SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
พระราชบัญญัติ
การจัดการศึกษาสำาหรับคน
พิการ ๒๕๕๑
ให้ไว้ ณ วัน
ที่
๒๗ มกราคม พ.ศ.
๒๕๕๑
เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน
ตราพรบ.ขึ้น
ไว้โดย
คำาแนะนำาและยินยอม
ของ
สภานิติบัญญัติแห่ง
ชาติ
ใช้บังคับ
ตั้งแต่
วันประกาศในราชกิจ
จานุเบกษา
ความหมาย
คำาว่า... หมายความว่า
คนพิการ บุคคลซึ่งมีข้อจำากัดใน
การปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจำาวันหรือ
เข้าไปมีส่วนร่วมทาง
สังคม เนื่องจากมีความ
บกพร่องทางการเห็น
การได้ยิน การ
เคลื่อนไหว การสื่อสาร
จิตใจ อารมณ์
พฤติกรรม สติปัญญา
การเรียนรู้ หรือความ
บกพร่องอื่นใดประกอบ
กับมีอุปสรรค
ในด้านต่าง ๆ และมี
ความต้องการจำาเป็น
พิเศษทางการศึกษาที่จะ
ต้องได้รับความช่วย
เหลือด้านหนึ่งด้านใด
เพื่อให้สามารถปฏิบัติ
กิจกรรมในชีวิตประจำา
วันหรือเข้าไปมีส่วนร่วม
ทางสังคมได้อย่างบุคคล
ทั่วไป
ทั้งนี้ ตามประเภทและ
หลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการประกาศ
กำาหนด
ผู้ดูแลคน
พิการ
บิดา มารดา ผู้ปกครอง
บุตร สามี ภรรยา ญาติ
พี่น้อง หรือบุคคลอื่นใดที่
รับดูแลหรือรับอุปการะ
คนพิการ
แผนการ
จัดการ
ศึกษา
เฉพาะ
บุคคล
แผนซึ่งกำาหนดแนวทาง
การจัดการศึกษา
ที่สอดคล้องกับความ
ต้องการจำาเป็นพิเศษของ
คนพิการ ตลอดจน
กำาหนดเทคโนโลยี สิ่ง
อำานวยความสะดวก สื่อ
บริการ และความช่วย
เหลืออื่นใดทางการ
ศึกษาเฉพาะบุคคล
เทคโนโล
ยีสิ่ง
อำานวย
ความ
สะดวก
เครื่องมือ อุปกรณ์
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรือบริการที่ใช้สำาหรับ
คนพิการโดยเฉพาะ หรือ
ที่มีการดัดแปลงหรือปรับ
ใช้ให้ตรงกับความ
ต้องการ
จำาเป็นพิเศษของคน
พิการแต่ละบุคคล เพื่อ
เพิ่ม รักษา คงไว้ หรือ
พัฒนาความสามารถและ
ศักยภาพ
ที่จะเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสาร การสื่อสาร รวม
ถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิต
ประจำาวันเพื่อการดำารง
ชีวิตอิสระ
ครูการ
ศึกษา
พิเศษ
ครูที่มีวุฒิทางการศึกษา
พิเศษสูงกว่าระดับ
ปริญญาตรี
ขึ้นไป และปฏิบัติหน้าที่
ในสถานศึกษาทั้งของรัฐ
และเอกชน
“การเรียนร่วม” หมายความว่า
การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาใน
ระบบการศึกษาทั่วไป
ทุกระดับและหลากหลายรูปแบบ
รวมถึงการจัดการศึกษา ให้สามารถ
รองรับการเรียนการสอน
สำาหรับคนทุกกลุ่มรวมทั้งคนพิการ
“สถานศึกษาเฉพาะความ
พิการ” หมายความว่า สถานศึกษา
ของรัฐหรือเอกชนที่จัดการศึกษา
สำาหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งใน
ลักษณะอยู่ประจำา ไป กลับ และรับ
บริการที่บ้าน
คำาว่า... หมายความว่า
ศูนย์การศึกษา
พิเศษ
สถานศึกษาของ
รัฐที่จัดการศึกษา
นอกระบบ หรือ
ตามอัธยาศัยแก่
คนพิการ ตั้งแต่
แรกเกิดหรือแรก
พบความพิการ
จนตลอดชีวิต
และจัดการศึกษา
อบรมแก่
ผู้ดูแลคนพิการ
ครู บุคลากรและ
ชุมชน รวมทั้ง
การจัดสื่อ
เทคโนโลยี สิ่ง
อำานวยความ
สะดวก บริการ
และความช่วย
เหลืออื่นใด
ตลอดจนปฏิบัติ
หน้าที่อื่นตามที่
กำาหนดใน
ประกาศ
กระทรวง
ศูนย์การเรียน
เฉพาะความ
พิการ
สถานศึกษาที่
จัดการศึกษา
นอกระบบ หรือ
ตามอัธยาศัยแก่
คนพิการโดย
เฉพาะ โดย
หน่วยงานการ
ศึกษานอก
โรงเรียน บุคคล
ครอบครัว ชุมชน
องค์กรเอกชน
องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา
สถานประกอบ
การ
โรงพยาบาล
สถาบันทางการ
แพทย์ สถาน
สงเคราะห์และ
2
สถาบันทางสังคม
อื่นเป็นผู้จัด
ตั้งแต่ระดับ
การศึกษาปฐมวัย
การศึกษาขั้นพื้น
ฐาน อาชีวศึกษา
อุดมศึกษาและ
หลักสูตรระยะสั้น
องค์การคนพิการ
แต่ละประเภท
องค์กรสมาชิก
ระดับชาติตาม
ประเภท
ความพิการที่ได้
แจ้งชื่อไว้กับ
สำานักงานส่ง
เสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคน
พิการแห่งชาติ
คณะกรรมการ คณะกรรมการส่ง
เสริมการจัดการ
ศึกษาสำาหรับคน
พิการ
กองทุน กองทุนส่งเสริม
และพัฒนาการ
ศึกษาสำาหรับคน
พิการ
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่
ทางการศึกษา
คนพิการมีสิทธิทางการ
ศึกษาดังนี้
1. ได้รับการศึกษาโดย
- ไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ
ความพิการจนตลอดชีวิต
- ได้รับเทค/ สิ่งอำานวยฯ/ สื่อ /
บริการ/ความช่วยเหลือ
2. เลือกบริการทางการศึกษา สถาน
ศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา
โดยคำานึงถึง
1.ความสามารถ 2.ความ
สนใจ
3.ความถนัด 4.ความ
ต้องการจำาเป็นพิเศษ
3.ได้รับการศึกษาที่มี
1. มตฐ.
2. ประกันคุณภาพการ
ศึกษา
3. การจัดหลักสูตร
4. กระบวนการเรียนรู้
5. การทดสอบทางการ
ศึกษาที่เหมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการ
จำาเป็นพิเศษ
มาตรา ๖ ให้ครูการศึกษา
พิเศษในทุกสังกัดมีสิทธิได้รับเงินค่า
ตอบแทนพิเศษตามที่กฎหมาย
3
กำำหนดให้ครูกำรศึกษำพิเศษ ครู
และคณำจำรย์ได้รับกำรส่งเสริมและ
พัฒนำศักยภำพ องค์ควำมรู้
กำรศึกษำต่อเนื่องและทักษะในกำร
จัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร ทั้งนี้
ตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำร
กำำหนด
มำตรำ ๗ ให้สถำนศึกษำของ
รัฐและเอกชนที่จัดกำรเรียนร่วม
สถำนศึกษำเอกชนกำรกุศล
ที่จัดกำรกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร
โดยเฉพำะ และศูนย์กำรเรียนเฉพำะ
ควำมพิกำร ที่ได้รับกำรรับรอง
มำตรฐำนได้รับเงินอุดหนุนและ
ควำมช่วยเหลือเป็นพิเศษจำกรัฐ
หลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำร
รับเงินอุดหนุนและควำมช่วยเหลือ
เป็นพิเศษ ให้เป็นไปตำมที่
คณะกรรมกำรกำำหนด
มำตรำ ๘ ให้สถำนศึกษำใน
ทุกสังกัดจัดทำำแผนกำรจัดกำรศึกษำ
เฉพำะบุคคล โดยให้สอดคล้อง
กับควำมต้องกำรจำำเป็นพิเศษของ
คนพิกำร และต้องมีกำรปรับปรุง
แผนกำรจัดกำรศึกษำเฉพำะบุคคล
อย่ำงน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตำมหลัก
เกณฑ์และวิธีกำรที่กำำหนดใน
ประกำศกระทรวง
สถำนศึกษำในทุกสังกัดและ
ศูนย์กำรเรียนเฉพำะควำมพิกำรอำจ
จัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร
ทั้งในระบบ นอกระบบ และตำม
อัธยำศัย ในรูปแบบที่หลำกหลำยทั้ง
กำรเรียนร่วม กำรจัดกำรศึกษำ
เฉพำะควำมพิกำร รวมถึงกำรให้
บริกำรฟื้นฟูสมรรถภำพ กำรพัฒนำ
ศักยภำพในกำรดำำรงชีวิตอิสระ
กำรพัฒนำทักษะพื้นฐำนที่จำำเป็น
กำรฝึกอำชีพ หรือกำรบริกำรอื่นใด
ให้สถำนศึกษำในทุกสังกัดจัด
สภำพแวดล้อม ระบบสนับสนุนกำร
เรียนกำรสอน ตลอดจน
บริกำรเทคโนโลยี สิ่งอำำนวยควำม
สะดวก สื่อ บริกำรและควำมช่วย
เหลืออื่นใดทำงกำรศึกษำ ที่คน
พิกำร
สำมำรถเข้ำถึงและใช้ประโยชน์ได้
