SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 86
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
( ฟิสิกส์ )
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำานวน
๑๖ ชั่วโมง
... โดย ...
นางสาวบังออน จุลพล
ตำาแหน่ง ครู
โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม
อำาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัด
เชียงราย
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เชียงราย เขต ๓
คำาอธิบายรายวิชา
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ )
รหัสวิชา ว ๔๓๑๐๒ ช่วงชั้นที่ ๔
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ศึกษาวิเคราะห์การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่าง
ฟิสิกส์กับศาสตร์สาขาอื่น ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว อัตราเร่ง การเคลื่อนที่แนวตรง
ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรง โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบ
วงกลม และฮาร์มอนิกอย่างง่าย สมบัติของคลื่นกล ความสัมพันธ์
ระหว่างความถี่ ความยาวคลื่นและอัตราเร็วของคลื่นกล โดยใช้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการ
ทดลองเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
หน่วยการเรียนรู้
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัส
วิชา ว ๔๓๑๐๒ ช่วงชั้นที่ ๔
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๕๐ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (
ชั่วโมง )
พิเศษ ปฐมนิเทศ ๑
๑ บทนำา
- การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ
- ความหมายและขอบเขตของวิชาฟิสิกส์
- การศึกษาทางวิทยาศาสตร์
- ความสัมพันธ์ระหว่างฟิสิกส์กับศาสตร์
สาขาอื่น
- ฟิสิกส์และเทคโนโลยี
๓
๒ การวัดและการแปลความหมายข้อมูล
- เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์
- การแสดงผลของการวัดและการอ่านผล
จากเครื่องมือวัด
- การแปลความหมายจากข้อมูล
- คำาอุปสรรค
๔
๓ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
- การเคลื่อนที่แนวตรง
- การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
- การเคลื่อนที่แบบวงกลม
- การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
๑๖
๔ ปรากฏการณ์คลื่น
- การเคลื่อนที่แบบคลื่น
- ธรรมชาติของคลื่น
- การจำาแนกคลื่น
- สมบัติของคลื่น
๑๖
รวม ๔๐
ตารางแสดงแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา ว ๔๓๑๐๒
ช่วงชั้นที่ ๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๐
โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
แผ
นที่
เรื่อง
( Topic )
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน (
ชั่วโมง )
แหล่งเรียนรู้
๔ การเคลื่อนที่
แนวตรง
๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างการกระจัด
เวลา ความเร็ว ความเร่งของการ
เคลื่อนที่ในแนวตรง
๒. คำานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับ
การเคลื่อนที่แนวตรง
๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน –
หลังเรียน
๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์
ต่าง ๆ
ทางอินเทอร์เน็ตที่
เกี่ยวข้อง
๓. อุปกรณ์การทดลอง
๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์
๕. ใบงานที่ ๕
๖. ใบความรู้ที่ ๓
รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
( ต่อ )
แผ
นที่
เรื่อง
( Topic )
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน (
ชั่วโมง )
แหล่งเรียนรู้
๕ การเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอ
นิก
อย่างง่าย
๑. สำารวจ ตรวจสอบ และอธิบายการ
เคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่ายและการนำาไป
ใช้ประโยชน์
๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน –
หลังเรียน
๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์
ต่าง ๆ
ทางอินเทอร์เน็ตที่
เกี่ยวข้อง
๓. อุปกรณ์การทดลอง
๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์
๕. ใบงานที่ ๖
๖. ใบความรู้ที่ ๔
รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
( ต่อ )
แผ
นที่
เรื่อง
( Topic )
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน (
ชั่วโมง )
แหล่งเรียนรู้
๖ การเคลื่อนที่
แบบวงกลม
๑. สำารวจ ตรวจสอบ และอธิบายการ
เคลื่อนที่แบบวงกลม
และการนำาไปใช้ประโยชน์
๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน –
หลังเรียน
๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์
ต่าง ๆ
ทางอินเทอร์เน็ตที่
เกี่ยวข้อง
๓. อุปกรณ์การทดลอง
๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์
๕. ใบงานที่ ๗
๖. ใบความรู้ที่ ๕
รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
( ต่อ )
แผ
นที่
เรื่อง
( Topic )
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน (
ชั่วโมง )
แหล่งเรียนรู้
๗ การเคลื่อนที่
แบบโพรเจก
ไทล์
๑. สำารวจ ตรวจสอบ และอธิบายการ
เคลื่อนที่แบบ
โพรเจกไทล์และการนำาไปใช้
ประโยชน์
๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน –
หลังเรียน
๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์
ต่าง ๆ
ทางอินเทอร์เน็ตที่
เกี่ยวข้อง
๓. อุปกรณ์การทดลอง
๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์
๕. ใบงานที่ ๘
๖. ใบความรู้ที่ ๖
รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา
ว ๔๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การเคลื่อนที่
แนวตรง เวลา ๔ ชั่วโมง
**************************************************************
**************************
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๔.๒.๑ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการก
ระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวตรงและคำานวณ
หาปริมาณที่เกี่ยวข้อง
๒. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด เวลา
ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่
ในแนวตรง
๒. คำานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องของการเคลื่อนที่ในแนวตรง
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายความหมายของระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว
ความเร่ง อัตราเร่งและความเร่งได้
๒. จำาแนกปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่เป็น ๒ ชนิดได้แก่
ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ได้
๓. ใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเพื่อคำานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้อง
กับการเคลื่อนที่ได้
๔. สาระสำาคัญ
วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตรงจะมีความเร่งอยู่ในแนวเดียวกับการ
เคลื่อนที่เสมอ ซึ่งมี ๒ ลักษณะ คือ
๑. วัตถุที่มีความเร่งในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่
ด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
๒. วัตถุที่มีความเร่งในทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่
ด้วยความเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ
ตัวอย่างการเคลื่อนที่แนวตรง เช่น การตกอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วง
ของโลก ซึ่งวัตถุจะมีความเร่งเท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ
โลก คือ g มีค่าประมาณ 9.8 m / s2
๕. กระบวนการเรียนรู้
๕.๑ กิจกรรมนำา เข้าสู่การเรียนรู้ เวลาเรียน ๓๐
นาที
๑. ครูนำาภาพหรือวีดีทัศน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุมาฉายให้
นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุว่าวัตถุที่เห็นนั้นมี
การเคลื่อนที่อย่างไร และมีปริมาณใด
ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุบ้าง
๒. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
๓. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน จำานวน ๑๐ ข้อ
๕.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง
กิจกรรมครั้งที่ ๑ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง
จำานวนเวลาเรียน ๑.๕๐ ชั่วโมง
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
๑. ขั้นสร้างความสนใจ
นักเรียนร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้
- การเคลื่อนที่ในแนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ในลักษณะใด
- ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงมีอะไร
บ้าง และปริมาณต่าง ๆ
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
๒. ขั้นสำารวจและค้นหา
๒.๑ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนว
ตรงและปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวตรง
๒.๒ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน โดยให้
นักเรียนเก่ง – อ่อน ชาย – หญิง คละกัน แต่ละกลุ่มสืบค้น
ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงจากเว็บไซต์ที่ครูสร้าง
ขึ้นมาเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ชื่อ
www.school.obec.go.th/sw_bangon
๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงเนื้อหาที่ได้สืบค้นมา
เป็นกลุ่มย่อย แล้วนำาเสนอผลการสืบค้นหน้าชั้นเรียนจนครบ
ทุกกลุ่ม ครูให้คะแนนและชมเชยกลุ่มที่อภิปรายได้ดีและให้
กำาลังใจกลุ่มที่อภิปรายยังไม่ครอบคลุมในเนื้อหา
๒.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนว
ตรง อภิปรายความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การเคลื่อนที่แนวตรง เช่น ความเร็ว ความเร่ง การกระจัด
เป็นต้น
๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
๓.๑ แต่ละกลุ่มนำาเสนอผลการสืบค้นข้อมูลในรูปแบบของ
รายงานและการจัดกิจกรรมในรูปแบบของป้านนิเทศหรือ
นิทรรศการทางวิชาการ
๓.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรง
๓.๓ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนที่ การคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนที่ รวมทั้งอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูด
ของโลก
๔. ขั้นขยายความรู้
๔.๑ นักเรียนค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยศึกษาจากใบความรู้ที่
๓ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง
๔.๒ นักเรียนทบทวนและฝึกการคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรง โดยครูให้ตัวอย่างการ
คำานวณเพิ่มเติมบนกระดานและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน
คำานวณและส่งตัวแทนออกมาเฉลยบนกระดาน
๕. ขั้นประเมิน
๕.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมาและ
ในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจนหรือยัง
มีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม และทดสอบความ
เข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม
๕.๒ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก
หัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้
ไปใช้ประโยชน์
๕.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี
ปัญหา / อุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไร ครูชมเชย
กลุ่มที่ทำางานได้ดี ให้กำาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควร
ปรับปรุง
กิจกรรมครั้งที่ ๒ เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
จำานวนเวลาเรียน ๑.๕๐ ชั่วโมง
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมี
ขั้นตอน ดังนี้
๑. ขั้นสร้างความสนใจ
ครูตั้งคำาถาม ถามนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
อัตราเร็วและอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุว่าปริมาณทั้ง
สองมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และถ้านักเรียนต้องการศึกษาความ
สัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าวจะมีวิธีการศึกษาอย่างไร
๒. ขั้นสำารวจและค้นหา
๒.๑ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ศึกษากิจกรรมที่ ๕ เรื่อง เครื่อง
เคาะสัญญาณเวลา เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วและอัตราการเปลี่ยนแปลง
ความเร็วของวัตถุ
๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมเพื่อหาความ
สัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าว โดยมีครู
คอยให้คำาแนะนำาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยขณะปฏิบัติ
กิจกรรมการทดลอง พร้อมทั้งคอย
กระตุ้นให้ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มให้มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมให้ครบทุกคน
๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
๓.๑ แต่ละกลุ่มเขียนรายงานผลการทดลอง และร่วมกันอภิปราย
ผลการทดลองของกลุ่มตนเอง
๓.๒ ครูสุ่มตัวอย่างนักเรียนบางกลุ่มนำาเสนอผลการปฏิบัติ
กิจกรรมหน้าชั้นเรียน
๓.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทดลอง พร้อมทั้งยก
ตัวอย่างการคำานวณเพื่อหา
ความสัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าว
