SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 48
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นองค์กรในกำ�กับของสำ�นัก
นายกรัฐมนตรี ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535 มีภารกิจหลักในการสนับสนุนการวิจัยเพื่อ
สร้างองค์ความรู้ใหม่ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์
การวิจัยเชิงนโยบาย และการวิจัยประยุกต์ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคม และวิชาการของประเทศทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ
	 กว่า 2ทศวรรษที่ผ่านมา สกว.ได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นหน่วยงานที่ประสบความสำ�เร็จ
อย่างยิ่งในการสร้างนวัตกรรมด้านการบริหารงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดนักวิจัย
จำ�นวนมาก และผลงานวิจัยที่ทรงคุณค่าสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ครบทุกด้าน ได้รับ
รางวัลหน่วยงานทุนหมุนเวียนดีเด่นจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ซึ่ง สกว. จะ
รักษาจุดเด่นนี้และใช้เป็นพลังในการขับเคลื่อนต่อไป
	 ยุทธศาสตร์สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2557-2560 ฉบับนี้
ได้ประมวลขึ้นจากความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขา หลากหลายภาคส่วน
และบูรณาการเข้ากับยุทธศาสตร์ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ
ยุทธศาสตร์วิจัยของชาติ ที่มุ่งเน้นการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศและการเจริญเติบโต
ที่ยั่งยืน มีเป้าหมายเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth and
Competitiveness) สร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive
Growth) สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth)
บนพื้นฐานของการเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable Growth)
	 ในการจัดทำ�แผนฯ มีกระบวนการขั้นตอนที่ครบถ้วน มีส่วนร่วมทั้งบุคลากร
ภายในและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก สกว. จำ�นวนมาก เมื่อได้ร่างแผนยุทธศาสตร์แล้ว
ได้มีกระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยมีวิธีการคือ การทำ�ความ
เข้าใจในวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และการจัดทำ�กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ เพื่อรองรับ
ยุทธศาสตร์ต่างๆ โดยในขั้นตอนนี้ ได้เกิดแนวคิดความคิดใหม่ๆ ที่จะเป็นนวัตกรรม
การบริหารขึ้นอีกหลายประการ จากนั้นได้นำ�มาปรับปรุงให้เหมาะสม และนำ�เสนอต่อ
คณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย และเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัย
แห่งชาติ จึงถือได้ว่าเป็นยุทธศาสตร์ที่มีความสมบูรณ์สามารถใช้เป็นกรอบทิศทาง
การบริหารจัดการงานวิจัย ของ สกว. ในระยะต่อไป
	 ปี พ.ศ. 2557 - 2560 จึงเป็นก้าวย่างใหม่ที่สำ�คัญของ สกว. ในการขับเคลื่อน
องค์กรสู่ความท้าทายในทศวรรษที่ 3 พร้อมกับการเริ่มวิสัยทัศน์ และแผนยุทธศาสตร์
ฉบับใหม่อย่างเป็นรูปธรรม ผ่าน 5 ยุทธศาสตร์สำ�คัญ ได้แก่ 1) การสนับสนุนการวิจัย
และพัฒนาในประเด็นสำ�คัญ 2) การสร้างและเพิ่มศักยภาพของนักวิจัย บุคลากร
เครือข่าย และองค์กรวิจัย 3) การพัฒนาระบบวิจัยให้มีประสิทธิภาพ 4) การบริหาร
จัดการเพื่อนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5) การพัฒนา
องค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
	 สกว. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนยุทธศาสตร์ฯ ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักวิจัย
เครือข่ายวิจัย องค์กรวิจัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ในการกำ�หนดแนวทาง
และสร้างสรรค์งานวิจัยร่วมกับ สกว. เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการใช้ความรู้
ข้อมูล และเหตุผลในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตาม
เจตนารมณ์ “สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อพัฒนาประเทศ”
				 ศาสตราจารย์นายแพทย์สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ
	 	 	 	 	 ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ความเป็นมา หลักการ และกระบวนการ	 07
		 การจัดทำ�ยุทธศาสตร์
		 การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส 	 11
		 และความท้าทายใหม่
				 •	จุดแข็ง		 12
		 	 	 •	จุดอ่อน		 16
		 	 	 •	โอกาส		 17
		 	 	 •	ความท้าทายใหม่	 19
		 ยุทธศาสตร์สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย	 21
				 •	วิสัยทัศน์	 22
		 	 	 •	พันธกิจ		 22
		 	 	 •	ตำ�แหน่งขององค์กร สกว. ในระบบวิจัยของประเทศ	 23
		 	 	 •	เป้าประสงค์	 24
		 	 	 •	ผลผลิตและผลลัพธ์	 25
		 	 	 •	ยุทธศาสตร์ สกว. 2557 - 2560	 26
ส่วนที่
ส่วนที่
ส่วนที่
ยุทธศาสตร์ 1	 การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในประเด็นสำ�คัญ 	 29
		 เพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญา 
		 นโยบายที่ถูกต้องและเพียงพอ ตรงกับปัญหา และ
		 สามารถนำ�ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน สังคมและ
		 ประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	ยุทธศาสตร์ 2	 การสร้างและการพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย	 32	
		 บุคลากรวิจัย เครือข่ายวิจัย และองค์กรวิจัย
		 ให้มีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ
	ยุทธศาสตร์ 3	 การพัฒนาระบบการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ	 34	
		 มีการทำ�งานเป็นเครือข่ายและเชื่อมโยงสู่สากล
	ยุทธศาสตร์ 4	 การบริหารจัดการเพื่อนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์	 36	
		 ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
		 และการพัฒนาระบบการสื่อสารและการเชื่อมโยง
		 กับสังคมและฝ่ายนโยบายเพื่อให้เห็นคุณค่าของ
		 ความรู้และงานวิจัย
	ยุทธศาสตร์ 5	 การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง	 38
		 •	 เป้าหมาย ผลผลิต	 39
	ภาคผนวก			 40
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
พ.ศ. 2557 - 2560
ส่วนที่
ความเป็นมา หลักการ
และกระบวนการจัดทำ�ยุทธศาสตร์
1
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
8
พ.ศ. 2557-2560
	 	 สืบเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2552 - 2556 ได้
สิ้นสุดลง ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จึงได้จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
ฉบับใหม่ พ.ศ. 2557 - 2560 นี้ขึ้น โดยได้ศึกษาและพิจารณาบริบทต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. 	ศึกษา ทบทวน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.
	 2555 - 2559), ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) พ.ศ. 2555 และ
	 นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2555 - 2559
2.	 วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประมวลการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญที่เกิดขึ้นใน
	 ปัจจุบัน และที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งในระดับชุมชน ระดับท้องถิ่น ระดับ
	 ประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก ครอบคลุมทุกประเด็น อาทิ
	 เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
	 ตลอดจนการคาดการณ์ต่อสถานการณ์การ
	 เปลี่ยนแปลงของประเทศไทย ในบริบทของ
	 กระแสโลกาภิวัตน์ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
	 ประชากร การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชีย
	 และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ซึ่งจะ
	 ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย
ความเป็นมา หลักการ
และกรอบแนวทาง
2
9
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
กระบวนการ
และขั้นตอน
	 	 ได้ด�ำเนินการจัดการประชุมเพื่อระดมความคิด เรื่อง ทิศทางส�ำหรับ
การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ การสนับสนุนการวิจัยของ สกว. พ.ศ. 2557 - 2560
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 6 - 7
กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และได้น�ำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะมาประมวลและ
ยกร่างยุทธศาสตร์ขึ้น จากนั้นได้น�ำเข้าสู่การพิจารณาของคณะผู้บริหาร สกว.
เมื่อได้ปรับปรุงแล้ว จึงได้น�ำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายกองทุน
สนับสนุนการวิจัย เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556 และได้แก้ไขปรับปรุง
ร่างยุทธศาสตร์อีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ ได้น�ำเสนอเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจาก
เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) และได้น�ำเสนอเพื่อรับฟัง
ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้ง
จัดกิจกรรมแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติภายใน สกว. และได้น�ำผลสรุป
มาปรับปรุงเพิ่มเติม แล้วจึงจัดพิมพ์เป็นเอกสารเผยแพร่ต่อไป
3.	 พิจารณาเป้าหมายการพัฒนาประเทศที่มีความชัดเจนมากขึ้น และการเปลี่ยนแปลง
	 องคาพยพในระบบวิจัยของประเทศที่เติบโตแข็งแรงและมีความเป็นเอกภาพมากขึ้น
	 อันเป็นผลจากการก่อตั้งเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ในขณะที่
	 ทรัพยากรงบประมาณเพื่อการวิจัยยังมีจ�ำกัดอยู่เช่นเดิม
4.	 วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และความท้าทายใหม่ของ สกว.
	 ทั้งนี้ เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์ใหม่ของ สกว. ส�ำหรับ 4 ปีข้างหน้า มีกรอบการสนับสนุน
การวิจัยที่ชัดเจน สามารถบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์ โดยใช้เป้าหมายของการพัฒนา
ประเทศ เป็นเป้าหมายหลัก สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายวิจัยระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบทบาทของประเทศไทย
ในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเพื่อให้ สกว. เป็นองค์กรที่เข้มแข็งสามารถ
รองรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 ปีข้างหน้า อันเป็นจุดเริ่มต้นของทศวรรษที่ 3 ของ สกว.
ส่วนที่
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
พ.ศ. 2557 - 2560
การวิเคราะห์
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และความท้าทายใหม่
1
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
12
พ.ศ. 2557-2560
1.	 เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการทุนวิจัยและการบริหารจัดการงานวิจัยที่ดี
	 มีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของโครงการวิจัย สร้างผลงานวิจัยที่มี
	 ปริมาณและคุณภาพสูง ทั้งส่วนวิจัยพื้นฐาน และการวิจัยและพัฒนา 
2.	 เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการกองทุนที่ดี สามารถเป็นแบบอย่างได้ โดย
	 ใน พ.ศ. 2555 กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้มอบรางวัลหน่วยงาน
	 ทุนหมุนเวียนดีเด่นประจ�ำปี 2555 ประเภทรางวัลผลการด�ำเนินงานดีเด่น
	 ให้แก่ สกว. เพราะมีผลงานอยู่ในระดับดีถึงดีมากมาโดยตลอด นับตั้งแต่
	 มีการประเมินกองทุนหมุนเวียนเมื่อ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา
3.	 มีศักยภาพในการประสานเครือข่ายวิจัย ผู้ประกอบการ ชุมชน สถาบันการ
	 ศึกษา และหน่วยงานต่างๆ ในหลายสาขาและหลายพื้นที่ ทั้งภายในประเทศ
	 และต่างประเทศ เป็นชุมชนผู้รู้หลากหลายสาขาวิชา รวมทั้งมีฐานข้อมูล
	 งานวิจัยและผู้เชี่ยวชาญที่ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ทั้งด้านนโยบาย
	 ด้านพาณิชย์ ด้านวิชาการ ด้านสาธารณะ ปัจจุบัน สกว. มีนักวิจัยที่ร่วมงาน
	 เป็นจ�ำนวนกว่า 36,000 คน ในจ�ำนวนนี้ เป็นนักวิจัยจากสถาบันวิชาการ
	 หน่วยวิจัยภาครัฐ และภาคเอกชน จ�ำนวน 17,200 คน และนักวิจัยภาค
	 ประชาชนจ�ำนวน 18,800 คน เกิดผลงานวิจัย ที่น�ำไปใช้ประโยชน์จ�ำนวน
	 กว่า 2,300 โครงการ โดยเฉพาะใน 3 ปีล่าสุด (พ.ศ. 2554 - 2556) มีงานวิจัย
	 ที่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์มากกว่าร้อยละ 60 ของโครงการวิจัยที่สิ้นสุดใน
	 แต่ละปี ผลิตผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติจ�ำนวนกว่า 1,500
	 เรื่อง โดยมีค่าเฉลี่ยของจ�ำนวนผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ
	 ของโครงการที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2555 เท่ากับ 2.53 เรื่องต่อโครงการ
	 	 สกว. ได้ท�ำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร (SWOT
Analysis) ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นหลักๆ ดังนี้
จุดแข็ง
13
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
4.	 เป็นองค์กรที่สามารถสร้างนวัตกรรมการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ
	 ด้าน Research Capacity Building ที่ผลักดันและยกระดับมาตรฐานงานวิจัยของ
	 ประเทศไทย อาทิ
	 •	 การสนับสนุนการสร้างนักวิจัยระดับต่างๆ ตามประสบการณ์และความสามารถ