ให้สถำนศึกษำระดับอุดมศึกษำ
ในทุกสังกัด มีหน้ำที่รับคนพิกำรเข้ำ
ศึกษำในสัดส่วนหรือ
จำำนวนที่เหมำะสม ทั้งนี้ ให้เป็นไป
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่คณะ
กรรมกำรกำำหนด
สถำนศึกษำใดปฏิเสธไม่รับคน
พิกำรเข้ำศึกษำ ให้ถือเป็นกำรเลือก
ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
ตำมกฎหมำย
ให้สถำนศึกษำหรือหน่วยงำนที่
เกี่ยวข้องสนับสนุนผู้ดูแลคนพิกำร
และประสำนควำมร่วมมือ
จำกชุมชนหรือนักวิชำชีพเพื่อให้คน
พิกำรได้รับกำรศึกษำทุกระดับ หรือ
บริกำรทำงกำรศึกษำ
ที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรจำำเป็น
พิเศษของคนพิกำร
มำตรำ ๙ ให้รัฐจัดเงินอุดหนุน
เพื่อส่งเสริมกำรวิจัยพัฒนำองค์ควำม
รู้และเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้อง และกำรพัฒนำครู
บุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้มีควำมรู้
ควำมเข้ำใจ ทักษะและ
ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรศึกษำ
สำำหรับคนพิกำร
4
ให้รัฐจัดสรรงบประมำณและ
ทรัพยำกรทำงกำรศึกษำอื่นเป็น
พิเศษให้เหมำะสม และสอดคล้อง
กับควำมต้องกำรจำำเป็นพิเศษของ
คนพิกำรและสถำนศึกษำที่จัดกำร
ศึกษำสำำหรับคนพิกำร
มำตรำ ๑๐ เพื่อประโยชน์ใน
กำรจัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร
ให้รำชกำรส่วนท้องถิ่น
ออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อ
กำำหนด ระเบียบหรือประกำศ แล้ว
แต่กรณี ให้เป็นไปตำมพระรำช
บัญญัตินี้
หมวด ๒
กำรส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำสำำหรับ
คนพิกำร
มำตรำ ๑๑ ให้มีคณะกรรมกำร
ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำสำำหรับคน
พิกำร ประกอบด้วย
(๑) รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
ศึกษำธิกำร เป็นประธำนกรรมกำร
(๒) รัฐมนตรีช่วยว่ำกำร
กระทรวงมหำดไทย เป็นรอง
ประธำนกรรมกำรคนที่หนึ่ง และ
ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นคนพิกำรซึ่ง
รัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นรองประธำน
กรรมกำรคนที่สอง
(๓) กรรมกำรโดยตำำแหน่ง
จำำนวนสิบคน ได้แก่ ปลัดกระทรวง
ศึกษำธิกำร เลขำธิกำร
สภำกำรศึกษำ เลขำธิกำรคณะ
กรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำร
อุดมศึกษำ
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำร
อำชีวศึกษำ อธิบดีกรมสุขภำพจิต
อธิบดีกรมกำรแพทย์ อธิบดีกรมส่ง
เสริม
กำรปกครองท้องถิ่น ผู้ว่ำรำชกำร
กรุงเทพมหำนครและเลขำธิกำร
สำำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำ
คุณภำพชีวิตคนพิกำรแห่งชำติ
(๔) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ
จำำนวนสิบสำมคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่ง
ตั้งจำกผู้ที่มีควำมรู้ ควำมสำมำรถ
ควำมเชี่ยวชำญและประสบกำรณ์สูง
ในด้ำนกำรบริหำรกำรศึกษำ ด้ำน
กำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร
ด้ำนกฎหมำย ด้ำนกำรแพทย์และ
สำธำรณสุข ด้ำนเทคโนโลยีสิ่ง
อำำนวยควำมสะดวกสำำหรับคนพิกำร
และด้ำนสังคมสงเครำะห์ ด้ำนใด
ด้ำนหนึ่งหรือหลำยด้ำนรวมกัน ทั้งนี้
อย่ำงน้อยเจ็ดคนต้องมำจำก
องค์กำรคนพิกำรแต่ละประเภท
ให้ผู้อำำนวยกำรสำำนักบริหำร
งำนกำรศึกษำพิเศษเป็นเลขำนุกำร
และให้แต่งตั้งข้ำรำชกำร
ในสำำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ
เป็นผู้ช่วยเลขำนุกำร
มำตรำ ๑๒ ให้คณะกรรมกำรมี
อำำนำจหน้ำที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอนโยบำย ยุทธศำสตร์
แผนกำรจัดกำรศึกษำสำำหรับคน
พิกำร แผนกำรจัดสรร
ทรัพยำกรและแนวทำงกำร
พัฒนำกำรบริหำรและกำรจัดกำร
ศึกษำสำำหรับคนพิกำรทุกระบบและ
ทุกระดับต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อ
พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบและมอบ
หมำยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
ดำำเนินกำรตำมอำำนำจหน้ำที่
5
(๒) เสนอควำมเห็นและให้คำำ
ปรึกษำต่อรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบเกี่ยว
กับกำรกำำหนดหลักสูตร
กำรกำำหนดมำตรฐำนและประกัน
คุณภำพกำรศึกษำ กำรประเมินและ
กำรทดสอบทำงกำรศึกษำ
ที่เหมำะสมและสอดคล้องกับควำม
ต้องกำรจำำเป็นพิเศษของคนพิกำร
รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีกำร
กำรได้มำและจำำนวนเงินค่ำ
ตอบแทนพิเศษของครูกำรศึกษำ
พิเศษ เพื่อให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
นำำไปปฏิบัติ
(๓) พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ
แผนกำรใช้จ่ำยเงินกองทุนเพื่อ
สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ
สำำหรับคนพิกำรของหน่วยงำนใน
ทุกสังกัดที่จัดกำรศึกษำสำำหรับคน
พิกำร รวมทั้งอนุมัติโครงกำรหรือ
แผนงำนที่จะใช้เงินกองทุนในส่วนที่
เกินกว่ำอำำนำจหน้ำที่ของคณะ
กรรมกำรบริหำรกองทุน
(๔) วำงระเบียบ ข้อกำำหนด
ประกำศ คำำสั่ง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
กำรจัดกำรศึกษำสำำหรับ
คนพิกำร กำรอุดหนุนทำงกำรศึกษำ
กำรจัดสรรเทคโนโลยีสิ่งอำำนวย
ควำมสะดวกเพื่อกำรจัดกำรศึกษำ
สำำหรับคนพิกำรของสถำนศึกษำทั้ง
ภำครัฐและภำคเอกชนรวมทั้งศูนย์
กำรเรียนเฉพำะควำมพิกำร
(๕) ส่งเสริมสนับสนุนและช่วย
เหลือกิจกรรมของหน่วยงำนที่
เกี่ยวข้องกับกำรจัดบริกำร
กำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร รวมทั้ง
สนับสนุนโครงกำรเพื่อสิทธิทำงกำร
ศึกษำของคนพิกำร
(๖) ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องจัดกำรศึกษำ
สำำหรับคนพิกำรอย่ำงบูรณำกำร
รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนำศักยภำพ
ครูกำรศึกษำพิเศษ ครู และ
คณำจำรย์ให้มีองค์ควำมรู้ กำร
ศึกษำต่อเนื่องและทักษะในกำร
จัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร
(๗) วำงระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับ
กำรบริหำรจัดกำรกองทุน โดยควำม
เห็นชอบของกระทรวงกำรคลังตำม
มำตรำ ๒๓ (๑)
(๘) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร
พิจำรณำอนุมัติกำรจ่ำยเงิน เพื่อกำร
ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ
สำำหรับคนพิกำรตำมมำตรำ ๒๓ (๒)
(๙) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร
จัดทำำรำยงำนสถำนะกำรเงินและ
กำรบริหำรกองทุนตำมมำตรำ
๒๓(๓)
(๑๐) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร
รับเงิน กำรจ่ำยเงิน กำรเก็บรักษำ
เงินกองทุน กำรตัดหนี้เป็นสูญ
โดยควำมเห็นชอบของกระทรวงกำร
คลังตำมมำตรำ ๒๔