๔. ขั้นขยายความรู้
๔.๑ นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากใบความรู้ เรื่อง การ
เคลื่อนที่แนวตรง
๔.๒ ครูอธิบายและให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการทำางานของ
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาและความสัมพันธ์ของอัตราเร็วและ
อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุใน
แนวตรง พร้อมกับยกตัวอย่างการคำานวณของความสัมพันธ์
ของปริมาณดังกล่าวเป็นการเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนทำา
เป็นการบ้านและส่งครูในชั่วโมงถัดไป
๕. ขั้นประเมิน
๕.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมาและ
ในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง
ที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจนหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีครูอธิบายเพิ่ม
เติม และทดสอบความเข้าใจของ นักเรียนโดยการให้ตอบ
คำาถาม
๕.๒ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก
หัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติ
กิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
๕.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี
ปัญหา / อุปสรรคใด และได้มี
การแก้ไขอย่างไร ครูให้คำาชมเชยกลุ่มที่ทำางานได้ดี ให้
กำาลังใจและข้อเสนอแนะแกกลุ่มที่
ควรปรับปรุง
๕.๓ กิจกรรมรวบยอด เวลาเรียน ๓๐ นาที
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับการเคลื่อนที่
ของวัตถุในแนวตรง ความสัมพันธ์
ของการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง ฯลฯ และปริมาณต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง โดยปริมาณต่าง ๆ ต่างมี
ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและสามารถหาได้จากการทดลอง
และจากการคำานวณ
๒. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง
จำานวน ๑๐ ข้อ
๖. กระบวนการวัด / ประเมินผล
๖.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล
๑. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
๒. แบบบันทึกผลจากการสังเกตการปฏิบัติงานกลุ่ม ( แบบ
สังเกต ๑ )
๓. แบบบันทึกผลจากการสังเกตด้านทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ ( แบบสังเกต ๒ )
๔. แบบบันทึกผลจากการประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ (
แบบประเมิน ๑ )
๕. ใบงาน / สมุดจดของนักเรียน
๖.๒ เกณฑ์ที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล
๑. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีผลการประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม
อยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป
๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ อยู่
ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป
๓. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานได้ถูกต้อง
๔. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียนได้ถูกต้อง ๘ ใน ๑๐ ข้อ
๗. กิจกรรมเสริมการเรียนรู้
หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูอาจให้นักเรียนร้องเพลง
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ทั้งนี้เพื่อความเพลิดเพลิน และเพื่อให้
นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้นโดยสื่อผ่านเนื้อหาจากเพลง
ดังนี้
เพลง การเคลื่อนที่
ระยะทางเป็นเส้นทางทั้งหมด ทั้งเลี้ยวลดและเส้นตรง
การกระจัดนั้นคงเป็นเส้นตรงตลอดทาง จากไหนจากไหน
จากจุดตั้งต้นไปยังจุดปลาย
อัตราเร็ว อัตราเร็ว อัตราเร็วนั้นคืออะไร ระยะทางนั่น
ไงหารด้วยเวลา
ความเร็วนั้นวิ่งเร็วรี่ ( เอาละวา ) ความเร็วนั้นวิ่งเร็วรี่
การกระจัดที่มีหารด้วยเวลา การกระจัดที่มีหารด้วยเวลา
กิจกรรมซ่อม / เสริม ( กรณีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ )
สำาหรับในกรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูมีการสอนซ่อม
เสริม และมีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ ดังนี้
๑. นักเรียนศึกษาค้นคว้า เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จากหนังสือ
สารานุกรมสำาหรับเยาวชน วารสาร
วิทยาศาสตร์ เอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน
จุลสาร ฯลฯ รวมทั้ง เว็บไซต์
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วสรุปประเด็นสำาคัญที่ศึกษา
๒. ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำานวณหาปริมาณ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ของวัตถุในแนวตรง
๓. นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากสื่อทางอินเทอร์เน็ต
๘. สื่อ / นวัตกรรม / เทคโนโลยีที่ใช้
๘.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
๘.๒ สื่อ สิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่
เกี่ยวข้อง
( บทเรียนทางอินเทอร์เน็ตที่ครูสร้างขึ้นที่
www.school.obec.go.th/sw_bangon )
๘.๓ อุปกรณ์การทดลอง
๘.๔ เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์
๘.๕ หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์
๘.๖ ใบความรู้ที่ ๓
๘.๗ ใบงานที่ ๕
๘.๘ แบบสังเกต ๑ – ๒
๘.๙ แบบประเมิน ๑
๘.๑๐ แบบรายงานการทดลอง
๙. แหล่งเรียนรู้
๙.๑ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
๑. ห้องสมุดโรงเรียน
๒. ห้องสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
๓. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
๙.๒ แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
-
๑๐. แบบบันทึกหลังสอน ( หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ )
๑. ความสำาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.......................................................
แนวทางการพัฒนา
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.......................................................................
๒. ปัญหา / อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
.............................................................................
...................................................................
.............................................................................
...................................................................
.............................................................................
...................................................................
แนวทางแก้ไข
..............................................................................
..................................................................
..............................................................................
..................................................................
๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
เหตุผล
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
๑๑. ภาคผนวก
๑๑.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
๑๑.๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
๑๑.๓ ใบความรู้ที่ ๓
๑๑.๔ ใบงานที่ ๕
๑๑.๕ แบบสังเกต ๑
๑๑.๖ แบบสังเกต ๒
๑๑.๗ แบบประเมิน ๑
๑๑.๘ แบบรายงานการทดลอง
ลงชื่อ..................................
...............
( นางสาวบังออน
จุลพล )
ครูผู้สอน
ผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
ตรวจสอบความถูกต้อง ขอ
อนุมัติการใช้แผน
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
อนุมัติ ไม่อนุมัติ
ลงชื่อ...................................ฝ่ายบริหารวิชาการ
ลงชื่อ.....................................ผู้อำานวยการโรงเรียน (
นางสาวพัชรินทร์ อิ่นคำา) ( นางสาวศุภวัลย์ คำา
วัง )
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน - หลังเรียน
เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง
แผนการเรียนรู้ที่ ๔
เวลา ๓๐ นาที
คำาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำาตอบ
เดียว
๑. การกระจัด หมายถึงข้อใด ?
ก. ระยะทางต่อเวลา
ข. ความเร็วต่อเวลา
ค. ระยะทางทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้
ง. ระยะทางจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้าย
๒. ข้อใดคือปริมาณเวกเตอร์ ?
ก. การกระจัด
ข. ระยะทาง
ค. อุณหภูมิ
ง. มวล
๓. ข้อใด คือ ปริมาณสเกลาร์ ?
ก. การกระจัด
ข. อัตราเร็ว
ค. ความเร็ว
ง. นำ้าหนัก
๔. ชายคนหนึ่งเดินางจากบ้านไปทางทิศตะวันออก ๕๐๐ เมตร
แล้วเลี้ยวไปตามถนน ซึ่งมุ่งหน้าไป
ทางทิศเหนืออีก ๕๐๐ เมตร ก็ถึงที่ทำางานของเขา ระยะ
ทางทั้งหมดที่เขาเคลื่อนที่ได้เป็นเท่าใด ?
ก. 0 เมตร
ข. 500 เมตร
ค. 1000 เมตร
ง. 500 2
๕. จากโจทย์ข้อ ๔ การกระจัดของชายคนนี้จากบ้านไปยังที่
ทำางานมีค่าเท่ใด ?
ก. 0 เมตร
ข. 500 เมตร
ค. 1000 เมตร
ง. 500 2
๖. ในการตกอย่างเสรีของวัตถุ วัตถุจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร ?
ก. เร็วขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากมีแรงดึงดูดของโลกมากขึ้น
ข. ด้วยความเร็วคงที่เพราะแรงจากโลกคงที่
ค. เร็วขึ้นด้วยความเร่งคงที่โดยมีแรงกระทำาคงที่
ง. ช้าลงเพราะถูกแรงต้านการเคลื่อนที่
๗. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว
และเวลา ดังรูป
v
26
24
10
0 2
6 8
ความเร็วเฉลี่ยใน 2 วินาทีแรกมีค่าเท่าใด ?
ก. 12 เมตร / วินาที
ข. 25 เมตร / วินาที
ค. 18 เมตร / วินาที
ง. 20 เมตร / วินาที
๘. จากกราฟในข้อที่ ๗ ความเร็วเฉลี่ยใน ๘ วินาทีแรกมีค่า
เท่าใด ?
ก. 12 เมตร / วินาที
ข. 20 เมตร / วินาที
ค. 18 เมตร / วินาที
ง. 25 เมตร / วินาที
๙. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเฉลี่ย 54 กิโลเมตร /
ชั่วโมง เป็นเวลา 1 นาที 30 วินาที
จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใดในหน่วยเมตร / วินาที ?
ก. 1350 เมตร
ข. 750 เมตร
ค. 3000 เมตร
ง. 500 เมตร
๑๐. จากโจทย์ข้อ 9 ถ้ารถเคลื่อนที่ได้ 1 กิโลเมตร จะใช้เวลา
เท่าใด ?
ก. 3 วินาที
ข. 33.3 วินาที
ค. 50 วินาที
ง. 66.67 วินาที
เฉลยแบบทดสอบก่อน
เรียน – หลังเรียน
เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง
๑. ง ๖. ค
๒. ก ๗. ก
๓. ข ๘. ข
๔. ค ๙. ก
๕. ง ๑๐. ง
ใบความรู้ที่ ๓
เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง
แผนการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา
๑ ชั่วโมง
การเคลื่อนที่แนวตรง
อัตราเร็วของวัตถุ
อัตราเร็ว หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ หน่วย คือ เมตร / วินาที ( m/s )
อัตราเร็ว = ระยะทางหารด้วยเวลา
หรือ v = t
s
เมื่อ v = อัตราเร็ว หน่วย เมตร/วินาที (m/s)
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ (m) ตามแนว
เคลื่อนที่จริง
t = เวลาในการเคลื่อนที่ (s)
อัตราเร็วเฉลี่ย หมายถึง อัตราเร็วที่จุดกึ่งกลางของช่วงเวลานั้น
สามารถคำานวณจากอัตราส่วนของระยะทางกับเวลา
ความเร็ว คือ การกระจัดทั้งหมดในหนึ่งหน่วยเวลาเป็นปริมาณ
เวกเตอร์ มีหน่วย เมตรต่อวินาที ( m/s ) หรือ เป็นอัตราการ
เปลี่ยนแปลงการกระจัด เป็นปริมาณเวกเตอร์ ความเร็วมี 2 แบบ คือ
1) ความเร็วเฉลี่ย ( VAV ) เป็นความเร็วเฉลี่ย ระหว่างช่วงเวลาหนึ่ง
หรือการกระจัดที่วัดได้ในช่วงเวลาทั้งหมด
เมื่อ v

= ความเร็วเฉลี่ย หน่วย เมตร / วินาที
(m/s)
s = การกระจัด (m) คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด
ในการย้ายตำาแหน่ง หนึ่งไปอีก
ตำาแหน่งหนึ่ง
2) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ( V ) เป็นความเร็วของวัตถุขณะ
เวลาหนึ่ง หาจากการกระจัดที่ได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ นั้น คือ
v = t
s
โดย t = เข้าใกล้เป็นศูนย์
การกระจัด
เป็นปริมาณที่บอกให้ทราบถึงการเปลี่ยนตำาแหน่ง โดยบอกระยะทาง
และทิศทาง (เป็นเวกเตอร์ ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง) เช่น อเนกเดิน
ไปมุมซ้ายทิศตะวันตกเป็นระยะทาง ๖๐ เมตร
S = vt
ความเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยน ความเร็ว
เมื่อ a

= ความเร่ง หน่วย เมตรต่อ วินาที2
( m/s2
)
กราฟแสดงการกระจัดกับเวลา ความเร็วกับเวลา
ความเร่งกับเวลา
การเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงที่ มีสูตรดังนี้
เมื่อ u = ความเร็วเริ่มต้น (m/s)
v = ความเร็วตอนปลาย (m/s )
s = ระยะทาง (m)
a = ความเร่ง ( m/s2
)
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก มีสูตรดังนี้
1.v = u – gt
3. v2
= u 2
+2gh
เมื่อ u = ความเร็วต้น เป็น + เสมอ
v = ความเร็วปลาย + ถ้าทิศเดียวกับ u และ
เป็น - ถ้าทิศตรงขามกับ u
s หรือ h = ระยะทางเป็น + ตอนวิ่งขึ้น และเป็น -
ตอนวิ่งลง
g = ความเร่งจากแรงโน้มถ่วง
การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวตรง
เครื่องมือเคาะสัญญาณเวลาใช้สำาหรับหาค่าอัตราเร็วเฉลี่ย โดยใช้
กับไฟฟ้า 220 V ความถี่ 50 Hz แต่แปลงค่าแรงเคลื่อนเพื่อใช้กับ
เครื่องเคาะสัญญาณเหลือเพียง 6 V ความถี่ 50 Hz ดังนั้นจุดที่
