SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Physics OnlineII        http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน

            ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ น
  ตอนที่ 1 สมดลตอการเคลอนท่ี
              ุ       ่ื
1. จากรูป จงหาแรงลพธ
                  ั                                                            ( 10 N )




วธทา
 ิี ํ




   สมดุลตอการเคลื่อนที่ คือ ภาวะที่วัตถุอยูนิ่งๆ หรอเคลอนทดวยความเรวคงท่ี ภาวะนี้จะ
                                                      ื ่ื ่ี               ็
        มีความเรง (a) เปนศูนยจะเกิดเมื่อแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย
2. ระบบในขอใดตอไปนี้อยูในภาวะสมดุล
                                                            10 N                 18 N
   ก.                  ข.             8 N ค.                      ง. 8 N
      6N         8N               6N        18 N               8 N 10 N
วธทา
 ิี ํ


                                          90
Physics OnlineII          http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
3. จงตรวจดูวาระบบอยูในภาวะ
                   
   สมดุลหรือไม



                                                                                    (สมดุล)
วธทา
 ิี ํ




   จากตัวอยางที่ผานมา โปรดสังเกตุวา สมดุลตอการเลื่อนที่จะเกิดเมื่อ
               ∑Fx = 0 นนคอ แรงขึน = แรงลง
                            ่ั ื          ้
       และ ∑Fx = 0 นนคอ แรงซาย = แรงขวา
                            ่ั ื        
4. จากรูป หากระบบอยูในภาวะสมดุล จงหาขนาด
                                                             T1
   ของแรงดงเชอก T1 และ T2
          ึ ื                        (100 , 50 3 )                30o 5 kg
วธทา
 ิี ํ                                                                         T2
                                                                         mg




                                             91
Physics OnlineII         http://www.pec9.com        บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
5. จากรูปมวล 2 กิโลกรัม ผกเชอกแขวนเพดาน
                              ู ื
   ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก(T)
                                                              45o
                                                          T
   และ น้ําหนักกระทําดังรูป จงหาวาขนาดของแรง
                                                                           P
   ดงเชอก(T) และแรงผลัก (P) (20 N , 10 2 N)
      ึ ื
วธทา
 ิี ํ
                                                                    mg




6. มวล 20 3 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนจากเพดาน
   นาย ก. ออกแรงผลกมวลไปในแนวระดบจนเชอก
                     ั              ั       ื             30o T
   ทํามุม 30o จงหาวาออกแรงผลกเทาไร และ
                            ั                                             P
   เชือกมีความตึงเทาใด        (200 N , 400 N)
วธทา
 ิี ํ




7(En 27) ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม หอยอยูดวยเชือกสองเสน ดังในรูปจงหาความตึงใน
                                            
   เสนเชือกทั้งสอง
   ( sin15o = 0.25 cos15o=0.96 g =10 m/s2)
        ก. 275 นิวตัน              ข. 540 นิวตัน
        ค. 550 นิวตัน              ง. 1100 นิวตัน                               (ขอ ง)
วธทา
 ิี ํ




                                             92
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
8. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม โหนเชอกเบาทจด O โดยปลายของเชือกทั้งสองขางไปผูก
                                    ื       ่ี ุ
   ไวแนนกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเสนเชือก AO และ BO เปนเทาไร
       1. 400 และ 400 3 นิวตัน
       2. 400 3 และ 400 นิวตัน
       3. 300 และ 300 3 นิวตัน
       4. 300 3 และ 300 นิวตัน                                           (ขอ 2)
วธทา
 ิี ํ




9. จากรูป นําเชือกผูกกับกอนน้ําหนัก 40 N จง
                                                         60o                30o
   หาขนาดของแรงตึงในเสนเชือก T1 และ T2
                                                         T1              T2
วธทา
 ิี ํ                        ( 20 3 N , 20 N)
                                                               40N




10. ตามรูป เชือกที่โยงกําแพงแนวตั้งกับคานเบามาก จะตอง
   ทนแรงดึงไดไมต่ํากวาเทาใด น้าหนัก 46 นิวตัน จึงจะทํา
                                  ํ
   ใหระบบสมดุล                                  (23 3 )
วธทา
 ิี ํ


                                           93
Physics OnlineII          http://www.pec9.com               บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
11. วัตถุ M และ m สมดุลกันดังรูปอัตราสวน M/m คือ
   ( กําหนด sin37o= 5 )
                    3
                                                  (ขอ ข)
        ก. 4/3      ข. 5/3         ค. 7/5        ง. 8/5
วธทา
 ิี ํ




12. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นเอียงลื่น ซึ่งทํามุม 30o กบแนวระดบ จงหาแรงที่ผลัก
                                                                   ั         ั
      วัตถุขึ้นตามแนวเอียงที่นอยที่สุด เพื่อทําใหวัตถุอยูในสภาพสมดุลได
         1. 12.5           2. 25.0                3. 37. 5           4. 50.0    (ขอ 2.)
วธทา
 ิี ํ




13(En 34) ลิ่มอยูบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน m1 และ m2
   ผกไวดงรป m1 , m2 และ มุม θ ตองสัมพันธกันอยางไร
      ู ั ู
   จึงจะทําใหลิ่มไมเลื่อน (ไมคิดแรงเสียดทาน)
       1. m1 = m2 cosθ             2. m2 = m1 cosθ
       3. m1 = m2 sinθ             4. m2 = m1 sinθ (ขอ 4.)
วธทา
 ิี ํ




                                            94
Physics OnlineII          http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
  ตอนที่ 2 สมดุลตอการหมน
                      ุ
   สมดุลตอการหมุน คือ ภาวะที่วัตถุไมหมุน
         หรอหมนดวยความเรวคงท่ี
            ื ุ          ็
   โมเมนต คือ แรง x ระยะหางจากจุดหมุน
        วัดมาตกตั้งฉากกับแรงนั้น
   สมดุลตอการหมุนจะเกิดเมื่อ
            Σโมเมนตทวนเข็มนาฬิกา =                Σโมเมนตตามเข็มนาฬิกา
                     (10 N) x (3 m) =              (10 N) x (3 m)
                           30 N⋅m =                30 N⋅m
14. ตามรปเปนคานเบาอนหนง ถามวา m
         ู             ั ่ึ
   ควรมีคากี่กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูใน
   ภาวะสมดุล                          (2)
วธทา
 ิี ํ




15. ตามรปเปนคานเบาอนหนง ถามวา m ควรมีคากี่
         ู           ั ่ึ
   กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูในภาวะสมดุล (0.5 )                           m

วธทา
 ิี ํ




16. คานอนหนงยาว 6 เมตร หนัก 8 นิวตัน มีจดหมุนอยู
         ั ่ึ                                ุ
   หางจากปลายขางหนึ่ง 1 เมตร ตามรูป ตองใชแรง F
                                           
   เทาใด จึงจะทําใหคานนี้อยูในสภาพสมดุล (16 นิวตัน)
วธทา
 ิี ํ

                                              95
Physics OnlineII          http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
17. จากรูปเปนไมคานมีจุดหมุนอยูที่ระยะหางจากปลายขวา
   2 เมตร มีชายคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม ยืนอยูบนคานนั้น
   จงหาวาคานนี้ควรมีมวลกี่กิโลกรัมจึงจะอยูในภาวะสมดุล
                                                                       8 ม.          2 ม.
วธทา
 ิี ํ                                        ( 40 กิโลกรัม )




18. นาย A และนาย B ยืนอยูปลายกระดานหกคนละดาน มวลของกระดาน 5 กิโลกรัม
   จดหมนอยท่ี C ถานาย A มีมวล 60 กิโลกรัม
      ุ ุ ู
   นาย B จะมีมวลกี่กิโลกรัม
       1. 50                2. 49
       3. 40                4. 39 (ขอ 4)
วธทา
 ิี ํ




19(มช 44) แผนไมสม่ําเสมอแผนหนึ่งยาว 4.0 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม วางพาดอยบนหมอน
                                                                          ู
   หนนทจด C และปลาย A ตั้งอยูบนคมมีด ชายคนหนึ่งหนัก 600 นิวตัน เดนบนแผนไม
      ุ ่ี ุ                                                           ิ     
   จาก A ไปยัง B ดังรูป จงหาวาเขาจะเดินไปไดไกลจาก A เปน ระยะทางมากที่สุดกี่เมตร
                                                          
   กระดานจึงจะยังคงสภาพสมดุลครั้งสุดทายอยูได
      1. 2.0                  2. 2.5
      3. 3.0                  4. 3.5 (ขอ 3.)
วธทา
 ิี ํ




                                             96
Physics OnlineII          http://www.pec9.com        บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
20(En 41/2) รถยกคันหนึ่งมีมวล 2400 กิโลกรัม
   มีศูนยกลางมวลของรถอยูที่ตําแหนงกึ่งกลาง
   ระหวางลอหลังกับลอหนาซึ่งหางกัน 2.0 เมตร
   ถารถพยายามยกวัตถุที่อยูหางจากตัวรถไปทาง
   ดานหนา 10 เมตร มวลมากที่สุดที่รถสามารถ
          
   ยกไดเปนกี่กิโลกรัม           (240 กิโลกรัม )
วธทา
 ิี ํ




21. จากรูปใหหา T และ W วาเปนแรง
                          
   ที่มีขนาดเทาใด      (7N,3N)
วธทา
 ิี ํ




22. ตามรูป นาย A และนาย B แบกกระดานสม่ํา            RA                                 RB
   เสมอยาว 10 เมตร มีมวล 20 กิโลกรัม ใน
   แนวระดบเดกคนหนงยนบนกระดานทจด C มี
           ั ็           ่ึ ื          ่ี ุ
   มวล 5 กิโลกรัม นาย A และ นาย B จะตอง
   ออกแรงคนละกนวตน่ี ิ ั
      1. 155 , 135 นิวตัน     2. 115 , 85 นิวตัน              W1
                                                                     W2
      3. 135 , 115 นิวตัน     4. 85 , 115 นิวตัน                                 ( ขอ 3)
วธทา
 ิี ํ


                                             97
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
23(En 43/1) ชายคนหนึ่งถือแผนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 2 เมตร
   น้าหนัก 100 นิวตัน ใหสมดุลตามแนวระดับ โดยมือขางหนึง
      ํ                                                   ่
   ยกแผนไมขึ้นที่ตําแหนง 40 เซนตเิ มตร จากปลายใกลตัวและ
   มืออีกขางหนึ่งกดแผนไมลงที่ปลายเดียวกันนั้นดังรูป จงหา
   แรงกด และแรงยกจากมือทั้งสองตามลําดับที่ทําใหแผนไมอยูนิ่ง      (150 และ 250 นิวตัน)
วธทา
 ิี ํ




24. กระดานสปรงสาหรบกระโดดนา หนัก 400 นิวตัน มีหลักยึดกับกระดานสปริงที่ A และ B
                 ิ ํ ั          ํ้
   ซึ่งหางกัน 1/4 ของความยาวของกระดานสปริง ดังรูป
   จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่ A และ B กระทํา
   ตอกระดานสปริง ขณะทนกกระโดดนาหนก 600 นิว-
                          ่ี ั       ํ้ ั
                                                                           C
   ตัน ที่ปลานคาน C ยืนนิ่งอยู    ( 2200 N , 3200 N ) A B




                                           98
Physics OnlineII         http://www.pec9.com              บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
  ตอนที่ 3 แรงคูควบ การไดเปรียบเชิงกล และ ประสทธภาพเชงกล
                                                ิ ิ    ิ
   แรงคควบ คือ แรง 2 แรง ซึ่งมีลักษณะ ดงตอไปน้ี
        ู                                    ั 
      1) มีคาเทากัน
      2) มีทิศตรงกันขาม
      3) อยูในแนวที่ขนานกัน
   โมเมนตของแรงคูควบ = ขนาดของแรงหนงแรงใด x ระยะหางของแรงทั้งสอง
                                          ่ึ
                         = (10 N) x (8 m)
                         = 80 N⋅m
25(มช 28) แรง 2 แรง ขนานกนแตมทศตรงกนขามขนาด 50 นิวตัน เทากัน แนวแรงทงสอง
                             ั  ี ิ      ั                         ้ั
   หางกน 10 เซนตเิ มตร โมเมนตของแรงคูนรอบจุดใด ๆ ทอยระหวางแนวแรงทงคจะเปนเทาใด
     ั                                ้ี         ่ี ู         ้ั ู  
        ก. 25 N.m        ข. 500 N.m            ค. 5 N.m          ง. หาไมได         (ขอ ค.)
วธทา
 ิี ํ

26. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซาย เกดโมเมนตของแรงคควบทพวงมาลย 200 นิวตัน – เมตร
                                  ิ             ู     ่ี      ั
   ถาพวงมาลัยมีเสนผาศูนยกลาง 0.4 เมตร จงหาแรงที่มือแตละขางดึงพวงมาลัย (500 N)
วธทา
 ิี ํ