(๑๑) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร
กำำหนดมำตรฐำน ให้กำรรับรอง
หรือเพิกถอนกำรรับรอง
แก่สถำนศึกษำของรัฐและเอกชนที่
จัดกำรเรียนร่วม สถำนศึกษำเอกชน
กำรกุศลที่จัดกำรศึกษำสำำหรับ
คนพิกำร และศูนย์กำรเรียนเฉพำะ
ควำมพิกำร
(๑๒) ปฏิบัติงำนอื่นตำมพระ
รำชบัญญัตินี้หรือตำมที่กฎหมำยอื่น
กำำหนดให้เป็นอำำนำจหน้ำที่
ของคณะกรรมกำร
6
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรง
คุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำาแหน่งคราวละ
สามปี และอาจได้รับแต่งตั้ง
อีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อ
กัน
เมื่อครบกำาหนดตามวาระใน
วรรคหนึ่ง ให้ดำาเนินการแต่งตั้ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่ยังไม่
ได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้น
ใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งพ้นจากตำาแหน่งตามวาระนั้นอยู่
ในตำาแหน่งเพื่อดำาเนินงานต่อไป
จนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้น
จากตำาแหน่งตามวาระ กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๔) เป็นคนไร้ความสามารถ
หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ได้รับโทษจำาคุกโดยคำา
พิพากษาถึงที่สุดให้จำาคุก
(๖) รัฐมนตรีให้ออกเพราะ
บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือ
มีความประพฤติเสื่อมเสีย
มาตรา ๑๕ ในกรณีที่กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่งก่อน
ครบวาระ รัฐมนตรี
อาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรง
คุณวุฒิแทนตำาแหน่งที่ว่าง และให้ผู้
ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งแทน
อยู่ในตำาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่
ของผู้ซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระของ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลืออยู่ไม่ถึง
หกสิบวันจะไม่ดำาเนินการเพื่อให้มี
การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แทนก็ได้
มาตรา ๑๖ การประชุมของ
คณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมา
ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะ
เป็นองค์ประชุม
ในการประชุมครั้งใดถ้า
ประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม
หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้รองประธานกรรมการตามลำาดับ
เป็นประธานในที่ประชุม หากรอง
ประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม
หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ทั้งหมด
ให้กรรมการที่มาประชุมเลือก
กรรมการคนหนึ่งเป็นประธาน
ในที่ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม
ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคน
หนึ่งให้มีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน
ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานใน
ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง
หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการอาจ
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ
พิจารณาหรือปฏิบัติการ
อย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะ
กรรมการมอบหมาย
การประชุมของคณะ
อนุกรรมการ ให้นำามาตรา ๑๖ มา
ใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๑๘ ให้สำานักบริหาร
งานการศึกษาพิเศษในสำานักงาน
คณะกรรมการการศึกษา
7
ขั้นพื้นฐานทำาหน้าที่เกี่ยวกับงาน
เลขานุการของคณะกรรมการ รวม
ทั้งให้มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ส่งเสริม สนับสนุน และ
ประสานความร่วมมือในการจัดการ
ศึกษาสำาหรับคนพิการ
ในสถานศึกษา รวมทั้งประเมินและ
รายงานผลต่อคณะกรรมการ
(๒) สนับสนุนให้สำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาจัดการเรียนร่วมแก่
คนพิการในเขตพื้นที่
รับผิดชอบอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
(๓) วิจัย และพัฒนาคุณภาพ
การเรียนการสอนและการเรียนรู้
ของคนพิการ
(๔) ผลิต วิจัย และพัฒนา
เทคโนโลยีสิ่งอำานวยความสะดวก
เพื่อการจัดการศึกษาสำาหรับคน
พิการ
(๕) ดำาเนินการเกี่ยวกับการ
จัดสรรเทคโนโลยีสิ่งอำานวยความ
สะดวก
(๖) ดำาเนินการเกี่ยวกับงาน
ธุรการของกองทุน
(๗) ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วย
งานทางการศึกษาสามารถผลิต และ
พัฒนาเทคโนโลยี
สิ่งอำานวยความสะดวกเพื่อการ
จัดการศึกษาสำาหรับคนพิการ
(๘) ประสาน ส่งเสริม
สนับสนุน การจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่
จัดการศึกษาสำาหรับคนพิการ
(๙) ประสานและส่งเสริม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้
สามารถจัดการศึกษาสำาหรับ
คนพิการให้สอดคล้องกับนโยบาย
และมาตรฐานการศึกษา
ให้สำานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานสนับสนุน
กำากับ ดูแล ให้สำานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษปฏิบัติหน้าที่ให้เป็น
ไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
ให้ผู้อำานวยการสำานักบริหาร
งานการศึกษาพิเศษ เป็นผู้บังคับ
บัญชาและรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติราชการของสำานัก
บริหารงานการศึกษาพิเศษให้เป็น
ไปตามนโยบาย แนวทาง และ
แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
และสำานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๑๙ ให้สำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา มีหน้าที่ดำาเนินการ
จัดการศึกษาโดยเฉพาะ
การจัดการเรียนร่วม การนิเทศ
กำากับ ติดตาม เพื่อให้คนพิการได้รับ
การศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
ตามที่กฎหมายกำาหนด
เพื่อให้การดำาเนินการบรรลุ
วัตถุประสงค์ตามวรรคหนึ่ง ให้
สำานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานให้การ
สนับสนุนทรัพยากร องค์ความรู้ และ
บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้าน
แก่สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
8
มาตรา ๒๐ ให้สถานศึกษา
เฉพาะความพิการของรัฐมีหน้าที่
จัดการศึกษาตามภารกิจ
แก่คนพิการ โดยมีฐานะเป็น
นิติบุคคล
หมวด ๓
กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา
สำาหรับคนพิการ
มาตรา ๒๑ ให้จัดตั้งกองทุน
ขึ้น เรียกว่า “กองทุนส่งเสริมและ
พัฒนาการศึกษาสำาหรับ
คนพิการ” ในสำานักงานคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ
ใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุน และ