ปรากฏบนแกนกระดาษจะมีทั้งหมด 50 จุด ใน 1 วินาที ที่เราสามารถ
อ่านค่าได้แน่นอน คือระหว่าง 1 ช่วงจุดจะใช้เวลา 1/50 วินาที และ
ระยะทางที่ปรากฏบนกระดาษจะมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากขึ้นหรือ
น้อยลงหรือคงที่โดยจะดูจากระยะทางห่างระหว่างจุด
ความเร็วเฉลี่ยจากกระดาษ คือ ค่าความเร็วที่จุดกึ่งกลางของช่วง
เวลานั้น
A B C ความเร็วเฉลี่ย
AC = ความเร็วที่จุด B
o o o o o =
50
4
5
= 62.5 m/s
5 cm
ปริมาณทางฟิสิกส์ แบ่งออกเป็น 2 ปริมาณ ดังนี้
1 ) ปริมาณสเกลาร์ มีเฉพาะขนาด เช่น มวล เวลา ระยะทาง
งาน ปริมาตร อัตราเร็ว ความดัน อุณหภูมิ
2 ) ปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น นำ้าหนัก
ความเร็ว การกระจัด แรง แรงดัน กระแสไฟฟ้า โมเมนตัม สนาม
ไฟฟ้า
เวกเตอร์เขียนแทนด้วยเส้นตรงประกอบหัวลูกศรโดยความยาวของ
เส้นแทนขนาดของเวกเตอร์และหัวลูกศรแทนทิศทางของเวกเตอร์
Y
N 5 cm
A W E B
X
S
ตก ออก
เวกเตอร์ 5 cm ไปทางทิศตะวันออก ขนาด 3 หน่วย ทำา มุม
37 องศากับทิศตะวันออกหรือแกน X ทิศทางเดียวกัน (บวก)
a b a b a + b
ทิศทางต่างกัน (ลบ )
a b a b a - b
การรวมเวกเตอร์ คือ การนำาเวกเตอร์ย่อยมารวมกัน เขียนแทนด้วย
สมการเวกเตอร์
R = a + b R = a + b + c = 0
การคำานวณโดยใช้สูตรต่าง ๆ
ใช้กฏของ cos หา R จาก R2
= P2
+ Q2
- 2 PQcos O
เมื่อ O = มุมที่หัวเวกเตอร์จดกับหางเวกเตอร์และอยู่ตรงข้าม
R
ทฤษฎีสี่เหลี่ยมด้านขนาน หา R จาก R2
= P2
+ Q2
+ 2
PQcos O
0
ทฤษฎีบทปีทาโกลัส ใช้คำานวณเมื่อเวกเตอร์ 2 เวกเตอร์อยู่ในแนว
ตั้งฉากกัน
จาก R2
= P2
+ Q2
ใช้วิธีแตกเวกเตอร์และรวมเวกเตอร์ที่หลัง เมื่อมีเวกเตอร์มากกว่า 2
เวกเตอร์
การแตกเวกเตอร์ = การแยกเวกเตอร์ 1 เวกเตอร์ออกเป็น 2 เวก
เตอร์ ( R X , R y ) ที่ตั้งฉากกัน
R y R y = Rsin 0
R R
R x R X = Rcos 0
คำานวณจาก R 2
= R2
X + R 2
Y
การกระจัดลัพธ์
เป็นผลบวกของการกระจัดทั้งหมด มีขนาดจากจุดเริ่มต้นถึงจุด
สุดท้ายวัดในแนวเส้นตรงและมีทิศทางจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย
คำานวณได้จาก
d2
= x2
+ y2
หรือ d = x2
+
y2
ใบงานที่ ๕
เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
แผนการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา
๑ ชั่วโมง
กิจกรรมที่ ๕ เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเพื่อวิเคราะห์
ลักษณะของการเคลื่อนที่ของแถบกระดาษ
ภายใต้สภาพอัตราเร่งได้
๒. บอกความแตกต่างของลักษณะของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว
คงที่และอัตราเร่งได้
ทักษะที่ต้องการให้เกิด
การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
อุปกรณ์
๑. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ๑ เครื่อง / กลุ่ม
๒. แถบกระดาษ ๖ แถบ / กลุ่ม
๓. กระดาษคาร์บอน ๑ อัน / กลุ่ม
๔. รางไม้ ๑ เรือน / กลุ่ม
๕. ไม้เมตร ๑ อัน / กลุ่ม
๖. รถทดลอง ๑ คัน / กลุ่ม
๗. ถ่านไปฉาย ๑ ก้อน / กลุ่ม
๘. กระดาษกาว ๑ ม้วน / กลุ่ม
เวลาที่ใช้ ๙๐ นาที แบ่งเป็น
๑. อภิปรายก่อนทำากิจกรรม ๓๐ นาที
๒. ทำากิจกรรม ๓๐ นาที
๓. อภิปรายหลังทำากิจกรรม ๓๐ นาที
อภิปรายก่อนทำากิจกรรม
๑. ครูอธิบายหลักการทำางานของเครื่องเคาะสัญญาณเวลา พร้อม
ทั้งอธิบายและสาธิตการทดลองให้
นักเรียนดู
๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง โดยมีครูคอยให้คำา
แนะนำาและอธิบายเพิ่มเติมเมื่อมี
ปัญหา
๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการทำากิจกรรม พร้อมทั้งคำานวณหา
ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
จากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
สรุปผลการทำากิจกรรม
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
คำาถามท้ายกิจกรรม
๑. จุดบนแถบกระดาษสามารถบอกสิ่งใดได้ ?
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
๒. ลักษณะของจุดบนแถบกระดาษมีลักษณะอย่างไร ?
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
๓. การใช้จำานวนถ่านไฟฉายต่างกันจะมีสิ่งใดที่แตกต่างกัน ?
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
๔. การเอียงรางไม้ด้วยมุมที่ต่างกันจะทำาให้สิ่งใดแตกต่างกันและมี
ผลต่อการเคลื่อนที่ของรถทดลอง
อย่างไร ?
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา
ว ๔๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ
ฮาร์มอนิกอย่างง่าย เวลา ๔ ชั่วโมง
**************************************************************
**************************
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๔.๒.๒ สำารวจ ตรวจสอบและอธิบายการเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แบบวงกลม แบบโพรเจกไทล์ รวมทั้งการนำาไป
ใช้ประโยชน์
๒. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สำารวจ ตรวจสอบและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
และการนำาไปใช้ประโยชน์
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธิบายความหมายของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายได้
๒. อธิบายและอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ความเร็ว
และความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายได้
๓. ทำาการทดลองการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถ
ทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง เพื่อหาความสัมพันธ์ของการกระจัดและ
ความเร็วของรถทดลองในช่วงเวลาครึ่งคาบ
๔. คำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่ายเมื่อกำาหนดสถานการณ์ให้
๔. สาระสำาคัญ
การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic เป็นการเคลื่อนที่ของ
วัตถุกลับไปมา ผ่านตำาแหน่งสมดุล โดยการกระจัด ความเร็ว
ความเร่ง ไม่คงที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น การสั่นของวัตถุที่ผูก
กับสปริง หรือการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาที่แกว่งเป็นมุมน้อยๆ
เป็นต้น
๕. กระบวนการเรียนรู้
๕.๑ กิจกรรมนำา เข้าสู่การเรียนรู้ เวลาเรียน ๓๐
นาที
๑. ครูนำาเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น กีตาร์ ไวโอลิน
ซอ เป็นต้น โดยนำามาดีดสายและให้นักเรียนสังเกตการสั่นกลับไปกลับ
มาของสายเครื่องดนตรีเหล่านั้น
๒. ใช้รถทดลองติดปริง สาธิตให้ผู้เรียนสังเกตการเคลื่อนที่กลับไป
กลับมาของรถทดลอง
๒. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
๓. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน จำานวน ๑๐ ข้อ
๕.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
๑. ขั้นสร้างความสนใจ
จากการสาธิตของครู ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ
ประเด็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาหรืออภิปรายเกี่ยวกับการสั่นของสาย
เครื่องดนตรี และร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
- การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่ใน
ลักษณะใด
- ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ความเร็ว และความเร่ง
ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
๒. ขั้นสำารวจและค้นหา
๒.๑ ครูให้นักเรียนอภิปรายลักษณะการเคลื่อนที่ของสิ่งที่สังเกต
ได้ จากกิจกรรมนำาเข้าสู่บทเรียน ซึ่งจะได้ข้อสรุปของ
ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
๒.๒ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน โดยให้
นักเรียนเก่ง – อ่อน ชาย – หญิง คละกัน ให้ศึกษาใบงานที่
๖ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถทดลอง
ซึ่งติดอยู่กับสปริง
๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานเพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ของการกระจัดและความเร็วของรถทดลองซึ่ง
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายในช่วงเวลาครึ่งคาบ
๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
๓.๑ แต่ละกลุ่มนำาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานหน้า
ชั้นเรียน
๓.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการ
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
๓.๓ ครูสาธิตการหมุนของวงล้อที่ติดดินนำ้ามันเพื่อผู้เรียนจะได้
เห็นสภาพจริงที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ใน
แนวตรงวงกลมกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก อย่างง่าย
๓.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ ๔ เรื่อง การเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แล้วแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยว
กับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ การคำานวณหา
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่าย
๔. ขั้นขยายความรู้
๔.๑ นักเรียนสืบค้นความรู้เพิ่มเติม เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์
มอนิกอย่างง่าย จากอินเทอร์เน็ต ที่เว็บไซต์
www.school.obec.go.th/sw_bangon แล้วให้แต่ละ
กลุ่มนำาเสนอผลการสืบค้นข้อมูลหน้าชั้นเรียน
๔.๒ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด
ความเร็ว ความเร่ง ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ให้นักเรียนทบทวนและฝึกการคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
๕. ขั้นประเมิน
๕.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมาและ
ในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจนหรือยัง
มีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม และทดสอบความ
เข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม
๕.๒ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก
หัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้
ไปใช้ประโยชน์
๕.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี
ปัญหา / อุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไร ครูชมเชย
กลุ่มที่ทำางานได้ดี ให้กำาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควร
ปรับปรุง
๕.๓ กิจกรรมรวบยอด เวลาเรียน ๓๐ นาที
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง การคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย รวมถึงความแตกต่างระหว่างการเคลื่อนที่
แบบเป็นวงกลมและการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
๒. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน จำานวน ๑๐ ข้อ
๖. กระบวนการวัด / ประเมินผล
๖.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล
๑. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
๒. แบบบันทึกผลจากการสังเกตการปฏิบัติงานกลุ่ม ( แบบ
สังเกต ๑ )
๓. แบบบันทึกผลจากการสังเกตด้านทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ ( แบบสังเกต ๒ )
๔. แบบบันทึกผลจากการประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ (
แบบประเมิน ๑ )
๕. ใบงาน / สมุดจดของนักเรียน
๖.๒ เกณฑ์ที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล
๑. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีผลการประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม
อยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป
๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ อยู่
ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป
๓. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานได้ถูกต้อง
๔. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียนได้ถูกต้อง ๘ ใน ๑๐ ข้อ
๗. กิจกรรมเสริมการเรียนรู้
นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบ ฮาร์มอนิกอย่างง่าย ให้เพื่อน ๆ ในห้อง
ร่วมกันเฉลยหน้าชั้นเรียนและครูอธิบายเพิ่มเติมในข้อที่นักเรียนยังสงสัย
พร้อมทั้งแนะนำานักเรียนให้ไปสืบค้นข้อมูลจากสื่อทางอินเทอร์เน็ตทั้งจาก
สื่อที่ครูสร้างขึ้นและจากเว็บไซต์อื่นๆ เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาให้มากยิ่ง
ขึ้น
๘. สื่อ / นวัตกรรม / เทคโนโลยีที่ใช้
๘.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
๘.๒ สื่อ สิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่
เกี่ยวข้อง
( บทเรียนทางอินเทอร์เน็ตที่ครูสร้างขึ้นที่
www.school.obec.go.th/sw_bangon )
๘.๓ อุปกรณ์การทดลอง
๘.๔ เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์
๘.๕ หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์
๘.๖ ใบความรู้ที่ ๔
๘.๗ ใบงานที่ ๖
๘.๘ แบบสังเกต ๑ – ๒
๘.๙ แบบประเมิน ๑
๘.๑๐ แบบรายงานการทดลอง
๙. แหล่งเรียนรู้
๙.๑ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
๑. ห้องสมุดโรงเรียน
๒. ห้องสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
๓. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
๙.๒ แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
-
๑๐. แบบบันทึกหลังสอน ( หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ )
๑. ความสำาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.......................................................