	 	 อาทิ นักวิจัยรุ่นใหม่ เมธีวิจัย วุฒิเมธีวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส ศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น
	 	 ท�ำให้นักวิจัยมี Research Mind และเป็นการสร้างเส้นทางความก้าวหน้าใน
	 	 สายอาชีพ (Career Path) ให้นักวิจัยได้เป็นอย่างดี ยกระดับเกียรติและศักดิ์ศรี
	 	 ของนักวิจัยในสังคมมากยิ่งขึ้น
	 •	 โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) เป็นความร่วมมือระหว่างส�ำนักงาน
	 	 พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และส�ำนักงานคณะกรรมการ
	 	 การอุดมศึกษา (สกอ.) และ สกว. ในการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอกที่มีคุณภาพ
	 	 สูง เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ระบบวิจัย และเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ
	 	 โดยเริ่มให้ทุนตั้งแต่ พ.ศ. 2541 และยังคงให้ทุนต่อเนื่องถึงปัจจุบันปีละประมาณ
	 	 300 ทุน มีผลผลิตได้แก่ ดุษฎีบัณฑิตเพิ่มขึ้นจาก 110 คน ใน พ.ศ. 2536 เป็น
	 	 2,176 คน ใน พ.ศ. 2556 ผลงานวิจัย 5,313 เรื่อง ระบบบัณฑิตศึกษาที่เข้มแข็ง
	 	 มีอาจารย์ที่ปรึกษาชาวไทย จ�ำนวน 1,790 คน จาก 27 มหาวิทยาลัย อาจารย์
	 	 ที่ปรึกษาชาวต่างประเทศ จ�ำนวน 2,739 คน จากมหาวิทยาลัยกว่า 1,025 แห่ง
	 	 ใน 44 ประเทศทั่วโลก
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
14
พ.ศ. 2557-2560
	 •	 การพัฒนางานวิจัยและนักวิจัยเพื่อภาคอุตสาหกรรม (พวอ.) ริเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2548
	 	 โดยมุ่งให้ภาคอุตสาหกรรมเป็นผู้ก�ำหนดหัวข้อวิจัย ร่วมลงทุน และตัดสินใจว่าจะ
	 	 ใช้งบประมาณส�ำหรับการวิจัยเรื่องใด โดยเน้นการต่อยอดจากฐานเทคโนโลยีที่
	 	 ใช้อยู่แล้ว และย้อนกลับมาสู่งานวิจัยพื้นฐาน และเชื่อมโยงกับสถาบันการศึกษา 
	 	 ต่อมาใน พ.ศ. 2555 โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมที่ สกว.
	 	 ริเริ่มขึ้นนี้ ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2555
	 	 โดยได้รับอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณจ�ำนวน 29,172 ล้านบาท ระยะเวลา 15 ปี
	 	 และส�ำนักงบประมาณได้จัดสรรงบประมาณในปี 2556 จ�ำนวน 200 ล้านบาท
	 	 เพื่อสนับสนุนการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก รองรับความ
	 	 ต้องการของภาคอุตสาหกรรมการพัฒนา และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
	 	 ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
	 	 ระหว่างนักวิจัย ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศกับภาคอุตสาหกรรม
15
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 •	 งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ ซึ่ง สกว. ได้ริเริ่ม
	 	 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (Community Based Research) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2540
	 	 โดยเน้นให้ชุมชนท้องถิ่นเป็นผู้ก�ำหนดโจทย์วิจัย เก็บข้อมูล ทดลองปฏิบัติและ
	 	 แก้ปัญหาตนเองในรูปแบบของงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ให้ทุนวิจัยมาแล้วกว่า 2,500
	 	 โครงการ ที่เป็นฐานส�ำคัญและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และ
	 	 ในปี พ.ศ. 2550 ได้เริ่มงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Area Based Collaborative
	 	 Research : ABC Research) เพื่อให้สามารถจัดการกับโจทย์วิจัยที่ซับซ้อน
	 	 ต้องการการจัดการความรู้ และการประสานงานกับภาคีทุกภาคส่วน ร่วมกัน
	 	 แก้ปัญหาและก�ำหนดทางเลือกในการพัฒนาร่วมกัน ปัจจุบันด�ำเนินงานในพื้นที่
	 	 25 จังหวัด ทั่วประเทศ
	 •	 มีการริเริ่มและด�ำเนินการความร่วมมือทางการวิจัย (Research Collaboration)
	 	 กับนักวิจัย และสถาบันวิจัยในต่างประเทศ ทั้งกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านและกลุ่ม
	 	 ประเทศเอเชียตะวันออก ปัจจุบันด�ำเนินงาน รวม 7 ประเทศ และได้ผลลัพธ์ที่ดี
	 	 เป็นจุดเริ่มต้นของการเชื่อมโยงองค์ความรู้ระดับนานาชาติ เพื่อเพิ่มพูนความสัมพันธ์
	 	 ในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นมิติใหม่ที่ส�ำคัญของระบบวิจัยในประเทศไทย
2
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
16
พ.ศ. 2557-2560
1.	 สกว. ต้องพึ่งพางบประมาณของรัฐเป็นส่วนใหญ่ มีแหล่งงบประมาณอื่น
	 ที่ใช้สนับสนุนงานวิจัยน้อย ท�ำให้เงินทุนไม่เพียงพอต่อการด�ำเนินภารกิจ
	 ที่ตั้งเป้าหมายไว้
2.	 การท�ำงานร่วมกับภาคการเมือง ขับเคลื่อนเชิงนโยบายการพัฒนาประเทศ
	 ยังท�ำได้ในวงจ�ำกัด
3.	 การพัฒนาประเทศในอนาคตมีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปตาม
	 สถานการณ์เฉพาะหน้า ดังนั้น การวิจัยจึงต้องการการบูรณาการความรู้
	 เพื่อตอบโจทย์ได้ทันเวลา ระบบบริหารจัดการทุนของ สกว. มีการจัดแบ่ง
	 ประเภททุนและจัดสรรเป็นรายฝ่ายและรายโครงการวิจัย จึงมีประสิทธิภาพ
	 ในอดีต แต่ในปัจจุบันอาจจะยังไม่สามารถรับมือกับบริบทที่เปลี่ยนไปใน
	 อนาคตได้ จ�ำเป็นต้องมีการปรับเพื่อให้เกิดการบูรณาการ และประสาน
	 พลังทรัพยากรวิชาการที่มีอยู่ระหว่างฝ่ายต่างๆ ร่วมผลักดันการท�ำงานให้
	 เคลื่อนไปพร้อมกัน
4.	 การสื่อสารผลงานวิจัยเพื่อสร้างการเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ โดยเฉพาะ
	 มหาวิทยาลัยและองค์กรทางสังคม เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนการแก้ปัญหา
	 ยังท�ำได้อย่างจ�ำกัด
5.	 สกว. ยังไม่เป็นที่รู้จักในสังคมวงกว้าง กล่าวคือ สกว. เป็นที่รู้จักในวงวิชาการ
	 การวิจัยและสถาบันการศึกษา แต่ยังไม่สามารถสื่อสารกับสังคมไทยโดย
	 ทั่วไปได้
จุดอ่อน
3
17
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
1.	 นโยบายการพัฒนาประเทศ มีความชัดเจนในการที่จะมุ่งให้ประเทศหลุดพ้น
	 จากกับดักการเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap)
	 ด้วยการตั้งเป้าลงทุนด้านการวิจัยของประเทศไว้ที่ร้อยละ 1 ของ GDP
2.	 มหาวิทยาลัยมีความเข้มแข็งทางวิชาการและระบบการจัดการวิจัย ตลอดจน
	 มีงบประมาณในการสนับสนุนงานวิจัยทั้งจากงบประมาณรายได้ของ
	 มหาวิทยาลัย และการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกมากขึ้น เฉพาะด้าน
	 การพัฒนาศักยภาพการท�ำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ พบว่ามีมหาวิทยาลัย
	 ที่ร่วมสนับสนุนเพิ่มขึ้น ทั้งจ�ำนวนสถาบันและงบประมาณโดยใน พ.ศ. 2555
	 มีมหาวิทยาลัย 60 แห่ง ร่วมสนับสนุนทุนวิจัยจ�ำนวนรวม 60.87 ล้านบาท
3.	 ภาคเอกชนให้ความส�ำคัญกับการวิจัยและมีการลงทุนท�ำวิจัยมากขึ้น
4.	 มีกลไกการท�ำงานร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย คือ เครือข่าย
	 องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ที่จะเชื่อมโยงการท�ำงานกับ
	 ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่เป็น
	 หน่วยสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ และโครงการขนาดใหญ่
	 ของรัฐให้ใช้ความรู้จากงานวิจัย
5.	 ขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศอยู่ใน
	 ระดับดี มีผลงานวิจัยและบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์
	 และเทคโนโลยีชีวภาพ ในระดับน่าพอใจ เยาวชนไทยมีความสามารถด้าน
	 ชีววิทยาสูงเมื่อเทียบกับศาสตร์อื่นๆ มีทรัพยากรด้านการผลิตในภาค
	 การเกษตรมาก (ข้าว มันส�ำปะหลัง อ้อย ยาง ปาล์มน�้ำมัน) มีชื่อเสียง
	 ด้านการเกษตรและอาหาร บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข และ
	 การท่องเที่ยว
โอกาส
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
18
พ.ศ. 2557-2560
6.	 ทิศทางการพัฒนาประเทศเน้นการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค และการขับเคลื่อน
	 แผน ไปสู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ เพื่อให้สามารถจัดการกับปัญหาและพัฒนาให้เกิด
	 ประสิทธิภาพมากขึ้น และต้องการข้อมูลและความรู้หลายสาขา เพื่อการท�ำงานและ
	 เตรียมความพร้อมในการเผชิญกับความเสี่ยงและความท้าทายใหม่ๆ
7.	 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) ได้ออกประกาศ เรื่อง
	 หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์
	 รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2556 ในการใช้ “ผลงานวิชาการ
	 รับใช้สังคม” เป็นผลงานในการขอต�ำแหน่งวิชาการ ทั้งนี้ต้องเป็นผลงานที่มีประโยชน์
	 ต่อสังคมหรือท้องถิ่นที่เกิดขึ้น โดยใช้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาอย่างน้อยหนึ่งสาขา
	 วิชา และปรากฏผลที่สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรมโดย ประจักษ์ต่อสาธารณะ
8.	 ฐานทรัพยากร การสั่งสมภูมิปัญญาท้องถิ่น และทุนทางสังคมในท้องถิ่นต่างๆ ของ
	 ประเทศที่สามารถน�ำมาใช้ต่อยอดงานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
	 ได้อย่างต่อเนื่อง หรือได้รับการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยโดยชาวบ้าน เพื่อแก้ปัญหาใน
	 พื้นที่ และสร้างนวัตกรรมสังคมในระดับชุมชนท้องถิ่นได้
9.	 ประเทศไทยมีศักยภาพเป็นจุดเชื่อมต่อของอนุภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชีย การเติบโต
	 ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท�ำให้ประเทศต่างๆ เร่งหาแนวทางความร่วมมือ
	 กับประเทศไทย และประชาคมอาเซียนในทุกๆ ด้าน รวมทั้งความร่วมมือด้านการวิจัย
	 และพัฒนา
4 ความท้าทายใหม่
19
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
1.	 บริบทใหม่ที่ประเทศไทยต้องเผชิญ มีทั้งความท้าทายเดิมเรื่องปัญหาความ
	 ยากจน และความเหลื่อมล�้ำของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับ
	 ภูมิภาค การบริหารภาครัฐที่อ่อนแอ ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม
	 เสถียรภาพทางการเมืองและความมั่นคง ปัญหาทางสังคมและจริยธรรม และ
	 ความท้าทายใหม่ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 การขยายตัว
	 ของเศรษฐกิจและอิทธิพลของประเทศจีน และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
2.	 ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง ท�ำให้ขาดนโยบายการสนับสนุน
	 อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ในการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ให้ออก
	 จากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) โดยเฉพาะ
	 นโยบายด้านการส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
	 ก�ำหนดเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเป้าหมาย การถ่ายทอดเทคโนโลยี
	 การเพิ่มสัดส่วน บุคลากรวิจัยให้สอดคล้องกับการลงทุนด้านการวิจัยและ
	 พัฒนาที่ตั้งเป้าไว้
3.	 คุณภาพการศึกษามีปัญหาในทุกระดับ โดยเฉพาะความสามารถของเยาวชน
	 ในด้านคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการพัฒนาความ
	 สามารถด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี
4.	 นวัตกรรมและขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาพรวม
	 ของประเทศ ยังไม่มากพอที่จะท�ำให้ก้าวข้ามไปสู่ประเทศรายได้สูงได้
5.	 ประเทศไทยขาดระบบการจูงใจและระบบสนับสนุนเพื่อพัฒนานักวิจัยที่
	 ต่อเนื่อง
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
พ.ศ. 2557 - 2560
ส่วนที่
ยุทธศาสตร์
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
1
2
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
22
พ.ศ. 2557-2560
	 	 ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศ และ
เป็นผู้น�ำด้านการบริหารจัดการการวิจัยในเอเชีย สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้
และผลงานวิจัย น�ำไปสู่การสร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
1.	 สนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ นโยบาย นวัตกรรม
	 ทรัพย์สินทางปัญญา
2.	 สนับสนุนการสร้าง การพัฒนา นักวิจัยและองค์กรวิจัย
3.	 สนับสนุนการพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ
4.	 สนับสนุนการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
5.	 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
3
23
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 	 สกว. เป็นองค์กรหนึ่งของระบบวิจัย ที่ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยงานบริหาร
จัดการงานวิจัย และให้ทุนสนับสนุนการวิจัย มีส่วนร่วมในการก�ำหนดทิศทาง
การวิจัยของประเทศ เพื่อร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่จะ
สร้างการเติบโตที่ยั่งยืน จุดเด่นที่ผ่านมาของ สกว. คือ ระบบการบริหารจัดการ
การวิจัย ที่สามารถผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบวิจัยได้อย่างกว้างขวาง
ทั้งในด้านการพัฒนา งานวิจัย นักวิจัย สถาบัน หน่วยงานวิจัย และระบบวิจัย
สกว. จะยังคงรักษาจุดเด่นนี้ และใช้ให้เป็นพลัง ในการท�ำงานร่วมกับหน่วยงาน
ต่างๆ ในเครือข่าย องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) เพื่อร่วมกันเพิ่มขีด
ความสามารถด้านการวิจัยของประเทศ สกว. เน้นการกระตุ้นให้เกิดการเติบโต
และความแข็งแรงของระบบวิจัย โดยใช้ทักษะการบริหารจัดการ เพื่อสร้าง
ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง พัฒนานักวิจัยที่
สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อเป็นก�ำลังให้กับระบบวิจัย ตลอดจนเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้กับสถาบันและหน่วยวิจัยต่างๆ ของประเทศ นอกจากนี้ในด้าน
ความร่วมมือกับต่างประเทศ สกว. จะใช้จุดแข็งของระบบการสนับสนุนทุนที่
ยืดหยุ่นคล่องตัว ในการสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายวิจัยระดับนานาชาติ
โดยเฉพาะในประชาคมภูมิภาคอาเซียน เพื่อร่วมกันพัฒนาความเข้มแข็งของ
ระบบวิจัยในอาเซียน
ตำ�แหน่งขององค์กร สกว.
ในระบบวิจัยของประเทศ
4
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
24
พ.ศ. 2557-2560
1.	 เพื่อสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยและองค์ความรู้ นวัตกรรม ทรัพย์สินทาง
	 ปัญญา นโยบายที่มีคุณภาพสูง เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น
	 และประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หลุดพ้นจากกับดัก
	 ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง มีการกระจายศูนย์กลางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาค
	 และการเพิ่มผลิตภาพของภาคการผลิตและบริการให้เติบโต ขยายตัวใน
	 ทิศทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างทุนทางสังคม และการเข้าถึง
	 ทรัพยากรและสวัสดิการอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน
2.	 เพื่อสนับสนุนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของนักวิจัยและสถาบันวิจัยของ
	 ประเทศ รวมทั้งหน่วยวิจัยที่มุ่งสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อเพิ่ม
	 ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศและหน่วยวิจัยและพัฒนา เพื่อ
	 การพัฒนาที่เน้นการใช้ประโยชน์ให้มีคุณภาพและมาตรฐานในระดับ
	 นานาชาติ
3.	 เพื่อพัฒนาระบบวิจัยของประเทศให้มีความเป็นสากล และเป็นผู้น�ำในกลุ่ม
	 ประเทศอาเซียน โดยการสร้างความร่วมมือกับแหล่งทุนและสถาบันวิจัย
	 ในต่างประเทศ เพื่อการท�ำงานวิจัยร่วมกัน รวมทั้งการบุกเบิกสร้างรูปแบบ
	 ใหม่ๆ ของการบริหารจัดการการวิจัย
4.	 เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีวัฒนธรรมการใช้ความรู้ ข้อมูลและเหตุผล
	 ในการตัดสินใจแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศอย่างแพร่หลายกว้างขวาง
	 ตั้งแต่ระดับนโยบายไปจนถึงระดับชุมชน และครัวเรือน
เป้าประสงค์
5 ผลผลิต
และผลลัพธ์
25
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
เมื่อสิ้นสุดแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี ฉบับนี้ จะเกิดผลผลิตและผลลัพธ์ดังนี้
1.	 สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา
	 ประเทศในด้านต่างๆ ได้ โดยผลงานวิจัยและพัฒนาร้อยละ 70 ถูกน�ำไป
	 ใช้ประโยชน์
2.	 สร้างนักวิจัยที่มีคุณภาพสูง และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยมีผลงาน
	 ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากลร้อยละ 95 และตีพิมพ์ในวารสาร
	 วิชาการที่จัดอยู่ในกลุ่มวารสารที่มีผลกระทบสูง 2 กลุ่มแรก (Q1-2) ร้อยละ
	 40
3.	 ยกระดับขีดความสามารถในการบริหารจัดการการวิจัยของมหาวิทยาลัย
	 และสถาบันวิจัย โดยมีสถาบันต่างๆ ที่ท�ำความร่วมมือกับ สกว. เพื่อการ
	 พัฒนาระบบบริหารจัดการการวิจัย ร้อยละ 10 ของมหาวิทยาลัยทั้งหมด
	 ในประเทศ
4.	 สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อการสนับสนุนการท�ำวิจัยร่วมกัน
	 ระหว่างสถาบันวิจัยของไทยกับต่างประเทศ โดยมีบันทึกความเข้าใจ
	 (Memorandum of Understanding) ในกลุ่มประเทศอาเซียน 6 ประเทศ
	 และประเทศอื่นๆ อีก 6 ประเทศ
6
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
26
พ.ศ. 2557-2560
	 	 ยุทธศาสตร์ 4 ปีของ สกว. ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นกรอบก�ำกับการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย ซึ่ง
จัดท�ำให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 3 ด้าน คือ
	 	 1.	การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth and
	 	 	 Competitiveness)
	 	 2. 	การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive
	 	 	 Growth) 	
	 	 3.	การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green
	 	 	 Growth)
	 	 โดยที่ยุทธศาสตร์ ของ สกว. จะเน้นการสนับสนุนงานวิจัย การพัฒนา
นักวิจัย และพัฒนาระบบวิจัย การน�ำผลงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ที่สอดคล้อง
เชื่อมประสานและผนึกก�ำลัง (Synergy) กันทั้ง 3 ยุทธศาสตร์ไปพร้อมกัน เพื่อ
ให้งานวิจัยได้ประโยชน์สูงสุด และเป็นงานวิจัยก่อให้เกิดการเติบโตด้านต่างๆ
ไปด้วยกันอย่างมีดุลยภาพเพื่อสร้างการเติบโตที่ยั่งยืน (Sustainable Growth)
ของประเทศ
ยุทธศาสตร์ สกว.
2557-2560
27
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 	 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะก�ำกับทั้งเป้าหมายผลลัพธ์ของการสร้างความ
เติบโตอย่างยั่งยืน และกระบวนการสนับสนุนการสร้างความรู้ สร้างคน และพัฒนาระบบ
วิจัยของ สกว. โดยเน้นความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันบนเงื่อนไขของ
ความรู้และคุณธรรม
ยุทธศาสตร์ สกว. มีดังนี้
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
28
พ.ศ. 2557-2560
ยุทธศาสตร์ 1 : 	การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในประเด็นส�ำคัญ เพื่อสร้างองค์ความรู้
	 นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาและนโยบายที่ถูกต้องและเพียงพอ
	 ตรงกับปัญหา และสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาชุมชน สังคม และ
	 ประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ 2 :	 การสร้างและการพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยบุคลากรวิจัยเครือข่ายวิจัย
	 และองค์กรวิจัย ให้มีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ
ยุทธศาสตร์ 3 : 	การพัฒนาระบบวิจัยให้มีประสิทธิภาพ โดยมีการท�ำงานเป็นเครือข่าย
	 และเชื่อมโยงสู่สากล
ยุทธศาสตร์ 4 : 	การบริหารจัดการเพื่อน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนา
	 เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การพัฒนาระบบการสื่อสารและ
	 การเชื่อมโยงกับสังคมและฝ่ายนโยบายเพื่อให้เห็นคุณค่าของความรู้
	 และการวิจัย
ยุทธศาสตร์ 5 :	 การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
29
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 ยุทธศาสตร์ที่ 1
	 การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในประเด็นส�ำคัญ เพื่อสร้าง
	 องค์ความรู้ นวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายที่ถูกต้อง
	 และเพียงพอ ตรงกับปัญหา และสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนา
	 ชุมชน สังคมและประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
	 สกว. มีนโยบายและหลักการในการสนับสนุนทุนวิจัยดังนี้
	 1.	ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยครอบคลุมทุกสาขาวิชาและทุกมิติของการวิจัย โดยมี
	 	 อัตราส่วนของการให้ทุนในมิติการวิจัย ได้แก่ 1. การวิจัยพื้นฐาน 2. การวิจัย
	 	 และพัฒนา (รวมการวิจัยและพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและเชิงพื้นที่) มีอัตราส่วน
	 	 งบประมาณเป็น 50 : 50 และอัตราส่วนการสนับสนุนการวิจัยตามสาขาวิชา 
	 	 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
	 	 เป็น 70 : 30
	 2.	ส่งเสริมศักยภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง ธ�ำรงคุณค่าทาง
	 	 จริยธรรมในสังคม
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
30
พ.ศ. 2557-2560
	 3. 	พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนภาค
	 	 การผลิตและบริการของประเทศ
	 4.	ส่งเสริมให้เกิดนโยบายและการพัฒนาที่มุ่งให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
	 	 •	 กระบวนการผลิตที่มุ่งสู่ความยั่งยืน (Sustainable Production) เน้นประเด็น
	 	 	 ส�ำคัญ ได้แก่ Green Innovation, Green Technology, Green Investment,
	 	 	 Green Job
	 	 •	 กระบวนการบริโภคที่มุ่งสู่ความยั่งยืน (Sustainable Consumption) เน้น
	 	 	 ประเด็นส�ำคัญ ได้แก่ Green Education, Green Marketing, Low - Carbon
	 	 	 Society
	 	 •	 ส่งเสริมการกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาค (Sustain-
	 	 	 able Growth Poles / Pillars) ที่มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น
	 	 	 และทุนทางสังคม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานการศึกษาและ
	 	 	 การเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมการเข้าถึงฐานทรัพยากร และสวัสดิการอย่างเป็น
	 	 	 ธรรมและยั่งยืน พร้อมทั้งขจัดอุปสรรคต่อความร่วมมือ และการอยู่ร่วมกันใน
	 	 	 ภูมิภาค
	 จากนโยบายและหลักการส�ำคัญ ในการสนับสนุนทุนและการวิจัยข้างต้น เพื่อให้เกิด
เป้าหมายการให้ทุนวิจัยและก่อให้เกิดผลงานวิจัยที่มีผลลัพธ์และผลกระทบสูงขึ้น สกว.
จึงได้ก�ำหนดกลยุทธ์ ซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามพลวัตของปัญหา และสถานการณ์
การพัฒนาของประเทศ และภูมิภาคดังต่อไปนี้
	 กลยุทธ์ 1.1	 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทุนวิจัย (ดังรายละเอียดในเอกสาร
	 	 ภาคผนวก 1) สกว. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทุนวิจัยหลาย
	 	 รูปแบบเพื่อให้ตอบโจทย์ของประเทศ ในหลายระดับ ได้แก่
		 ››	 ก�ำหนดประเด็นการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ของ สกว. (Strategic
	 	 	 Research Issues; SRI) พร้อมกับสร้างรูปแบบและระบบ
	 	 	 การบริหาร (SRI Management)
31
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
		 ››	 สนับสนุนการบริหารจัดการกรอบประเด็นการวิจัยมุ่งเป้าเพื่อ
	 	 	 ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ที่ คอบช. เป็น
	 	 	 ผู้ก�ำหนด (Targeted Research Issues; TRI) พร้อมกับ
	 	 	 การพัฒนารูปแบบและระบบบริหาร (TRI Management)
	 	 	 ตั้งแต่ ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ ร่วมกับ คอบช.​
		 ››	 พัฒนาระบบการให้ทุนวิจัยภายในฝ่ายต่างๆ ของ สกว.
	 	 	 (Division Research Issue; DRI) พร้อมกับระบบการบริหาร
	 	 	 (DRI Management)
		 ››	 พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Areas;
	 	 	 SRA) พร้อมทั้งพัฒนาระบบบริหาร (SRA Management)
	 กลยุทธ์ 1.2 	 การพัฒนาฐานข้อมูลและกลไกเพื่อก�ำกับติดตาม อัตราส่วนการ
	 	 จัดสรรทุนวิจัย
	 กลยุทธ์ 1.3 	 การเชื่อมโยงเพื่อสังเคราะห์ผลงานวิจัย ทั้งของ สกว. และ คอบช.
	 	 เพื่อผลักดัน สู่การใช้ประโยชน์และน�ำไปแก้ไขปัญหาของประเทศ
	 กลยุทธ์ 1.4 	 ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งส�ำนักงานภาค เพื่อเป็นหน่วย
	 	 บริหารจัดการงานวิจัย และตอบสนองการสร้าง Sustainable
	 	 Growth Poles
	 กลยุทธ์ 1.5 	 การสังเคราะห์ผลงานวิจัยของ สกว. ย้อนหลัง เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์
	 	 และต่อยอดการวิจัย
	 กลยุทธ์ 1.6 	 การบูรณาการระหว่างกลุ่มภารกิจวิจัยพื้นฐาน และกลุ่มภารกิจวิจัย
	 	 และพัฒนา
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
32
พ.ศ. 2557-2560
	 ยุทธศาสตร์ที่ 2
	 การสร้างและการพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย บุคลากรวิจัย
	 เครือข่ายวิจัย และองค์กรวิจัยให้มีขีดความสามารถในระดับ
	 นานาชาติ
	 เน้นการเพิ่มจ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยที่มีขีดความสามารถสูง พัฒนาสถาบัน
และหน่วยวิจัย เพื่อให้สามารถสร้างงานวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศได้มาก
ยิ่งขึ้น โดยพัฒนาต่อยอดจากจุดแข็งของการพัฒนานักวิจัยของฝ่ายวิชาการและโครงการ
ปริญญาเอกกาญจนาภิเษกโดยมีกลยุทธ์ดังนี้
	 กลยุทธ์ 2.1	 สร้างเครือข่ายนักวิจัยตามโจทย์การพัฒนาและความต้องการของ
	 	 ประเทศ
	 	 ››	 โครงการพัฒนาเครือข่ายวิจัยนานาชาติ (IRN)
	 	 ››	 สร้างเครือข่ายวิจัยและจัดท�ำระบบการบริหารจัดการ เชื่อมโยง
	 	 	 กับ Strategic Research Issue, สาขาวิชา, ภาคอุตสาหกรรม
	 	 	 ที่ส�ำคัญ และชุมชนพื้นที่
33
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
กลยุทธ์ 2.2	 การเพิ่มปริมาณนักวิจัยที่มีคุณภาพ โดยร่วมมือกับสถาบันวิจัย องค์กร
	 วิจัย และกระทรวงศึกษาธิการ
	 ››	 นักวิจัยด้านวิชาการ
	 	 •	 โครงการพัฒนานักวิจัยใหม่สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
	 ››	 นักวิจัยด้านการวิจัยและพัฒนา
	 ››	 นักวิจัยชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ 2.3	 จัดกระบวนการพัฒนานักวิจัยให้มีคุณภาพ และพัฒนาวิชาชีพนักวิจัย
	 รวมทั้งมาตรฐานจริยธรรมนักวิจัย ร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหาร
	 งานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.)
	 ››	 จัด Research Management Training Course ให้กับผู้บริหาร
	 	 งานวิจัยและนักวิจัย เพื่อสร้างศักยภาพด้านการบริหารงานวิจัย