   การไดเปรยบเชงกล ( MA) คือ จานวนเทาตวทไดเ ปรยบ
            ี ิ                   ํ       ั ่ี   ี
      เชน ในรูปภาพ เมือใชแรง (F) = 20 นิวตัน
                      ่
            จะยกน้ําหนัก ( W )ได 100 นิวตัน
      เรยกไดวา การไดเปรยบเชงกล ( MA) = 5 เทาตัว
        ี               ี ิ
      เราสามารถหาคาการไดเปรียบเชิงกลไดจาก
               M.A. = W    F     หรือ      M.A. = R r
        เมือ M.A คือ การไดเปรียบเชิงกล
           ่
              W คือ น้าหนักทียกได
                      ํ       ่               F คือ แรงทีใชยก
                                                         ่
               R คือ ระยะหางจากจดหมนถงแรงทใช r คือ ระยะหางจากจุดหมุนถึงแรงทีได
                                 ุ ุ ึ   ่ี                                  ่
                                           99
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
   ประสิทธิภาพเชิงกล ( Eff ) คือ เปอรเซ็นตที่บอกคุณภาพเครื่องมือ
        เชน สมมุติ ตามทฤษฏี น้ําหนักยกไดเปน 100 นิวตัน แตเมือยกจริง ยกได 70 นิวตัน
                                                                ่
              เรยกไดวา ประสิทธภาพเชิงกล ( Eff ) = 70%
                ี 
     เราสามารถหาคา ประสิทธิภาพเชิงกลไดจาก
              Eff = W/F x 100%
                         R/r
        เมือ W คือ น้ําหนักที่ยกไดจริง (ไมใชตามทฤษฏ)
           ่                                           ี
27. กรรไกรตดลวดมระยะระหวางลวดและจดหมนเปน
             ั      ี                 ุ ุ 
   2 เซนตเิ มตร ระยะระหวางจุดหมุนและมือเปน 10
   เซนตเิ มตร ออกแรง F 50 N บีบขากรรไกรดังรูป
      ก. แรงทกระทาตอลวดเปนเทาใด
               ่ี     ํ              (250 N )
      ข. การไดเปรียบเชิงกลเปนเทาใด    (5 เทา )
วธทา
 ิี ํ




28. กวานตัวหนึ่งมีแขนหมุนยาว 60 เซนตเิ มตร และ รัศมีกวาน 7.5 เซนตเิ มตร ถาไมมีแรง
   เสยดทาน การไดเ ปรยบเชงกลจะเปนเทาใด
      ี                ี ิ                                                   ( 8 เทา )
วธทา
 ิี ํ

29. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 50 นิวตัน ยกน้ําหนักไดจริง 150 นิวตัน การไดเปรียบ
   เชิงกลครั้งหลังนี้เปนเทาใด                                                 (3 เทา )
วธทา
 ิี ํ

30. จากขอที่ผานมา ประสิทธิภาพเชิงกลเปนเทาใด                                ( 37.5%)
วธทา
 ิี ํ

                                          100
Physics OnlineII         http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
31(มช41) โดยการใชลอและเพลาดังรูป สามารถยกวัตถุมวล 40 กิโลกรัม
   โดยใชแรง 50 นิวตัน กระทําที่ขอบของลอรัศมีของลอ และเพลามีคา
          
   เทากับ 96 และ 6 เซนตเิ มตร ตามลําดับ จงหาประสิทธิภาพเครื่องกลนี้
       1. 40%         2. 50%         3. 78%       4. 80% (ขอ 2)
วธทา
 ิี ํ

32. เมื่อออกแรง 10 นวตน กดทปลายดามคมอนหนง จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเทาไร ถาปาก
                    ิ ั      ่ี     ี ั ่ึ
   คมยาว 2 เซนติเมตร ดามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคมมประสทธภาพ 95%
      ี                                          ี ี   ิ ิ                 (47.5 N)
วธทา
 ิี ํ



33. คานงดอนหนงยาว 3 เมตร ชายคนหนึงตองการงัดกอนหินกอนหนึงหนัก 100 กิโลกรัม
          ั ั ่ึ                     ่                        ่
   โดยออกแรงกดลง 200 นิวตัน ถาคานงัดนี้มีประสิทธิภาพ 90 % เขาจะตองนาทรองงดมา
                                                                  ํ ่ี ั
   วางหางจากกอนหินเทาไร                                           (0.45 เมตร )
วธทา
 ิี ํ


                         !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""



  ตอนที่ 4 เสถียรภาพของสมดุล
   เสถียรภาพของสมดุลมีได 3 แบบ ไดแก
      1. สมดุลแบบเสถียร คือ สมดลทมรากฐานรองรบมนคง
                                  ุ ่ี ี         ั ่ั
               เมอถกแรงกระทาเลกนอย จะเปลี่ยนลักษณะการ
                  ่ื ู        ํ ็ 
               วางตว แตเ มอแรงกระทานนหมดไปจะสามารถ
                     ั     ่ื         ํ ้ั
               กลับคืนสูสภาพเดิมได
      2. สมดุลแบบไมเสถียร คือ สมดลทมรากฐานออนแอ เมือ
                                     ุ ่ี ี           ่
               ถูกกระทบกระเทือน จะเปลี่ยนลักษณะการวาง
               ตัว และจะไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได
                                          101
Physics OnlineII          http://www.pec9.com             บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
       3. สมดุลแบบสะเทิน คือ สมดุลซึ่งเมื่อถูกแรงมากระเทือน
                จะเปลี่ยนตําแหนงที่อยู แตลักษณะการวางตัวยัง
                คงเหมอนเดม
                       ื ิ
34. ลูกบิลเลียดในแตละรูปวางนิ่งอยูบนพื้นผิวตางๆ กัน จงหาวาลูกบิลเลียดสมดุลแบบใด


                                                                                           (ขอ 4)
       1. (ก) เสถียร (ข) ไมเสถียร (ค) สะเทิน     2. (ก) เสถียร (ข) สะเทิน (ค) ไมเสถียร
       3. (ก) ไมเสถียร (ข) เสถียร (ค) สะทิน      4. (ก) สะเทิน (ข) เสถียร (ค) ไมเสถียร
ตอบ
35. สมดุลตอไปนี้เปนสมดุลแบบใด
   1. เหรียญบาทตังตะแคง
                  ้          2. ลูกแกววางบนพื้น            3. แทงปรามิดวางตั้งบนพื้น
ตอบ
                      !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""



  ตอนที่ 5 โจทยประยุกตเกี่ยวกับสมดุล
36. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 20 ซม. สูง 40 ซม. หนัก
                                                                     20 ซม.
   100 นิวตัน ถูกแรงกระทํา 40 นิวตัน ณ.จุดสูง
   เทากับ h จงหาวาความสูง h มีคาเทาใด จึงจะ        40 N
   ทําใหกลองนี้เริ่มลมพอดี
       1. 20 ซม.           2. 25 ซม.                                                h
       3. 30 ซม.           4. 35 ซม.     (ขอ 2.)
วธทา
 ิี ํ




                                            102
Physics OnlineII         http://www.pec9.com              บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
37(En 44/1) ออกแรง F = 160 นิวตัน ผลักตูเย็น
   40 กิโลกรัม บนพื้นฝดที่ความสูง 90 เซน-
   ตเิ มตร จากพื้นโดยตูเย็นไมลม จงหาความ      120 cm
                                                                            90 cm
   กวางนอยที่สุดของฐานตูเย็น (x) ในหนวย
   เซนตเิ มตร กําหนดใหความสูงของตูเย็นคือ
   120 เซนติเมตรและจุดศูนยกลางมวลอยูสูง
   จากพื้น 40 เซนตเิ มตร ดังรูป (72 cm)
วธทา
 ิี ํ




38(En 43/2) กลองวัตถุรูปสี่เหลี่ยมมีมวลสม่ําเสมอ
   ฐานกวาง 0.2 เมตร สูง 0.5 เมตร มนาหนก ี ํ้ ั
   200 นิวตัน วางอยูบนพื้นที่ฝดมาก ถาออกแรง
    P กระทําตอวัตถุในแนวทํามุม 37o กับแนว
   ระดบ ดังรูป จะตองออกแรงเทาใดจงจะทาใหวตถลมพอดี
       ั                           ึ ํ ั ุ
      1. 25 N             2. 50 N              3. 75 N           4. 100 N           (ขอ 2)
วธทา
 ิี ํ




                                           103
Physics OnlineII         http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
39. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 40 ซม. สูง 80 ซม. หนัก
                                                                  40 ซม.
   400 นิวตัน ถูกแรงกระทํา 200 นิวตัน ณ.จุดสูง
   จากพื้น 50 เซนตเิ มตร จงหาวากลองใบนี้จะลม      200N
   หรอไม
      ื                                    (ลม)
วธทา
 ิี ํ                                                                           h




40. บันไดสม่ําเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลี้ยงตรงจุด
   ซึ่งอยูสูงจากพื้น 4 เมตร โดยบันไดยันกับพื้นขรุขระหางจากกําแพง
    3 เมตร จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไมใหไถลลงมา              ( 75 N )
วธทา
 ิี ํ




                                           104
Physics OnlineII         http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
41. บันไดสม่ําเสมอยาว 10 เมตร หนัก 400 นิวตัน ปลายบนพิง
   กําแพงเกลี้ยงตรงจุดซึ่งอยูสูงจากพื้น 8 เมตร โดยบันไดยันกับ
   พื้นขรุขระหางจากกําแพง 6 เมตร
       ก. จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไมใหไถลลงมา           (150 N )
       ข . ถามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูปลายบันไดดานลางหางขึ้นมา 1 ของความยาว
                                                                        4
          ของบันได จงหาแรงเสยดทานทพนราบ
                                   ี        ่ี ้ื                              (168.75 N)
วธทา
 ิี ํ




42. บันไดยาว 2.5 เมตร มนาหนก 40 นิวตัน ศูนยถวงของ
                          ี ํ้ ั                               A
   บันไดอยูหางจากปลายลาง 1.0 เมตร จงหาแรงเสียดทาน
   ระหวางพื้นลางกับบันไดและแรงที่บันไดกระทําตอกําแพง
   ทจด A เพื่อทําใหบันไดอยูนิ่งได
      ่ี ุ                                 (12 N , 12 N)
วธทา
 ิี ํ                                                                      53o    B




                                          105
Physics OnlineII         http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
43. จากรูป คาน AB ยาว 2.4 เมตร วางพิงกําแพงผิวเกลี้ยง             B
   โดยที่ปลาย A อยูบนพื้นหยาบซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียด
   ทาน 1 สวนปลาย B แตะผิวกําแพงเกลี้ยง จงหาวา
           3
   ปลาย B จะตองสูงจากพื้นนอยที่สุดเทาไรคาน AB จึงจะ
                                                                                A
   ไมเลื่อนไถลลงมา
       1. 1.6 เมตร        2. 18 เมตร       3. 2.0 เมตร       4. 2.3 เมตร          (ขอ 3)
วธทา
 ิี ํ




44(มช 37) AB เปนทอนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 4 เมตร
   หนัก 4 กิโลกรัม ปลาย A ถูกยึดไวกับผนังอาคาร
   ดวยบานพับ ปลาย B ผูกดวยเสนลวดโลหะ BC
   ยาว 5 เมตร ทําให AB อยูในแนวระดับและที่ปลาย
   B นมวตถหนก 28 กิโลกรัม แขวนดังรูป จงหาแรงตึงลวด BC
       ้ี ี ั ุ ั
      1. 466.7 นิวตัน    2. 46.7 นิวตัน   3. 500 นิวตัน 4. 50 นิวตัน              (ขอ 3)
วธทา
 ิี ํ




                                          106
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
45(มช 47) เสนลวดดึงคาน AB ซึ่งมีมวล 5
                                                                         เสนลวด
   กิโลกรัมแขวนไวที่ปลาย B ถาคานสม่ํา
   เสมอมนาหนก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร
          ี ํ้ ั
                                                                            30o     1m
   มีปลาย A ตรงตดกาแพง คานสมดุลอยูได
                 ึ ิ ํ                                    A                                  B
   ดังรูป จงหาวาแรงดงเสนลวดมคากนวตน
                      ึ   ี  ่ี ิ ั                                 4m
วธทา
 ิี ํ                             (150 )                                                   5 kg




                     !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""



  ตอนที่ 6 สภาพยืดหยุนของของแข็ง
  สภาพพลาสติก (plasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรูปรางไปอยางถาวร โดยผิว
                               วตถไมฉกขาดหรอแตกหก
                                ั ุ  ี          ื      ั
  สภาพยืดหยุน (elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางเมื่อมีแรงกระทํา
                               และสามารถคืนตัวกลับสูสภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทํา
  พิจารณาตัวอยาง




       ชวง oa แรงกับระยะยืดจะแปรผันตรงตอกัน และเมือหมดแรงกระทําสปริงจะคืนสภาพเดิมได
                                                  ่
       ชวง ab เมือแรงกระทําหมดไป สปริงจะคืนสภาพได แตแรงกับระยะยืดไมแปรผันตรงตอกัน
                  ่
       ชวง bc เมือแรงกระทําหมดไป สปริงจะไมคืนสภาพเดิม เมอถงจด c สปริงจะขาด
                ่                                       ่ื ึ ุ
                                           107
Physics OnlineII                       http://www.pec9.com                          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
46. สภาพพลาสติก คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ...............
    สภาพยืดหยุน คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ......

47. หากออกแรงกระทําเกินขีดจํากัดความยืดหยุนกระทําตอสปริง จะทําใหสปริง.......... ............
   .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ..........