แนวทางการพัฒนา
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.......................................................................
๒. ปัญหา / อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
.............................................................................
...................................................................
.............................................................................
...................................................................
.............................................................................
...................................................................
แนวทางแก้ไข
..............................................................................
..................................................................
..............................................................................
..................................................................
๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
เหตุผล
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
.....................................................................................
...........................................................................
.....................................................................................
...........................................................................
๑๑. ภาคผนวก
๑๑.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
๑๑.๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
๑๑.๓ ใบความรู้ที่ ๔
๑๑.๔ ใบงานที่ ๖
๑๑.๕ แบบสังเกต ๑
๑๑.๖ แบบสังเกต ๒
๑๑.๗ แบบประเมิน ๑
๑๑.๘ แบบรายงานการทดลอง
ลงชื่อ..................................
...............
( นางสาวบังออน
จุลพล )
ครูผู้สอน
ผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
ตรวจสอบความถูกต้อง ขอ
อนุมัติการใช้แผน
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
อนุมัติ ไม่อนุมัติ
ลงชื่อ...................................ฝ่ายบริหารวิชาการ
ลงชื่อ.....................................ผู้อำานวยการโรงเรียน (
นางสาวพัชรินทร์ อิ่นคำา) ( นางสาวศุภวัลย์ คำา
วัง )
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน - หลังเรียน
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอ
ย่างง่าย
แผนการเรียนรู้ที่ ๕
เวลา ๓๐ นาที
คำาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำาตอบ
เดียว
๑. ข้อใดคือความหมายที่ ถูกต้องที่สุด ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์
มอนิกอย่างง่าย ?
ก. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
ข. การเคลื่อนที่ในแนวราบเท่านั้น
ค. การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมา
ง. การเคลื่อนที่แบบซำ้ารอยเดิมรอบตำาแหน่งสมดุล
๒. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ข้อใดไม่ถูกต้อง ?
ก. ความเร่งคงที่
ข. ความเร็วไม่คงที่
ค. การกระจัดเปลี่ยนแปลงตามเวลา
ง. ความเร็ว และความเร่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
๓. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุ เฟสของการกระ
จัดและความเร่งต่างกันอยู่เท่าใด ?
ก. ๐ เรเดียน
ข. 2
π
เรเดียน
ค. 4
3π
เรเดียน
ง. π เรเดียน
๔. ชายคนหนึ่งแกว่งกระเป๋าเอกสารไปมาด้วยความถี่อันหนึ่ง ถ้า
ใส่หนังสือในกระเป๋า ความถี่ในการ
แกว่งจะเป็นเท่าใด ?
ก. เพิ่มขึ้น
ข. เท่าเดิม
ค. เพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนกับหนังสือ
ง. น้อยลงเป็นสัดส่วนกับหนังสือ
๕. แขวนมวล ๒ กิโลกรัมกับสปริง ทำาให้สปริงยืดออก ๐.๒๕
เมตร ถ้าออกแรงดึงสปริงให้ยืดออก
เพิ่มขึ้นอีก ๐.๑๐ เมตร แล้วปล่อยสปริงจะใช้เวลากี่วินาทีจึง
จะกลับไปสู่ตำาแหน่งสมดุล ?
ก. ๐.๕ วินาที
ข. ๐.๒๕ วินาที
ค. ๑ วินาที
ง. ๒ วินาที
๖. มวล ๑ กิโลกรัมติดกับสปริงอันหนึ่ง สั่นครบรอบใน ๒ วินาที
ถ้าเปลี่ยนมวลเป็น ๔ กิโลกรัม
สปริงจะสั่นครบรอบในกี่วินาที ?
ก. ๑ วินาที
ข. ๒ วินาที
ค. ๔ วินาที
ง. ๖ วินาที
๗. นาฬิกาแบบลูกตุ้มมีสายแขวนลูกตุ้มยาว ๕๐ เซนติเมตร เมื่อ
แทนลูกตุ้มและสายแขวนลูกตุ้มด้วย
ลวดสปริงที่มีมวลแขวนอยู่ จะต้องใช้มวลค่าเท่าใด ถ้าค่าคงตัว
ของสปริงมีค่าเป็น
๑๓๔ นิวตัน / เมตร
ก. ๑.๕ กิโลกรัม
ข. ๓.๒ กิโลกรัม
ค. ๖.๔ กิโลกรัม
ง. ๘.๕ กิโลกรัม
๘. เชือกยาว ๔๐ เซนติเมตร ผูกวัตถุมวล ๐.๑ กิโลกรัมแล้วดึง
ด้วยแรง F จนเชือกเบนจากแนวดิ่ง
แล้วปล่อย วัตถุจะสั่นไปกลับแบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก โดยแต่ละ
รอบได้ระยะทาง ๑๐ เซนติเมตร
คาบในการแกว่งของวัตถุนี้เป็นเท่าใด ?
ก. ๐.๑π วินาที
ข. ๐.๔π วินาที
ค. ๒π วินาที
ง. ๔π วินาที
๙. จากโจทย์ในข้อ ๘ ถ้าออกแรงดึงวัตถุนี้เพิ่มขึ้นจนเชือกเบน
จากแนวดิ่ง ๒θ แล้วปล่อย วัตถุจะ
แกว่งด้วยคาบกี่วินาที ?
ก. ๒ วินาที
ข. ๓ วินาที
ค. ๔ วินาที
ง. คาบเท่าเดิม เพราะการเพิ่มมุมไม่มีผลต่อคาบ
๑๐. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงสุด ๘π m / s2
และ
อัตราเร็วสูงสุด ๑.๖ m / s แอมปลิจูด
ของการเคลื่อนที่เป็นเท่าใด ?
ก. ๑.๑๐๒ เมตร
ข. ๑.๕๒๑ เมตร
ค. ๒ เมตร
ง. ๓ เมตร
เฉลยแบบทดสอบก่อน
เรียน – หลังเรียน
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
๑. ง ๖. ค
๒. ก ๗. ค
๓. ง ๘. ข
๔. ข ๙. ง
๕. ข ๑๐. ก
ใบความรู้ที่ ๔
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
แผนการเรียนรู้ที่ ๕ เวลา
๑ ชั่วโมง
การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic
เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมา ผ่านตำาแหน่งสมดุล เช่น การ สั่น
ของวัตถุที่ผูกกับสปริง หรือการแกว่งของลูกตุ้ม นาฬิกา ที่แกว่ง เป็นมุ
มน้อยๆ เป็นต้น
สปริง
การแกว่งลูกตุ้ม
พิจารณาการเคลื่อนที่แบบวงกลมสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่แบบ
ซิมเปิลฮาร์โมนิก ( S.H.M )
จากภาพจะเห็นว่าเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม เงาของวัตถุบน
ฉากจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงกลับไป กลับมาเรียกการเคลื่อนที่แบบ
ซำ้ารอยเดิมนี้ว่าการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
(Simple Harmonic Motion) หรือ การเคลื่อนที่แบบ S.H.M
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลาของการเคลื่อนที่
แบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก
ให้มวล M เคลื่อนที่ในแนวระนาบ xy เป็นวงกลมรัศมี
R ด้วยอัตราเชิงเส้นมุม ( ω ) รอบจุดศูนย์กลาง เมื่อวัตถุเคลื่อนที่
ได้คือ ซึ่ง = wt
พิจารณามวล m ที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมเงาที่ปรากฎใน
แนวแกน x และแกน y จะเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก หรือ
แบบ S.H.M
จะได้การกระจัดในแกน Y ดังนี้
เมื่อนำา Y = RsinWT ไปเขียนกราฟการกระจัด-เวลา
ของซิมเปิ้ลฮาโมนิก จะได้กราฟดังนี้
จากสมการ Y = RsinWT เมื่อ sinWT = sin90
= 1 ค่าของการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกจะมี
ค่ามากที่สุด นั่นคือ
Ymax = R หรือ Ymax = A
( amplitude )
ใบงานที่ ๖
เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ของรถทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง
แผนการเรียนรู้ที่ ๕ เวลา
๒ ชั่วโมง
กิจกรรมที่ ๖ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ของรถทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อศึกษาการกระจัดและความเร็วของรถทดลองซึ่งเคลื่อนที่แบบฮาร์
มอนิกอย่างง่ายในช่วงเวลาครึ่งคาบ
ทักษะที่ต้องการให้เกิด
๑. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
๒. ทักษะการคำานวณ
อุปกรณ์
๑. ลวดสปริง
๒. รางไม้
๓. รถทดลอง
๔. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
๕. หม้อแปลงไฟฟ้า
๖. กระดาษกราฟ
เวลาที่ใช้ ๙๐ นาที แบ่งเป็น
๑. อภิปรายก่อนทำากิจกรรม ๓๐ นาที
๒. ทำากิจกรรม ๓๐ นาที
๓. อภิปรายหลังทำากิจกรรม ๓๐ นาที
วิธีทดลอง
กดปลายหนึ่งของลวดสปริงกับขอบรางไม้ อีกปลายหนึ่งของลวด
สปริงยึดติดกับรถทดลอง ติดแถบกระดาษกับรถทดลองแล้วสอดผ่าน
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ดึงรถทดลองออกห่างจากตำาแหน่งสมดุล ๖
เซนติเมตร กดสวิตซ์ที่หม้อแปลงให้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาทำางาน จาก
นั้นปล่อยมือให้รถทดลองเคลื่อนที่ เมื่อรถทดลองเริ่มเคลื่อนที่สวนกลับทาง
เดิมให้ปิดสวิตซ์
นำาแถบกระดาษมาหาค่าการกระจัดของรถทดลอง โดยวัดจากตำาแหน่ง
สมดุลและหาความเร็วที่เวลาต่าง ๆ ตลอดการเคลื่อนที่ กำาหนดให้ปริมาณ
ที่มีทิศไปทางขาวมีเครื่องหมายบวก และปริมาณที่มีทิศไปทางซ้ายมี
เครื่องหมายลบ เขียนกราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา โดยให้เวลาเป็น
แกนนอน
สรุปผลการทำากิจกรรม
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
คำาถามท้ายกิจกรรม
๑. พิจารณากราฟการกระจัดกับเวลา เปรียบเทียบกับกราฟ
ความเร็วกับเวลา
ณ เวลาที่การกระจัดเป็นศูนย์ ความเร็วของรถทดลองเป็น
อย่างไร ?