กลยุทธ์ 2.4	 สร้างความเข้มแข็งขององค์กรวิจัยทั้งระดับชาติ และระดับสถาบันการศึกษา
	 โดยการจัดสรรทุนสนับสนุนเชิงสถาบัน (Institutional Grant) เพื่อเพิ่ม
	 ขีดความสามารถและผลงานวิจัย ในระดับ International Research
	 Institute เป็นการยกระดับขีดความสามารถของนักวิจัยไทย โดยพัฒนา
	 ความร่วมมือกับสถาบันหรือหน่วยวิจัยระดับนานาชาติและพัฒนา โดย
	 ร่วมกับโครงการพัฒนาเครือข่ายวิจัยนานาชาติ
	 ››	 โครงการการสนับสนุนทุนพัฒนาศักยภาพการวิจัยเชิงสถาบัน ด้าน
	 	 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อยอดจากผลการประเมินคุณภาพ
	 	 ผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบัน
	 	 อุดมศึกษาไทย
	 ››	 โครงการสนับสนุนพัฒนาศักยภาพการวิจัยเป็นสถาบันด้าน
	 	 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
	 ››	 โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
	 	 ร่วมกับสถาบันการศึกษา 
	 ››	 การสนับสนุนทุนวิจัยส�ำหรับศูนย์วิจัย
	 ››	 พัฒนาความร่วมมือกับองค์กรวิจัย และมหาวิทยาลัย เพื่อยกระดับ
	 	 ขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการการวิจัย
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
34
พ.ศ. 2557-2560
	 ยุทธศาสตร์ที่ 3
	 การพัฒนาระบบการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ มีการท�ำงานเป็นเครือข่าย
	 และเชื่อมโยงสู่สากล
	 กลยุทธ์ 3.1	 ร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ในการเพิ่ม
	 	 งบประมาณ และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ
	 	 เพื่อการวิจัยที่เพียงพอและต่อเนื่อง รวมทั้งบูรณาการวิธีท�ำงาน ให้มี
	 	 กรอบการวิจัยและทิศทางที่ชัดเจนร่วมกัน
		 ››	 ด�ำเนินการให้มีกระบวนการขับเคลื่อนการท�ำงานร่วมกับ คอบช.
	 	 	 ในประเด็นต่างๆ
	 กลยุทธ์ 3.2	 พัฒนากลไกและระบบสารสนเทศเพื่อเชื่อมโยงระหว่างสถาบันวิจัย
	 	 และหน่วยวิจัย ตลอดจนนักวิจัยที่มีความสามารถสูง และผู้เชี่ยวชาญ
	 	 ที่มีอยู่ เพื่อเป็นฐานการพัฒนาคุณภาพนักวิจัยและผลงานวิจัย
	 กลยุทธ์ 3.3 	 สนับสนุนการสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศและเพิ่มบทบาทของ
	 	 ประเทศไทย ในเวทีวิจัยระดับนานาชาติ
		 ››	 พัฒนากลไกการสร้างความร่วมมือและกลไกขับเคลื่อนกับองค์กร
	 	 	 ให้ทุนวิจัยในต่างประเทศ เช่น การจัดท�ำ Joint Research
	 	 	 Program การท�ำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of
	 	 	 Understanding)
		 ››	 ขยายความร่วมมือและเพิ่มบทบาทในเวทีวิจัยระดับนานาชาติ
	 	 	 เช่น การจัด TRF International Conference
	 กลยุทธ์ 3.4	 พัฒนาผู้บริหารงานวิจัยให้มีความสามารถและเป็นมืออาชีพ
35
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 กลยุทธ์ 3.5	 ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนวิจัยในภาคเอกชน โดยบริหารจัดการ
	 	 เทคโนโลยีที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี
	 	 จากสถาบันและหน่วยวิจัย สู่ภาคเอกชนให้มีผลตอบแทนที่เหมาะสม
	 	 สร้างระบบแรงจูงใจให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม
	 	 กับสถาบันและหน่วยวิจัย
	 	 ››	 จัดตั้ง Cluster วิจัยเพื่ออุตสาหกรรม
	 	 ››	 จัดให้มีทุนวิจัย Translational Research
	 กลยุทธ์ 3.6	 เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการงานวิจัย
		 ››	 จัดท�ำคู่มือ เครื่องมือก�ำกับการบริหารจัดการงานวิจัย เพื่อ
	 	 	 เสริมสร้างธรรมภิบาลองค์กร
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
36
พ.ศ. 2557-2560
	 ยุทธศาสตร์ที่ 4
	 การบริหารจัดการเพื่อน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
	 เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ และการพัฒนาระบบการสื่อสาร
	 และการเชื่อมโยงกับสังคมและฝ่ายนโยบายเพื่อให้เห็นคุณค่าของ
	 ความรู้และงานวิจัย
	 เพื่อขับเคลื่อนผลงานวิจัยให้สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศ
ได้ตามเป้าหมาย สกว. จะต้องพัฒนาระบบการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ให้มี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล นอกจากนี้ยังต้องพัฒนาระบบการสื่อสารสังคมและฝ่ายนโยบาย
เพื่อให้สังคมได้รับประโยชน์จากผลงานวิจัยและเห็นคุณค่าของการวิจัย ซึ่งมีกลยุทธ์ดังนี้
	 กลยุทธ์ 4.1	 สร้างรูปแบบกลไก และระบบการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ทั้ง
	 	 ด้านวิชาการด้านสาธารณะด้านชุมชนด้านนโยบายและด้านพาณิชย์
	 	 ซึ่งแต่ละประเภทของการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย จะมีระบบและ
	 	 กลไกที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
37
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 กลยุทธ์ 4.2	 การสื่อสารสังคม เพื่อสร้างความเข้าใจ และความตระหนัก ของผู้ผลิต
	 	 ผู้บริโภค ภาคประชาสังคม ภาครัฐ และภาควิชาการ ต่อความจ�ำเป็น
	 	 ในการใช้ผลงานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
	 กลยุทธ์ 4.3	 การเชื่อมโยงกับฝ่ายการเมืองและนโยบาย ให้มีการแลกเปลี่ยน
	 	 เรียนรู้และมองเห็นเป้าหมายร่วมกับฝ่ายวิชาการ รวมทั้งเห็นความ
	 	 ส�ำคัญ และใช้ข้อมูลความรู้มากขึ้นในการตัดสินใจก�ำหนดนโยบาย
	 กลยุทธ์ 4.4	 การปรับระบบการจัดการงานวิจัยพื้นฐานและงานวิจัยเพื่อพัฒนา
	 	 ให้เชื่อมโยงกัน และสามารถตอบโจทย์การพัฒนาในประเด็นใหญ่
	 	 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
	 กลยุทธ์ 4.5	 การพัฒนาจุดประสานในการรับโจทย์จากผู้ต้องการใช้งานวิจัย และ
	 	 เชื่อมกับการท�ำงานของนักวิจัยที่มาจากหลากหลายศาสตร์สาขาวิชา
	 	 หรือหลายสถาบันได้ เพื่อให้ได้ผลงานวิจัยที่ได้ทั้งการตอบโจทย์ของ
	 	 ผู้ใช้งาน และสามารถตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติได้
	 กลยุทธ์ 4.6	 เพิ่มบทบาท สกว. ให้ท�ำหน้าที่เป็น Content Provider เพื่อให้เกิด
	 	 ประโยชน์ต่อสาธารณะและฝ่ายนโนบาย
	 กลยุทธ์ 4.7	 พัฒนาระบบและกลไกการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
	 	 การใช้ประโยชน์
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
38
พ.ศ. 2557-2560
	 ยุทธศาสตร์ที่ 5
	 การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
	 การพัฒนาองค์กรอย่างเร่งด่วนเป็นสิ่งจ�ำเป็น เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการ
เปลี่ยนแปลงในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเพื่อขับเคลื่อน
สกว. ไปสู่วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ใหม่ โดยมีกลยุทธ์ดังนี้
	 กลยุทธ์ 5.1 	 น�ำเครื่องมือการบริหารจัดการ TQA, TQM มาใช้ในการพัฒนาองค์กร
	 กลยุทธ์ 5.2 	 ถอดบทเรียนและจัดการความรู้การบริหารองค์กร สกว.
	 กลยุทธ์ 5.3 	 การพัฒนาบุคลากรและกระบวนการภายใน
	 กลยุทธ์ 5.4 	 การจัดหางบประมาณการวิจัยเพิ่มเติม เพื่อรองรับการวิจัยและ
	 	 การบริหารการวิจัยในรูปแบบใหม่
	 กลยุทธ์ 5.5 	 การปรับโครงสร้างองค์กรและปรับปรุงกฎระเบียบ
	 กลยุทธ์ 5.6 	 พัฒนาระบบและฐานข้อมูลการให้ทุนสนับสนุนการวิจัย ก�ำกับติดตาม
	 	 และประเมินผลงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
	 กลยุทธ์ 5.7 	 การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของฝ่ายต่างๆ ภายใน สกว.
	 กลยุทธ์ 5.8 	 การพัฒนาศักยภาพส�ำนักประสานงานของ สกว.
	 กลยุทธ์ 5.9 	 การพัฒนาระบบการสื่อสารภายใน
	 กลยุทธ์ 5.10	 การวิจัยสถาบันและ Routine to Research
7
39
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 เป้าหมายผลผลิต 	 2557	 2558	 2559	 2560
เป้าหมายผลผลิต
	 1.	 ร้อยละผลงานวิจัยและพัฒนาที่ถูกน�ำไป	 64 	 66 	 68 	 70
	 	 ใช้ประโยชน์	
	 2. 	ร้อยละผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ 	 25 	 30 	 35 	 40
	 	 ในวารสารวิชาการที่จัดกลุ่มเป็นวารสาร
	 	 ที่มีผลกระทบสูง 2 กลุ่มแรก (Q1-2)
	 3.	 ร้อยละของจ�ำนวนมหาวิทยาลัยที่มีความ	 4 	 6 	 8 	 10
	 	 ร่วมมือ กับ สกว. เพื่อการพัฒนาระบบ
	 	 บริหารจัดการการวิจัย
	 4. 	จ�ำนวนประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน	 3 	 4 	 5 	 6
	 	 ที่มีข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อสนับสนุน
	 	 การท�ำวิจัยร่วมกันระหว่างสถาบันวิจัย
	 	 ในต่างประเทศกับของไทย
	 5.	 จ�ำนวนประเทศนอกกลุ่มประเทศอาเซียน	 3 	 4 	 5 	 6
	 	 ที่มีข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อสนับสนุน
	 	 การท�ำวิจัยร่วมกันระหว่างสถาบันวิจัย
	 	 ในต่างประเทศกับของไทย
ภาคผนวก
41
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
	 	 การก�ำหนดกรอบประเด็นการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Issue) และ
พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Area) นั้น สกว. ได้น�ำองค์ความรู้เดิม
ซึ่งสั่งสมจากงานวิจัยที่ผ่านมา เป็นฐานในการช่วยก�ำหนดประเด็น และใช้เป็นฐานความรู้
ที่จะต่อยอดการพัฒนาผ่านการบริหารการให้ทุนวิจัย ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้รับการสังเคราะห์
ด้วยการมองไปสู่อนาคตทั้งโดย สกว. และโดยผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนมากที่รับเชิญมาให้
ความเห็นประเมินคุณค่าในการประชุมจัดท�ำร่างยุทธศาสตร์ 2 ครั้ง ดังนั้น สกว. จึง
คาดหวังว่ากรอบประเด็นเหล่านี้จะเป็นต้นแบบของการบูรณาการงานวิจัยภายในของ
สกว. ที่จะพัฒนาไปสู่การบูรณาการการวิจัยกับภายนอกด้วย นอกจากนี้ ยังมีประเด็น
ยุทธศาสตร์การวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ที่ คอบช.
มอบหมายให้ สกว. เป็นผู้รับผิดชอบ
ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
42
พ.ศ. 2557-2560
กรอบประเด็นการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์
(Strategic Research Issue)
SRI1	 :	 ประชาคมอาเซียนและภูมิภาคเอเชียตะวันออก (ASEAN Community
	 	 and the East Asian Region)
SRI2	 :	 ความมั่นคงและความปลอดภัยทางอาหาร (Food Security and
	 	 Safety)
SRI3 	 : 	การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ น�้ำ ที่ดิน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
	 	 (Climate Change, Water, Land and Environmental
	 	 Management)
SRI4 	 : 	การลดความเหลื่อมล�้ำของสังคม (Inequality Reduction)
SRI5 	 :	 การสร้างสรรค์การเรียนรู้และการปฏิรูปการศึกษา (Creative learning
	 	 and Educational Reform)
SRI6 	 : 	ธรรมภิบาลและการลดคอรัปชั่น (Good Governance and
	 	 Corruption Reduction)
SRI7	 :	 ผลประโยชน์แห่งชาติและความมั่นคงทางทะเล (National Interests
	 	 on Marine Resources and Maritime Security)
SRI8	 :	 คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ระเบียบวินัยของคนไทย (Ethics,
	 	 Culture, and Discipline of Thais)
SRI9	 :	 สุขภาพและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร (Health Sciences
	 	 and Demographic Transition)
SRI10	:	 องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และ
	 	 สังคมศาสตร์ (New Knowledge and Innovation on Sciences,
	 	 Humanities and Social Sciences)
SRI11	:	 พลังงานและพลังงานทางเลือก (Energy and Alternative Energy)
SRI12	:	 การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Overcoming the
	 	 Middle Income Trap)
43
สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ
พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์
(Strategic Research Area)
	 	 พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Area) เพื่อพัฒนา
ระบบบูรณาการการวิจัย ข้ามศาสตร์บนฐานทุนเดิมของฝ่ายต่างๆ ภายใน สกว.
รวมถึงเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันและหน่วยวิจัยในพื้นที่
การสนับสนุนการวิจัยในพื้นที่ที่เป็น SRA เหล่านี้ จะเชื่อมโยงและบูรณาการ
จุดแข็งของ สกว. ทั้งจากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR) งานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่
(ABC) งานวิจัยเพื่อพัฒนา (R&D) จากฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาการพัฒนา
ของพื้นที่ รวมทั้งเปิดกลยุทธ์ใหม่ คือการให้ทุนวิจัยเชิงสถาบันเพื่อสนับสนุน
การพัฒนานักวิจัย และการสร้างผลงานวิจัย ทั้งเชิงวิชาการและการพัฒนา 
ที่สามารถตอบโจทย์ในพื้นที่ได้ พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic
Research Area) มีดังนี้
SRA1 	ภาคเหนือ :
	 	 เชียงใหม่  เชียงราย  แม่ฮ่องสอน  พะเยา  น่าน  แพร่  ล�ำปาง  
	 	 อุตรดิตถ์  พิษณุโลก  ก�ำแพงเพชร
SRA2 	ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ :
	 	 นครราชสีมา  ชัยภูมิ  กาฬสินธุ์  ยโสธร  อุบลราชธานี  สกลนคร
SRA3 	ภาคกลาง :
	 	 ชัยนาท  อุทัยธานี  นครปฐม  ระยอง
SRA4 	ภาคใต้ :
	 	 สุราษฎร์ธานี  นครศรีธรรมราช  พัทลุง  สงขลา  สตูล  ยะลา 
	 	 ปัตตานี  นราธิวาส
ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2557 2560
ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2557 2560
ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2557 2560