    แรงเคน (F ) คือ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลภายในของแข็งที่เพิ่มขึ้น
         
    ความเคน (σ) คือ อตราสวนระหวาง แรงเคน ตอพนทหนาตด
                         ั                  ้ื ่ี  ั
             เขียนเปนสมการจะได         σ= AF

                    เมือ σ คือ ความเคน (N / m2)
                       ่
                          F คือ แรงเคน (N)
                                       
                          A คือ พนทหนาตดของเสนลวด (m2)
                                  ้ื ่ี  ั      
 ประเภทของความเคน                                                                        ความเคนแบบตึง
                                          ความเคนตามยาว                                  (tensile stress)
           ความเคน                     (longitudinal stress)
                                                                                        ความเคนแบบอัด
           (stress)
                                         ความเคนเฉือน                                 (compressive stress)
                                         (shear stress)

    ความเครียด (ε) คือ อัตราสวนระหวางความยาวที่เปลี่ยนไป ตอความยาวเดม
                                                                     ิ
       เขียนเปนสมการจะได        ε = ∆L L0
                  เมือ ε คือ ความเครียดตามยาว
                     ่
                       ∆L คือ ความยาวที่เปลี่ยนไป (m)
                       Lo คือ ความยาวเดิม (m)




                                                                 108
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
   คามอดูลัสของยัง (Young’ s modulus)
      คือ คาคงที่ หาไดจากอตราสวนของความเคนตอความเครยด
                        ั                       ี
      เขียนเปนสมการจะได E = σ     ε
                                       F
                                      A
                                E =
                                      ∆L             เมือ E = คามอดูลัสของยัง (N/m2)
                                                        ่
                                      Lo
                                                          σ = ความเคน (N/m2)
                                E = A Lo
                                    F                     ε = ความเครียด
                                      ∆L

48. ในการทดลองหาคามอดูลัสโดยใชน้ําหนัก 450 กิโลกรัม แขวนไวที่ปลาย
   ลวดเหล็กยาว 2 เมตร พนทหนาตด 0.15 ตารางเซนติเมตร ปรากฎวาลวด
                         ้ื ่ี  ั
   ยืดออก 0.3 เซนตเิ มตร จงหาความเคน            (3x108 นิวตัน / เมตร2)
วธทา
 ิี ํ

49. จากขอที่ผานมา จงหาความเครียด                             ( 1.5x10–3 )
วธทา
 ิี ํ

50. จากขอที่ผานมา จงหาคามอดูลัสของยังของลวดเหล็กนี้                        ( 2x1011 N/ m2)
วธทา
 ิี ํ

51(En 42/2) แขวนมวล 400 กโลกรม กบเสนลวดโลหะชนดหนงยาว 10 เมตร มพนทหนาตด
                            ิ ั ั                   ิ ่ึ                 ี ้ื ่ี  ั
   2 x 10–4 เมตร2 เสนลวดนี้จะยืดออกเปนเทาใด ถากําหนดใหคายังมอดูลัสของเสนนี้ เปน
   2 x 1011 นวตน / เมตร2
              ิ ั
       1. 0.1 cm         2. 0.2 cm       3. 1.0 cm           4. 2.0 cm           ( ขอ 1.)
วธทา
 ิี ํ




                                           109
Physics OnlineII        http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
52. ลวดโลหะชนิดหนึ่งมีความยาว 1 เมตร คามอดูลัสของยังเปน 2.5x1011 นิวตัน/ตารางเมตร
   พื้นที่ภาคตัดขวาง 2 ตารางมลลิเมตร นําไปยึดติดกับวัตถุมวล m ทําใหลวดยืดออกไปอีก
                              ิ
   0.01 เมตร จงหาขนาดของมวล m ในหนวยกิโลกรัม
       1. 500            2. 1000          3. 2000           4. 5000           ( ขอ 1.)
วธทา
 ิี ํ




53. ลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว L มีพื้นที่หนาตัด A เมื่อนําวัตถุทรงกลมมวล M มาแขวนเขากับ
   ลวดนี้ แลวนําปลายลวดขางหนึ่งไปยึดติดกับเพดานปรากฎวาลวดยึดออก ∆L จงหาคามอ-
   ดูลัสของยังของลวดเสนนี้
       1. AL / Mg∆L                        2. ∆LA/MgL
       3. Mg∆L/AL                          4. MgL/∆LA                        (ขอ 4.)
วธทา
 ิี ํ




54. แทงโลหะอนหนงมพนทภาคตดขวาง 3 ตารางเซนติเมตร และมีคามอดูลัสของยังเทากับ
               ั ่ึ ี ้ื ่ี ั
   2 x 1011 นิวตัน/เมตร2 จงหาวาจะตองออกแรงดงกนวตน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความ
                                           ึ ่ี ิ ั
   ยาวเพิ่มขึ้น 0.01 เปอรเ ซนต
                              ็
      1. 5000               2. 5700     3. 6000       4. 7000           (ขอ 3)
วธทา
 ิี ํ



                                         110
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
55. เมอแขวนวตถมวล 50 กิโลกรัม เขากับเสนลวด แลวแขวนกบเพดานพบวาลวดยดออก
        ่ื          ั ุ                                     ั              ื
      เปน 0.25 % ของความยาวเดม ถาลวดมีพื้นที่หนาตัด 0.4 ตารางมลลิเมตร จงหาคา
                                    ิ                             ิ           
      มอดูลัสความยืดหยุนของลวดเสนนี้
           1. 2.5 x 108 นิวตัน / ตารางเมตร  2. 5.0 x 1010 นิวตัน / ตารางเมตร
           3. 5.0 x 1011 นิวตัน / ตารางเมตร 3. 2.5 x 1012 นิวตัน / ตารางเมตร
วธทา
 ิี ํ




56. ลวดเหล็กเสนหนึ่ง มีความเครียดตามความยาว 0.01 มีคายังมอดูลัส 1011 นิวตัน/ ตาราง-
   เมตร พนทหนาตด 2 ตารางมลลิเมตร จงหาแรงดงในเสนลวดในหนวยนวตน
           ้ื ่ี  ั            ิ               ึ                  ิ ั
      1. 1.0x103         2. 2.0x103      3. 3.0x103         4. 4.0x103          (ขอ 2.)
วธทา
 ิี ํ




57(En 36) ลวดทําดวยโลหะตางชนิดกันสองเสนยาวเทากันมีพื้นที่หนาตัดเปน 0.1 และ 0.18
   ตารางเซนติเมตร เมอดงลวดทงสองนดวยแรงเทากน มันจะยืดออกเทากับ 0.3 และ 0.2
                       ่ื ึ     ้ั  ้ี         ั
   เซนตเิ มตร ตามลําดับ จงหาอตราสวนของมอดลสของยงของลวดเสนทหนงตอมอดลสของ
                               ั           ูั      ั             ่ี ่ึ      ูั
   ยังของลวดเสนทีสอง
                  ่
           27
       1. 100                5
                          2. 6           3. 6                 4. 100            ( ขอ 3.)
                                             5                    27
วธทา
 ิี ํ




                                          111
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
58. ลวด 2 เสน ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน ถาลวด A ยาวเปนครงหนงของลวด B แตกลับมี
                                                          ่ึ ่ึ
   รศมี 2 เทาของลวด B ถาตองการดึงลวดทั้งสองใหยืดออกมา โดยใหความยาวที่ยืดออกมา
      ั
   มีขนาดเทากันแรงที่ใชยืดลวด A ตองมขนาดเทาใด
                                     ี      
        1. 1/8 ของแรงที่ใชยืดลวด B            2. 2 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B
        3. 4 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B          4. 8 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B  (ขอ 4)
วธทา
 ิี ํ




59. ลวดทังสเตนมีคามอดูลัสของยังเปน 5 เทาของลวดอะลูมิเนียม เมื่อนําลวดทั้งสองชนิดที่มี
   พนทหนาตดเทากน ทาการทดลองพบวาเมอออกแรงดงลวดทงสอง ความเครียดตามยาว
      ้ื ่ี  ั  ั          ํ            ่ื        ึ      ้ั
   ของลวดทงสเตนเปน 2 เทาของลวดอะลูมิเนียม แรงตงทกระทาตอลวดทงสองนน
                ั                                     ึ ่ี    ํ       ้ั     ้ั
        1. มีคาเทากัน
        2. ของลวดทงสเตนเปน 10 เทาของลวดอะลูมิเนียม
                         ั     
        3. ของลวดอะลูมิเนียมเปน 5 เทาของลวดทังสเตน
        4. ของลวดทงสเตนเปน 2.5 เทาของลวดอะลูมิเนียม
                       ั                                                         (ขอ 2)
วธทา
 ิี ํ




                                          112
Physics OnlineII         http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
60(En 44/1) ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟทตัวหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟท
   และสัมภาระในลิฟทมีน้ําหนัก 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน(stress) ในสายเคเบิล ใน
                                                                  
   ขณะที่ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอ(วินาที)2
      1. 64x106 N/m2                             2. 48x106 N/m2
      3. 40x106 N/m2                             4. 32x106 N/m2                    (ขอ 2.)
วธทา
 ิี ํ




61(มช 42) ลวดเหล็กสําหรับดึงลิฟตเครื่องหนึ่งมีขีดจํากัดสภาพยืดหยุน 2x108 N/m2 และมี
   พนทหนาตด 0.9 Cm2 ถาลิฟตนี้มีความสามารถเคลื่อนที่ขึ้นไปดวยความเรงสูงสุด 8 m/s2
    ้ื ่ี  ั
   มวลในหนวยของกิโลกรัมของตัวลิฟตและสัมภาระในลิฟตจะมีคามากที่สุดเทาใด ( 1000 kg)
วธทา
 ิี ํ




62. โลหะชนิดหนึ่งมีคามอดูลัสยัง 2x1010 นวตนตอตารางเมตร มีคาความเคนที่ขีดจํากัดสภาพ
                                         ิ ั 
   ยืดหยุน 3x109 นวตนตอตารางเมตร ถามีลวดที่ทําจากโลหะชนิดนี้ยาว 10 เมตร มีพื้นที่
                   ิ ั 
   หนาตัด 10 ตารางมลลิเมตร แขวนลวดดังกลาวในแนวดิ่ง และตองการใหมันยืดและยาวสุทธิ
                    ิ
   12 เมตร ตองแขวนดวยมวลเทาไร
                              
      1. 2.4x103 kg 2. 4x103 kg            3. 2.4 x 104 kg 4. ลวดขาดกอน         (ขอ 4)
วธทา
 ิี ํ




                                           113
Physics OnlineII        http://www.pec9.com                 บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
                   แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สมดุ ล กล
 สมดลตอการเคลอนท่ี
    ุ       ่ื
1. จากรูป จงหาแรงลพธ
                  ั                                  16 N                           (10 นิวตัน)

                                                                 18 N
                                              45o

                                  10 2 N
2. จงตรวจดวาระบบในรปน้ี อยุใน
          ู        ู                         10 N                      10 N
   ภาวะสมดุลหรือไม    (สมดุล)
                                                       60o 60o

                                                               10 3 N
3. จากรูปมวล 4 2 กิโลกรัม ผกเชอกแขวนเพดาน
                              ู ื
   ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก(T)
                                                                        45o
                                                                  T
   และ น้ําหนักกระทําดังรูป จงหาวาขนาดของแรง
                                                                                    P
   ดงเชอก(T) และแรงผลัก (P) (80 N , 40 2 N)
     ึ ื
                                                                               mg
4. มวล 4 3 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนจากเพดาน
   นาย ก. ออกแรงผลกมวลไปในแนวระดบจนเชอก
                     ั            ั        ื                      30o T
   ทํามุม 30o จงหาวาออกแรงผลกเทาไร และ
                           ั                                                       P
   เชือกมีความตึงเทาใด         (80 N , 40 N)

5(En 42/1) มวล m ถูกตรึงใหอยูในลักษณะดังรูป
   แรงดึงเสนเชือก T1 ในเทอมของ m , g และ θ
   มีคาเปนเทาไร                     (ขอ ก.)
       ก. mg / sin θ       ข. mg / cos θ
       ค. mg tan θ         ง. mg / tan θ

                                         114
Physics OnlineII          http://www.pec9.com             บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
6(En 27) วตถกอนหนงแขวนไวดวยเชอกเบา 3 เสน ดังรูป
           ั ุ       ่ึ      ื
   ถาเชือกแตละเสนรับขนาด แรงดงไดไมเ กน 20 นิวตัน
                                  ึ  ิ
   จงหาวาจะแขวนน้ําหนักไดมากที่สุดกี่นิวตัน (10 นิวตัน)

7. แขวนวตถมวล m ดวยเชอกเบาดงรป ถาแรงตึงใน
          ั ุ       ื      ั ู
                                                                             60o
   เสนเชอกตามแนวระดบมขนาด 60 นิวตัน จงหาน้า
      ื            ั ี                   ํ
   หนกของวตถนน
      ั     ั ุ ้ั                                                    60 N
      1. 30 N            2. 60/ 3 N
      3. 60 3 N          4. 120 N (ขอ 3)                                    m


8. กรอบรูปสี่เหลี่ยมหนัก 3 นิวตัน มีเชือกเสนหนึ่งผูกที่มุมบนทั้งสอง
   ของกรอบรูปแลวคลองกับตะปูลื่นตัวหนึ่ง ปรากฎวาเสนเชือกทํามุม
   37o กับแนวกรอบรูป จงหาแรงตงในเสนเชอก ( sin37o=3/5 )
                                  ึ       ื                                     37o   37o
      1. 25 นิวตัน             2. 30 นิวตัน
      3. 40 นิวตัน             4. 60 นิวตัน                  (ขอ 1.)

9(มช 34) วัตถุมวล 0.6 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนกับเพดาน
   ดังรูป จงหาความตึงในเชือกที่ติดกับเพดาน
       ก. 23 นิวตัน            ข. 3 นิวตัน
       ค. 2 3 นิวตัน           ง. 3 2 นิวตัน (ขอ ค)

10. โคมไฟมวล 8.5 กิโลกรัม หอยอยูดวยลวดเบา
   สองเสนดังรูป จงหาความตึงในเสนลวดทั้งสอง                    10o                    10o
     กําหนด sin10o = 0.17 , cos10o = 0.98
        1. 250 นิวตัน        2. 500 นิวตัน
        3. 600 นิวตัน        4. 850 นิวตัน           (ขอ 1.)