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
ณ เวลาที่การกระจัดมากที่สุด ความเร็วของรถทดลองเป็นอย่างไร
?
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
........................................................................................
..................................................................................
๒. กราฟการกระจัดกับเวลา และกราฟความเร็วกับเวลาเป็นกราฟที่
ได้จากการเคลื่อนที่ของรถทดลอง
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 

Was ist angesagt? (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
2
22
2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 

Ähnlich wie แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่

09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทองบทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทองwanwimolbo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 

Ähnlich wie แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่ (20)

Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทองบทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
 
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทองบทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 

แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) เรื่อง การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำานวน ๑๖ ชั่วโมง ... โดย ... นางสาวบังออน จุลพล ตำาแหน่ง ครู โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัด เชียงราย
  • 2. สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงราย เขต ๓ คำาอธิบายรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา ว ๔๓๑๐๒ ช่วงชั้นที่ ๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่าง ฟิสิกส์กับศาสตร์สาขาอื่น ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ ความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว อัตราเร่ง การเคลื่อนที่แนวตรง ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรง โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบ วงกลม และฮาร์มอนิกอย่างง่าย สมบัติของคลื่นกล ความสัมพันธ์ ระหว่างความถี่ ความยาวคลื่นและอัตราเร็วของคลื่นกล โดยใช้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการ ทดลองเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัส วิชา ว ๔๓๑๐๒ ช่วงชั้นที่ ๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๐ เวลา ๔๐ ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา ( ชั่วโมง ) พิเศษ ปฐมนิเทศ ๑ ๑ บทนำา - การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ - ความหมายและขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ - การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ - ความสัมพันธ์ระหว่างฟิสิกส์กับศาสตร์ สาขาอื่น - ฟิสิกส์และเทคโนโลยี ๓ ๒ การวัดและการแปลความหมายข้อมูล - เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ - การแสดงผลของการวัดและการอ่านผล จากเครื่องมือวัด - การแปลความหมายจากข้อมูล - คำาอุปสรรค ๔ ๓ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ - การเคลื่อนที่แนวตรง - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ - การเคลื่อนที่แบบวงกลม - การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๑๖ ๔ ปรากฏการณ์คลื่น - การเคลื่อนที่แบบคลื่น - ธรรมชาติของคลื่น - การจำาแนกคลื่น - สมบัติของคลื่น ๑๖ รวม ๔๐
  • 4.
  • 5. ตารางแสดงแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา ว ๔๓๑๐๒ ช่วงชั้นที่ ๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๐ โรงเรียนสันติคีรีวิทยาคม อำาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย แผ นที่ เรื่อง ( Topic ) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน ( ชั่วโมง ) แหล่งเรียนรู้ ๔ การเคลื่อนที่ แนวตรง ๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการ เคลื่อนที่ในแนวตรง ๒. คำานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แนวตรง ๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์ ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่ เกี่ยวข้อง ๓. อุปกรณ์การทดลอง ๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ ๕. ใบงานที่ ๕ ๖. ใบความรู้ที่ ๓ รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
  • 6. ( ต่อ ) แผ นที่ เรื่อง ( Topic ) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน ( ชั่วโมง ) แหล่งเรียนรู้ ๕ การเคลื่อนที่ แบบฮาร์มอ นิก อย่างง่าย ๑. สำารวจ ตรวจสอบ และอธิบายการ เคลื่อนที่แบบ ฮาร์มอนิกอย่างง่ายและการนำาไป ใช้ประโยชน์ ๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์ ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่ เกี่ยวข้อง ๓. อุปกรณ์การทดลอง ๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ ๕. ใบงานที่ ๖ ๖. ใบความรู้ที่ ๔ รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
  • 7. ( ต่อ ) แผ นที่ เรื่อง ( Topic ) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน ( ชั่วโมง ) แหล่งเรียนรู้ ๖ การเคลื่อนที่ แบบวงกลม ๑. สำารวจ ตรวจสอบ และอธิบายการ เคลื่อนที่แบบวงกลม และการนำาไปใช้ประโยชน์ ๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์ ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่ เกี่ยวข้อง ๓. อุปกรณ์การทดลอง ๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ ๕. ใบงานที่ ๗ ๖. ใบความรู้ที่ ๕ รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
  • 8. ( ต่อ ) แผ นที่ เรื่อง ( Topic ) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เวลาเรียน ( ชั่วโมง ) แหล่งเรียนรู้ ๗ การเคลื่อนที่ แบบโพรเจก ไทล์ ๑. สำารวจ ตรวจสอบ และอธิบายการ เคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์และการนำาไปใช้ ประโยชน์ ๔ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ๒. สื่อ สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์ ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่ เกี่ยวข้อง ๓. อุปกรณ์การทดลอง ๔. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ ๕. ใบงานที่ ๘ ๖. ใบความรู้ที่ ๖ รวมเวลาทั้งสิ้น ๔
  • 9.
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา ว ๔๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การเคลื่อนที่ แนวตรง เวลา ๔ ชั่วโมง ************************************************************** ************************** ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว ๔.๒.๑ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการก ระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวตรงและคำานวณ หาปริมาณที่เกี่ยวข้อง ๒. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่ ในแนวตรง ๒. คำานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้องของการเคลื่อนที่ในแนวตรง ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมายของระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร่ง อัตราเร่งและความเร่งได้ ๒. จำาแนกปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่เป็น ๒ ชนิดได้แก่ ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ได้ ๓. ใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเพื่อคำานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้อง กับการเคลื่อนที่ได้ ๔. สาระสำาคัญ วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตรงจะมีความเร่งอยู่ในแนวเดียวกับการ เคลื่อนที่เสมอ ซึ่งมี ๒ ลักษณะ คือ ๑. วัตถุที่มีความเร่งในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ๒. วัตถุที่มีความเร่งในทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ ตัวอย่างการเคลื่อนที่แนวตรง เช่น การตกอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วง ของโลก ซึ่งวัตถุจะมีความเร่งเท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ โลก คือ g มีค่าประมาณ 9.8 m / s2 ๕. กระบวนการเรียนรู้ ๕.๑ กิจกรรมนำา เข้าสู่การเรียนรู้ เวลาเรียน ๓๐ นาที
  • 11. ๑. ครูนำาภาพหรือวีดีทัศน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุมาฉายให้ นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกัน อภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุว่าวัตถุที่เห็นนั้นมี การเคลื่อนที่อย่างไร และมีปริมาณใด ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุบ้าง ๒. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ ๓. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน จำานวน ๑๐ ข้อ ๕.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง กิจกรรมครั้งที่ ๑ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จำานวนเวลาเรียน ๑.๕๐ ชั่วโมง จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ๑. ขั้นสร้างความสนใจ นักเรียนร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้ - การเคลื่อนที่ในแนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ในลักษณะใด - ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงมีอะไร บ้าง และปริมาณต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ๒. ขั้นสำารวจและค้นหา ๒.๑ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนว ตรงและปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวตรง ๒.๒ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน โดยให้ นักเรียนเก่ง – อ่อน ชาย – หญิง คละกัน แต่ละกลุ่มสืบค้น ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงจากเว็บไซต์ที่ครูสร้าง ขึ้นมาเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ชื่อ www.school.obec.go.th/sw_bangon ๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงเนื้อหาที่ได้สืบค้นมา เป็นกลุ่มย่อย แล้วนำาเสนอผลการสืบค้นหน้าชั้นเรียนจนครบ ทุกกลุ่ม ครูให้คะแนนและชมเชยกลุ่มที่อภิปรายได้ดีและให้ กำาลังใจกลุ่มที่อภิปรายยังไม่ครอบคลุมในเนื้อหา ๒.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนว ตรง อภิปรายความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แนวตรง เช่น ความเร็ว ความเร่ง การกระจัด เป็นต้น
  • 12. ๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ๓.๑ แต่ละกลุ่มนำาเสนอผลการสืบค้นข้อมูลในรูปแบบของ รายงานและการจัดกิจกรรมในรูปแบบของป้านนิเทศหรือ นิทรรศการทางวิชาการ ๓.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรง ๓.๓ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนที่ การคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนที่ รวมทั้งอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูด ของโลก ๔. ขั้นขยายความรู้ ๔.๑ นักเรียนค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยศึกษาจากใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ๔.๒ นักเรียนทบทวนและฝึกการคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรง โดยครูให้ตัวอย่างการ คำานวณเพิ่มเติมบนกระดานและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน คำานวณและส่งตัวแทนออกมาเฉลยบนกระดาน ๕. ขั้นประเมิน ๕.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมาและ ในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจนหรือยัง มีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม และทดสอบความ เข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม ๕.๒ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก หัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้ ไปใช้ประโยชน์ ๕.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี ปัญหา / อุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไร ครูชมเชย กลุ่มที่ทำางานได้ดี ให้กำาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควร ปรับปรุง กิจกรรมครั้งที่ ๒ เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา จำานวนเวลาเรียน ๑.๕๐ ชั่วโมง จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมี ขั้นตอน ดังนี้ ๑. ขั้นสร้างความสนใจ ครูตั้งคำาถาม ถามนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็วและอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุว่าปริมาณทั้ง สองมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และถ้านักเรียนต้องการศึกษาความ สัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าวจะมีวิธีการศึกษาอย่างไร