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch (11)

Govern
GovernGovern
Govern
 
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
 
Conceptuales
ConceptualesConceptuales
Conceptuales
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
 
Amway vision
Amway visionAmway vision
Amway vision
 
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
กรอบแนวความคิดของการวิจัยโครงการย่อย 2
 
Happy Life Project
Happy Life ProjectHappy Life Project
Happy Life Project
 
Welded steel pipe 10.10.07
Welded steel pipe 10.10.07Welded steel pipe 10.10.07
Welded steel pipe 10.10.07
 
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS) Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
Lean 6 - Lean Six Sigma (LSS)
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
Balanced scorecard
Balanced scorecardBalanced scorecard
Balanced scorecard
 

Mehr von Totsaporn Inthanin

Mehr von Totsaporn Inthanin (20)

ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdfทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
ทำวัตรเช้า แปล powerpoint 81 หน้า.pdf
 
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfอานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
 
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
สอศ. เรียกบรรจุครู 737 อัตรา รายงานตัว 12 14 ก.พ. 2561 นี้
 
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
คำสั่งออกค่ายอาสา นักศึกษาปริญญาตรี ฉ.3 รุ่น 5 (ฉบับแก้ไข)
 
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
ประกาศรับสมัคร นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนื...
 
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
ประกาศรายชื่อ นศ. โควต้า เข้าศึกษาต่อวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปีการศึกษา...
 
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดสูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
สูจิบัตร กีฬาสี 60 วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
คำสั่งย้ายครู สังกัด สอศ. จำนวน 364 ราย สั่ง ณ วันที่ 22 พ.ย. 2560
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตราวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด รับสมัครครูช่างยนต์ 1 อัตรา
 
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่  ประจำปีการศึกษา ...
วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประกาศรับสมัครนักเรียนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา ...
 
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอกแม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
แม่พิมพ์ไม่มีวันตายหรอก
 
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
อนุมัติใช้หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2560
 
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
การอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด...
 
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ดผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
ผลเกรดกิจกรรม 1/2560 ของ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด
 
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
คำสั่งอบรมภาวะผู้นำ ฉ.3 วันที่ 3-4 ก.ย. 60
 
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
กำหนดการซ้อมและรับพระราชทานปริญญาบัตรและลำดับที่นั่งบัณฑิต ฉ.3
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร (ซ้อมย่อย) ฉ.3
 
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลางขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ผ่านระบบ e-filling ของกรมบัญชีกลาง
 
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
ประกาศผลสอบครูผู้ช่วย สอศ. ผู้มีสิทธิ์สอบ ภาค ค. รหัสสาขา 301-311
 

ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2557 2560

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นองค์กรในกำ�กับของสำ�นัก นายกรัฐมนตรี ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535 มีภารกิจหลักในการสนับสนุนการวิจัยเพื่อ สร้างองค์ความรู้ใหม่ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การวิจัยเชิงนโยบาย และการวิจัยประยุกต์ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวิชาการของประเทศทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ กว่า 2ทศวรรษที่ผ่านมา สกว.ได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นหน่วยงานที่ประสบความสำ�เร็จ อย่างยิ่งในการสร้างนวัตกรรมด้านการบริหารงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดนักวิจัย จำ�นวนมาก และผลงานวิจัยที่ทรงคุณค่าสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ครบทุกด้าน ได้รับ รางวัลหน่วยงานทุนหมุนเวียนดีเด่นจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ซึ่ง สกว. จะ รักษาจุดเด่นนี้และใช้เป็นพลังในการขับเคลื่อนต่อไป ยุทธศาสตร์สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2557-2560 ฉบับนี้ ได้ประมวลขึ้นจากความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขา หลากหลายภาคส่วน และบูรณาการเข้ากับยุทธศาสตร์ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ ยุทธศาสตร์วิจัยของชาติ ที่มุ่งเน้นการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศและการเจริญเติบโต ที่ยั่งยืน มีเป้าหมายเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth and Competitiveness) สร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) บนพื้นฐานของการเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable Growth) ในการจัดทำ�แผนฯ มีกระบวนการขั้นตอนที่ครบถ้วน มีส่วนร่วมทั้งบุคลากร ภายในและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก สกว. จำ�นวนมาก เมื่อได้ร่างแผนยุทธศาสตร์แล้ว ได้มีกระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยมีวิธีการคือ การทำ�ความ เข้าใจในวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และการจัดทำ�กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ เพื่อรองรับ
  • 5. ยุทธศาสตร์ต่างๆ โดยในขั้นตอนนี้ ได้เกิดแนวคิดความคิดใหม่ๆ ที่จะเป็นนวัตกรรม การบริหารขึ้นอีกหลายประการ จากนั้นได้นำ�มาปรับปรุงให้เหมาะสม และนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย และเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัย แห่งชาติ จึงถือได้ว่าเป็นยุทธศาสตร์ที่มีความสมบูรณ์สามารถใช้เป็นกรอบทิศทาง การบริหารจัดการงานวิจัย ของ สกว. ในระยะต่อไป ปี พ.ศ. 2557 - 2560 จึงเป็นก้าวย่างใหม่ที่สำ�คัญของ สกว. ในการขับเคลื่อน องค์กรสู่ความท้าทายในทศวรรษที่ 3 พร้อมกับการเริ่มวิสัยทัศน์ และแผนยุทธศาสตร์ ฉบับใหม่อย่างเป็นรูปธรรม ผ่าน 5 ยุทธศาสตร์สำ�คัญ ได้แก่ 1) การสนับสนุนการวิจัย และพัฒนาในประเด็นสำ�คัญ 2) การสร้างและเพิ่มศักยภาพของนักวิจัย บุคลากร เครือข่าย และองค์กรวิจัย 3) การพัฒนาระบบวิจัยให้มีประสิทธิภาพ 4) การบริหาร จัดการเพื่อนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5) การพัฒนา องค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง สกว. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนยุทธศาสตร์ฯ ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักวิจัย เครือข่ายวิจัย องค์กรวิจัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ในการกำ�หนดแนวทาง และสร้างสรรค์งานวิจัยร่วมกับ สกว. เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการใช้ความรู้ ข้อมูล และเหตุผลในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตาม เจตนารมณ์ “สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อพัฒนาประเทศ” ศาสตราจารย์นายแพทย์สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • 6. ความเป็นมา หลักการ และกระบวนการ 07 การจัดทำ�ยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส 11 และความท้าทายใหม่ • จุดแข็ง 12 • จุดอ่อน 16 • โอกาส 17 • ความท้าทายใหม่ 19 ยุทธศาสตร์สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 21 • วิสัยทัศน์ 22 • พันธกิจ 22 • ตำ�แหน่งขององค์กร สกว. ในระบบวิจัยของประเทศ 23 • เป้าประสงค์ 24 • ผลผลิตและผลลัพธ์ 25 • ยุทธศาสตร์ สกว. 2557 - 2560 26 ส่วนที่ ส่วนที่ ส่วนที่
  • 7. ยุทธศาสตร์ 1 การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในประเด็นสำ�คัญ 29 เพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายที่ถูกต้องและเพียงพอ ตรงกับปัญหา และ สามารถนำ�ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน สังคมและ ประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 2 การสร้างและการพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย 32 บุคลากรวิจัย เครือข่ายวิจัย และองค์กรวิจัย ให้มีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ 3 การพัฒนาระบบการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ 34 มีการทำ�งานเป็นเครือข่ายและเชื่อมโยงสู่สากล ยุทธศาสตร์ 4 การบริหารจัดการเพื่อนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 36 ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ และการพัฒนาระบบการสื่อสารและการเชื่อมโยง กับสังคมและฝ่ายนโยบายเพื่อให้เห็นคุณค่าของ ความรู้และงานวิจัย ยุทธศาสตร์ 5 การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง 38 • เป้าหมาย ผลผลิต 39 ภาคผนวก 40
  • 8.
  • 9. วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2557 - 2560 ส่วนที่ ความเป็นมา หลักการ และกระบวนการจัดทำ�ยุทธศาสตร์
  • 10. 1 ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 8 พ.ศ. 2557-2560 สืบเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2552 - 2556 ได้ สิ้นสุดลง ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จึงได้จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ฉบับใหม่ พ.ศ. 2557 - 2560 นี้ขึ้น โดยได้ศึกษาและพิจารณาบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ศึกษา ทบทวน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559), ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) พ.ศ. 2555 และ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2555 - 2559 2. วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประมวลการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน และที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งในระดับชุมชน ระดับท้องถิ่น ระดับ ประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก ครอบคลุมทุกประเด็น อาทิ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการคาดการณ์ต่อสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงของประเทศไทย ในบริบทของ กระแสโลกาภิวัตน์ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากร การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคเอเชีย และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ซึ่งจะ ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ความเป็นมา หลักการ และกรอบแนวทาง
  • 11. 2 9 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ กระบวนการ และขั้นตอน ได้ด�ำเนินการจัดการประชุมเพื่อระดมความคิด เรื่อง ทิศทางส�ำหรับ การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ การสนับสนุนการวิจัยของ สกว. พ.ศ. 2557 - 2560 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 6 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และได้น�ำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะมาประมวลและ ยกร่างยุทธศาสตร์ขึ้น จากนั้นได้น�ำเข้าสู่การพิจารณาของคณะผู้บริหาร สกว. เมื่อได้ปรับปรุงแล้ว จึงได้น�ำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายกองทุน สนับสนุนการวิจัย เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556 และได้แก้ไขปรับปรุง ร่างยุทธศาสตร์อีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ ได้น�ำเสนอเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจาก เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) และได้น�ำเสนอเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้ง จัดกิจกรรมแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติภายใน สกว. และได้น�ำผลสรุป มาปรับปรุงเพิ่มเติม แล้วจึงจัดพิมพ์เป็นเอกสารเผยแพร่ต่อไป 3. พิจารณาเป้าหมายการพัฒนาประเทศที่มีความชัดเจนมากขึ้น และการเปลี่ยนแปลง องคาพยพในระบบวิจัยของประเทศที่เติบโตแข็งแรงและมีความเป็นเอกภาพมากขึ้น อันเป็นผลจากการก่อตั้งเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ในขณะที่ ทรัพยากรงบประมาณเพื่อการวิจัยยังมีจ�ำกัดอยู่เช่นเดิม 4. วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และความท้าทายใหม่ของ สกว. ทั้งนี้ เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์ใหม่ของ สกว. ส�ำหรับ 4 ปีข้างหน้า มีกรอบการสนับสนุน การวิจัยที่ชัดเจน สามารถบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์ โดยใช้เป้าหมายของการพัฒนา ประเทศ เป็นเป้าหมายหลัก สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายวิจัยระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบทบาทของประเทศไทย ในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเพื่อให้ สกว. เป็นองค์กรที่เข้มแข็งสามารถ รองรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 ปีข้างหน้า อันเป็นจุดเริ่มต้นของทศวรรษที่ 3 ของ สกว.
  • 12.
  • 13. ส่วนที่ วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2557 - 2560 การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และความท้าทายใหม่
  • 14. 1 ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 12 พ.ศ. 2557-2560 1. เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการทุนวิจัยและการบริหารจัดการงานวิจัยที่ดี มีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของโครงการวิจัย สร้างผลงานวิจัยที่มี ปริมาณและคุณภาพสูง ทั้งส่วนวิจัยพื้นฐาน และการวิจัยและพัฒนา 2. เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการกองทุนที่ดี สามารถเป็นแบบอย่างได้ โดย ใน พ.ศ. 2555 กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้มอบรางวัลหน่วยงาน ทุนหมุนเวียนดีเด่นประจ�ำปี 2555 ประเภทรางวัลผลการด�ำเนินงานดีเด่น ให้แก่ สกว. เพราะมีผลงานอยู่ในระดับดีถึงดีมากมาโดยตลอด นับตั้งแต่ มีการประเมินกองทุนหมุนเวียนเมื่อ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา 3. มีศักยภาพในการประสานเครือข่ายวิจัย ผู้ประกอบการ ชุมชน สถาบันการ ศึกษา และหน่วยงานต่างๆ ในหลายสาขาและหลายพื้นที่ ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ เป็นชุมชนผู้รู้หลากหลายสาขาวิชา รวมทั้งมีฐานข้อมูล งานวิจัยและผู้เชี่ยวชาญที่ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ทั้งด้านนโยบาย ด้านพาณิชย์ ด้านวิชาการ ด้านสาธารณะ ปัจจุบัน สกว. มีนักวิจัยที่ร่วมงาน เป็นจ�ำนวนกว่า 36,000 คน ในจ�ำนวนนี้ เป็นนักวิจัยจากสถาบันวิชาการ หน่วยวิจัยภาครัฐ และภาคเอกชน จ�ำนวน 17,200 คน และนักวิจัยภาค ประชาชนจ�ำนวน 18,800 คน เกิดผลงานวิจัย ที่น�ำไปใช้ประโยชน์จ�ำนวน กว่า 2,300 โครงการ โดยเฉพาะใน 3 ปีล่าสุด (พ.ศ. 2554 - 2556) มีงานวิจัย ที่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์มากกว่าร้อยละ 60 ของโครงการวิจัยที่สิ้นสุดใน แต่ละปี ผลิตผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติจ�ำนวนกว่า 1,500 เรื่อง โดยมีค่าเฉลี่ยของจ�ำนวนผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ ของโครงการที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2555 เท่ากับ 2.53 เรื่องต่อโครงการ สกว. ได้ท�ำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร (SWOT Analysis) ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นหลักๆ ดังนี้ จุดแข็ง
  • 15. 13 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ 4. เป็นองค์กรที่สามารถสร้างนวัตกรรมการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ ด้าน Research Capacity Building ที่ผลักดันและยกระดับมาตรฐานงานวิจัยของ ประเทศไทย อาทิ • การสนับสนุนการสร้างนักวิจัยระดับต่างๆ ตามประสบการณ์และความสามารถ อาทิ นักวิจัยรุ่นใหม่ เมธีวิจัย วุฒิเมธีวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส ศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น ท�ำให้นักวิจัยมี Research Mind และเป็นการสร้างเส้นทางความก้าวหน้าใน สายอาชีพ (Career Path) ให้นักวิจัยได้เป็นอย่างดี ยกระดับเกียรติและศักดิ์ศรี ของนักวิจัยในสังคมมากยิ่งขึ้น • โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) เป็นความร่วมมือระหว่างส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) และ สกว. ในการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอกที่มีคุณภาพ สูง เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ระบบวิจัย และเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ โดยเริ่มให้ทุนตั้งแต่ พ.ศ. 2541 และยังคงให้ทุนต่อเนื่องถึงปัจจุบันปีละประมาณ 300 ทุน มีผลผลิตได้แก่ ดุษฎีบัณฑิตเพิ่มขึ้นจาก 110 คน ใน พ.ศ. 2536 เป็น 2,176 คน ใน พ.ศ. 2556 ผลงานวิจัย 5,313 เรื่อง ระบบบัณฑิตศึกษาที่เข้มแข็ง มีอาจารย์ที่ปรึกษาชาวไทย จ�ำนวน 1,790 คน จาก 27 มหาวิทยาลัย อาจารย์ ที่ปรึกษาชาวต่างประเทศ จ�ำนวน 2,739 คน จากมหาวิทยาลัยกว่า 1,025 แห่ง ใน 44 ประเทศทั่วโลก
  • 16. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 14 พ.ศ. 2557-2560 • การพัฒนางานวิจัยและนักวิจัยเพื่อภาคอุตสาหกรรม (พวอ.) ริเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2548 โดยมุ่งให้ภาคอุตสาหกรรมเป็นผู้ก�ำหนดหัวข้อวิจัย ร่วมลงทุน และตัดสินใจว่าจะ ใช้งบประมาณส�ำหรับการวิจัยเรื่องใด โดยเน้นการต่อยอดจากฐานเทคโนโลยีที่ ใช้อยู่แล้ว และย้อนกลับมาสู่งานวิจัยพื้นฐาน และเชื่อมโยงกับสถาบันการศึกษา ต่อมาใน พ.ศ. 2555 โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมที่ สกว. ริเริ่มขึ้นนี้ ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2555 โดยได้รับอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณจ�ำนวน 29,172 ล้านบาท ระยะเวลา 15 ปี และส�ำนักงบประมาณได้จัดสรรงบประมาณในปี 2556 จ�ำนวน 200 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก รองรับความ ต้องการของภาคอุตสาหกรรมการพัฒนา และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างนักวิจัย ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศกับภาคอุตสาหกรรม
  • 17. 15 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ • งานวิจัยเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ ซึ่ง สกว. ได้ริเริ่ม งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (Community Based Research) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยเน้นให้ชุมชนท้องถิ่นเป็นผู้ก�ำหนดโจทย์วิจัย เก็บข้อมูล ทดลองปฏิบัติและ แก้ปัญหาตนเองในรูปแบบของงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ให้ทุนวิจัยมาแล้วกว่า 2,500 โครงการ ที่เป็นฐานส�ำคัญและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และ ในปี พ.ศ. 2550 ได้เริ่มงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Area Based Collaborative Research : ABC Research) เพื่อให้สามารถจัดการกับโจทย์วิจัยที่ซับซ้อน ต้องการการจัดการความรู้ และการประสานงานกับภาคีทุกภาคส่วน ร่วมกัน แก้ปัญหาและก�ำหนดทางเลือกในการพัฒนาร่วมกัน ปัจจุบันด�ำเนินงานในพื้นที่ 25 จังหวัด ทั่วประเทศ • มีการริเริ่มและด�ำเนินการความร่วมมือทางการวิจัย (Research Collaboration) กับนักวิจัย และสถาบันวิจัยในต่างประเทศ ทั้งกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านและกลุ่ม ประเทศเอเชียตะวันออก ปัจจุบันด�ำเนินงาน รวม 7 ประเทศ และได้ผลลัพธ์ที่ดี เป็นจุดเริ่มต้นของการเชื่อมโยงองค์ความรู้ระดับนานาชาติ เพื่อเพิ่มพูนความสัมพันธ์ ในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นมิติใหม่ที่ส�ำคัญของระบบวิจัยในประเทศไทย