พัฒนาการศึกษาสำาหรับคนพิการ
อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง โดย
กองทุนประกอบด้วย
(๑) เงินและทรัพย์สินที่โอนมา
จากเงินกองทุนการศึกษาสำาหรับคน
พิการตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยกองทุน
การศึกษาสำาหรับคนพิการ พ.ศ.
๒๕๔๖
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
(๓) เงินอุดหนุนจากองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
(๔) เงินรายได้ที่ได้จากการ
ออกสลากหรือการจัดกิจกรรม
(๕) ดอกผลและผลประโยชน์ที่
เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกอง
ทุน
(๖) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้
บริจาคหรือมอบให้
(๗) รายได้บางส่วนจากภาษี
ของสินค้าและบริการที่เป็นสาเหตุ
แห่งความพิการตามที่กฎหมาย
กำาหนด
มาตรา ๒๒ ให้มีคณะกรรมการ
บริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบ
ด้วย เลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นประธาน
กรรมการ รองเลขาธิการคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่เลขาธิการคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานมอบหมายเป็นรอง
ประธานกรรมการคนที่หนึ่ง
ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นผู้แทนองค์การคน
พิการหนึ่งคนเป็นรองประธาน
กรรมการคนที่สอง ผู้แทน
สำานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ผู้แทนสำานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา ผู้แทนสำานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้
แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทน
กระทรวงสาธารณสุข ผู้แทน
สำานักงบประมาณ ผู้แทนสำานักงาน
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการแห่งชาติ และผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจำานวนสิบ
เอ็ดคน ในจำานวนนี้ต้องเป็นผู้แทน
องค์การคนพิการแต่ละประเภท
อย่างน้อยเจ็ดคนเป็นกรรมการ และ
ให้ผู้อำานวยการสำานักบริหาร
งานการศึกษาพิเศษเป็นกรรมการ
และเลขานุการ
มาตรา ๒๓ ให้คณะกรรมการ
บริหารกองทุนมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อ
ไปนี้
(๑) บริหารกองทุน รวมทั้ง
ดำาเนินการเกี่ยวกับการลงทุน การ
หาประโยชน์และการจัดการกองทุน
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะ
กรรมการกำาหนดโดยความเห็นชอบ
ของกระทรวงการคลัง
9
(๒) พิจารณาอนุมัติการจ่าย
เงิน เพื่อการส่งเสริมการจัดการ
ศึกษาสำาหรับคนพิการตามระเบียบ
ที่คณะกรรมการกำาหนด
(๓) รายงานสถานะการเงิน
และการบริหารกองทุนต่อคณะ
กรรมการตามระเบียบที่คณะ
กรรมการ
กำาหนด
(๔) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
หรือคณะทำางานเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่
ตามที่คณะกรรมการ
บริหารกองทุนมอบหมาย
มาตรา ๒๔ การรับเงิน การ
จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน
และการตัดหนี้เป็นสูญ
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะ
กรรมการกำาหนดโดยความเห็นชอบ
ของกระทรวงการคลัง
มาตรา ๒๕ ให้คณะกรรมการ
บริหารกองทุนจัดทำางบการเงินส่งผู้
สอบบัญชีตรวจสอบ
ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี
ทุกปี
ให้สำานักงานการตรวจเงินแผ่น
ดินเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุนทุกร
อบปีแล้วทำารายงานผล
การสอบบัญชีของกองทุนเสนอต่อ
คณะกรรมการ
มาตรา ๒๖ ให้นำาบทบัญญัติ
มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕
และมาตรา ๑๖
มาใช้บังคับกับการดำารงตำาแหน่ง
การพ้นจากตำาแหน่ง การแต่งตั้ง
กรรมการแทนตำาแหน่งที่ว่าง และ
การประชุมของคณะกรรมการ
บริหารกองทุนโดยอนุโลม
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๒๗ เมื่อพระราช
บัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ให้โอน
บรรดาเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ
หนี้ของกองทุนการศึกษาสำาหรับคน
พิการตามระเบียบกระทรวง
ศึกษาธิการว่าด้วยกองทุนการศึกษา
สำาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ไป
เป็นของกองทุนตามพระราชบัญญัติ
นี้
ในระหว่างที่ยังไม่มีระเบียบว่า
ด้วยการบริหารกองทุนตามมาตรา
๑๒ ให้นำาระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ
บริหารกองทุนการศึกษาสำาหรับคน
พิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ใช้ไปพลางก่อน
จนกว่าจะได้มีระเบียบว่าด้วยการ
บริหารกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้
ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๒๘ ในวาระเริ่มแรกที่
ยังมิได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
ส่งเสริมการจัดการศึกษา
สำาหรับคนพิการ ให้คณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาพิเศษตามพระราช
บัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
ทำาหน้าที่จนกว่าจะได้มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการส่งเสริมการจัด
การศึกษาสำาหรับคนพิการ ตามพระ
ราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่ง
ร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๒๙ ให้ครูหรือบุคลากร
ทางการศึกษาที่ผ่านการอบรม
วุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษ
10
ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาอนุมัติก่อนการประกาศใช้
พระราชบัญญัตินี้เป็นครูการศึกษา
พิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระ
ราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้ที่ผ่าน
การอบรมวุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษ
ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาอนุมัติ มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็น
ครูการศึกษาพิเศษตามพระราช
บัญญัตินี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้
พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การ
จัดการศึกษาสำาหรับคนพิการ
มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการ
จัดการศึกษาสำาหรับบุคคลทั่วไป จึง
จำาเป็นต้องจัดให้คนพิการมีสิทธิและ
โอกาส
ได้รับการบริการและความช่วยเหลือ
ทางการศึกษาเป็นพิเศษตั้งแต่แรกเกิด
หรือพบความพิการ ดังนั้น เพื่อให้การ
บริการและการให้ความช่วยเหลือแก่
คนพิการในด้านการศึกษาเป็นไปอย่าง
ทั่วถึงทุกระบบและทุกระดับการศึกษา
จึงจำาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
11