  • 13. ๒. ขั้นสำารวจและค้นหา ๒.๑ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ศึกษากิจกรรมที่ ๕ เรื่อง เครื่อง เคาะสัญญาณเวลา เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วและอัตราการเปลี่ยนแปลง ความเร็วของวัตถุ ๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมเพื่อหาความ สัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าว โดยมีครู คอยให้คำาแนะนำาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยขณะปฏิบัติ กิจกรรมการทดลอง พร้อมทั้งคอย กระตุ้นให้ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มให้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมให้ครบทุกคน ๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ๓.๑ แต่ละกลุ่มเขียนรายงานผลการทดลอง และร่วมกันอภิปราย ผลการทดลองของกลุ่มตนเอง ๓.๒ ครูสุ่มตัวอย่างนักเรียนบางกลุ่มนำาเสนอผลการปฏิบัติ กิจกรรมหน้าชั้นเรียน ๓.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทดลอง พร้อมทั้งยก ตัวอย่างการคำานวณเพื่อหา ความสัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าว ๔. ขั้นขยายความรู้ ๔.๑ นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากใบความรู้ เรื่อง การ เคลื่อนที่แนวตรง ๔.๒ ครูอธิบายและให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการทำางานของ เครื่องเคาะสัญญาณเวลาและความสัมพันธ์ของอัตราเร็วและ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุใน แนวตรง พร้อมกับยกตัวอย่างการคำานวณของความสัมพันธ์ ของปริมาณดังกล่าวเป็นการเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนทำา เป็นการบ้านและส่งครูในชั่วโมงถัดไป ๕. ขั้นประเมิน ๕.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมาและ ในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง ที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจนหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีครูอธิบายเพิ่ม เติม และทดสอบความเข้าใจของ นักเรียนโดยการให้ตอบ คำาถาม ๕.๒ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก หัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติ กิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
  • 14. ๕.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี ปัญหา / อุปสรรคใด และได้มี การแก้ไขอย่างไร ครูให้คำาชมเชยกลุ่มที่ทำางานได้ดี ให้ กำาลังใจและข้อเสนอแนะแกกลุ่มที่ ควรปรับปรุง ๕.๓ กิจกรรมรวบยอด เวลาเรียน ๓๐ นาที ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ของวัตถุในแนวตรง ความสัมพันธ์ ของการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง ฯลฯ และปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยปริมาณต่าง ๆ ต่างมี ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและสามารถหาได้จากการทดลอง และจากการคำานวณ ๒. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จำานวน ๑๐ ข้อ ๖. กระบวนการวัด / ประเมินผล ๖.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๒. แบบบันทึกผลจากการสังเกตการปฏิบัติงานกลุ่ม ( แบบ สังเกต ๑ ) ๓. แบบบันทึกผลจากการสังเกตด้านทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์ ( แบบสังเกต ๒ ) ๔. แบบบันทึกผลจากการประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ( แบบประเมิน ๑ ) ๕. ใบงาน / สมุดจดของนักเรียน ๖.๒ เกณฑ์ที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล ๑. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีผลการประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม อยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป ๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ อยู่ ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป ๓. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานได้ถูกต้อง ๔. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียนได้ถูกต้อง ๘ ใน ๑๐ ข้อ
  • 15. ๗. กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูอาจให้นักเรียนร้องเพลง เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ทั้งนี้เพื่อความเพลิดเพลิน และเพื่อให้ นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้นโดยสื่อผ่านเนื้อหาจากเพลง ดังนี้ เพลง การเคลื่อนที่ ระยะทางเป็นเส้นทางทั้งหมด ทั้งเลี้ยวลดและเส้นตรง การกระจัดนั้นคงเป็นเส้นตรงตลอดทาง จากไหนจากไหน จากจุดตั้งต้นไปยังจุดปลาย อัตราเร็ว อัตราเร็ว อัตราเร็วนั้นคืออะไร ระยะทางนั่น ไงหารด้วยเวลา ความเร็วนั้นวิ่งเร็วรี่ ( เอาละวา ) ความเร็วนั้นวิ่งเร็วรี่ การกระจัดที่มีหารด้วยเวลา การกระจัดที่มีหารด้วยเวลา กิจกรรมซ่อม / เสริม ( กรณีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ) สำาหรับในกรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูมีการสอนซ่อม เสริม และมีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. นักเรียนศึกษาค้นคว้า เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง จากหนังสือ สารานุกรมสำาหรับเยาวชน วารสาร วิทยาศาสตร์ เอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน จุลสาร ฯลฯ รวมทั้ง เว็บไซต์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วสรุปประเด็นสำาคัญที่ศึกษา ๒. ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำานวณหาปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ของวัตถุในแนวตรง ๓. นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากสื่อทางอินเทอร์เน็ต ๘. สื่อ / นวัตกรรม / เทคโนโลยีที่ใช้ ๘.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ๘.๒ สื่อ สิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่ เกี่ยวข้อง ( บทเรียนทางอินเทอร์เน็ตที่ครูสร้างขึ้นที่ www.school.obec.go.th/sw_bangon ) ๘.๓ อุปกรณ์การทดลอง ๘.๔ เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ ๘.๕ หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ ๘.๖ ใบความรู้ที่ ๓ ๘.๗ ใบงานที่ ๕ ๘.๘ แบบสังเกต ๑ – ๒ ๘.๙ แบบประเมิน ๑
  • 16. ๘.๑๐ แบบรายงานการทดลอง ๙. แหล่งเรียนรู้ ๙.๑ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ๑. ห้องสมุดโรงเรียน ๒. ห้องสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ๓. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๙.๒ แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน - ๑๐. แบบบันทึกหลังสอน ( หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ) ๑. ความสำาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ....................................................... แนวทางการพัฒนา ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ....................................................................... ๒. ปัญหา / อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ ............................................................................. ................................................................... ............................................................................. ................................................................... ............................................................................. ................................................................... แนวทางแก้ไข .............................................................................. .................................................................. .............................................................................. .................................................................. ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
  • 17. ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... เหตุผล ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... ๑๑. ภาคผนวก ๑๑.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๑๑.๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๑๑.๓ ใบความรู้ที่ ๓ ๑๑.๔ ใบงานที่ ๕ ๑๑.๕ แบบสังเกต ๑ ๑๑.๖ แบบสังเกต ๒ ๑๑.๗ แบบประเมิน ๑ ๑๑.๘ แบบรายงานการทดลอง ลงชื่อ.................................. ............... ( นางสาวบังออน จุลพล ) ครูผู้สอน ผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
  • 18. ตรวจสอบความถูกต้อง ขอ อนุมัติการใช้แผน ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง อนุมัติ ไม่อนุมัติ ลงชื่อ...................................ฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.....................................ผู้อำานวยการโรงเรียน ( นางสาวพัชรินทร์ อิ่นคำา) ( นางสาวศุภวัลย์ คำา วัง ) แบบทดสอบ ก่อนเรียน - หลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง แผนการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา ๓๐ นาที คำาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำาตอบ เดียว ๑. การกระจัด หมายถึงข้อใด ? ก. ระยะทางต่อเวลา ข. ความเร็วต่อเวลา ค. ระยะทางทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ ง. ระยะทางจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้าย ๒. ข้อใดคือปริมาณเวกเตอร์ ? ก. การกระจัด ข. ระยะทาง ค. อุณหภูมิ
  • 19. ง. มวล ๓. ข้อใด คือ ปริมาณสเกลาร์ ? ก. การกระจัด ข. อัตราเร็ว ค. ความเร็ว ง. นำ้าหนัก ๔. ชายคนหนึ่งเดินางจากบ้านไปทางทิศตะวันออก ๕๐๐ เมตร แล้วเลี้ยวไปตามถนน ซึ่งมุ่งหน้าไป ทางทิศเหนืออีก ๕๐๐ เมตร ก็ถึงที่ทำางานของเขา ระยะ ทางทั้งหมดที่เขาเคลื่อนที่ได้เป็นเท่าใด ? ก. 0 เมตร ข. 500 เมตร ค. 1000 เมตร ง. 500 2 ๕. จากโจทย์ข้อ ๔ การกระจัดของชายคนนี้จากบ้านไปยังที่ ทำางานมีค่าเท่ใด ? ก. 0 เมตร ข. 500 เมตร ค. 1000 เมตร ง. 500 2 ๖. ในการตกอย่างเสรีของวัตถุ วัตถุจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร ? ก. เร็วขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากมีแรงดึงดูดของโลกมากขึ้น ข. ด้วยความเร็วคงที่เพราะแรงจากโลกคงที่ ค. เร็วขึ้นด้วยความเร่งคงที่โดยมีแรงกระทำาคงที่ ง. ช้าลงเพราะถูกแรงต้านการเคลื่อนที่ ๗. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว และเวลา ดังรูป v 26 24 10
  • 20. 0 2 6 8 ความเร็วเฉลี่ยใน 2 วินาทีแรกมีค่าเท่าใด ? ก. 12 เมตร / วินาที ข. 25 เมตร / วินาที ค. 18 เมตร / วินาที ง. 20 เมตร / วินาที ๘. จากกราฟในข้อที่ ๗ ความเร็วเฉลี่ยใน ๘ วินาทีแรกมีค่า เท่าใด ? ก. 12 เมตร / วินาที ข. 20 เมตร / วินาที ค. 18 เมตร / วินาที ง. 25 เมตร / วินาที ๙. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเฉลี่ย 54 กิโลเมตร / ชั่วโมง เป็นเวลา 1 นาที 30 วินาที จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใดในหน่วยเมตร / วินาที ? ก. 1350 เมตร ข. 750 เมตร ค. 3000 เมตร ง. 500 เมตร ๑๐. จากโจทย์ข้อ 9 ถ้ารถเคลื่อนที่ได้ 1 กิโลเมตร จะใช้เวลา เท่าใด ? ก. 3 วินาที ข. 33.3 วินาที ค. 50 วินาที ง. 66.67 วินาที
  • 21. เฉลยแบบทดสอบก่อน เรียน – หลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ๑. ง ๖. ค ๒. ก ๗. ก ๓. ข ๘. ข ๔. ค ๙. ก ๕. ง ๑๐. ง
  • 22. ใบความรู้ที่ ๓ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง แผนการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง การเคลื่อนที่แนวตรง อัตราเร็วของวัตถุ อัตราเร็ว หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ หน่วย คือ เมตร / วินาที ( m/s ) อัตราเร็ว = ระยะทางหารด้วยเวลา หรือ v = t s เมื่อ v = อัตราเร็ว หน่วย เมตร/วินาที (m/s) s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ (m) ตามแนว เคลื่อนที่จริง t = เวลาในการเคลื่อนที่ (s) อัตราเร็วเฉลี่ย หมายถึง อัตราเร็วที่จุดกึ่งกลางของช่วงเวลานั้น สามารถคำานวณจากอัตราส่วนของระยะทางกับเวลา ความเร็ว คือ การกระจัดทั้งหมดในหนึ่งหน่วยเวลาเป็นปริมาณ เวกเตอร์ มีหน่วย เมตรต่อวินาที ( m/s ) หรือ เป็นอัตราการ เปลี่ยนแปลงการกระจัด เป็นปริมาณเวกเตอร์ ความเร็วมี 2 แบบ คือ 1) ความเร็วเฉลี่ย ( VAV ) เป็นความเร็วเฉลี่ย ระหว่างช่วงเวลาหนึ่ง หรือการกระจัดที่วัดได้ในช่วงเวลาทั้งหมด
  • 23. เมื่อ v  = ความเร็วเฉลี่ย หน่วย เมตร / วินาที (m/s) s = การกระจัด (m) คือ ระยะทางที่สั้นที่สุด ในการย้ายตำาแหน่ง หนึ่งไปอีก ตำาแหน่งหนึ่ง 2) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ( V ) เป็นความเร็วของวัตถุขณะ เวลาหนึ่ง หาจากการกระจัดที่ได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ นั้น คือ v = t s โดย t = เข้าใกล้เป็นศูนย์ การกระจัด เป็นปริมาณที่บอกให้ทราบถึงการเปลี่ยนตำาแหน่ง โดยบอกระยะทาง และทิศทาง (เป็นเวกเตอร์ ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง) เช่น อเนกเดิน ไปมุมซ้ายทิศตะวันตกเป็นระยะทาง ๖๐ เมตร S = vt
  • 24. ความเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยน ความเร็ว เมื่อ a  = ความเร่ง หน่วย เมตรต่อ วินาที2 ( m/s2 ) กราฟแสดงการกระจัดกับเวลา ความเร็วกับเวลา ความเร่งกับเวลา