  • 18. 2 ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 16 พ.ศ. 2557-2560 1. สกว. ต้องพึ่งพางบประมาณของรัฐเป็นส่วนใหญ่ มีแหล่งงบประมาณอื่น ที่ใช้สนับสนุนงานวิจัยน้อย ท�ำให้เงินทุนไม่เพียงพอต่อการด�ำเนินภารกิจ ที่ตั้งเป้าหมายไว้ 2. การท�ำงานร่วมกับภาคการเมือง ขับเคลื่อนเชิงนโยบายการพัฒนาประเทศ ยังท�ำได้ในวงจ�ำกัด 3. การพัฒนาประเทศในอนาคตมีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปตาม สถานการณ์เฉพาะหน้า ดังนั้น การวิจัยจึงต้องการการบูรณาการความรู้ เพื่อตอบโจทย์ได้ทันเวลา ระบบบริหารจัดการทุนของ สกว. มีการจัดแบ่ง ประเภททุนและจัดสรรเป็นรายฝ่ายและรายโครงการวิจัย จึงมีประสิทธิภาพ ในอดีต แต่ในปัจจุบันอาจจะยังไม่สามารถรับมือกับบริบทที่เปลี่ยนไปใน อนาคตได้ จ�ำเป็นต้องมีการปรับเพื่อให้เกิดการบูรณาการ และประสาน พลังทรัพยากรวิชาการที่มีอยู่ระหว่างฝ่ายต่างๆ ร่วมผลักดันการท�ำงานให้ เคลื่อนไปพร้อมกัน 4. การสื่อสารผลงานวิจัยเพื่อสร้างการเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยและองค์กรทางสังคม เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อนการแก้ปัญหา ยังท�ำได้อย่างจ�ำกัด 5. สกว. ยังไม่เป็นที่รู้จักในสังคมวงกว้าง กล่าวคือ สกว. เป็นที่รู้จักในวงวิชาการ การวิจัยและสถาบันการศึกษา แต่ยังไม่สามารถสื่อสารกับสังคมไทยโดย ทั่วไปได้ จุดอ่อน
  • 19. 3 17 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ 1. นโยบายการพัฒนาประเทศ มีความชัดเจนในการที่จะมุ่งให้ประเทศหลุดพ้น จากกับดักการเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) ด้วยการตั้งเป้าลงทุนด้านการวิจัยของประเทศไว้ที่ร้อยละ 1 ของ GDP 2. มหาวิทยาลัยมีความเข้มแข็งทางวิชาการและระบบการจัดการวิจัย ตลอดจน มีงบประมาณในการสนับสนุนงานวิจัยทั้งจากงบประมาณรายได้ของ มหาวิทยาลัย และการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกมากขึ้น เฉพาะด้าน การพัฒนาศักยภาพการท�ำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ พบว่ามีมหาวิทยาลัย ที่ร่วมสนับสนุนเพิ่มขึ้น ทั้งจ�ำนวนสถาบันและงบประมาณโดยใน พ.ศ. 2555 มีมหาวิทยาลัย 60 แห่ง ร่วมสนับสนุนทุนวิจัยจ�ำนวนรวม 60.87 ล้านบาท 3. ภาคเอกชนให้ความส�ำคัญกับการวิจัยและมีการลงทุนท�ำวิจัยมากขึ้น 4. มีกลไกการท�ำงานร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย คือ เครือข่าย องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ที่จะเชื่อมโยงการท�ำงานกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่เป็น หน่วยสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ และโครงการขนาดใหญ่ ของรัฐให้ใช้ความรู้จากงานวิจัย 5. ขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศอยู่ใน ระดับดี มีผลงานวิจัยและบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีชีวภาพ ในระดับน่าพอใจ เยาวชนไทยมีความสามารถด้าน ชีววิทยาสูงเมื่อเทียบกับศาสตร์อื่นๆ มีทรัพยากรด้านการผลิตในภาค การเกษตรมาก (ข้าว มันส�ำปะหลัง อ้อย ยาง ปาล์มน�้ำมัน) มีชื่อเสียง ด้านการเกษตรและอาหาร บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข และ การท่องเที่ยว โอกาส
  • 20. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 18 พ.ศ. 2557-2560 6. ทิศทางการพัฒนาประเทศเน้นการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค และการขับเคลื่อน แผน ไปสู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ เพื่อให้สามารถจัดการกับปัญหาและพัฒนาให้เกิด ประสิทธิภาพมากขึ้น และต้องการข้อมูลและความรู้หลายสาขา เพื่อการท�ำงานและ เตรียมความพร้อมในการเผชิญกับความเสี่ยงและความท้าทายใหม่ๆ 7. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) ได้ออกประกาศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2556 ในการใช้ “ผลงานวิชาการ รับใช้สังคม” เป็นผลงานในการขอต�ำแหน่งวิชาการ ทั้งนี้ต้องเป็นผลงานที่มีประโยชน์ ต่อสังคมหรือท้องถิ่นที่เกิดขึ้น โดยใช้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาอย่างน้อยหนึ่งสาขา วิชา และปรากฏผลที่สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรมโดย ประจักษ์ต่อสาธารณะ 8. ฐานทรัพยากร การสั่งสมภูมิปัญญาท้องถิ่น และทุนทางสังคมในท้องถิ่นต่างๆ ของ ประเทศที่สามารถน�ำมาใช้ต่อยอดงานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้อย่างต่อเนื่อง หรือได้รับการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยโดยชาวบ้าน เพื่อแก้ปัญหาใน พื้นที่ และสร้างนวัตกรรมสังคมในระดับชุมชนท้องถิ่นได้ 9. ประเทศไทยมีศักยภาพเป็นจุดเชื่อมต่อของอนุภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชีย การเติบโต ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท�ำให้ประเทศต่างๆ เร่งหาแนวทางความร่วมมือ กับประเทศไทย และประชาคมอาเซียนในทุกๆ ด้าน รวมทั้งความร่วมมือด้านการวิจัย และพัฒนา
  • 21. 4 ความท้าทายใหม่ 19 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ 1. บริบทใหม่ที่ประเทศไทยต้องเผชิญ มีทั้งความท้าทายเดิมเรื่องปัญหาความ ยากจน และความเหลื่อมล�้ำของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับ ภูมิภาค การบริหารภาครัฐที่อ่อนแอ ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เสถียรภาพทางการเมืองและความมั่นคง ปัญหาทางสังคมและจริยธรรม และ ความท้าทายใหม่ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 การขยายตัว ของเศรษฐกิจและอิทธิพลของประเทศจีน และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 2. ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง ท�ำให้ขาดนโยบายการสนับสนุน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ในการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ให้ออก จากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) โดยเฉพาะ นโยบายด้านการส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม ก�ำหนดเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเป้าหมาย การถ่ายทอดเทคโนโลยี การเพิ่มสัดส่วน บุคลากรวิจัยให้สอดคล้องกับการลงทุนด้านการวิจัยและ พัฒนาที่ตั้งเป้าไว้ 3. คุณภาพการศึกษามีปัญหาในทุกระดับ โดยเฉพาะความสามารถของเยาวชน ในด้านคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการพัฒนาความ สามารถด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี 4. นวัตกรรมและขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาพรวม ของประเทศ ยังไม่มากพอที่จะท�ำให้ก้าวข้ามไปสู่ประเทศรายได้สูงได้ 5. ประเทศไทยขาดระบบการจูงใจและระบบสนับสนุนเพื่อพัฒนานักวิจัยที่ ต่อเนื่อง
  • 22.
  • 23. วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2557 - 2560 ส่วนที่ ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • 24. 1 2 ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 22 พ.ศ. 2557-2560 ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศ และ เป็นผู้น�ำด้านการบริหารจัดการการวิจัยในเอเชีย สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ และผลงานวิจัย น�ำไปสู่การสร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ 1. สนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ นโยบาย นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา 2. สนับสนุนการสร้าง การพัฒนา นักวิจัยและองค์กรวิจัย 3. สนับสนุนการพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ 4. สนับสนุนการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 5. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ
  • 25. 3 23 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ สกว. เป็นองค์กรหนึ่งของระบบวิจัย ที่ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยงานบริหาร จัดการงานวิจัย และให้ทุนสนับสนุนการวิจัย มีส่วนร่วมในการก�ำหนดทิศทาง การวิจัยของประเทศ เพื่อร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่จะ สร้างการเติบโตที่ยั่งยืน จุดเด่นที่ผ่านมาของ สกว. คือ ระบบการบริหารจัดการ การวิจัย ที่สามารถผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบวิจัยได้อย่างกว้างขวาง ทั้งในด้านการพัฒนา งานวิจัย นักวิจัย สถาบัน หน่วยงานวิจัย และระบบวิจัย สกว. จะยังคงรักษาจุดเด่นนี้ และใช้ให้เป็นพลัง ในการท�ำงานร่วมกับหน่วยงาน ต่างๆ ในเครือข่าย องค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) เพื่อร่วมกันเพิ่มขีด ความสามารถด้านการวิจัยของประเทศ สกว. เน้นการกระตุ้นให้เกิดการเติบโต และความแข็งแรงของระบบวิจัย โดยใช้ทักษะการบริหารจัดการ เพื่อสร้าง ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง พัฒนานักวิจัยที่ สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อเป็นก�ำลังให้กับระบบวิจัย ตลอดจนเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้กับสถาบันและหน่วยวิจัยต่างๆ ของประเทศ นอกจากนี้ในด้าน ความร่วมมือกับต่างประเทศ สกว. จะใช้จุดแข็งของระบบการสนับสนุนทุนที่ ยืดหยุ่นคล่องตัว ในการสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายวิจัยระดับนานาชาติ โดยเฉพาะในประชาคมภูมิภาคอาเซียน เพื่อร่วมกันพัฒนาความเข้มแข็งของ ระบบวิจัยในอาเซียน ตำ�แหน่งขององค์กร สกว. ในระบบวิจัยของประเทศ
  • 26. 4 ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 24 พ.ศ. 2557-2560 1. เพื่อสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยและองค์ความรู้ นวัตกรรม ทรัพย์สินทาง ปัญญา นโยบายที่มีคุณภาพสูง เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น และประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หลุดพ้นจากกับดัก ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง มีการกระจายศูนย์กลางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาค และการเพิ่มผลิตภาพของภาคการผลิตและบริการให้เติบโต ขยายตัวใน ทิศทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างทุนทางสังคม และการเข้าถึง ทรัพยากรและสวัสดิการอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน 2. เพื่อสนับสนุนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของนักวิจัยและสถาบันวิจัยของ ประเทศ รวมทั้งหน่วยวิจัยที่มุ่งสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศและหน่วยวิจัยและพัฒนา เพื่อ การพัฒนาที่เน้นการใช้ประโยชน์ให้มีคุณภาพและมาตรฐานในระดับ นานาชาติ 3. เพื่อพัฒนาระบบวิจัยของประเทศให้มีความเป็นสากล และเป็นผู้น�ำในกลุ่ม ประเทศอาเซียน โดยการสร้างความร่วมมือกับแหล่งทุนและสถาบันวิจัย ในต่างประเทศ เพื่อการท�ำงานวิจัยร่วมกัน รวมทั้งการบุกเบิกสร้างรูปแบบ ใหม่ๆ ของการบริหารจัดการการวิจัย 4. เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีวัฒนธรรมการใช้ความรู้ ข้อมูลและเหตุผล ในการตัดสินใจแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศอย่างแพร่หลายกว้างขวาง ตั้งแต่ระดับนโยบายไปจนถึงระดับชุมชน และครัวเรือน เป้าประสงค์
  • 27. 5 ผลผลิต และผลลัพธ์ 25 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ เมื่อสิ้นสุดแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี ฉบับนี้ จะเกิดผลผลิตและผลลัพธ์ดังนี้ 1. สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศในด้านต่างๆ ได้ โดยผลงานวิจัยและพัฒนาร้อยละ 70 ถูกน�ำไป ใช้ประโยชน์ 2. สร้างนักวิจัยที่มีคุณภาพสูง และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยมีผลงาน ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับสากลร้อยละ 95 และตีพิมพ์ในวารสาร วิชาการที่จัดอยู่ในกลุ่มวารสารที่มีผลกระทบสูง 2 กลุ่มแรก (Q1-2) ร้อยละ 40 3. ยกระดับขีดความสามารถในการบริหารจัดการการวิจัยของมหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัย โดยมีสถาบันต่างๆ ที่ท�ำความร่วมมือกับ สกว. เพื่อการ พัฒนาระบบบริหารจัดการการวิจัย ร้อยละ 10 ของมหาวิทยาลัยทั้งหมด ในประเทศ 4. สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อการสนับสนุนการท�ำวิจัยร่วมกัน ระหว่างสถาบันวิจัยของไทยกับต่างประเทศ โดยมีบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding) ในกลุ่มประเทศอาเซียน 6 ประเทศ และประเทศอื่นๆ อีก 6 ประเทศ
  • 28. 6 ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 26 พ.ศ. 2557-2560 ยุทธศาสตร์ 4 ปีของ สกว. ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นกรอบก�ำกับการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย ซึ่ง จัดท�ำให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 3 ด้าน คือ 1. การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth and Competitiveness) 2. การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) 3. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) โดยที่ยุทธศาสตร์ ของ สกว. จะเน้นการสนับสนุนงานวิจัย การพัฒนา นักวิจัย และพัฒนาระบบวิจัย การน�ำผลงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์ที่สอดคล้อง เชื่อมประสานและผนึกก�ำลัง (Synergy) กันทั้ง 3 ยุทธศาสตร์ไปพร้อมกัน เพื่อ ให้งานวิจัยได้ประโยชน์สูงสุด และเป็นงานวิจัยก่อให้เกิดการเติบโตด้านต่างๆ ไปด้วยกันอย่างมีดุลยภาพเพื่อสร้างการเติบโตที่ยั่งยืน (Sustainable Growth) ของประเทศ ยุทธศาสตร์ สกว. 2557-2560
  • 29. 27 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะก�ำกับทั้งเป้าหมายผลลัพธ์ของการสร้างความ เติบโตอย่างยั่งยืน และกระบวนการสนับสนุนการสร้างความรู้ สร้างคน และพัฒนาระบบ วิจัยของ สกว. โดยเน้นความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันบนเงื่อนไขของ ความรู้และคุณธรรม
  • 30. ยุทธศาสตร์ สกว. มีดังนี้ ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 28 พ.ศ. 2557-2560 ยุทธศาสตร์ 1 : การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในประเด็นส�ำคัญ เพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาและนโยบายที่ถูกต้องและเพียงพอ ตรงกับปัญหา และสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาชุมชน สังคม และ ประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 2 : การสร้างและการพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยบุคลากรวิจัยเครือข่ายวิจัย และองค์กรวิจัย ให้มีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ 3 : การพัฒนาระบบวิจัยให้มีประสิทธิภาพ โดยมีการท�ำงานเป็นเครือข่าย และเชื่อมโยงสู่สากล ยุทธศาสตร์ 4 : การบริหารจัดการเพื่อน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การพัฒนาระบบการสื่อสารและ การเชื่อมโยงกับสังคมและฝ่ายนโยบายเพื่อให้เห็นคุณค่าของความรู้ และการวิจัย ยุทธศาสตร์ 5 : การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
  • 31. 29 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในประเด็นส�ำคัญ เพื่อสร้าง องค์ความรู้ นวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายที่ถูกต้อง และเพียงพอ ตรงกับปัญหา และสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนา ชุมชน สังคมและประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สกว. มีนโยบายและหลักการในการสนับสนุนทุนวิจัยดังนี้ 1. ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยครอบคลุมทุกสาขาวิชาและทุกมิติของการวิจัย โดยมี อัตราส่วนของการให้ทุนในมิติการวิจัย ได้แก่ 1. การวิจัยพื้นฐาน 2. การวิจัย และพัฒนา (รวมการวิจัยและพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและเชิงพื้นที่) มีอัตราส่วน งบประมาณเป็น 50 : 50 และอัตราส่วนการสนับสนุนการวิจัยตามสาขาวิชา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็น 70 : 30 2. ส่งเสริมศักยภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง ธ�ำรงคุณค่าทาง จริยธรรมในสังคม