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ทับทิม เจริญตา
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
Siriphan Kristiansen
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
teerachon
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
ศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
Jessie SK
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
aispretty
 

Was ist angesagt? (20)

ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
 
test
testtest
test
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 

Andere mochten auch

พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
Nanthapong Sornkaew
 
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

Andere mochten auch (20)

พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
 
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
 
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
สูตรคณิต
สูตรคณิตสูตรคณิต
สูตรคณิต
 
เพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตรเพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตร
 
สุรินทร์
สุรินทร์สุรินทร์
สุรินทร์
 
คณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆคณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆ
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
 
คุณธรรม วินัย
คุณธรรม  วินัยคุณธรรม  วินัย
คุณธรรม วินัย
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
 
จปฐ 30 ข้อ ลำยอง
จปฐ 30 ข้อ ลำยองจปฐ 30 ข้อ ลำยอง
จปฐ 30 ข้อ ลำยอง
 

Mehr von โทษฐาน ที่รู้จักกัน

Mehr von โทษฐาน ที่รู้จักกัน (16)

ย่อ บริษัทประชารัฐ
ย่อ บริษัทประชารัฐย่อ บริษัทประชารัฐ
ย่อ บริษัทประชารัฐ
 
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชนย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
 
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
 
ย่อ กข.คจ.
ย่อ กข.คจ.ย่อ กข.คจ.
ย่อ กข.คจ.
 
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
 
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคีจปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไป
 
หลักสูตร 51
หลักสูตร 51หลักสูตร 51
หลักสูตร 51
 
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงานสมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
 