  • 25. การเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงที่ มีสูตรดังนี้ เมื่อ u = ความเร็วเริ่มต้น (m/s) v = ความเร็วตอนปลาย (m/s ) s = ระยะทาง (m) a = ความเร่ง ( m/s2 ) การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก มีสูตรดังนี้ 1.v = u – gt 3. v2 = u 2 +2gh เมื่อ u = ความเร็วต้น เป็น + เสมอ v = ความเร็วปลาย + ถ้าทิศเดียวกับ u และ เป็น - ถ้าทิศตรงขามกับ u s หรือ h = ระยะทางเป็น + ตอนวิ่งขึ้น และเป็น - ตอนวิ่งลง g = ความเร่งจากแรงโน้มถ่วง การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวตรง เครื่องมือเคาะสัญญาณเวลาใช้สำาหรับหาค่าอัตราเร็วเฉลี่ย โดยใช้ กับไฟฟ้า 220 V ความถี่ 50 Hz แต่แปลงค่าแรงเคลื่อนเพื่อใช้กับ เครื่องเคาะสัญญาณเหลือเพียง 6 V ความถี่ 50 Hz ดังนั้นจุดที่ ปรากฏบนแกนกระดาษจะมีทั้งหมด 50 จุด ใน 1 วินาที ที่เราสามารถ อ่านค่าได้แน่นอน คือระหว่าง 1 ช่วงจุดจะใช้เวลา 1/50 วินาที และ ระยะทางที่ปรากฏบนกระดาษจะมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากขึ้นหรือ น้อยลงหรือคงที่โดยจะดูจากระยะทางห่างระหว่างจุด ความเร็วเฉลี่ยจากกระดาษ คือ ค่าความเร็วที่จุดกึ่งกลางของช่วง เวลานั้น A B C ความเร็วเฉลี่ย AC = ความเร็วที่จุด B o o o o o = 50 4 5 = 62.5 m/s 5 cm
  • 26. ปริมาณทางฟิสิกส์ แบ่งออกเป็น 2 ปริมาณ ดังนี้ 1 ) ปริมาณสเกลาร์ มีเฉพาะขนาด เช่น มวล เวลา ระยะทาง งาน ปริมาตร อัตราเร็ว ความดัน อุณหภูมิ 2 ) ปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น นำ้าหนัก ความเร็ว การกระจัด แรง แรงดัน กระแสไฟฟ้า โมเมนตัม สนาม ไฟฟ้า เวกเตอร์เขียนแทนด้วยเส้นตรงประกอบหัวลูกศรโดยความยาวของ เส้นแทนขนาดของเวกเตอร์และหัวลูกศรแทนทิศทางของเวกเตอร์ Y N 5 cm A W E B X S ตก ออก เวกเตอร์ 5 cm ไปทางทิศตะวันออก ขนาด 3 หน่วย ทำา มุม 37 องศากับทิศตะวันออกหรือแกน X ทิศทางเดียวกัน (บวก) a b a b a + b ทิศทางต่างกัน (ลบ ) a b a b a - b การรวมเวกเตอร์ คือ การนำาเวกเตอร์ย่อยมารวมกัน เขียนแทนด้วย สมการเวกเตอร์ R = a + b R = a + b + c = 0 การคำานวณโดยใช้สูตรต่าง ๆ ใช้กฏของ cos หา R จาก R2 = P2 + Q2 - 2 PQcos O
  • 27. เมื่อ O = มุมที่หัวเวกเตอร์จดกับหางเวกเตอร์และอยู่ตรงข้าม R ทฤษฎีสี่เหลี่ยมด้านขนาน หา R จาก R2 = P2 + Q2 + 2 PQcos O 0 ทฤษฎีบทปีทาโกลัส ใช้คำานวณเมื่อเวกเตอร์ 2 เวกเตอร์อยู่ในแนว ตั้งฉากกัน จาก R2 = P2 + Q2 ใช้วิธีแตกเวกเตอร์และรวมเวกเตอร์ที่หลัง เมื่อมีเวกเตอร์มากกว่า 2 เวกเตอร์ การแตกเวกเตอร์ = การแยกเวกเตอร์ 1 เวกเตอร์ออกเป็น 2 เวก เตอร์ ( R X , R y ) ที่ตั้งฉากกัน R y R y = Rsin 0 R R R x R X = Rcos 0 คำานวณจาก R 2 = R2 X + R 2 Y การกระจัดลัพธ์ เป็นผลบวกของการกระจัดทั้งหมด มีขนาดจากจุดเริ่มต้นถึงจุด สุดท้ายวัดในแนวเส้นตรงและมีทิศทางจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย คำานวณได้จาก d2 = x2 + y2 หรือ d = x2 + y2
  • 28. ใบงานที่ ๕ เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา แผนการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง กิจกรรมที่ ๕ เรื่อง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเพื่อวิเคราะห์ ลักษณะของการเคลื่อนที่ของแถบกระดาษ ภายใต้สภาพอัตราเร่งได้ ๒. บอกความแตกต่างของลักษณะของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว คงที่และอัตราเร่งได้ ทักษะที่ต้องการให้เกิด การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป อุปกรณ์ ๑. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ๑ เครื่อง / กลุ่ม ๒. แถบกระดาษ ๖ แถบ / กลุ่ม ๓. กระดาษคาร์บอน ๑ อัน / กลุ่ม ๔. รางไม้ ๑ เรือน / กลุ่ม ๕. ไม้เมตร ๑ อัน / กลุ่ม ๖. รถทดลอง ๑ คัน / กลุ่ม ๗. ถ่านไปฉาย ๑ ก้อน / กลุ่ม ๘. กระดาษกาว ๑ ม้วน / กลุ่ม เวลาที่ใช้ ๙๐ นาที แบ่งเป็น ๑. อภิปรายก่อนทำากิจกรรม ๓๐ นาที ๒. ทำากิจกรรม ๓๐ นาที ๓. อภิปรายหลังทำากิจกรรม ๓๐ นาที อภิปรายก่อนทำากิจกรรม ๑. ครูอธิบายหลักการทำางานของเครื่องเคาะสัญญาณเวลา พร้อม ทั้งอธิบายและสาธิตการทดลองให้ นักเรียนดู ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง โดยมีครูคอยให้คำา แนะนำาและอธิบายเพิ่มเติมเมื่อมี
  • 29. ปัญหา ๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการทำากิจกรรม พร้อมทั้งคำานวณหา ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ จากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา สรุปผลการทำากิจกรรม ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. คำาถามท้ายกิจกรรม ๑. จุดบนแถบกระดาษสามารถบอกสิ่งใดได้ ? ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ๒. ลักษณะของจุดบนแถบกระดาษมีลักษณะอย่างไร ? ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ ..................................................................................
  • 30. ๓. การใช้จำานวนถ่านไฟฉายต่างกันจะมีสิ่งใดที่แตกต่างกัน ? ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ๔. การเอียงรางไม้ด้วยมุมที่ต่างกันจะทำาให้สิ่งใดแตกต่างกันและมี ผลต่อการเคลื่อนที่ของรถทดลอง อย่างไร ? ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( ฟิสิกส์ ) รหัสวิชา ว ๔๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ ฮาร์มอนิกอย่างง่าย เวลา ๔ ชั่วโมง ************************************************************** ************************** ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว ๔.๒.๒ สำารวจ ตรวจสอบและอธิบายการเคลื่อนที่ แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แบบวงกลม แบบโพรเจกไทล์ รวมทั้งการนำาไป ใช้ประโยชน์ ๒. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
  • 31. สำารวจ ตรวจสอบและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย และการนำาไปใช้ประโยชน์ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมายของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายได้ ๒. อธิบายและอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายได้ ๓. ทำาการทดลองการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถ ทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง เพื่อหาความสัมพันธ์ของการกระจัดและ ความเร็วของรถทดลองในช่วงเวลาครึ่งคาบ ๔. คำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง ง่ายเมื่อกำาหนดสถานการณ์ให้ ๔. สาระสำาคัญ การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic เป็นการเคลื่อนที่ของ วัตถุกลับไปมา ผ่านตำาแหน่งสมดุล โดยการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง ไม่คงที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น การสั่นของวัตถุที่ผูก กับสปริง หรือการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาที่แกว่งเป็นมุมน้อยๆ เป็นต้น ๕. กระบวนการเรียนรู้ ๕.๑ กิจกรรมนำา เข้าสู่การเรียนรู้ เวลาเรียน ๓๐ นาที ๑. ครูนำาเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น กีตาร์ ไวโอลิน ซอ เป็นต้น โดยนำามาดีดสายและให้นักเรียนสังเกตการสั่นกลับไปกลับ มาของสายเครื่องดนตรีเหล่านั้น ๒. ใช้รถทดลองติดปริง สาธิตให้ผู้เรียนสังเกตการเคลื่อนที่กลับไป กลับมาของรถทดลอง ๒. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ ๓. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน จำานวน ๑๐ ข้อ ๕.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ๑. ขั้นสร้างความสนใจ จากการสาธิตของครู ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ประเด็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาหรืออภิปรายเกี่ยวกับการสั่นของสาย เครื่องดนตรี และร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
  • 32. - การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่ใน ลักษณะใด - ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ความเร็ว และความเร่ง ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๒. ขั้นสำารวจและค้นหา ๒.๑ ครูให้นักเรียนอภิปรายลักษณะการเคลื่อนที่ของสิ่งที่สังเกต ได้ จากกิจกรรมนำาเข้าสู่บทเรียน ซึ่งจะได้ข้อสรุปของ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๒.๒ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน โดยให้ นักเรียนเก่ง – อ่อน ชาย – หญิง คละกัน ให้ศึกษาใบงานที่ ๖ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถทดลอง ซึ่งติดอยู่กับสปริง ๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานเพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของการกระจัดและความเร็วของรถทดลองซึ่ง เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายในช่วงเวลาครึ่งคาบ ๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป ๓.๑ แต่ละกลุ่มนำาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานหน้า ชั้นเรียน ๓.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการ เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๓.๓ ครูสาธิตการหมุนของวงล้อที่ติดดินนำ้ามันเพื่อผู้เรียนจะได้ เห็นสภาพจริงที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ใน แนวตรงวงกลมกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก อย่างง่าย ๓.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ ๔ เรื่อง การเคลื่อนที่ แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แล้วแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยว กับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ การคำานวณหา ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง ง่าย ๔. ขั้นขยายความรู้ ๔.๑ นักเรียนสืบค้นความรู้เพิ่มเติม เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย จากอินเทอร์เน็ต ที่เว็บไซต์ www.school.obec.go.th/sw_bangon แล้วให้แต่ละ กลุ่มนำาเสนอผลการสืบค้นข้อมูลหน้าชั้นเรียน ๔.๒ ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ให้นักเรียนทบทวนและฝึกการคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
  • 33. ๕. ขั้นประเมิน ๕.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมาและ ในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังเข้าใจไม่ชัดเจนหรือยัง มีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม และทดสอบความ เข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม ๕.๒ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก หัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้ ไปใช้ประโยชน์ ๕.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี ปัญหา / อุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไร ครูชมเชย กลุ่มที่ทำางานได้ดี ให้กำาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควร ปรับปรุง ๕.๓ กิจกรรมรวบยอด เวลาเรียน ๓๐ นาที ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง การคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย รวมถึงความแตกต่างระหว่างการเคลื่อนที่ แบบเป็นวงกลมและการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๒. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน จำานวน ๑๐ ข้อ ๖. กระบวนการวัด / ประเมินผล ๖.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๒. แบบบันทึกผลจากการสังเกตการปฏิบัติงานกลุ่ม ( แบบ สังเกต ๑ ) ๓. แบบบันทึกผลจากการสังเกตด้านทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์ ( แบบสังเกต ๒ ) ๔. แบบบันทึกผลจากการประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ( แบบประเมิน ๑ ) ๕. ใบงาน / สมุดจดของนักเรียน ๖.๒ เกณฑ์ที่ใช้ในการวัด / ประเมินผล ๑. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีผลการประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม อยู่ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป ๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ อยู่ ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป ๓. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานได้ถูกต้อง ๔. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียนได้ถูกต้อง ๘ ใน ๑๐ ข้อ
  • 34. ๗. กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบ ฮาร์มอนิกอย่างง่าย ให้เพื่อน ๆ ในห้อง ร่วมกันเฉลยหน้าชั้นเรียนและครูอธิบายเพิ่มเติมในข้อที่นักเรียนยังสงสัย พร้อมทั้งแนะนำานักเรียนให้ไปสืบค้นข้อมูลจากสื่อทางอินเทอร์เน็ตทั้งจาก สื่อที่ครูสร้างขึ้นและจากเว็บไซต์อื่นๆ เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาให้มากยิ่ง ขึ้น ๘. สื่อ / นวัตกรรม / เทคโนโลยีที่ใช้ ๘.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ๘.๒ สื่อ สิ่งพิมพ์ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตที่ เกี่ยวข้อง ( บทเรียนทางอินเทอร์เน็ตที่ครูสร้างขึ้นที่ www.school.obec.go.th/sw_bangon ) ๘.๓ อุปกรณ์การทดลอง ๘.๔ เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ ๘.๕ หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ ๘.๖ ใบความรู้ที่ ๔ ๘.๗ ใบงานที่ ๖ ๘.๘ แบบสังเกต ๑ – ๒ ๘.๙ แบบประเมิน ๑ ๘.๑๐ แบบรายงานการทดลอง ๙. แหล่งเรียนรู้ ๙.๑ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ๑. ห้องสมุดโรงเรียน ๒. ห้องสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ๓. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๙.๒ แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน - ๑๐. แบบบันทึกหลังสอน ( หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ) ๑. ความสำาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... .......................................................