                                            115
Physics OnlineII         http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
11. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกเบาที่
   จด O โดยปลายของเชือกทั้งสองขางไปผูกไว
     ุ
   แนนกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเสนเชือก
   AO และ BO เปนเทาไร (250 3 N , 250 N)

12. จากรูป นําเชือกผูกกับกอนน้ําหนัก W จง
   หาอัตราสวนของขนาดของแรงตึงในเสนเชือก                    53o                 37o
   T1 ตอ T2      (sin53o=4/5 , sin37o=3/5)                  T1             T2
      1. 35
                                   3
                                2. 4                                w
      3. 45                     4. 4 (ขอ 4.)
                                   3
13. มวล 10 กิโลกรัม แขวนดวยเชอก 2 เสน ทํามุมกับ
                            ื
   เพดานดังรูป จงหาอัตราสวนของขนาดแรงตึงเชือก                30o                    60o
   ในแนวดิงของเชือก ก ตอเชือก ข.
            ่                                                   ก                ข
      1. 1 : 1                2. 1 : 2
                                                                        m กิโลกรัม
      3. 1 : 3                4. 1 : 3 (ขอ 4)

14. จงหาอัตราสวนของแรง T1 ตอ T2 เมือระบบอยูนง
                                     ่         ่ิ
                                                                                 60o
     1. 12                 2. 23                                            T2
                                                                   T1
     3. 2                  4. 23         (ขอ 1.)
           3                                                                 w
15. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นเอียงลื่น ซึ่งทํามุม 30o กบแนวระดบ จงหาแรงนอย
                                                                   ั      ั
   ที่สุดที่ผลักวัตถุขึ้นตามแนวพื้นเอียง ที่ทําใหวัตถุอยูในสภาพสมดุลได      (100 N)

16(En 34) ลิ่มอยูบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน m1 และ m2
   ผกไวดงรป m1 , m2 และ มุม θ ตองสัมพันธกันอยางไร
     ู ั ู
   จึงจะทําใหลิ่มไมเลื่อน (ไมคิดแรงเสียดทาน)
       1. m1 = m2 cosθ             2. m2 = m1 cosθ
       3. m1 = m2 sinθ             4. m2 = m1 sinθ (ขอ 4)
                                          116
Physics OnlineII          http://www.pec9.com              บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
   สมดุลตอการหมน
              ุ
17. ตามรปเปนคานเบาอนหนง ถามวา m
         ู             ั ่ึ
   ควรมีคากี่กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูใน
   ภาวะสมดุล                          (2)


18. จากรปจงหาคา X / Y ที่ทําใหคานอยูใน
        ู                                          40 N                    20 N
   ภาวะสมดุลตอการหมุน            ( 1/2 )
                                                              X        Y

19. จากรปคานเบามกอนนาหนก W1 และ W2 วางบนคานและคานวางตัวอยูในแนวระดับได
         ู        ี  ํ้ ั
    แสดงวา
      1. W1 L1 = W2 L2                    W1    O             W2
      2. W1 L2 = W2 L1                           1
      3. W1 / L1 = W2 / L2                   L1        L2
      4. W1 < W2           (ขอ 1.)

20. คานสม่ําเสมอ AB ยาว 4 เมตร มีมวล 60
   กิโลกรัม วางพาดอยูบนเสา A และเสา C ซึ่ง
                                                                     C
   อยูหางกัน 3 เมตร ชายคนหนึ่งมีมวล 75 กิ     A                                          B
   โลกรัม เดนจาก A ไป B ดังรูป จงหาวาเขา
              ิ                        
   จะเดินไดไกลจาก A มากที่สุดเทาไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูได
       1. 3.2 เมตร       2. 3.4 เมตร      3. 3.6 เมตร      4. 3.8 เมตร                (ขอ 4.)

21. คานสม่ําเสมอ AB ยาว 4 เมตรมมวล 60
                                    ี
   กิโลกรัม วางพาดอยูบนเสา A และ เสา C
   ซึ่งอยูหางกัน 3 เมตร ชายคนหนึ่งมีมวล        A                                        B
   75 กิโลกรัม เดนจาก A ไป B ดังรูป จง
                     ิ                                             C
   หาวาเขาจะเดินไดไกลจาก A มากที่สุดเทาไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูได
       1. 3.2 เมตร        2. 3.4 เมตร      3. 3.6 เมตร    4. 3.8 เมตร                  (ขอ 4)
                                              117
Physics OnlineII          http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
   แรงคูควบ , การไดเปรียบเชิงกล และ ประสทธภาพเชงกล
                                          ิ ิ    ิ
22. แรง 2 แรง ขนานกนแตมทศตรงกนขามขนาด 100 นิวตันเทากัน แนวแรงทั้งสองหางกัน
                     ั  ี ิ       ั 
   5 เซนตเิ มตร โมเมนตของแรงคนรอบจดใดๆ ทอยระหวางแนวแรงทงคจะเปนเทาใด (5 Nm)
                            ู ้ี     ุ ่ี ู         ้ั ู  
23. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซาย เกดโมเมนตของแรงคควบทพวงมาลย 100 นิวตัน–เมตร
                                  ิ             ู     ่ี      ั
   ถาพวงมาลัยมีเสนผาศูนยกลาง 0.5 เมตร จงหาแรงที่มือแตละขางดึงพวงมาลัย (200 N)
24. กวานตัวหนึ่งมีแขนหมุนยาว 100 เซนตเิ มตร และ รัศมีกวาน 10 เซนตเิ มตร ถาไมมีแรง
   เสยดทาน การไดเ ปรยบเชงกลจะเปนเทาใด
     ี                 ี ิ                                                    (10 เทา)
25. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 50 นิวตัน ยกน้ําหนักไดจริง 200 นิวตัน การไดเปรียบ
   เชิงกลครั้งหลังนี้เปนเทาใด                                                 (4 เทา)
26. จากขอที่ผานมา ประสิทธิภาพเชิงกลเปนเทาใด                                     (40%)
27. เมื่อออกแรง 10 นวตน กดทปลายดามคมอนหนง จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเทาไร ถาปาก
                    ิ ั      ่ี     ี ั ่ึ
   คมยาว 2 เซนติเมตร ดามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคมมประสทธภาพ 80%
     ี                                           ี ี   ิ ิ                  (40 N)
28. คานงดอนหนงยาว 3 เมตร ชายคนหนึงตองการงัดกอนหินกอนหนึงหนัก 100 กิโลกรัม
          ั ั ่ึ                     ่                        ่
   โดยออกแรงกดลง 200 นิวตัน ถาคานงัดนี้มีประสิทธิภาพ 70 % เขาจะตองนาทรองงดมา
                                                                  ํ ่ี ั
   วางหางจากกอนหินเทาไร                                              ( 0.37 ม.)

  โจทยประยุกตเกี่ยวกับภาวะสมดุล
29. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 20 ซม. สูง 50 ซม. หนัก 100 นิวตัน วางอยูบนพื้นราบซึ่งมี
   สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางผิวสัมผัส 0.4 จงหาแรงฉุดในแนวระดับทีกลอง
                                                                            ่
   ยังสมดุลอยูได
       1. 20 นิวตัน        2. 40 นิวตัน   3. 60 นิวตัน     4. 80 นิวตัน         (ขอ 2)
30. จากขอที่ผานมา แรงฉุดจะอยูสูงจากพื้นมากที่สุดกี่เซนติเมตร กลองจึงยังไมลม
      1. 15              2. 20              3. 25                4. 30               (ขอ 3)
31. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 1 เมตร สูง 2 เมตร หนัก 10 กิโลกรัม ออกแรงผลกในแนวขนาน
                                                                       ั
   กับพื้นขนาด 30 นิวตัน สูงจากพื้นเทาไรกลองจึงจะเริ่มลม
      1. 1.0 เมตร          2. 1.2 เมตร     3. 1.5 เมตร       4. 1.7 เมตร    (ขอ 4)
                                            118
Physics OnlineII         http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
32. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 60 นิวตัน กระทําแทน แนวแรงจะสูงจากพื้นไดมากที่สุด
    กเ่ี มตร กลองจึงยังไมลม
         1. 1.17            2. 1.24      3. 1.48       4. 1.56             (ขอ 3)

33. บันไดสม่ําเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลี้ยง
   ตรงจุดซึ่งอยูสูงจากพื้น 4 เมตร โดยบันไดยันกับพืนขรุขระ
                                                   ้
   หางจากกําแพง 3 เมตร
      ก. จงหาแรงที่ยันปลายบันไดวาไมใหไถลลงมา (75 N )
      ข . ถามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูปลายบันไดดานลาง
         หางขึ้นมา 1 ของความยาวของบันได จงหาแรงเสยดทานทพนราบ
                      4                                 ี    ่ี ้ื                     ( 84.38 N)

34. AB เปนทอนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 4 เมตร หนัก 8 กิโลกรัม
   ปลาย A ถูกยึดไวกับผนังอาคารดวยบานพับ ปลาย B ผูกดวย
   เสนลวดโลหะ BC ยาว 5 เมตร ทําให AB อยูในแนวระดับ
                                             
   และที่ปลาย B นมวตถหนก 28 กิโลกรัม แขวนดังรูป จงหา
                 ้ี ี ั ุ ั
   แรงตึงลวด BC                                 (116.67 N)

35. คานสม่ําเสมอ ปลายหนึ่งยึดติดกับกําแพงดวยตะปูเกลี้ยง
   อีกปลายหนึ่งยึดไวดวยสายเคเบิล ดงแสดงในรป ถาคาน
                                    ั        ู                                เคเบิล
                                                                   3 เมตร
   หนัก 100 นิวตัน และน้ําหนักที่ถวงขนาด 400 นิวตัน
                                                                            4 เมตร
   แรงดึงในสายเคเบิลจะเปนกี่นิวตัน                            A
      1. 1800                   2. 750
                                                                                           400 N
      3. 600                    4. 450         (ขอ 2.)

36. เสนลวดดึงคาน AB ซึ่งมีมวล 5 กิโลกรัม
                                                                            เสนลวด
   แขวนไวที่ปลาย B ถาคานสม่ําเสมอมีน้ํา
   หนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร มีปลาย A
                                                                             37o         1m
   ตรงตดกาแพง คานสมดุลอยูไดดังรูป จงหา
      ึ ิ ํ                                                A                                        B
   วาแรงดงเสนลวดมคากนวตน
         ึ       ี  ่ี ิ ั       ( 125 )                             4m
                                                                                              5 kg
                                          119
Physics OnlineII        http://www.pec9.com          บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
   แรงแคน , ความเคน และความเครียด
37. เสาคอนกรตตนหนงรบนาหนกไดสงสด 20000 กิโลกรัม และจะหดตัวลง 3 มิลลิเมตร
              ี  ่ึ ั ํ้ ั  ู ุ
   ถาเสาคอนกรตนมฐานกวาง 10 เซนตเิ มตร หนา 20 เซนตเิ มตร สูง 4.5 เมตร จงหา
               ี ้ี ี    
   คามอดูลัสของเสาตนนี้                                       (1.5x1010 N/m2)

38(มช 36) วตถหนก 100 นิวตัน แขวนดวยลวดโลหะซึ่งมีความยาวเดิมเทากับ 1 เมตร มีพื้น
              ั ุ ั
   ทหนาตดเทากบ 100 ตารางเซนติเมตร ถาลวดโลหะนี้มีคามอดูลัสของยังเทากับ 20x1010
    ่ี  ั  ั
   นวตนตอตารางเมตร ลวดนี้จะยืดออกเทาใด
      ิ ั 
        1. 0.5 x 10–6 เมตร               2. 0.5 x 10–7 เมตร
        3. 0.5 x 10–12 เมตร              4. 0.5 x 10–11 เมตร                (ขอ 2)
39. มอดูลัสของยังของเหล็กมีคา 2 x1011 นิวตัน/เมตร2 ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม ที่
                            
   ปลายลางของแทงเหล็กพื้นที่หนาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง
   กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาใด
      1. 1.0 x10–13 เมตร                   2. 4.0 x 10–10 เมตร
      3. 1.0 x 10–8 เมตร                   4. 1.0 x 10–7 เมตร               (ขอ 4)

40. ลวดเหล็กเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีพื้นที่หนาตัด 5 x 10–5 ตารางเมตร จงหาวาแรงดงททา
                                                                             ึ ่ี ํ
   ใหลวดเสนนียดออก 0.02 x 10–2 เมตร มีคากี่นิวตัน
                ้ื
      (คามอดูลัสของยังของลวดเหล็กเทากับ 2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร)
                                                      ิ ั 
      1. 200             2. 300            3. 400            4. 500          (ขอ 4.)