ตารางกฎหมายการศึกษา
ตารางกฎหมายการศึกษาตารางกฎหมายการศึกษา
ตารางกฎหมายการศึกษา
 

พรบ คนพิการ 2551 ย่อ

  • 1. พระราชบัญญัติ การจัดการศึกษาสำาหรับคน พิการ ๒๕๕๑ ให้ไว้ ณ วัน ที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน ตราพรบ.ขึ้น ไว้โดย คำาแนะนำาและยินยอม ของ สภานิติบัญญัติแห่ง ชาติ ใช้บังคับ ตั้งแต่ วันประกาศในราชกิจ จานุเบกษา ความหมาย คำาว่า... หมายความว่า คนพิการ บุคคลซึ่งมีข้อจำากัดใน การปฏิบัติกิจกรรมใน ชีวิตประจำาวันหรือ เข้าไปมีส่วนร่วมทาง สังคม เนื่องจากมีความ บกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การ เคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความ บกพร่องอื่นใดประกอบ กับมีอุปสรรค ในด้านต่าง ๆ และมี ความต้องการจำาเป็น พิเศษทางการศึกษาที่จะ ต้องได้รับความช่วย เหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติ กิจกรรมในชีวิตประจำา วันหรือเข้าไปมีส่วนร่วม ทางสังคมได้อย่างบุคคล ทั่วไป ทั้งนี้ ตามประเภทและ หลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวง ศึกษาธิการประกาศ กำาหนด ผู้ดูแลคน พิการ บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี ภรรยา ญาติ พี่น้อง หรือบุคคลอื่นใดที่ รับดูแลหรือรับอุปการะ คนพิการ แผนการ จัดการ ศึกษา เฉพาะ บุคคล แผนซึ่งกำาหนดแนวทาง การจัดการศึกษา ที่สอดคล้องกับความ ต้องการจำาเป็นพิเศษของ คนพิการ ตลอดจน กำาหนดเทคโนโลยี สิ่ง อำานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วย เหลืออื่นใดทางการ ศึกษาเฉพาะบุคคล เทคโนโล ยีสิ่ง อำานวย ความ สะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สำาหรับ คนพิการโดยเฉพาะ หรือ ที่มีการดัดแปลงหรือปรับ ใช้ให้ตรงกับความ ต้องการ จำาเป็นพิเศษของคน พิการแต่ละบุคคล เพื่อ เพิ่ม รักษา คงไว้ หรือ พัฒนาความสามารถและ ศักยภาพ
  • 2. ที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวม ถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิต ประจำาวันเพื่อการดำารง ชีวิตอิสระ ครูการ ศึกษา พิเศษ ครูที่มีวุฒิทางการศึกษา พิเศษสูงกว่าระดับ ปริญญาตรี ขึ้นไป และปฏิบัติหน้าที่ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐ และเอกชน “การเรียนร่วม” หมายความว่า การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาใน ระบบการศึกษาทั่วไป ทุกระดับและหลากหลายรูปแบบ รวมถึงการจัดการศึกษา ให้สามารถ รองรับการเรียนการสอน สำาหรับคนทุกกลุ่มรวมทั้งคนพิการ “สถานศึกษาเฉพาะความ พิการ” หมายความว่า สถานศึกษา ของรัฐหรือเอกชนที่จัดการศึกษา สำาหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งใน ลักษณะอยู่ประจำา ไป กลับ และรับ บริการที่บ้าน คำาว่า... หมายความว่า ศูนย์การศึกษา พิเศษ สถานศึกษาของ รัฐที่จัดการศึกษา นอกระบบ หรือ ตามอัธยาศัยแก่ คนพิการ ตั้งแต่ แรกเกิดหรือแรก พบความพิการ จนตลอดชีวิต และจัดการศึกษา อบรมแก่ ผู้ดูแลคนพิการ ครู บุคลากรและ ชุมชน รวมทั้ง การจัดสื่อ เทคโนโลยี สิ่ง อำานวยความ สะดวก บริการ และความช่วย เหลืออื่นใด ตลอดจนปฏิบัติ หน้าที่อื่นตามที่ กำาหนดใน ประกาศ กระทรวง ศูนย์การเรียน เฉพาะความ พิการ สถานศึกษาที่ จัดการศึกษา นอกระบบ หรือ ตามอัธยาศัยแก่ คนพิการโดย เฉพาะ โดย หน่วยงานการ ศึกษานอก โรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบ การ โรงพยาบาล สถาบันทางการ แพทย์ สถาน สงเคราะห์และ 2
  • 3. สถาบันทางสังคม อื่นเป็นผู้จัด ตั้งแต่ระดับ การศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้น ฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษาและ หลักสูตรระยะสั้น องค์การคนพิการ แต่ละประเภท องค์กรสมาชิก ระดับชาติตาม ประเภท ความพิการที่ได้ แจ้งชื่อไว้กับ สำานักงานส่ง เสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคน พิการแห่งชาติ คณะกรรมการ คณะกรรมการส่ง เสริมการจัดการ ศึกษาสำาหรับคน พิการ กองทุน กองทุนส่งเสริม และพัฒนาการ ศึกษาสำาหรับคน พิการ หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ ทางการศึกษา คนพิการมีสิทธิทางการ ศึกษาดังนี้ 1. ได้รับการศึกษาโดย - ไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ ความพิการจนตลอดชีวิต - ได้รับเทค/ สิ่งอำานวยฯ/ สื่อ / บริการ/ความช่วยเหลือ 2. เลือกบริการทางการศึกษา สถาน ศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา โดยคำานึงถึง 1.ความสามารถ 2.ความ สนใจ 3.ความถนัด 4.ความ ต้องการจำาเป็นพิเศษ 3.ได้รับการศึกษาที่มี 1. มตฐ. 2. ประกันคุณภาพการ ศึกษา 3. การจัดหลักสูตร 4. กระบวนการเรียนรู้ 5. การทดสอบทางการ ศึกษาที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ จำาเป็นพิเศษ มาตรา ๖ ให้ครูการศึกษา พิเศษในทุกสังกัดมีสิทธิได้รับเงินค่า ตอบแทนพิเศษตามที่กฎหมาย 3
  • 4. กำำหนดให้ครูกำรศึกษำพิเศษ ครู และคณำจำรย์ได้รับกำรส่งเสริมและ พัฒนำศักยภำพ องค์ควำมรู้ กำรศึกษำต่อเนื่องและทักษะในกำร จัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำร กำำหนด มำตรำ ๗ ให้สถำนศึกษำของ รัฐและเอกชนที่จัดกำรเรียนร่วม สถำนศึกษำเอกชนกำรกุศล ที่จัดกำรกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร โดยเฉพำะ และศูนย์กำรเรียนเฉพำะ ควำมพิกำร ที่ได้รับกำรรับรอง มำตรฐำนได้รับเงินอุดหนุนและ ควำมช่วยเหลือเป็นพิเศษจำกรัฐ หลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำร รับเงินอุดหนุนและควำมช่วยเหลือ เป็นพิเศษ ให้เป็นไปตำมที่ คณะกรรมกำรกำำหนด มำตรำ ๘ ให้สถำนศึกษำใน ทุกสังกัดจัดทำำแผนกำรจัดกำรศึกษำ เฉพำะบุคคล โดยให้สอดคล้อง กับควำมต้องกำรจำำเป็นพิเศษของ คนพิกำร และต้องมีกำรปรับปรุง แผนกำรจัดกำรศึกษำเฉพำะบุคคล อย่ำงน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตำมหลัก เกณฑ์และวิธีกำรที่กำำหนดใน ประกำศกระทรวง สถำนศึกษำในทุกสังกัดและ ศูนย์กำรเรียนเฉพำะควำมพิกำรอำจ จัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร ทั้งในระบบ นอกระบบ และตำม อัธยำศัย ในรูปแบบที่หลำกหลำยทั้ง กำรเรียนร่วม กำรจัดกำรศึกษำ เฉพำะควำมพิกำร รวมถึงกำรให้ บริกำรฟื้นฟูสมรรถภำพ กำรพัฒนำ ศักยภำพในกำรดำำรงชีวิตอิสระ กำรพัฒนำทักษะพื้นฐำนที่จำำเป็น กำรฝึกอำชีพ หรือกำรบริกำรอื่นใด ให้สถำนศึกษำในทุกสังกัดจัด สภำพแวดล้อม ระบบสนับสนุนกำร เรียนกำรสอน ตลอดจน บริกำรเทคโนโลยี สิ่งอำำนวยควำม สะดวก สื่อ บริกำรและควำมช่วย เหลืออื่นใดทำงกำรศึกษำ ที่คน พิกำร สำมำรถเข้ำถึงและใช้ประโยชน์ได้ ให้สถำนศึกษำระดับอุดมศึกษำ ในทุกสังกัด มีหน้ำที่รับคนพิกำรเข้ำ ศึกษำในสัดส่วนหรือ จำำนวนที่เหมำะสม ทั้งนี้ ให้เป็นไป ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่คณะ กรรมกำรกำำหนด สถำนศึกษำใดปฏิเสธไม่รับคน พิกำรเข้ำศึกษำ ให้ถือเป็นกำรเลือก ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ตำมกฎหมำย ให้สถำนศึกษำหรือหน่วยงำนที่ เกี่ยวข้องสนับสนุนผู้ดูแลคนพิกำร และประสำนควำมร่วมมือ จำกชุมชนหรือนักวิชำชีพเพื่อให้คน พิกำรได้รับกำรศึกษำทุกระดับ หรือ บริกำรทำงกำรศึกษำ ที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรจำำเป็น พิเศษของคนพิกำร มำตรำ ๙ ให้รัฐจัดเงินอุดหนุน เพื่อส่งเสริมกำรวิจัยพัฒนำองค์ควำม รู้และเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้อง และกำรพัฒนำครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ทักษะและ ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรศึกษำ สำำหรับคนพิกำร 4