  • 35. แนวทางการพัฒนา ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ....................................................................... ๒. ปัญหา / อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ ............................................................................. ................................................................... ............................................................................. ................................................................... ............................................................................. ................................................................... แนวทางแก้ไข .............................................................................. .................................................................. .............................................................................. .................................................................. ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... เหตุผล ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ..................................................................................... ........................................................................... ..................................................................................... ........................................................................... ๑๑. ภาคผนวก ๑๑.๑ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๑๑.๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๑๑.๓ ใบความรู้ที่ ๔ ๑๑.๔ ใบงานที่ ๖
  • 36. ๑๑.๕ แบบสังเกต ๑ ๑๑.๖ แบบสังเกต ๒ ๑๑.๗ แบบประเมิน ๑ ๑๑.๘ แบบรายงานการทดลอง ลงชื่อ.................................. ............... ( นางสาวบังออน จุลพล ) ครูผู้สอน ผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ ตรวจสอบความถูกต้อง ขอ อนุมัติการใช้แผน ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง อนุมัติ ไม่อนุมัติ ลงชื่อ...................................ฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.....................................ผู้อำานวยการโรงเรียน ( นางสาวพัชรินทร์ อิ่นคำา) ( นางสาวศุภวัลย์ คำา วัง ) แบบทดสอบ ก่อนเรียน - หลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอ ย่างง่าย แผนการเรียนรู้ที่ ๕ เวลา ๓๐ นาที คำาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำาตอบ เดียว ๑. ข้อใดคือความหมายที่ ถูกต้องที่สุด ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย ? ก. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ข. การเคลื่อนที่ในแนวราบเท่านั้น ค. การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมา
  • 37. ง. การเคลื่อนที่แบบซำ้ารอยเดิมรอบตำาแหน่งสมดุล ๒. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ข้อใดไม่ถูกต้อง ? ก. ความเร่งคงที่ ข. ความเร็วไม่คงที่ ค. การกระจัดเปลี่ยนแปลงตามเวลา ง. ความเร็ว และความเร่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ๓. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุ เฟสของการกระ จัดและความเร่งต่างกันอยู่เท่าใด ? ก. ๐ เรเดียน ข. 2 π เรเดียน ค. 4 3π เรเดียน ง. π เรเดียน ๔. ชายคนหนึ่งแกว่งกระเป๋าเอกสารไปมาด้วยความถี่อันหนึ่ง ถ้า ใส่หนังสือในกระเป๋า ความถี่ในการ แกว่งจะเป็นเท่าใด ? ก. เพิ่มขึ้น ข. เท่าเดิม ค. เพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนกับหนังสือ ง. น้อยลงเป็นสัดส่วนกับหนังสือ ๕. แขวนมวล ๒ กิโลกรัมกับสปริง ทำาให้สปริงยืดออก ๐.๒๕ เมตร ถ้าออกแรงดึงสปริงให้ยืดออก เพิ่มขึ้นอีก ๐.๑๐ เมตร แล้วปล่อยสปริงจะใช้เวลากี่วินาทีจึง จะกลับไปสู่ตำาแหน่งสมดุล ? ก. ๐.๕ วินาที ข. ๐.๒๕ วินาที ค. ๑ วินาที ง. ๒ วินาที ๖. มวล ๑ กิโลกรัมติดกับสปริงอันหนึ่ง สั่นครบรอบใน ๒ วินาที ถ้าเปลี่ยนมวลเป็น ๔ กิโลกรัม สปริงจะสั่นครบรอบในกี่วินาที ? ก. ๑ วินาที ข. ๒ วินาที
  • 38. ค. ๔ วินาที ง. ๖ วินาที ๗. นาฬิกาแบบลูกตุ้มมีสายแขวนลูกตุ้มยาว ๕๐ เซนติเมตร เมื่อ แทนลูกตุ้มและสายแขวนลูกตุ้มด้วย ลวดสปริงที่มีมวลแขวนอยู่ จะต้องใช้มวลค่าเท่าใด ถ้าค่าคงตัว ของสปริงมีค่าเป็น ๑๓๔ นิวตัน / เมตร ก. ๑.๕ กิโลกรัม ข. ๓.๒ กิโลกรัม ค. ๖.๔ กิโลกรัม ง. ๘.๕ กิโลกรัม ๘. เชือกยาว ๔๐ เซนติเมตร ผูกวัตถุมวล ๐.๑ กิโลกรัมแล้วดึง ด้วยแรง F จนเชือกเบนจากแนวดิ่ง แล้วปล่อย วัตถุจะสั่นไปกลับแบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก โดยแต่ละ รอบได้ระยะทาง ๑๐ เซนติเมตร คาบในการแกว่งของวัตถุนี้เป็นเท่าใด ? ก. ๐.๑π วินาที ข. ๐.๔π วินาที ค. ๒π วินาที ง. ๔π วินาที ๙. จากโจทย์ในข้อ ๘ ถ้าออกแรงดึงวัตถุนี้เพิ่มขึ้นจนเชือกเบน จากแนวดิ่ง ๒θ แล้วปล่อย วัตถุจะ แกว่งด้วยคาบกี่วินาที ? ก. ๒ วินาที ข. ๓ วินาที ค. ๔ วินาที ง. คาบเท่าเดิม เพราะการเพิ่มมุมไม่มีผลต่อคาบ ๑๐. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงสุด ๘π m / s2 และ อัตราเร็วสูงสุด ๑.๖ m / s แอมปลิจูด ของการเคลื่อนที่เป็นเท่าใด ? ก. ๑.๑๐๒ เมตร ข. ๑.๕๒๑ เมตร ค. ๒ เมตร ง. ๓ เมตร
  • 39. เฉลยแบบทดสอบก่อน เรียน – หลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ๑. ง ๖. ค ๒. ก ๗. ค ๓. ง ๘. ข ๔. ข ๙. ง ๕. ข ๑๐. ก
  • 40. ใบความรู้ที่ ๔ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แผนการเรียนรู้ที่ ๕ เวลา ๑ ชั่วโมง การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมา ผ่านตำาแหน่งสมดุล เช่น การ สั่น ของวัตถุที่ผูกกับสปริง หรือการแกว่งของลูกตุ้ม นาฬิกา ที่แกว่ง เป็นมุ มน้อยๆ เป็นต้น สปริง
  • 42. จากภาพจะเห็นว่าเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม เงาของวัตถุบน ฉากจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงกลับไป กลับมาเรียกการเคลื่อนที่แบบ ซำ้ารอยเดิมนี้ว่าการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก (Simple Harmonic Motion) หรือ การเคลื่อนที่แบบ S.H.M ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลาของการเคลื่อนที่ แบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก ให้มวล M เคลื่อนที่ในแนวระนาบ xy เป็นวงกลมรัศมี R ด้วยอัตราเชิงเส้นมุม ( ω ) รอบจุดศูนย์กลาง เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ ได้คือ ซึ่ง = wt พิจารณามวล m ที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมเงาที่ปรากฎใน แนวแกน x และแกน y จะเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก หรือ แบบ S.H.M จะได้การกระจัดในแกน Y ดังนี้ เมื่อนำา Y = RsinWT ไปเขียนกราฟการกระจัด-เวลา ของซิมเปิ้ลฮาโมนิก จะได้กราฟดังนี้
  • 43. จากสมการ Y = RsinWT เมื่อ sinWT = sin90 = 1 ค่าของการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกจะมี ค่ามากที่สุด นั่นคือ Ymax = R หรือ Ymax = A ( amplitude ) ใบงานที่ ๖
  • 44. เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ของรถทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง แผนการเรียนรู้ที่ ๕ เวลา ๒ ชั่วโมง กิจกรรมที่ ๖ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ของรถทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อศึกษาการกระจัดและความเร็วของรถทดลองซึ่งเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่ายในช่วงเวลาครึ่งคาบ ทักษะที่ต้องการให้เกิด ๑. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ๒. ทักษะการคำานวณ อุปกรณ์ ๑. ลวดสปริง ๒. รางไม้ ๓. รถทดลอง ๔. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ๕. หม้อแปลงไฟฟ้า ๖. กระดาษกราฟ เวลาที่ใช้ ๙๐ นาที แบ่งเป็น ๑. อภิปรายก่อนทำากิจกรรม ๓๐ นาที ๒. ทำากิจกรรม ๓๐ นาที ๓. อภิปรายหลังทำากิจกรรม ๓๐ นาที วิธีทดลอง กดปลายหนึ่งของลวดสปริงกับขอบรางไม้ อีกปลายหนึ่งของลวด สปริงยึดติดกับรถทดลอง ติดแถบกระดาษกับรถทดลองแล้วสอดผ่าน เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ดึงรถทดลองออกห่างจากตำาแหน่งสมดุล ๖ เซนติเมตร กดสวิตซ์ที่หม้อแปลงให้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาทำางาน จาก นั้นปล่อยมือให้รถทดลองเคลื่อนที่ เมื่อรถทดลองเริ่มเคลื่อนที่สวนกลับทาง เดิมให้ปิดสวิตซ์ นำาแถบกระดาษมาหาค่าการกระจัดของรถทดลอง โดยวัดจากตำาแหน่ง สมดุลและหาความเร็วที่เวลาต่าง ๆ ตลอดการเคลื่อนที่ กำาหนดให้ปริมาณ ที่มีทิศไปทางขาวมีเครื่องหมายบวก และปริมาณที่มีทิศไปทางซ้ายมี เครื่องหมายลบ เขียนกราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา โดยให้เวลาเป็น แกนนอน
  • 45. สรุปผลการทำากิจกรรม ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. คำาถามท้ายกิจกรรม ๑. พิจารณากราฟการกระจัดกับเวลา เปรียบเทียบกับกราฟ ความเร็วกับเวลา ณ เวลาที่การกระจัดเป็นศูนย์ ความเร็วของรถทดลองเป็น อย่างไร ? ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ณ เวลาที่การกระจัดมากที่สุด ความเร็วของรถทดลองเป็นอย่างไร ? ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ........................................................................................ .................................................................................. ๒. กราฟการกระจัดกับเวลา และกราฟความเร็วกับเวลาเป็นกราฟที่ ได้จากการเคลื่อนที่ของรถทดลอง