41. มอดูลัสของยังของเหล็กมีคา 2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม
                                           ิ ั 
    ที่ปลายลางของแทงเหล็กพื้นที่หนาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง
    กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาไร
       1. 4.0 x 10–10 เมตร                    2. 1.0 x 10–8 เมตร
       3. 1.0 x 10–7 เมตร                     4. 2.0 x 10–7 เมตร              (ขอ 3.)
42. ลวดอลูมิเนียมยาว 2 เมตร และเสนผาศนยกลาง 0.1 เซนติเมตร นําเสนลวดนี้ไปยกวัตถุมวล
                                      ู 
   1000 กโลกรม ลวดจะยืดออกเทาใด
           ิ ั
      ( คามอดูลัสของยังของอลูมิเนียมเทากับ 7 x 1010 นวตนตอตารางเมตร )
                                                       ิ ั               (0.35 เมตร)
                                         120
Physics OnlineII         http://www.pec9.com             บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
43. โลหะชนิดหนึ่งมีคามอดูลัสของยัง Y ถานําโลหะนี้ไปทําเปนลวดยาว L มีพื้นที่หนาตัด A
   แขวนลวดดังกลาวดวยมวล M ทําใหลวดมีระยะยืด X จงหาวามวล M มีคาเทาไร
                                                            
      1. XAY                                    LY
                                           2. AXg
             L
      3. XAYgL                             4. XAY                                 (ขอ 4.)
                                                gL
44. แทงโลหะอันหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 เซนตเิ มตร และมีคามอดูลัสของยัง Y = 2x1011
   นิวตัน/เมตร2 จงหาวาตองออกแรงดึงกีนวตัน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความยาวเพิ่มขึ้น 0.01
                                       ่ ิ
   เปอรเ ซนต
           ็
      1. 5000            2. 5700               3. 6300          4. 7000             (ขอ 3.)
45(En 35) เมือแขวนมวล M ไวที่ปลายเสนลวดดังรูป จะทําใหเสน
             ่
   ลวดยืดออก 0.12 เปอรเ ซนตของความยาวเดม ถาพื้นที่หนาตัด
                            ็            ิ
   ของลวดเทากับ 0.20 ตารางมลลิเมตร และมีคามอดูลัสของยัง
                              ิ
   เทากับ 2.0 x 1011 นวตนตอตารางเมตร มวล M จะมีคาเทาใด
                       ิ ั 
       1. 48 kg          2. 24 kg       3. 4.8 kg           4. 2.4 kg               ( ขอ 3.)

46. ลวดทองแดงและลวดเหล็กกลามีพื้นที่หนาตัดเทากับ 0.5 ตารางมลลิเมตร และมีความยาว
                                                                ิ
   1 เมตรเทากัน มอดูลัสของยังสําหรับลวดทองแดงเปน 1.2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร
                                                                 ิ ั 
   และมอดูลัสของยังสําหรับลวดเหล็ก มีคาเปน 2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร ถานําลวดทั้ง
                                                        ิ ั 
   สองไปแขวนในแนวดงโดยมกอนนาหนก 100 นิวตัน แขวนที่ปลายลวดความเคนของลวด
                         ่ิ   ี  ํ้ ั
   ทั้งสองตางกันเทาใด และลวดทั้งสองจะยืดออกจากเดิมตางกันเทาใด        (6.7x10–4 m)

47. ลวดเหล็กและลวดทองเหลืองยาวเทากัน มพนทหนาตดเปน 0.10 และ 0.15 ตารางเซนติ-
                                           ี ้ื ่ี  ั 
   เมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองดวยแรงเทากัน ลวดจะยดออก 0.25 และ 0.20 เซนตเิ มตร ตาม
                                                ึ
   ลําดับ จงหาอัตราสวนยังมอดูลัสของลวดเหล็กและลวดทองเหลือง
       1. 3 : 4          2. 4 : 3           3. 5 : 6       4. 6 : 5          ( ขอ 4)

48. ลวดโลหะตางชนิดกัน 2 เสน ยาวเทากัน มีพื้นที่หนาตัดเทากัน อตราสวนมอดลสของยง
                                                                    ั         ูั      ั
   ของลวดเสนที่ 1 ตอลวดเสนทีสอง เปน 4 : 5 มแรงกระทาตอลวดเสนทหนงตอเสนทสอง
                               ่              ี         ํ            ่ี ่ึ   ่ี
   5 : 4 จงหาอตราสวนของระยะยดของลวดเสนทหนงตอลวดเสนท่ี 2
                ั               ื           ่ี ่ึ           
       1. 1 : 1         2. 5 : 4          3. 16 : 25             4. 25 : 16       ( ขอ 3)
                                           121
Physics OnlineII          http://www.pec9.com            บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
49(En 38) นําทองแดงและโลหะไมทราบชนิดที่มีพื้นที่หนาตัดและความยาวเทากันมาผูกวัตถุ
   7000 กิโลกรัม แขวนหอยไวในแนวดิง ปรากฎวาทองแดงยดออกจากเดม 1.75 มิลลิเมตร
                                    ่                   ื        ิ
   ขณะที่โลหะไมทราบชนิดยืดออกจากเดิม 1.43 มิลลิเมตร ถาทองแดงมีคามอดูลัสของยัง
   เทากับ 1.1 x 1011 นวตนตอตารางเมตร โลหะนี้จะมีคามอดูลัสของยังเทากับ
                       ิ ั 
       1. 1.15 x 1011 N/m2              2. 1.35 x 1011 N/m2
       3. 1.65 x 1011 N/m2              4. 1.85 x 1011 N/m2                    (ขอ 2)

50. ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟตตัวหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟทและสัม-
   ภาระในลิฟตมีน้ําหนักรวม 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน (stress) ในสายเคเบิล ในขณะที่
                                                              
   ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอวนาท2
                                                           ิ ี
      1. 64 x 106 N/m2                           2. 48 x 106 N/m2
      3. 40 x 106 N/m2                           4. 32 x 106 N/m2                  (ขอ 2)

51. ลวดเหล็กดึงลิฟตมีความเคนทีขีดจํากัดความยึดหยุนเทากับ 2x108 N/m2 และมีพื้นที่หนา
   ตัด 1.77x10–4 m2 ถาลิฟทและสัมภาระมีมวล 2000 กิโลกรัม ลิฟตนี้จะสามารถเคลื่อนที่
   ขึ้นดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยึดเกินขีดจํากัด (กําหนดให g=10 m/s2)
       1. 7.7 m/s2         2. 6.3 m/s2       3. 50 m/s2         4. 4.3 m/s2         (ขอ 1)
52. ลวดเหล็กกลามีขีดจํากัดสภาพยืดหยุด 4 x 107 N/m2 มีพื้นที่หนา
   ตัด 1x10–3m2 นํามาใชยกลิฟทที่มีมวลรวมทั้งสิ้น 2000 กิโลกรัม
                                                                               ลวดเหล็กกลา
   ดังรูป อยากทราบคาความเรงสูงสุดของลิฟทที่จะไมทําใหลวดเหล็ก
   นี้เกินขีดจํากัดสภาพยืดหยุน
                                                                            ลิฟท
        1. 100.0 m/s2               2. 10.0 m/s2                                       a

        3. 1.0 m/s2                 4. 0.1 m/s2            (ขอ 2)

53. ลวดเหล็กดึงลิฟตมีความเคนที่ขีดจํากัดความยืดหยุนเทากับ 2 x 108 นิวตัน/ตารางเมตร
   และมีพื้นที่หนาตัด 1.77 x 10–4 ตารางเมตร ถาลิฟตและสัมภาวะมีมวล 2000 กิโลกรัม
   ลิฟตนี้จะสามารถเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยืดเกินขีดจํากัด
      1. 7.7 m/s2         2. 6.3 m/s2          3. 5.0 m/s2        4. 4.3 m/s2         (ขอ 1)

                      !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""


                                            122
Physics OnlineII            http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
       เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สมดุ ล กล (บางข อ )
5. ตอบ ขอ ก.
        
วธทา คิดแกน y
 ิี ํ                 จะได
          Fลัพธ      = Fลง
        T1 sinθ       = mg
            T1        = mg
                         sinθ

                        !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

6. ตอบ 10 N
วธทา
 ิี ํ    คิดแกน y จะได
            Fขึ้น = Fลง
       20 sin 30 = W
               W = 20( 1 )
                        2
               W = 10 นิวตัน
                        !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

12. ตอบขอ 4
วิธีที    T1                     T2               T1                 T2
                   53o 90o 37o                             90o
                    90o 90o                            143o 127o

                       W                                  W
                         T1        T1
       จากรูปจะไดวา sin127o = sin143o
                          T1    sin127o
                          T2 = sin143o
                          T1             (4 )
                          T2  = sin37o = 3 5 = 4
                                sin53o
                                               3
                                         ( 5)
                        !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""


                                             123
Physics OnlineII       http://www.pec9.com           บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
15. ตอบ 100 N
วธทา จากรูปจะไดวา
 ิี ํ                                                      20 kg
              F = Fลง                        F               30o
               ขน
                ้ึ
                   F = 200sin30o        200sin30o
                   F = 200( 1 )
                            2                  30o
                   F = 100 นิวตัน                           200 N
                   !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

16. ตอบ ขอ 4.
วธทา ในภาวะสมดุล แรงลัพธตองเปนศูนย
 ิี ํ
      ดังนันจึงไดวา Fดึงขึ้น = Fดึงลง
           ้       
                     m2 ⋅ g = m1 g ⋅ sinθ
                         m2 = m1 ⋅ sinθθ

                   !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""




                                        124

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 

Was ist angesagt? (20)

เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัมเฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
2
22
2
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 

Ähnlich wie P08

เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0on2539
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.NewNew AcademicCenter
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 

Ähnlich wie P08 (20)

เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
123
123123
123
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
P05
P05P05
P05
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
P06
P06P06
P06
 

Mehr von วิทวัฒน์ สีลาด (15)

P01
P01P01
P01
 
P20
P20P20
P20
 
P19
P19P19
P19
 
P18
P18P18
P18
 
P17
P17P17
P17
 
P16
P16P16
P16
 
P14
P14P14
P14
 
P13
P13P13
P13
 
P12
P12P12
P12
 
P11
P11P11
P11
 
P10
P10P10
P10
 
P09
P09P09
P09
 
P07
P07P07
P07
 
P04
P04P04
P04
 
P02
P02P02
P02
 

P08

  • 1. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ น ตอนที่ 1 สมดลตอการเคลอนท่ี ุ  ่ื 1. จากรูป จงหาแรงลพธ ั ( 10 N ) วธทา ิี ํ สมดุลตอการเคลื่อนที่ คือ ภาวะที่วัตถุอยูนิ่งๆ หรอเคลอนทดวยความเรวคงท่ี ภาวะนี้จะ ื ่ื ่ี  ็ มีความเรง (a) เปนศูนยจะเกิดเมื่อแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย 2. ระบบในขอใดตอไปนี้อยูในภาวะสมดุล 10 N 18 N ก. ข. 8 N ค. ง. 8 N 6N 8N 6N 18 N 8 N 10 N วธทา ิี ํ 90
  • 2. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 3. จงตรวจดูวาระบบอยูในภาวะ   สมดุลหรือไม (สมดุล) วธทา ิี ํ จากตัวอยางที่ผานมา โปรดสังเกตุวา สมดุลตอการเลื่อนที่จะเกิดเมื่อ ∑Fx = 0 นนคอ แรงขึน = แรงลง ่ั ื ้ และ ∑Fx = 0 นนคอ แรงซาย = แรงขวา ่ั ื  4. จากรูป หากระบบอยูในภาวะสมดุล จงหาขนาด T1 ของแรงดงเชอก T1 และ T2 ึ ื (100 , 50 3 ) 30o 5 kg วธทา ิี ํ T2 mg 91
  • 3. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 5. จากรูปมวล 2 กิโลกรัม ผกเชอกแขวนเพดาน ู ื ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก(T) 45o T และ น้ําหนักกระทําดังรูป จงหาวาขนาดของแรง  P ดงเชอก(T) และแรงผลัก (P) (20 N , 10 2 N) ึ ื วธทา ิี ํ mg 6. มวล 20 3 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนจากเพดาน นาย ก. ออกแรงผลกมวลไปในแนวระดบจนเชอก ั ั ื 30o T ทํามุม 30o จงหาวาออกแรงผลกเทาไร และ  ั  P เชือกมีความตึงเทาใด (200 N , 400 N) วธทา ิี ํ 7(En 27) ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม หอยอยูดวยเชือกสองเสน ดังในรูปจงหาความตึงใน  เสนเชือกทั้งสอง ( sin15o = 0.25 cos15o=0.96 g =10 m/s2) ก. 275 นิวตัน ข. 540 นิวตัน ค. 550 นิวตัน ง. 1100 นิวตัน (ขอ ง) วธทา ิี ํ 92
  • 4. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 8. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม โหนเชอกเบาทจด O โดยปลายของเชือกทั้งสองขางไปผูก ื ่ี ุ ไวแนนกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเสนเชือก AO และ BO เปนเทาไร 1. 400 และ 400 3 นิวตัน 2. 400 3 และ 400 นิวตัน 3. 300 และ 300 3 นิวตัน 4. 300 3 และ 300 นิวตัน (ขอ 2) วธทา ิี ํ 9. จากรูป นําเชือกผูกกับกอนน้ําหนัก 40 N จง 60o 30o หาขนาดของแรงตึงในเสนเชือก T1 และ T2 T1 T2 วธทา ิี ํ ( 20 3 N , 20 N) 40N 10. ตามรูป เชือกที่โยงกําแพงแนวตั้งกับคานเบามาก จะตอง ทนแรงดึงไดไมต่ํากวาเทาใด น้าหนัก 46 นิวตัน จึงจะทํา ํ ใหระบบสมดุล (23 3 ) วธทา ิี ํ 93
  • 5. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 11. วัตถุ M และ m สมดุลกันดังรูปอัตราสวน M/m คือ ( กําหนด sin37o= 5 ) 3 (ขอ ข) ก. 4/3 ข. 5/3 ค. 7/5 ง. 8/5 วธทา ิี ํ 12. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นเอียงลื่น ซึ่งทํามุม 30o กบแนวระดบ จงหาแรงที่ผลัก ั ั วัตถุขึ้นตามแนวเอียงที่นอยที่สุด เพื่อทําใหวัตถุอยูในสภาพสมดุลได 1. 12.5 2. 25.0 3. 37. 5 4. 50.0 (ขอ 2.) วธทา ิี ํ 13(En 34) ลิ่มอยูบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน m1 และ m2 ผกไวดงรป m1 , m2 และ มุม θ ตองสัมพันธกันอยางไร ู ั ู จึงจะทําใหลิ่มไมเลื่อน (ไมคิดแรงเสียดทาน) 1. m1 = m2 cosθ 2. m2 = m1 cosθ 3. m1 = m2 sinθ 4. m2 = m1 sinθ (ขอ 4.) วธทา ิี ํ 94
  • 6. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน ตอนที่ 2 สมดุลตอการหมน  ุ สมดุลตอการหมุน คือ ภาวะที่วัตถุไมหมุน หรอหมนดวยความเรวคงท่ี ื ุ  ็ โมเมนต คือ แรง x ระยะหางจากจุดหมุน วัดมาตกตั้งฉากกับแรงนั้น สมดุลตอการหมุนจะเกิดเมื่อ Σโมเมนตทวนเข็มนาฬิกา = Σโมเมนตตามเข็มนาฬิกา (10 N) x (3 m) = (10 N) x (3 m) 30 N⋅m = 30 N⋅m 14. ตามรปเปนคานเบาอนหนง ถามวา m ู  ั ่ึ ควรมีคากี่กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูใน ภาวะสมดุล (2) วธทา ิี ํ 15. ตามรปเปนคานเบาอนหนง ถามวา m ควรมีคากี่ ู  ั ่ึ กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูในภาวะสมดุล (0.5 ) m วธทา ิี ํ 16. คานอนหนงยาว 6 เมตร หนัก 8 นิวตัน มีจดหมุนอยู ั ่ึ ุ หางจากปลายขางหนึ่ง 1 เมตร ตามรูป ตองใชแรง F   เทาใด จึงจะทําใหคานนี้อยูในสภาพสมดุล (16 นิวตัน) วธทา ิี ํ 95
  • 7. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 17. จากรูปเปนไมคานมีจุดหมุนอยูที่ระยะหางจากปลายขวา 2 เมตร มีชายคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม ยืนอยูบนคานนั้น จงหาวาคานนี้ควรมีมวลกี่กิโลกรัมจึงจะอยูในภาวะสมดุล 8 ม. 2 ม. วธทา ิี ํ ( 40 กิโลกรัม ) 18. นาย A และนาย B ยืนอยูปลายกระดานหกคนละดาน มวลของกระดาน 5 กิโลกรัม จดหมนอยท่ี C ถานาย A มีมวล 60 กิโลกรัม ุ ุ ู นาย B จะมีมวลกี่กิโลกรัม 1. 50 2. 49 3. 40 4. 39 (ขอ 4) วธทา ิี ํ 19(มช 44) แผนไมสม่ําเสมอแผนหนึ่งยาว 4.0 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม วางพาดอยบนหมอน ู หนนทจด C และปลาย A ตั้งอยูบนคมมีด ชายคนหนึ่งหนัก 600 นิวตัน เดนบนแผนไม ุ ่ี ุ ิ  จาก A ไปยัง B ดังรูป จงหาวาเขาจะเดินไปไดไกลจาก A เปน ระยะทางมากที่สุดกี่เมตร  กระดานจึงจะยังคงสภาพสมดุลครั้งสุดทายอยูได 1. 2.0 2. 2.5 3. 3.0 4. 3.5 (ขอ 3.) วธทา ิี ํ 96
  • 8. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 20(En 41/2) รถยกคันหนึ่งมีมวล 2400 กิโลกรัม มีศูนยกลางมวลของรถอยูที่ตําแหนงกึ่งกลาง ระหวางลอหลังกับลอหนาซึ่งหางกัน 2.0 เมตร ถารถพยายามยกวัตถุที่อยูหางจากตัวรถไปทาง ดานหนา 10 เมตร มวลมากที่สุดที่รถสามารถ   ยกไดเปนกี่กิโลกรัม (240 กิโลกรัม ) วธทา ิี ํ 21. จากรูปใหหา T และ W วาเปนแรง   ที่มีขนาดเทาใด (7N,3N) วธทา ิี ํ 22. ตามรูป นาย A และนาย B แบกกระดานสม่ํา RA RB เสมอยาว 10 เมตร มีมวล 20 กิโลกรัม ใน แนวระดบเดกคนหนงยนบนกระดานทจด C มี ั ็ ่ึ ื ่ี ุ มวล 5 กิโลกรัม นาย A และ นาย B จะตอง ออกแรงคนละกนวตน่ี ิ ั 1. 155 , 135 นิวตัน 2. 115 , 85 นิวตัน W1 W2 3. 135 , 115 นิวตัน 4. 85 , 115 นิวตัน ( ขอ 3) วธทา ิี ํ 97
  • 9. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 23(En 43/1) ชายคนหนึ่งถือแผนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 2 เมตร น้าหนัก 100 นิวตัน ใหสมดุลตามแนวระดับ โดยมือขางหนึง ํ ่ ยกแผนไมขึ้นที่ตําแหนง 40 เซนตเิ มตร จากปลายใกลตัวและ มืออีกขางหนึ่งกดแผนไมลงที่ปลายเดียวกันนั้นดังรูป จงหา แรงกด และแรงยกจากมือทั้งสองตามลําดับที่ทําใหแผนไมอยูนิ่ง (150 และ 250 นิวตัน) วธทา ิี ํ 24. กระดานสปรงสาหรบกระโดดนา หนัก 400 นิวตัน มีหลักยึดกับกระดานสปริงที่ A และ B ิ ํ ั ํ้ ซึ่งหางกัน 1/4 ของความยาวของกระดานสปริง ดังรูป จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่ A และ B กระทํา ตอกระดานสปริง ขณะทนกกระโดดนาหนก 600 นิว- ่ี ั ํ้ ั C ตัน ที่ปลานคาน C ยืนนิ่งอยู ( 2200 N , 3200 N ) A B 98
  • 10. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน ตอนที่ 3 แรงคูควบ การไดเปรียบเชิงกล และ ประสทธภาพเชงกล ิ ิ ิ แรงคควบ คือ แรง 2 แรง ซึ่งมีลักษณะ ดงตอไปน้ี ู ั  1) มีคาเทากัน 2) มีทิศตรงกันขาม 3) อยูในแนวที่ขนานกัน โมเมนตของแรงคูควบ = ขนาดของแรงหนงแรงใด x ระยะหางของแรงทั้งสอง  ่ึ = (10 N) x (8 m) = 80 N⋅m 25(มช 28) แรง 2 แรง ขนานกนแตมทศตรงกนขามขนาด 50 นิวตัน เทากัน แนวแรงทงสอง ั  ี ิ ั  ้ั หางกน 10 เซนตเิ มตร โมเมนตของแรงคูนรอบจุดใด ๆ ทอยระหวางแนวแรงทงคจะเปนเทาใด  ั  ้ี ่ี ู  ้ั ู   ก. 25 N.m ข. 500 N.m ค. 5 N.m ง. หาไมได (ขอ ค.) วธทา ิี ํ 26. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซาย เกดโมเมนตของแรงคควบทพวงมาลย 200 นิวตัน – เมตร ิ  ู ่ี ั ถาพวงมาลัยมีเสนผาศูนยกลาง 0.4 เมตร จงหาแรงที่มือแตละขางดึงพวงมาลัย (500 N) วธทา ิี ํ การไดเปรยบเชงกล ( MA) คือ จานวนเทาตวทไดเ ปรยบ ี ิ ํ  ั ่ี ี เชน ในรูปภาพ เมือใชแรง (F) = 20 นิวตัน  ่ จะยกน้ําหนัก ( W )ได 100 นิวตัน เรยกไดวา การไดเปรยบเชงกล ( MA) = 5 เทาตัว ี  ี ิ เราสามารถหาคาการไดเปรียบเชิงกลไดจาก M.A. = W F หรือ M.A. = R r เมือ M.A คือ การไดเปรียบเชิงกล ่ W คือ น้าหนักทียกได ํ ่ F คือ แรงทีใชยก ่ R คือ ระยะหางจากจดหมนถงแรงทใช r คือ ระยะหางจากจุดหมุนถึงแรงทีได  ุ ุ ึ ่ี ่ 99
  • 11. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน ประสิทธิภาพเชิงกล ( Eff ) คือ เปอรเซ็นตที่บอกคุณภาพเครื่องมือ เชน สมมุติ ตามทฤษฏี น้ําหนักยกไดเปน 100 นิวตัน แตเมือยกจริง ยกได 70 นิวตัน ่ เรยกไดวา ประสิทธภาพเชิงกล ( Eff ) = 70% ี  เราสามารถหาคา ประสิทธิภาพเชิงกลไดจาก Eff = W/F x 100% R/r เมือ W คือ น้ําหนักที่ยกไดจริง (ไมใชตามทฤษฏ) ่ ี 27. กรรไกรตดลวดมระยะระหวางลวดและจดหมนเปน ั ี  ุ ุ  2 เซนตเิ มตร ระยะระหวางจุดหมุนและมือเปน 10 เซนตเิ มตร ออกแรง F 50 N บีบขากรรไกรดังรูป ก. แรงทกระทาตอลวดเปนเทาใด ่ี ํ    (250 N ) ข. การไดเปรียบเชิงกลเปนเทาใด (5 เทา ) วธทา ิี ํ 28. กวานตัวหนึ่งมีแขนหมุนยาว 60 เซนตเิ มตร และ รัศมีกวาน 7.5 เซนตเิ มตร ถาไมมีแรง เสยดทาน การไดเ ปรยบเชงกลจะเปนเทาใด ี ี ิ   ( 8 เทา ) วธทา ิี ํ 29. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 50 นิวตัน ยกน้ําหนักไดจริง 150 นิวตัน การไดเปรียบ เชิงกลครั้งหลังนี้เปนเทาใด (3 เทา ) วธทา ิี ํ 30. จากขอที่ผานมา ประสิทธิภาพเชิงกลเปนเทาใด ( 37.5%) วธทา ิี ํ 100
  • 12. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 31(มช41) โดยการใชลอและเพลาดังรูป สามารถยกวัตถุมวล 40 กิโลกรัม โดยใชแรง 50 นิวตัน กระทําที่ขอบของลอรัศมีของลอ และเพลามีคา  เทากับ 96 และ 6 เซนตเิ มตร ตามลําดับ จงหาประสิทธิภาพเครื่องกลนี้ 1. 40% 2. 50% 3. 78% 4. 80% (ขอ 2) วธทา ิี ํ 32. เมื่อออกแรง 10 นวตน กดทปลายดามคมอนหนง จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเทาไร ถาปาก ิ ั ่ี  ี ั ่ึ คมยาว 2 เซนติเมตร ดามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคมมประสทธภาพ 95% ี ี ี ิ ิ (47.5 N) วธทา ิี ํ 33. คานงดอนหนงยาว 3 เมตร ชายคนหนึงตองการงัดกอนหินกอนหนึงหนัก 100 กิโลกรัม ั ั ่ึ ่ ่ โดยออกแรงกดลง 200 นิวตัน ถาคานงัดนี้มีประสิทธิภาพ 90 % เขาจะตองนาทรองงดมา  ํ ่ี ั วางหางจากกอนหินเทาไร (0.45 เมตร ) วธทา ิี ํ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ตอนที่ 4 เสถียรภาพของสมดุล เสถียรภาพของสมดุลมีได 3 แบบ ไดแก 1. สมดุลแบบเสถียร คือ สมดลทมรากฐานรองรบมนคง ุ ่ี ี ั ่ั เมอถกแรงกระทาเลกนอย จะเปลี่ยนลักษณะการ ่ื ู ํ ็  วางตว แตเ มอแรงกระทานนหมดไปจะสามารถ ั ่ื ํ ้ั กลับคืนสูสภาพเดิมได 2. สมดุลแบบไมเสถียร คือ สมดลทมรากฐานออนแอ เมือ ุ ่ี ี  ่ ถูกกระทบกระเทือน จะเปลี่ยนลักษณะการวาง ตัว และจะไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได 101