  • 5. ให้รัฐจัดสรรงบประมำณและ ทรัพยำกรทำงกำรศึกษำอื่นเป็น พิเศษให้เหมำะสม และสอดคล้อง กับควำมต้องกำรจำำเป็นพิเศษของ คนพิกำรและสถำนศึกษำที่จัดกำร ศึกษำสำำหรับคนพิกำร มำตรำ ๑๐ เพื่อประโยชน์ใน กำรจัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร ให้รำชกำรส่วนท้องถิ่น ออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อ กำำหนด ระเบียบหรือประกำศ แล้ว แต่กรณี ให้เป็นไปตำมพระรำช บัญญัตินี้ หมวด ๒ กำรส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำสำำหรับ คนพิกำร มำตรำ ๑๑ ให้มีคณะกรรมกำร ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำสำำหรับคน พิกำร ประกอบด้วย (๑) รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง ศึกษำธิกำร เป็นประธำนกรรมกำร (๒) รัฐมนตรีช่วยว่ำกำร กระทรวงมหำดไทย เป็นรอง ประธำนกรรมกำรคนที่หนึ่ง และ ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นคนพิกำรซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นรองประธำน กรรมกำรคนที่สอง (๓) กรรมกำรโดยตำำแหน่ง จำำนวนสิบคน ได้แก่ ปลัดกระทรวง ศึกษำธิกำร เลขำธิกำร สภำกำรศึกษำ เลขำธิกำรคณะ กรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำร อุดมศึกษำ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำร อำชีวศึกษำ อธิบดีกรมสุขภำพจิต อธิบดีกรมกำรแพทย์ อธิบดีกรมส่ง เสริม กำรปกครองท้องถิ่น ผู้ว่ำรำชกำร กรุงเทพมหำนครและเลขำธิกำร สำำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำ คุณภำพชีวิตคนพิกำรแห่งชำติ (๔) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ จำำนวนสิบสำมคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่ง ตั้งจำกผู้ที่มีควำมรู้ ควำมสำมำรถ ควำมเชี่ยวชำญและประสบกำรณ์สูง ในด้ำนกำรบริหำรกำรศึกษำ ด้ำน กำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร ด้ำนกฎหมำย ด้ำนกำรแพทย์และ สำธำรณสุข ด้ำนเทคโนโลยีสิ่ง อำำนวยควำมสะดวกสำำหรับคนพิกำร และด้ำนสังคมสงเครำะห์ ด้ำนใด ด้ำนหนึ่งหรือหลำยด้ำนรวมกัน ทั้งนี้ อย่ำงน้อยเจ็ดคนต้องมำจำก องค์กำรคนพิกำรแต่ละประเภท ให้ผู้อำำนวยกำรสำำนักบริหำร งำนกำรศึกษำพิเศษเป็นเลขำนุกำร และให้แต่งตั้งข้ำรำชกำร ในสำำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ เป็นผู้ช่วยเลขำนุกำร มำตรำ ๑๒ ให้คณะกรรมกำรมี อำำนำจหน้ำที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอนโยบำย ยุทธศำสตร์ แผนกำรจัดกำรศึกษำสำำหรับคน พิกำร แผนกำรจัดสรร ทรัพยำกรและแนวทำงกำร พัฒนำกำรบริหำรและกำรจัดกำร ศึกษำสำำหรับคนพิกำรทุกระบบและ ทุกระดับต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อ พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบและมอบ หมำยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ดำำเนินกำรตำมอำำนำจหน้ำที่ 5
  • 6. (๒) เสนอควำมเห็นและให้คำำ ปรึกษำต่อรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบเกี่ยว กับกำรกำำหนดหลักสูตร กำรกำำหนดมำตรฐำนและประกัน คุณภำพกำรศึกษำ กำรประเมินและ กำรทดสอบทำงกำรศึกษำ ที่เหมำะสมและสอดคล้องกับควำม ต้องกำรจำำเป็นพิเศษของคนพิกำร รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีกำร กำรได้มำและจำำนวนเงินค่ำ ตอบแทนพิเศษของครูกำรศึกษำ พิเศษ เพื่อให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง นำำไปปฏิบัติ (๓) พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ แผนกำรใช้จ่ำยเงินกองทุนเพื่อ สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ สำำหรับคนพิกำรของหน่วยงำนใน ทุกสังกัดที่จัดกำรศึกษำสำำหรับคน พิกำร รวมทั้งอนุมัติโครงกำรหรือ แผนงำนที่จะใช้เงินกองทุนในส่วนที่ เกินกว่ำอำำนำจหน้ำที่ของคณะ กรรมกำรบริหำรกองทุน (๔) วำงระเบียบ ข้อกำำหนด ประกำศ คำำสั่ง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับ กำรจัดกำรศึกษำสำำหรับ คนพิกำร กำรอุดหนุนทำงกำรศึกษำ กำรจัดสรรเทคโนโลยีสิ่งอำำนวย ควำมสะดวกเพื่อกำรจัดกำรศึกษำ สำำหรับคนพิกำรของสถำนศึกษำทั้ง ภำครัฐและภำคเอกชนรวมทั้งศูนย์ กำรเรียนเฉพำะควำมพิกำร (๕) ส่งเสริมสนับสนุนและช่วย เหลือกิจกรรมของหน่วยงำนที่ เกี่ยวข้องกับกำรจัดบริกำร กำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร รวมทั้ง สนับสนุนโครงกำรเพื่อสิทธิทำงกำร ศึกษำของคนพิกำร (๖) ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุก หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องจัดกำรศึกษำ สำำหรับคนพิกำรอย่ำงบูรณำกำร รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนำศักยภำพ ครูกำรศึกษำพิเศษ ครู และ คณำจำรย์ให้มีองค์ควำมรู้ กำร ศึกษำต่อเนื่องและทักษะในกำร จัดกำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร (๗) วำงระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับ กำรบริหำรจัดกำรกองทุน โดยควำม เห็นชอบของกระทรวงกำรคลังตำม มำตรำ ๒๓ (๑) (๘) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร พิจำรณำอนุมัติกำรจ่ำยเงิน เพื่อกำร ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ สำำหรับคนพิกำรตำมมำตรำ ๒๓ (๒) (๙) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร จัดทำำรำยงำนสถำนะกำรเงินและ กำรบริหำรกองทุนตำมมำตรำ ๒๓(๓) (๑๐) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร รับเงิน กำรจ่ำยเงิน กำรเก็บรักษำ เงินกองทุน กำรตัดหนี้เป็นสูญ โดยควำมเห็นชอบของกระทรวงกำร คลังตำมมำตรำ ๒๔ (๑๑) วำงระเบียบเกี่ยวกับกำร กำำหนดมำตรฐำน ให้กำรรับรอง หรือเพิกถอนกำรรับรอง แก่สถำนศึกษำของรัฐและเอกชนที่ จัดกำรเรียนร่วม สถำนศึกษำเอกชน กำรกุศลที่จัดกำรศึกษำสำำหรับ คนพิกำร และศูนย์กำรเรียนเฉพำะ ควำมพิกำร (๑๒) ปฏิบัติงำนอื่นตำมพระ รำชบัญญัตินี้หรือตำมที่กฎหมำยอื่น กำำหนดให้เป็นอำำนำจหน้ำที่ ของคณะกรรมกำร 6
  • 7. มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรง คุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำาแหน่งคราวละ สามปี และอาจได้รับแต่งตั้ง อีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อ กัน เมื่อครบกำาหนดตามวาระใน วรรคหนึ่ง ให้ดำาเนินการแต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่ยังไม่ ได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้น ใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งพ้นจากตำาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ ในตำาแหน่งเพื่อดำาเนินงานต่อไป จนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้น จากตำาแหน่งตามวาระ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เป็นบุคคลล้มละลาย (๔) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๕) ได้รับโทษจำาคุกโดยคำา พิพากษาถึงที่สุดให้จำาคุก (๖) รัฐมนตรีให้ออกเพราะ บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือ มีความประพฤติเสื่อมเสีย มาตรา ๑๕ ในกรณีที่กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่งก่อน ครบวาระ รัฐมนตรี อาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิแทนตำาแหน่งที่ว่าง และให้ผู้ ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งแทน อยู่ในตำาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ ของผู้ซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระของ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลืออยู่ไม่ถึง หกสิบวันจะไม่ดำาเนินการเพื่อให้มี การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ แทนก็ได้ มาตรา ๑๖ การประชุมของ คณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะ เป็นองค์ประชุม ในการประชุมครั้งใดถ้า ประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการตามลำาดับ เป็นประธานในที่ประชุม หากรอง ประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ทั้งหมด ให้กรรมการที่มาประชุมเลือก กรรมการคนหนึ่งเป็นประธาน ในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคน หนึ่งให้มีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานใน ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๑๗ คณะกรรมการอาจ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ พิจารณาหรือปฏิบัติการ อย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะ กรรมการมอบหมาย การประชุมของคณะ อนุกรรมการ ให้นำามาตรา ๑๖ มา ใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๘ ให้สำานักบริหาร งานการศึกษาพิเศษในสำานักงาน คณะกรรมการการศึกษา 7