  • 32. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 30 พ.ศ. 2557-2560 3. พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนภาค การผลิตและบริการของประเทศ 4. ส่งเสริมให้เกิดนโยบายและการพัฒนาที่มุ่งให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน • กระบวนการผลิตที่มุ่งสู่ความยั่งยืน (Sustainable Production) เน้นประเด็น ส�ำคัญ ได้แก่ Green Innovation, Green Technology, Green Investment, Green Job • กระบวนการบริโภคที่มุ่งสู่ความยั่งยืน (Sustainable Consumption) เน้น ประเด็นส�ำคัญ ได้แก่ Green Education, Green Marketing, Low - Carbon Society • ส่งเสริมการกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาค (Sustain- able Growth Poles / Pillars) ที่มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น และทุนทางสังคม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานการศึกษาและ การเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมการเข้าถึงฐานทรัพยากร และสวัสดิการอย่างเป็น ธรรมและยั่งยืน พร้อมทั้งขจัดอุปสรรคต่อความร่วมมือ และการอยู่ร่วมกันใน ภูมิภาค จากนโยบายและหลักการส�ำคัญ ในการสนับสนุนทุนและการวิจัยข้างต้น เพื่อให้เกิด เป้าหมายการให้ทุนวิจัยและก่อให้เกิดผลงานวิจัยที่มีผลลัพธ์และผลกระทบสูงขึ้น สกว. จึงได้ก�ำหนดกลยุทธ์ ซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามพลวัตของปัญหา และสถานการณ์ การพัฒนาของประเทศ และภูมิภาคดังต่อไปนี้ กลยุทธ์ 1.1 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทุนวิจัย (ดังรายละเอียดในเอกสาร ภาคผนวก 1) สกว. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทุนวิจัยหลาย รูปแบบเพื่อให้ตอบโจทย์ของประเทศ ในหลายระดับ ได้แก่ ›› ก�ำหนดประเด็นการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ของ สกว. (Strategic Research Issues; SRI) พร้อมกับสร้างรูปแบบและระบบ การบริหาร (SRI Management)
  • 33. 31 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ ›› สนับสนุนการบริหารจัดการกรอบประเด็นการวิจัยมุ่งเป้าเพื่อ ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ที่ คอบช. เป็น ผู้ก�ำหนด (Targeted Research Issues; TRI) พร้อมกับ การพัฒนารูปแบบและระบบบริหาร (TRI Management) ตั้งแต่ ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ ร่วมกับ คอบช.​ ›› พัฒนาระบบการให้ทุนวิจัยภายในฝ่ายต่างๆ ของ สกว. (Division Research Issue; DRI) พร้อมกับระบบการบริหาร (DRI Management) ›› พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Areas; SRA) พร้อมทั้งพัฒนาระบบบริหาร (SRA Management) กลยุทธ์ 1.2 การพัฒนาฐานข้อมูลและกลไกเพื่อก�ำกับติดตาม อัตราส่วนการ จัดสรรทุนวิจัย กลยุทธ์ 1.3 การเชื่อมโยงเพื่อสังเคราะห์ผลงานวิจัย ทั้งของ สกว. และ คอบช. เพื่อผลักดัน สู่การใช้ประโยชน์และน�ำไปแก้ไขปัญหาของประเทศ กลยุทธ์ 1.4 ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งส�ำนักงานภาค เพื่อเป็นหน่วย บริหารจัดการงานวิจัย และตอบสนองการสร้าง Sustainable Growth Poles กลยุทธ์ 1.5 การสังเคราะห์ผลงานวิจัยของ สกว. ย้อนหลัง เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ และต่อยอดการวิจัย กลยุทธ์ 1.6 การบูรณาการระหว่างกลุ่มภารกิจวิจัยพื้นฐาน และกลุ่มภารกิจวิจัย และพัฒนา
  • 34. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 32 พ.ศ. 2557-2560 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างและการพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย บุคลากรวิจัย เครือข่ายวิจัย และองค์กรวิจัยให้มีขีดความสามารถในระดับ นานาชาติ เน้นการเพิ่มจ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยที่มีขีดความสามารถสูง พัฒนาสถาบัน และหน่วยวิจัย เพื่อให้สามารถสร้างงานวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศได้มาก ยิ่งขึ้น โดยพัฒนาต่อยอดจากจุดแข็งของการพัฒนานักวิจัยของฝ่ายวิชาการและโครงการ ปริญญาเอกกาญจนาภิเษกโดยมีกลยุทธ์ดังนี้ กลยุทธ์ 2.1 สร้างเครือข่ายนักวิจัยตามโจทย์การพัฒนาและความต้องการของ ประเทศ ›› โครงการพัฒนาเครือข่ายวิจัยนานาชาติ (IRN) ›› สร้างเครือข่ายวิจัยและจัดท�ำระบบการบริหารจัดการ เชื่อมโยง กับ Strategic Research Issue, สาขาวิชา, ภาคอุตสาหกรรม ที่ส�ำคัญ และชุมชนพื้นที่
  • 35. 33 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ 2.2 การเพิ่มปริมาณนักวิจัยที่มีคุณภาพ โดยร่วมมือกับสถาบันวิจัย องค์กร วิจัย และกระทรวงศึกษาธิการ ›› นักวิจัยด้านวิชาการ • โครงการพัฒนานักวิจัยใหม่สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ›› นักวิจัยด้านการวิจัยและพัฒนา ›› นักวิจัยชุมชนท้องถิ่น กลยุทธ์ 2.3 จัดกระบวนการพัฒนานักวิจัยให้มีคุณภาพ และพัฒนาวิชาชีพนักวิจัย รวมทั้งมาตรฐานจริยธรรมนักวิจัย ร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหาร งานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ›› จัด Research Management Training Course ให้กับผู้บริหาร งานวิจัยและนักวิจัย เพื่อสร้างศักยภาพด้านการบริหารงานวิจัย กลยุทธ์ 2.4 สร้างความเข้มแข็งขององค์กรวิจัยทั้งระดับชาติ และระดับสถาบันการศึกษา โดยการจัดสรรทุนสนับสนุนเชิงสถาบัน (Institutional Grant) เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถและผลงานวิจัย ในระดับ International Research Institute เป็นการยกระดับขีดความสามารถของนักวิจัยไทย โดยพัฒนา ความร่วมมือกับสถาบันหรือหน่วยวิจัยระดับนานาชาติและพัฒนา โดย ร่วมกับโครงการพัฒนาเครือข่ายวิจัยนานาชาติ ›› โครงการการสนับสนุนทุนพัฒนาศักยภาพการวิจัยเชิงสถาบัน ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อยอดจากผลการประเมินคุณภาพ ผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบัน อุดมศึกษาไทย ›› โครงการสนับสนุนพัฒนาศักยภาพการวิจัยเป็นสถาบันด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ›› โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ร่วมกับสถาบันการศึกษา ›› การสนับสนุนทุนวิจัยส�ำหรับศูนย์วิจัย ›› พัฒนาความร่วมมือกับองค์กรวิจัย และมหาวิทยาลัย เพื่อยกระดับ ขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการการวิจัย
  • 36. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 34 พ.ศ. 2557-2560 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ มีการท�ำงานเป็นเครือข่าย และเชื่อมโยงสู่สากล กลยุทธ์ 3.1 ร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ในการเพิ่ม งบประมาณ และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ เพื่อการวิจัยที่เพียงพอและต่อเนื่อง รวมทั้งบูรณาการวิธีท�ำงาน ให้มี กรอบการวิจัยและทิศทางที่ชัดเจนร่วมกัน ›› ด�ำเนินการให้มีกระบวนการขับเคลื่อนการท�ำงานร่วมกับ คอบช. ในประเด็นต่างๆ กลยุทธ์ 3.2 พัฒนากลไกและระบบสารสนเทศเพื่อเชื่อมโยงระหว่างสถาบันวิจัย และหน่วยวิจัย ตลอดจนนักวิจัยที่มีความสามารถสูง และผู้เชี่ยวชาญ ที่มีอยู่ เพื่อเป็นฐานการพัฒนาคุณภาพนักวิจัยและผลงานวิจัย กลยุทธ์ 3.3 สนับสนุนการสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศและเพิ่มบทบาทของ ประเทศไทย ในเวทีวิจัยระดับนานาชาติ ›› พัฒนากลไกการสร้างความร่วมมือและกลไกขับเคลื่อนกับองค์กร ให้ทุนวิจัยในต่างประเทศ เช่น การจัดท�ำ Joint Research Program การท�ำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding) ›› ขยายความร่วมมือและเพิ่มบทบาทในเวทีวิจัยระดับนานาชาติ เช่น การจัด TRF International Conference กลยุทธ์ 3.4 พัฒนาผู้บริหารงานวิจัยให้มีความสามารถและเป็นมืออาชีพ
  • 37. 35 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ 3.5 ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนวิจัยในภาคเอกชน โดยบริหารจัดการ เทคโนโลยีที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี จากสถาบันและหน่วยวิจัย สู่ภาคเอกชนให้มีผลตอบแทนที่เหมาะสม สร้างระบบแรงจูงใจให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม กับสถาบันและหน่วยวิจัย ›› จัดตั้ง Cluster วิจัยเพื่ออุตสาหกรรม ›› จัดให้มีทุนวิจัย Translational Research กลยุทธ์ 3.6 เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการงานวิจัย ›› จัดท�ำคู่มือ เครื่องมือก�ำกับการบริหารจัดการงานวิจัย เพื่อ เสริมสร้างธรรมภิบาลองค์กร
  • 38. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 36 พ.ศ. 2557-2560 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเพื่อน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ และการพัฒนาระบบการสื่อสาร และการเชื่อมโยงกับสังคมและฝ่ายนโยบายเพื่อให้เห็นคุณค่าของ ความรู้และงานวิจัย เพื่อขับเคลื่อนผลงานวิจัยให้สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศ ได้ตามเป้าหมาย สกว. จะต้องพัฒนาระบบการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ให้มี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล นอกจากนี้ยังต้องพัฒนาระบบการสื่อสารสังคมและฝ่ายนโยบาย เพื่อให้สังคมได้รับประโยชน์จากผลงานวิจัยและเห็นคุณค่าของการวิจัย ซึ่งมีกลยุทธ์ดังนี้ กลยุทธ์ 4.1 สร้างรูปแบบกลไก และระบบการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ทั้ง ด้านวิชาการด้านสาธารณะด้านชุมชนด้านนโยบายและด้านพาณิชย์ ซึ่งแต่ละประเภทของการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย จะมีระบบและ กลไกที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • 39. 37 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ 4.2 การสื่อสารสังคม เพื่อสร้างความเข้าใจ และความตระหนัก ของผู้ผลิต ผู้บริโภค ภาคประชาสังคม ภาครัฐ และภาควิชาการ ต่อความจ�ำเป็น ในการใช้ผลงานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม กลยุทธ์ 4.3 การเชื่อมโยงกับฝ่ายการเมืองและนโยบาย ให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และมองเห็นเป้าหมายร่วมกับฝ่ายวิชาการ รวมทั้งเห็นความ ส�ำคัญ และใช้ข้อมูลความรู้มากขึ้นในการตัดสินใจก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ 4.4 การปรับระบบการจัดการงานวิจัยพื้นฐานและงานวิจัยเพื่อพัฒนา ให้เชื่อมโยงกัน และสามารถตอบโจทย์การพัฒนาในประเด็นใหญ่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลยุทธ์ 4.5 การพัฒนาจุดประสานในการรับโจทย์จากผู้ต้องการใช้งานวิจัย และ เชื่อมกับการท�ำงานของนักวิจัยที่มาจากหลากหลายศาสตร์สาขาวิชา หรือหลายสถาบันได้ เพื่อให้ได้ผลงานวิจัยที่ได้ทั้งการตอบโจทย์ของ ผู้ใช้งาน และสามารถตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติได้ กลยุทธ์ 4.6 เพิ่มบทบาท สกว. ให้ท�ำหน้าที่เป็น Content Provider เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อสาธารณะและฝ่ายนโนบาย กลยุทธ์ 4.7 พัฒนาระบบและกลไกการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของ การใช้ประโยชน์
  • 40. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 38 พ.ศ. 2557-2560 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาองค์กรอย่างเร่งด่วนเป็นสิ่งจ�ำเป็น เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการ เปลี่ยนแปลงในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเพื่อขับเคลื่อน สกว. ไปสู่วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ใหม่ โดยมีกลยุทธ์ดังนี้ กลยุทธ์ 5.1 น�ำเครื่องมือการบริหารจัดการ TQA, TQM มาใช้ในการพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ 5.2 ถอดบทเรียนและจัดการความรู้การบริหารองค์กร สกว. กลยุทธ์ 5.3 การพัฒนาบุคลากรและกระบวนการภายใน กลยุทธ์ 5.4 การจัดหางบประมาณการวิจัยเพิ่มเติม เพื่อรองรับการวิจัยและ การบริหารการวิจัยในรูปแบบใหม่ กลยุทธ์ 5.5 การปรับโครงสร้างองค์กรและปรับปรุงกฎระเบียบ กลยุทธ์ 5.6 พัฒนาระบบและฐานข้อมูลการให้ทุนสนับสนุนการวิจัย ก�ำกับติดตาม และประเมินผลงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น กลยุทธ์ 5.7 การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของฝ่ายต่างๆ ภายใน สกว. กลยุทธ์ 5.8 การพัฒนาศักยภาพส�ำนักประสานงานของ สกว. กลยุทธ์ 5.9 การพัฒนาระบบการสื่อสารภายใน กลยุทธ์ 5.10 การวิจัยสถาบันและ Routine to Research
  • 41. 7 39 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ เป้าหมายผลผลิต 2557 2558 2559 2560 เป้าหมายผลผลิต 1. ร้อยละผลงานวิจัยและพัฒนาที่ถูกน�ำไป 64 66 68 70 ใช้ประโยชน์ 2. ร้อยละผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ 25 30 35 40 ในวารสารวิชาการที่จัดกลุ่มเป็นวารสาร ที่มีผลกระทบสูง 2 กลุ่มแรก (Q1-2) 3. ร้อยละของจ�ำนวนมหาวิทยาลัยที่มีความ 4 6 8 10 ร่วมมือ กับ สกว. เพื่อการพัฒนาระบบ บริหารจัดการการวิจัย 4. จ�ำนวนประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน 3 4 5 6 ที่มีข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อสนับสนุน การท�ำวิจัยร่วมกันระหว่างสถาบันวิจัย ในต่างประเทศกับของไทย 5. จ�ำนวนประเทศนอกกลุ่มประเทศอาเซียน 3 4 5 6 ที่มีข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อสนับสนุน การท�ำวิจัยร่วมกันระหว่างสถาบันวิจัย ในต่างประเทศกับของไทย
  • 43. 41 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ การก�ำหนดกรอบประเด็นการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Issue) และ พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Area) นั้น สกว. ได้น�ำองค์ความรู้เดิม ซึ่งสั่งสมจากงานวิจัยที่ผ่านมา เป็นฐานในการช่วยก�ำหนดประเด็น และใช้เป็นฐานความรู้ ที่จะต่อยอดการพัฒนาผ่านการบริหารการให้ทุนวิจัย ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้รับการสังเคราะห์ ด้วยการมองไปสู่อนาคตทั้งโดย สกว. และโดยผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนมากที่รับเชิญมาให้ ความเห็นประเมินคุณค่าในการประชุมจัดท�ำร่างยุทธศาสตร์ 2 ครั้ง ดังนั้น สกว. จึง คาดหวังว่ากรอบประเด็นเหล่านี้จะเป็นต้นแบบของการบูรณาการงานวิจัยภายในของ สกว. ที่จะพัฒนาไปสู่การบูรณาการการวิจัยกับภายนอกด้วย นอกจากนี้ ยังมีประเด็น ยุทธศาสตร์การวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ที่ คอบช. มอบหมายให้ สกว. เป็นผู้รับผิดชอบ
  • 44. ยุทธศาสตร์ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 42 พ.ศ. 2557-2560 กรอบประเด็นการวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Issue) SRI1 : ประชาคมอาเซียนและภูมิภาคเอเชียตะวันออก (ASEAN Community and the East Asian Region) SRI2 : ความมั่นคงและความปลอดภัยทางอาหาร (Food Security and Safety) SRI3 : การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ น�้ำ ที่ดิน และการจัดการสิ่งแวดล้อม (Climate Change, Water, Land and Environmental Management) SRI4 : การลดความเหลื่อมล�้ำของสังคม (Inequality Reduction) SRI5 : การสร้างสรรค์การเรียนรู้และการปฏิรูปการศึกษา (Creative learning and Educational Reform) SRI6 : ธรรมภิบาลและการลดคอรัปชั่น (Good Governance and Corruption Reduction) SRI7 : ผลประโยชน์แห่งชาติและความมั่นคงทางทะเล (National Interests on Marine Resources and Maritime Security) SRI8 : คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ระเบียบวินัยของคนไทย (Ethics, Culture, and Discipline of Thais) SRI9 : สุขภาพและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร (Health Sciences and Demographic Transition) SRI10 : องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ (New Knowledge and Innovation on Sciences, Humanities and Social Sciences) SRI11 : พลังงานและพลังงานทางเลือก (Energy and Alternative Energy) SRI12 : การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Overcoming the Middle Income Trap)
  • 45. 43 สร้างสรรค์ปัญญา เพื่อพัฒนาประเทศ พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Area) พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Area) เพื่อพัฒนา ระบบบูรณาการการวิจัย ข้ามศาสตร์บนฐานทุนเดิมของฝ่ายต่างๆ ภายใน สกว. รวมถึงเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันและหน่วยวิจัยในพื้นที่ การสนับสนุนการวิจัยในพื้นที่ที่เป็น SRA เหล่านี้ จะเชื่อมโยงและบูรณาการ จุดแข็งของ สกว. ทั้งจากงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR) งานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ (ABC) งานวิจัยเพื่อพัฒนา (R&D) จากฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาการพัฒนา ของพื้นที่ รวมทั้งเปิดกลยุทธ์ใหม่ คือการให้ทุนวิจัยเชิงสถาบันเพื่อสนับสนุน การพัฒนานักวิจัย และการสร้างผลงานวิจัย ทั้งเชิงวิชาการและการพัฒนา ที่สามารถตอบโจทย์ในพื้นที่ได้ พื้นที่การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Research Area) มีดังนี้ SRA1 ภาคเหนือ : เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน แพร่ ล�ำปาง อุตรดิตถ์ พิษณุโลก ก�ำแพงเพชร SRA2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : นครราชสีมา ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ ยโสธร อุบลราชธานี สกลนคร SRA3 ภาคกลาง : ชัยนาท อุทัยธานี นครปฐม ระยอง SRA4 ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส