียนเล่มแรกสาหรับคนไทยที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน ๓) ด้านการแพทย์แผนไทย ได้พัฒนามาจากความรู้ของคนไทยในอดีตผสมผสานกับคติความเชื่อใน พระพุทธศาสนา มีการแพทย์เฉพาะทางเกิดขึน เช่น กรมแพทย์ยา กรมหมอกุมาร กรมหมอนวด เป็นต้น ใน สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีการรวบรวมตารายาที่เรียกว่า “ตาราพระโอสถพระนารายณ์” ๔) ด้านศิลปกรรม ๔.๑ สถาปัตยกรรม มีการสร้างสรรค์ที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ การสร้างที่อยู่อาศัย เช่น เรือน เครื่องสับ เรือนเครื่องผูก การก่ออิฐถือปูน งานสถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยามีคุณค่าทังในด้านความงามและ ประโยชน์ใช้สอย ที่แสดงถึงความสามารถอันสูงส่งของ บรรดาช่างสมัยอยุธยาที่ปรากฏมาจนถึงปัจจุบันนี ๔.๒ จิตรกรรม ส่วนใหญ่ช่างจะนิยมเขียน เป็นพุทธบูชาตามผนังโบสถ์ วิหาร ซึ่งเรียกว่า “จิตรกรรมฝาผนัง” เป็นจิตรกรรมแบบประเพณีซึ่ง เขียนด้วยสีฝุ่นผสมกาว การจัดวางภาพอย่างมีระบบ และกันภาพด้วยลวดลายชนิดต่างๆ ภูมิปัญญาของ จิตรกรรมไทยเป็นการสะท้องความเป็นไปทาง ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศาสนา ลัทธิความเชื่อ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีแต่ละสมัยด้วย ๔.๓ งานเครื่องไม้จาหลัก เป็นงานที่ช่างต้องรู้จักวิธีการสลัก ฉลัก หรือจาหลักบนเนือไม้ให้เป็นรูปร่าง ลวดลาย ด้วยเครื่องมือที่ทาจากโลหะในการแกะสลัก ต้องมีความรู้และเข้าใจลวดลายต่างๆ พอสมควร ๔.๔ งานปูนปั้น หมายถึงลวดลายหรือภาพที่เกิดจากการปั้นปูน เพื่อใช้ประดับตกแต่งและเป็น ส่วนประกอบของสถาปัตยกรรม ปูนที่ใช้เป็นวัสดุที่ได้มาจากหินปูนหรือเปลือกหอยทะเลเผาไฟจนกลายเป็นผง สีขาวที่เรียกว่า “ปูนขาว” ๔.๕ งานประดับมุก เป็นศิลปกรรมที่ทาขึนมาจากเปลือกหอยที่มีคุณลักษณะพิเศษ ความแวววาว สามารถสะท้องให้เกิดเป็นสีต่างๆ ได้ นามาฉลุเป็นชินเล็กๆ นาไปประดับตกแต่งพืนผิวของภาชนะใช้สอยและ อาคาร ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากช่างชาวจีน ศิลปกรรมที่ยังคงปรากฏให้เห็นคือ บานประตูประดับมุก ที่วิหาร หลวง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
  • 5. ๔.๖ เครื่องเบญจรงค์ เป็นเครื่องถ้วยที่สั่งทาจาก จีน แต่ลวดลายสีสันเป็นฝีมือเขียนของช่างไทย สีที่ใช้ใน เครื่องถ้วยเบญจรงค์ที่เป็นหลักจะมี สีแดง เหลือง ขาว ดา เขียวหรือนาเงิน มักจะมีลวดลายเป็นเทพนม นรสิงห์ มีลาย กนกเป็นเปลวประกอบ สมัยรัตนโกสินทร์ ปัจจัยพืนฐานในสมัยสุโขทัยและอยุธยา ยังคงมีอิทธิพลต่อภูมิปัญญาไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการ พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสังคมวัฒนธรรม สิ่งที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิปัญญาไทยก็คือ ความรู้ความเข้าใจทางด้านองค์ความรู้ต่างๆ จากภายนอกอันเกิดจากการที่คน ไทยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบุคคลต่างอารยธรรม เช่น จีน ยุโรป และอินเดีย รวมทังการรุกรานของข้าศึก เช่น พม่า จึงมีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย ตัวอย่างการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ๑) การสร้างราชธานี โดยการเลือกพืนที่ชัยภูมิ ที่มีแม่นาเป็นคูเมืองเพื่อป้องกันข้าศึกศัตรู ตลอดจน คานึงถึงการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ ๒) การแพทย์ มีการรวบรวมจารึกตารายาและรูปฤาษีดัด ตนไว้ตามศาสนสถาน และจารึกตารายาไว้ตามฝาผนัง โดยเฉพาะที่ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ ถือว่าเป็นโรงพยาบาลแห่งแรก สาหรับรักษาราษฎร์ ๓) การสร้างพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเป็น ศูนย์กลางราชธานีโดยให้ เป็นไปตามแบบของกรุงศรี อยุธยา ประกอบด้วย หมู่ พระมหามณเฑียร (พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งไพศาลทักษิณ และพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน) พระมหาปราสาท (พระที่นั่งดุสิตมหา ปราสาท พระที่นั่งพิมานรัตยา) พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท (เป็น สถาปัตยกรรมแบบยุโรปในสมัยสมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย) ๔) การทดผ้ามัดหมี่ เป็นผ้าทอพืนบ้านของคนไทยเชือสายลาว ซึ่งเรียกว่า “ไทยพวน” ได้นาภูมิ ปัญญาการนาวัสดุธรรมชาติมาทอ เช่น ไหม ฝ้าย ใช้เชือกมัดเส้นไหมแล้วนาไปย้อม เมื่อตัดเชือกที่มัดออกก็จะ เกิดลวดลายต่างๆ จึงกลายเป็นภูมิปัญญาที่ตกทอดลงมาถึงปัจจุบันและส่งผลไปถึงในระดับโลกด้วย ความสามารถของคนไทย
  • 6. การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ๑. การหาโอกาสใช้สินค้าที่จาเป็นและเป็นผลผลิตที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย หรือถ้าสามารถสร้างเองได้ก็ นับว่ามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยได้ทางหนึ่ง เช่น การใช้เครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นงานหัตถกรรมไทย การใช้สมันไพรในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบืองต้น ๒. การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในขณะที่เดินทางไปในสถานที่ต่างๆ เพื่อให้เห็นคุณค่าของ ภูมิปัญญาไทย เช่น การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผาตามแหล่งผลิตต่างๆ การศึกษาเกี่ยวกับ เครื่องมือเครื่องใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น การศึกษาเกี่ยวกับพืชสมุนไพร เป็นต้น ๓. การเผยแพร่ความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยให้กับคนรอบข้างและคนรุ่นต่อไป เพื่อให้เห็นประโยชน์และ ความสาคัญของภูมิปัญญาไทย เพื่อช่วยกันอนุรักษ์ให้ยั่งยืนสืบต่อไป ๔. การเป็นสมาชิกของชมรมอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย เพื่อช่วยสืบสานภูมิปัญญาไทยต่อไป ****************************************