  • 8. ขั้นพื้นฐานทำาหน้าที่เกี่ยวกับงาน เลขานุการของคณะกรรมการ รวม ทั้งให้มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานความร่วมมือในการจัดการ ศึกษาสำาหรับคนพิการ ในสถานศึกษา รวมทั้งประเมินและ รายงานผลต่อคณะกรรมการ (๒) สนับสนุนให้สำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาจัดการเรียนร่วมแก่ คนพิการในเขตพื้นที่ รับผิดชอบอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ (๓) วิจัย และพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนและการเรียนรู้ ของคนพิการ (๔) ผลิต วิจัย และพัฒนา เทคโนโลยีสิ่งอำานวยความสะดวก เพื่อการจัดการศึกษาสำาหรับคน พิการ (๕) ดำาเนินการเกี่ยวกับการ จัดสรรเทคโนโลยีสิ่งอำานวยความ สะดวก (๖) ดำาเนินการเกี่ยวกับงาน ธุรการของกองทุน (๗) ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วย งานทางการศึกษาสามารถผลิต และ พัฒนาเทคโนโลยี สิ่งอำานวยความสะดวกเพื่อการ จัดการศึกษาสำาหรับคนพิการ (๘) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของ สถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่ จัดการศึกษาสำาหรับคนพิการ (๙) ประสานและส่งเสริม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ สามารถจัดการศึกษาสำาหรับ คนพิการให้สอดคล้องกับนโยบาย และมาตรฐานการศึกษา ให้สำานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานสนับสนุน กำากับ ดูแล ให้สำานักบริหารงาน การศึกษาพิเศษปฏิบัติหน้าที่ให้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ให้ผู้อำานวยการสำานักบริหาร งานการศึกษาพิเศษ เป็นผู้บังคับ บัญชาและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการของสำานัก บริหารงานการศึกษาพิเศษให้เป็น ไปตามนโยบาย แนวทาง และ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง และสำานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรา ๑๙ ให้สำานักงานเขต พื้นที่การศึกษา มีหน้าที่ดำาเนินการ จัดการศึกษาโดยเฉพาะ การจัดการเรียนร่วม การนิเทศ กำากับ ติดตาม เพื่อให้คนพิการได้รับ การศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ตามที่กฎหมายกำาหนด เพื่อให้การดำาเนินการบรรลุ วัตถุประสงค์ตามวรรคหนึ่ง ให้ สำานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานให้การ สนับสนุนทรัพยากร องค์ความรู้ และ บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้าน แก่สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 8
  • 9. มาตรา ๒๐ ให้สถานศึกษา เฉพาะความพิการของรัฐมีหน้าที่ จัดการศึกษาตามภารกิจ แก่คนพิการ โดยมีฐานะเป็น นิติบุคคล หมวด ๓ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา สำาหรับคนพิการ มาตรา ๒๑ ให้จัดตั้งกองทุน ขึ้น เรียกว่า “กองทุนส่งเสริมและ พัฒนาการศึกษาสำาหรับ คนพิการ” ในสำานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ ใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุน และ พัฒนาการศึกษาสำาหรับคนพิการ อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง โดย กองทุนประกอบด้วย (๑) เงินและทรัพย์สินที่โอนมา จากเงินกองทุนการศึกษาสำาหรับคน พิการตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยกองทุน การศึกษาสำาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (๓) เงินอุดหนุนจากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (๔) เงินรายได้ที่ได้จากการ ออกสลากหรือการจัดกิจกรรม (๕) ดอกผลและผลประโยชน์ที่ เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกอง ทุน (๖) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้ บริจาคหรือมอบให้ (๗) รายได้บางส่วนจากภาษี ของสินค้าและบริการที่เป็นสาเหตุ แห่งความพิการตามที่กฎหมาย กำาหนด มาตรา ๒๒ ให้มีคณะกรรมการ บริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบ ด้วย เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นประธาน กรรมการ รองเลขาธิการคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เลขาธิการคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐานมอบหมายเป็นรอง ประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นผู้แทนองค์การคน พิการหนึ่งคนเป็นรองประธาน กรรมการคนที่สอง ผู้แทน สำานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนสำานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ผู้แทนสำานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้ แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทน กระทรวงสาธารณสุข ผู้แทน สำานักงบประมาณ ผู้แทนสำานักงาน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการแห่งชาติ และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจำานวนสิบ เอ็ดคน ในจำานวนนี้ต้องเป็นผู้แทน องค์การคนพิการแต่ละประเภท อย่างน้อยเจ็ดคนเป็นกรรมการ และ ให้ผู้อำานวยการสำานักบริหาร งานการศึกษาพิเศษเป็นกรรมการ และเลขานุการ มาตรา ๒๓ ให้คณะกรรมการ บริหารกองทุนมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อ ไปนี้ (๑) บริหารกองทุน รวมทั้ง ดำาเนินการเกี่ยวกับการลงทุน การ หาประโยชน์และการจัดการกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะ กรรมการกำาหนดโดยความเห็นชอบ ของกระทรวงการคลัง 9
  • 10. (๒) พิจารณาอนุมัติการจ่าย เงิน เพื่อการส่งเสริมการจัดการ ศึกษาสำาหรับคนพิการตามระเบียบ ที่คณะกรรมการกำาหนด (๓) รายงานสถานะการเงิน และการบริหารกองทุนต่อคณะ กรรมการตามระเบียบที่คณะ กรรมการ กำาหนด (๔) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำางานเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามที่คณะกรรมการ บริหารกองทุนมอบหมาย มาตรา ๒๔ การรับเงิน การ จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน และการตัดหนี้เป็นสูญ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะ กรรมการกำาหนดโดยความเห็นชอบ ของกระทรวงการคลัง มาตรา ๒๕ ให้คณะกรรมการ บริหารกองทุนจัดทำางบการเงินส่งผู้ สอบบัญชีตรวจสอบ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี ทุกปี ให้สำานักงานการตรวจเงินแผ่น ดินเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุนทุกร อบปีแล้วทำารายงานผล การสอบบัญชีของกองทุนเสนอต่อ คณะกรรมการ มาตรา ๒๖ ให้นำาบทบัญญัติ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับกับการดำารงตำาแหน่ง การพ้นจากตำาแหน่ง การแต่งตั้ง กรรมการแทนตำาแหน่งที่ว่าง และ การประชุมของคณะกรรมการ บริหารกองทุนโดยอนุโลม บทเฉพาะกาล มาตรา ๒๗ เมื่อพระราช บัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ให้โอน บรรดาเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ของกองทุนการศึกษาสำาหรับคน พิการตามระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการว่าด้วยกองทุนการศึกษา สำาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ไป เป็นของกองทุนตามพระราชบัญญัติ นี้ ในระหว่างที่ยังไม่มีระเบียบว่า ด้วยการบริหารกองทุนตามมาตรา ๑๒ ให้นำาระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ บริหารกองทุนการศึกษาสำาหรับคน พิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ใช้ไปพลางก่อน จนกว่าจะได้มีระเบียบว่าด้วยการ บริหารกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่ วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๒๘ ในวาระเริ่มแรกที่ ยังมิได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ส่งเสริมการจัดการศึกษา สำาหรับคนพิการ ให้คณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาพิเศษตามพระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ทำาหน้าที่จนกว่าจะได้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการส่งเสริมการจัด การศึกษาสำาหรับคนพิการ ตามพระ ราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่ง ร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๒๙ ให้ครูหรือบุคลากร ทางการศึกษาที่ผ่านการอบรม วุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษ 10
  • 11. ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาอนุมัติก่อนการประกาศใช้ พระราชบัญญัตินี้เป็นครูการศึกษา พิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระ ราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้ที่ผ่าน การอบรมวุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาอนุมัติ มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็น ครูการศึกษาพิเศษตามพระราช บัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การ จัดการศึกษาสำาหรับคนพิการ มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการ จัดการศึกษาสำาหรับบุคคลทั่วไป จึง จำาเป็นต้องจัดให้คนพิการมีสิทธิและ โอกาส ได้รับการบริการและความช่วยเหลือ ทางการศึกษาเป็นพิเศษตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความพิการ ดังนั้น เพื่อให้การ บริการและการให้ความช่วยเหลือแก่ คนพิการในด้านการศึกษาเป็นไปอย่าง ทั่วถึงทุกระบบและทุกระดับการศึกษา จึงจำาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 11