  • 13. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 3. สมดุลแบบสะเทิน คือ สมดุลซึ่งเมื่อถูกแรงมากระเทือน จะเปลี่ยนตําแหนงที่อยู แตลักษณะการวางตัวยัง คงเหมอนเดม ื ิ 34. ลูกบิลเลียดในแตละรูปวางนิ่งอยูบนพื้นผิวตางๆ กัน จงหาวาลูกบิลเลียดสมดุลแบบใด (ขอ 4) 1. (ก) เสถียร (ข) ไมเสถียร (ค) สะเทิน 2. (ก) เสถียร (ข) สะเทิน (ค) ไมเสถียร 3. (ก) ไมเสถียร (ข) เสถียร (ค) สะทิน 4. (ก) สะเทิน (ข) เสถียร (ค) ไมเสถียร ตอบ 35. สมดุลตอไปนี้เปนสมดุลแบบใด 1. เหรียญบาทตังตะแคง ้ 2. ลูกแกววางบนพื้น 3. แทงปรามิดวางตั้งบนพื้น ตอบ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ตอนที่ 5 โจทยประยุกตเกี่ยวกับสมดุล 36. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 20 ซม. สูง 40 ซม. หนัก 20 ซม. 100 นิวตัน ถูกแรงกระทํา 40 นิวตัน ณ.จุดสูง เทากับ h จงหาวาความสูง h มีคาเทาใด จึงจะ 40 N ทําใหกลองนี้เริ่มลมพอดี 1. 20 ซม. 2. 25 ซม. h 3. 30 ซม. 4. 35 ซม. (ขอ 2.) วธทา ิี ํ 102
  • 14. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 37(En 44/1) ออกแรง F = 160 นิวตัน ผลักตูเย็น 40 กิโลกรัม บนพื้นฝดที่ความสูง 90 เซน- ตเิ มตร จากพื้นโดยตูเย็นไมลม จงหาความ 120 cm 90 cm กวางนอยที่สุดของฐานตูเย็น (x) ในหนวย เซนตเิ มตร กําหนดใหความสูงของตูเย็นคือ 120 เซนติเมตรและจุดศูนยกลางมวลอยูสูง จากพื้น 40 เซนตเิ มตร ดังรูป (72 cm) วธทา ิี ํ 38(En 43/2) กลองวัตถุรูปสี่เหลี่ยมมีมวลสม่ําเสมอ ฐานกวาง 0.2 เมตร สูง 0.5 เมตร มนาหนก ี ํ้ ั 200 นิวตัน วางอยูบนพื้นที่ฝดมาก ถาออกแรง P กระทําตอวัตถุในแนวทํามุม 37o กับแนว ระดบ ดังรูป จะตองออกแรงเทาใดจงจะทาใหวตถลมพอดี ั   ึ ํ ั ุ 1. 25 N 2. 50 N 3. 75 N 4. 100 N (ขอ 2) วธทา ิี ํ 103
  • 15. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 39. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 40 ซม. สูง 80 ซม. หนัก 40 ซม. 400 นิวตัน ถูกแรงกระทํา 200 นิวตัน ณ.จุดสูง จากพื้น 50 เซนตเิ มตร จงหาวากลองใบนี้จะลม 200N หรอไม ื (ลม) วธทา ิี ํ h 40. บันไดสม่ําเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลี้ยงตรงจุด ซึ่งอยูสูงจากพื้น 4 เมตร โดยบันไดยันกับพื้นขรุขระหางจากกําแพง 3 เมตร จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไมใหไถลลงมา ( 75 N ) วธทา ิี ํ 104
  • 16. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 41. บันไดสม่ําเสมอยาว 10 เมตร หนัก 400 นิวตัน ปลายบนพิง กําแพงเกลี้ยงตรงจุดซึ่งอยูสูงจากพื้น 8 เมตร โดยบันไดยันกับ พื้นขรุขระหางจากกําแพง 6 เมตร ก. จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไมใหไถลลงมา (150 N ) ข . ถามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูปลายบันไดดานลางหางขึ้นมา 1 ของความยาว 4 ของบันได จงหาแรงเสยดทานทพนราบ ี ่ี ้ื (168.75 N) วธทา ิี ํ 42. บันไดยาว 2.5 เมตร มนาหนก 40 นิวตัน ศูนยถวงของ ี ํ้ ั A บันไดอยูหางจากปลายลาง 1.0 เมตร จงหาแรงเสียดทาน ระหวางพื้นลางกับบันไดและแรงที่บันไดกระทําตอกําแพง ทจด A เพื่อทําใหบันไดอยูนิ่งได ่ี ุ (12 N , 12 N) วธทา ิี ํ 53o B 105
  • 17. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 43. จากรูป คาน AB ยาว 2.4 เมตร วางพิงกําแพงผิวเกลี้ยง B โดยที่ปลาย A อยูบนพื้นหยาบซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียด ทาน 1 สวนปลาย B แตะผิวกําแพงเกลี้ยง จงหาวา 3 ปลาย B จะตองสูงจากพื้นนอยที่สุดเทาไรคาน AB จึงจะ A ไมเลื่อนไถลลงมา 1. 1.6 เมตร 2. 18 เมตร 3. 2.0 เมตร 4. 2.3 เมตร (ขอ 3) วธทา ิี ํ 44(มช 37) AB เปนทอนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 4 เมตร หนัก 4 กิโลกรัม ปลาย A ถูกยึดไวกับผนังอาคาร ดวยบานพับ ปลาย B ผูกดวยเสนลวดโลหะ BC ยาว 5 เมตร ทําให AB อยูในแนวระดับและที่ปลาย B นมวตถหนก 28 กิโลกรัม แขวนดังรูป จงหาแรงตึงลวด BC ้ี ี ั ุ ั 1. 466.7 นิวตัน 2. 46.7 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 50 นิวตัน (ขอ 3) วธทา ิี ํ 106
  • 18. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 45(มช 47) เสนลวดดึงคาน AB ซึ่งมีมวล 5 เสนลวด กิโลกรัมแขวนไวที่ปลาย B ถาคานสม่ํา เสมอมนาหนก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร ี ํ้ ั 30o 1m มีปลาย A ตรงตดกาแพง คานสมดุลอยูได ึ ิ ํ A B ดังรูป จงหาวาแรงดงเสนลวดมคากนวตน  ึ  ี  ่ี ิ ั 4m วธทา ิี ํ (150 ) 5 kg !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ตอนที่ 6 สภาพยืดหยุนของของแข็ง สภาพพลาสติก (plasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรูปรางไปอยางถาวร โดยผิว วตถไมฉกขาดหรอแตกหก ั ุ  ี ื ั สภาพยืดหยุน (elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางเมื่อมีแรงกระทํา และสามารถคืนตัวกลับสูสภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทํา พิจารณาตัวอยาง ชวง oa แรงกับระยะยืดจะแปรผันตรงตอกัน และเมือหมดแรงกระทําสปริงจะคืนสภาพเดิมได  ่ ชวง ab เมือแรงกระทําหมดไป สปริงจะคืนสภาพได แตแรงกับระยะยืดไมแปรผันตรงตอกัน  ่ ชวง bc เมือแรงกระทําหมดไป สปริงจะไมคืนสภาพเดิม เมอถงจด c สปริงจะขาด  ่ ่ื ึ ุ 107
  • 19. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 46. สภาพพลาสติก คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ............... สภาพยืดหยุน คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ...... 47. หากออกแรงกระทําเกินขีดจํากัดความยืดหยุนกระทําตอสปริง จะทําใหสปริง.......... ............ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... แรงเคน (F ) คือ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลภายในของแข็งที่เพิ่มขึ้น  ความเคน (σ) คือ อตราสวนระหวาง แรงเคน ตอพนทหนาตด ั     ้ื ่ี  ั เขียนเปนสมการจะได σ= AF เมือ σ คือ ความเคน (N / m2) ่ F คือ แรงเคน (N)  A คือ พนทหนาตดของเสนลวด (m2) ้ื ่ี  ั  ประเภทของความเคน ความเคนแบบตึง ความเคนตามยาว (tensile stress) ความเคน (longitudinal stress) ความเคนแบบอัด (stress) ความเคนเฉือน (compressive stress) (shear stress) ความเครียด (ε) คือ อัตราสวนระหวางความยาวที่เปลี่ยนไป ตอความยาวเดม  ิ เขียนเปนสมการจะได ε = ∆L L0 เมือ ε คือ ความเครียดตามยาว ่ ∆L คือ ความยาวที่เปลี่ยนไป (m) Lo คือ ความยาวเดิม (m) 108
  • 20. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน คามอดูลัสของยัง (Young’ s modulus) คือ คาคงที่ หาไดจากอตราสวนของความเคนตอความเครยด  ั    ี เขียนเปนสมการจะได E = σ ε F A E = ∆L เมือ E = คามอดูลัสของยัง (N/m2) ่ Lo σ = ความเคน (N/m2) E = A Lo F ε = ความเครียด ∆L 48. ในการทดลองหาคามอดูลัสโดยใชน้ําหนัก 450 กิโลกรัม แขวนไวที่ปลาย ลวดเหล็กยาว 2 เมตร พนทหนาตด 0.15 ตารางเซนติเมตร ปรากฎวาลวด ้ื ่ี  ั ยืดออก 0.3 เซนตเิ มตร จงหาความเคน  (3x108 นิวตัน / เมตร2) วธทา ิี ํ 49. จากขอที่ผานมา จงหาความเครียด ( 1.5x10–3 ) วธทา ิี ํ 50. จากขอที่ผานมา จงหาคามอดูลัสของยังของลวดเหล็กนี้ ( 2x1011 N/ m2) วธทา ิี ํ 51(En 42/2) แขวนมวล 400 กโลกรม กบเสนลวดโลหะชนดหนงยาว 10 เมตร มพนทหนาตด ิ ั ั  ิ ่ึ ี ้ื ่ี  ั 2 x 10–4 เมตร2 เสนลวดนี้จะยืดออกเปนเทาใด ถากําหนดใหคายังมอดูลัสของเสนนี้ เปน 2 x 1011 นวตน / เมตร2 ิ ั 1. 0.1 cm 2. 0.2 cm 3. 1.0 cm 4. 2.0 cm ( ขอ 1.) วธทา ิี ํ 109
  • 21. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 52. ลวดโลหะชนิดหนึ่งมีความยาว 1 เมตร คามอดูลัสของยังเปน 2.5x1011 นิวตัน/ตารางเมตร พื้นที่ภาคตัดขวาง 2 ตารางมลลิเมตร นําไปยึดติดกับวัตถุมวล m ทําใหลวดยืดออกไปอีก ิ 0.01 เมตร จงหาขนาดของมวล m ในหนวยกิโลกรัม 1. 500 2. 1000 3. 2000 4. 5000 ( ขอ 1.) วธทา ิี ํ 53. ลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว L มีพื้นที่หนาตัด A เมื่อนําวัตถุทรงกลมมวล M มาแขวนเขากับ ลวดนี้ แลวนําปลายลวดขางหนึ่งไปยึดติดกับเพดานปรากฎวาลวดยึดออก ∆L จงหาคามอ- ดูลัสของยังของลวดเสนนี้ 1. AL / Mg∆L 2. ∆LA/MgL 3. Mg∆L/AL 4. MgL/∆LA (ขอ 4.) วธทา ิี ํ 54. แทงโลหะอนหนงมพนทภาคตดขวาง 3 ตารางเซนติเมตร และมีคามอดูลัสของยังเทากับ  ั ่ึ ี ้ื ่ี ั 2 x 1011 นิวตัน/เมตร2 จงหาวาจะตองออกแรงดงกนวตน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความ   ึ ่ี ิ ั ยาวเพิ่มขึ้น 0.01 เปอรเ ซนต ็ 1. 5000 2. 5700 3. 6000 4. 7000 (ขอ 3) วธทา ิี ํ 110
  • 22. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 55. เมอแขวนวตถมวล 50 กิโลกรัม เขากับเสนลวด แลวแขวนกบเพดานพบวาลวดยดออก ่ื ั ุ  ั  ื เปน 0.25 % ของความยาวเดม ถาลวดมีพื้นที่หนาตัด 0.4 ตารางมลลิเมตร จงหาคา  ิ ิ  มอดูลัสความยืดหยุนของลวดเสนนี้ 1. 2.5 x 108 นิวตัน / ตารางเมตร 2. 5.0 x 1010 นิวตัน / ตารางเมตร 3. 5.0 x 1011 นิวตัน / ตารางเมตร 3. 2.5 x 1012 นิวตัน / ตารางเมตร วธทา ิี ํ 56. ลวดเหล็กเสนหนึ่ง มีความเครียดตามความยาว 0.01 มีคายังมอดูลัส 1011 นิวตัน/ ตาราง- เมตร พนทหนาตด 2 ตารางมลลิเมตร จงหาแรงดงในเสนลวดในหนวยนวตน ้ื ่ี  ั ิ ึ   ิ ั 1. 1.0x103 2. 2.0x103 3. 3.0x103 4. 4.0x103 (ขอ 2.) วธทา ิี ํ 57(En 36) ลวดทําดวยโลหะตางชนิดกันสองเสนยาวเทากันมีพื้นที่หนาตัดเปน 0.1 และ 0.18 ตารางเซนติเมตร เมอดงลวดทงสองนดวยแรงเทากน มันจะยืดออกเทากับ 0.3 และ 0.2 ่ื ึ ้ั ้ี   ั เซนตเิ มตร ตามลําดับ จงหาอตราสวนของมอดลสของยงของลวดเสนทหนงตอมอดลสของ ั  ูั ั  ่ี ่ึ  ูั ยังของลวดเสนทีสอง ่ 27 1. 100 5 2. 6 3. 6 4. 100 ( ขอ 3.) 5 27 วธทา ิี ํ 111
  • 23. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 58. ลวด 2 เสน ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน ถาลวด A ยาวเปนครงหนงของลวด B แตกลับมี  ่ึ ่ึ รศมี 2 เทาของลวด B ถาตองการดึงลวดทั้งสองใหยืดออกมา โดยใหความยาวที่ยืดออกมา ั มีขนาดเทากันแรงที่ใชยืดลวด A ตองมขนาดเทาใด  ี  1. 1/8 ของแรงที่ใชยืดลวด B 2. 2 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B 3. 4 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B 4. 8 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B (ขอ 4) วธทา ิี ํ 59. ลวดทังสเตนมีคามอดูลัสของยังเปน 5 เทาของลวดอะลูมิเนียม เมื่อนําลวดทั้งสองชนิดที่มี พนทหนาตดเทากน ทาการทดลองพบวาเมอออกแรงดงลวดทงสอง ความเครียดตามยาว ้ื ่ี  ั  ั ํ  ่ื ึ ้ั ของลวดทงสเตนเปน 2 เทาของลวดอะลูมิเนียม แรงตงทกระทาตอลวดทงสองนน ั  ึ ่ี ํ  ้ั ้ั 1. มีคาเทากัน 2. ของลวดทงสเตนเปน 10 เทาของลวดอะลูมิเนียม ั  3. ของลวดอะลูมิเนียมเปน 5 เทาของลวดทังสเตน 4. ของลวดทงสเตนเปน 2.5 เทาของลวดอะลูมิเนียม ั  (ขอ 2) วธทา ิี ํ 112
  • 24. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 60(En 44/1) ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟทตัวหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟท และสัมภาระในลิฟทมีน้ําหนัก 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน(stress) ในสายเคเบิล ใน  ขณะที่ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอ(วินาที)2 1. 64x106 N/m2 2. 48x106 N/m2 3. 40x106 N/m2 4. 32x106 N/m2 (ขอ 2.) วธทา ิี ํ 61(มช 42) ลวดเหล็กสําหรับดึงลิฟตเครื่องหนึ่งมีขีดจํากัดสภาพยืดหยุน 2x108 N/m2 และมี พนทหนาตด 0.9 Cm2 ถาลิฟตนี้มีความสามารถเคลื่อนที่ขึ้นไปดวยความเรงสูงสุด 8 m/s2 ้ื ่ี  ั มวลในหนวยของกิโลกรัมของตัวลิฟตและสัมภาระในลิฟตจะมีคามากที่สุดเทาใด ( 1000 kg) วธทา ิี ํ 62. โลหะชนิดหนึ่งมีคามอดูลัสยัง 2x1010 นวตนตอตารางเมตร มีคาความเคนที่ขีดจํากัดสภาพ ิ ั  ยืดหยุน 3x109 นวตนตอตารางเมตร ถามีลวดที่ทําจากโลหะชนิดนี้ยาว 10 เมตร มีพื้นที่ ิ ั  หนาตัด 10 ตารางมลลิเมตร แขวนลวดดังกลาวในแนวดิ่ง และตองการใหมันยืดและยาวสุทธิ ิ 12 เมตร ตองแขวนดวยมวลเทาไร    1. 2.4x103 kg 2. 4x103 kg 3. 2.4 x 104 kg 4. ลวดขาดกอน (ขอ 4) วธทา ิี ํ 113
  • 25. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สมดุ ล กล สมดลตอการเคลอนท่ี ุ  ่ื 1. จากรูป จงหาแรงลพธ ั 16 N (10 นิวตัน) 18 N 45o 10 2 N 2. จงตรวจดวาระบบในรปน้ี อยุใน ู ู 10 N 10 N ภาวะสมดุลหรือไม (สมดุล) 60o 60o 10 3 N 3. จากรูปมวล 4 2 กิโลกรัม ผกเชอกแขวนเพดาน ู ื ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก(T) 45o T และ น้ําหนักกระทําดังรูป จงหาวาขนาดของแรง  P ดงเชอก(T) และแรงผลัก (P) (80 N , 40 2 N) ึ ื mg 4. มวล 4 3 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนจากเพดาน นาย ก. ออกแรงผลกมวลไปในแนวระดบจนเชอก ั ั ื 30o T ทํามุม 30o จงหาวาออกแรงผลกเทาไร และ  ั  P เชือกมีความตึงเทาใด (80 N , 40 N) 5(En 42/1) มวล m ถูกตรึงใหอยูในลักษณะดังรูป แรงดึงเสนเชือก T1 ในเทอมของ m , g และ θ มีคาเปนเทาไร (ขอ ก.) ก. mg / sin θ ข. mg / cos θ ค. mg tan θ ง. mg / tan θ 114
  • 26. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 6(En 27) วตถกอนหนงแขวนไวดวยเชอกเบา 3 เสน ดังรูป ั ุ ่ึ  ื ถาเชือกแตละเสนรับขนาด แรงดงไดไมเ กน 20 นิวตัน ึ  ิ จงหาวาจะแขวนน้ําหนักไดมากที่สุดกี่นิวตัน (10 นิวตัน) 7. แขวนวตถมวล m ดวยเชอกเบาดงรป ถาแรงตึงใน ั ุ  ื ั ู 60o เสนเชอกตามแนวระดบมขนาด 60 นิวตัน จงหาน้า  ื ั ี ํ หนกของวตถนน ั ั ุ ้ั 60 N 1. 30 N 2. 60/ 3 N 3. 60 3 N 4. 120 N (ขอ 3) m 8. กรอบรูปสี่เหลี่ยมหนัก 3 นิวตัน มีเชือกเสนหนึ่งผูกที่มุมบนทั้งสอง ของกรอบรูปแลวคลองกับตะปูลื่นตัวหนึ่ง ปรากฎวาเสนเชือกทํามุม 37o กับแนวกรอบรูป จงหาแรงตงในเสนเชอก ( sin37o=3/5 ) ึ  ื 37o 37o 1. 25 นิวตัน 2. 30 นิวตัน 3. 40 นิวตัน 4. 60 นิวตัน (ขอ 1.) 9(มช 34) วัตถุมวล 0.6 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนกับเพดาน ดังรูป จงหาความตึงในเชือกที่ติดกับเพดาน ก. 23 นิวตัน ข. 3 นิวตัน ค. 2 3 นิวตัน ง. 3 2 นิวตัน (ขอ ค) 10. โคมไฟมวล 8.5 กิโลกรัม หอยอยูดวยลวดเบา สองเสนดังรูป จงหาความตึงในเสนลวดทั้งสอง 10o 10o กําหนด sin10o = 0.17 , cos10o = 0.98 1. 250 นิวตัน 2. 500 นิวตัน 3. 600 นิวตัน 4. 850 นิวตัน (ขอ 1.) 115
  • 27. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 11. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกเบาที่ จด O โดยปลายของเชือกทั้งสองขางไปผูกไว ุ แนนกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเสนเชือก AO และ BO เปนเทาไร (250 3 N , 250 N) 12. จากรูป นําเชือกผูกกับกอนน้ําหนัก W จง หาอัตราสวนของขนาดของแรงตึงในเสนเชือก 53o 37o T1 ตอ T2 (sin53o=4/5 , sin37o=3/5) T1 T2 1. 35 3 2. 4 w 3. 45 4. 4 (ขอ 4.) 3 13. มวล 10 กิโลกรัม แขวนดวยเชอก 2 เสน ทํามุมกับ  ื เพดานดังรูป จงหาอัตราสวนของขนาดแรงตึงเชือก 30o 60o ในแนวดิงของเชือก ก ตอเชือก ข. ่ ก ข 1. 1 : 1 2. 1 : 2 m กิโลกรัม 3. 1 : 3 4. 1 : 3 (ขอ 4) 14. จงหาอัตราสวนของแรง T1 ตอ T2 เมือระบบอยูนง ่  ่ิ 60o 1. 12 2. 23 T2 T1 3. 2 4. 23 (ขอ 1.) 3 w 15. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นเอียงลื่น ซึ่งทํามุม 30o กบแนวระดบ จงหาแรงนอย ั ั ที่สุดที่ผลักวัตถุขึ้นตามแนวพื้นเอียง ที่ทําใหวัตถุอยูในสภาพสมดุลได (100 N) 16(En 34) ลิ่มอยูบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน m1 และ m2 ผกไวดงรป m1 , m2 และ มุม θ ตองสัมพันธกันอยางไร ู ั ู จึงจะทําใหลิ่มไมเลื่อน (ไมคิดแรงเสียดทาน) 1. m1 = m2 cosθ 2. m2 = m1 cosθ 3. m1 = m2 sinθ 4. m2 = m1 sinθ (ขอ 4) 116
  • 28. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน สมดุลตอการหมน  ุ 17. ตามรปเปนคานเบาอนหนง ถามวา m ู  ั ่ึ ควรมีคากี่กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูใน ภาวะสมดุล (2) 18. จากรปจงหาคา X / Y ที่ทําใหคานอยูใน ู  40 N 20 N ภาวะสมดุลตอการหมุน ( 1/2 ) X Y 19. จากรปคานเบามกอนนาหนก W1 และ W2 วางบนคานและคานวางตัวอยูในแนวระดับได ู ี  ํ้ ั แสดงวา 1. W1 L1 = W2 L2 W1 O W2 2. W1 L2 = W2 L1 1 3. W1 / L1 = W2 / L2 L1 L2 4. W1 < W2 (ขอ 1.) 20. คานสม่ําเสมอ AB ยาว 4 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม วางพาดอยูบนเสา A และเสา C ซึ่ง C อยูหางกัน 3 เมตร ชายคนหนึ่งมีมวล 75 กิ A B โลกรัม เดนจาก A ไป B ดังรูป จงหาวาเขา ิ  จะเดินไดไกลจาก A มากที่สุดเทาไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูได 1. 3.2 เมตร 2. 3.4 เมตร 3. 3.6 เมตร 4. 3.8 เมตร (ขอ 4.) 21. คานสม่ําเสมอ AB ยาว 4 เมตรมมวล 60 ี กิโลกรัม วางพาดอยูบนเสา A และ เสา C ซึ่งอยูหางกัน 3 เมตร ชายคนหนึ่งมีมวล A B 75 กิโลกรัม เดนจาก A ไป B ดังรูป จง ิ C หาวาเขาจะเดินไดไกลจาก A มากที่สุดเทาไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูได 1. 3.2 เมตร 2. 3.4 เมตร 3. 3.6 เมตร 4. 3.8 เมตร (ขอ 4) 117
  • 29. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน แรงคูควบ , การไดเปรียบเชิงกล และ ประสทธภาพเชงกล ิ ิ ิ 22. แรง 2 แรง ขนานกนแตมทศตรงกนขามขนาด 100 นิวตันเทากัน แนวแรงทั้งสองหางกัน ั  ี ิ ั  5 เซนตเิ มตร โมเมนตของแรงคนรอบจดใดๆ ทอยระหวางแนวแรงทงคจะเปนเทาใด (5 Nm)  ู ้ี ุ ่ี ู  ้ั ู   23. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซาย เกดโมเมนตของแรงคควบทพวงมาลย 100 นิวตัน–เมตร ิ  ู ่ี ั ถาพวงมาลัยมีเสนผาศูนยกลาง 0.5 เมตร จงหาแรงที่มือแตละขางดึงพวงมาลัย (200 N) 24. กวานตัวหนึ่งมีแขนหมุนยาว 100 เซนตเิ มตร และ รัศมีกวาน 10 เซนตเิ มตร ถาไมมีแรง เสยดทาน การไดเ ปรยบเชงกลจะเปนเทาใด ี ี ิ   (10 เทา) 25. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 50 นิวตัน ยกน้ําหนักไดจริง 200 นิวตัน การไดเปรียบ เชิงกลครั้งหลังนี้เปนเทาใด (4 เทา) 26. จากขอที่ผานมา ประสิทธิภาพเชิงกลเปนเทาใด (40%) 27. เมื่อออกแรง 10 นวตน กดทปลายดามคมอนหนง จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเทาไร ถาปาก ิ ั ่ี  ี ั ่ึ คมยาว 2 เซนติเมตร ดามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคมมประสทธภาพ 80% ี ี ี ิ ิ (40 N) 28. คานงดอนหนงยาว 3 เมตร ชายคนหนึงตองการงัดกอนหินกอนหนึงหนัก 100 กิโลกรัม ั ั ่ึ ่ ่ โดยออกแรงกดลง 200 นิวตัน ถาคานงัดนี้มีประสิทธิภาพ 70 % เขาจะตองนาทรองงดมา  ํ ่ี ั วางหางจากกอนหินเทาไร ( 0.37 ม.) โจทยประยุกตเกี่ยวกับภาวะสมดุล 29. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 20 ซม. สูง 50 ซม. หนัก 100 นิวตัน วางอยูบนพื้นราบซึ่งมี สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางผิวสัมผัส 0.4 จงหาแรงฉุดในแนวระดับทีกลอง ่ ยังสมดุลอยูได 1. 20 นิวตัน 2. 40 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 80 นิวตัน (ขอ 2) 30. จากขอที่ผานมา แรงฉุดจะอยูสูงจากพื้นมากที่สุดกี่เซนติเมตร กลองจึงยังไมลม 1. 15 2. 20 3. 25 4. 30 (ขอ 3) 31. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 1 เมตร สูง 2 เมตร หนัก 10 กิโลกรัม ออกแรงผลกในแนวขนาน ั กับพื้นขนาด 30 นิวตัน สูงจากพื้นเทาไรกลองจึงจะเริ่มลม 1. 1.0 เมตร 2. 1.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.7 เมตร (ขอ 4) 118
  • 30. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 32. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 60 นิวตัน กระทําแทน แนวแรงจะสูงจากพื้นไดมากที่สุด กเ่ี มตร กลองจึงยังไมลม 1. 1.17 2. 1.24 3. 1.48 4. 1.56 (ขอ 3) 33. บันไดสม่ําเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลี้ยง ตรงจุดซึ่งอยูสูงจากพื้น 4 เมตร โดยบันไดยันกับพืนขรุขระ ้ หางจากกําแพง 3 เมตร ก. จงหาแรงที่ยันปลายบันไดวาไมใหไถลลงมา (75 N ) ข . ถามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูปลายบันไดดานลาง หางขึ้นมา 1 ของความยาวของบันได จงหาแรงเสยดทานทพนราบ 4 ี ่ี ้ื ( 84.38 N) 34. AB เปนทอนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 4 เมตร หนัก 8 กิโลกรัม ปลาย A ถูกยึดไวกับผนังอาคารดวยบานพับ ปลาย B ผูกดวย เสนลวดโลหะ BC ยาว 5 เมตร ทําให AB อยูในแนวระดับ  และที่ปลาย B นมวตถหนก 28 กิโลกรัม แขวนดังรูป จงหา ้ี ี ั ุ ั แรงตึงลวด BC (116.67 N) 35. คานสม่ําเสมอ ปลายหนึ่งยึดติดกับกําแพงดวยตะปูเกลี้ยง อีกปลายหนึ่งยึดไวดวยสายเคเบิล ดงแสดงในรป ถาคาน ั ู เคเบิล 3 เมตร หนัก 100 นิวตัน และน้ําหนักที่ถวงขนาด 400 นิวตัน 4 เมตร แรงดึงในสายเคเบิลจะเปนกี่นิวตัน A 1. 1800 2. 750 400 N 3. 600 4. 450 (ขอ 2.) 36. เสนลวดดึงคาน AB ซึ่งมีมวล 5 กิโลกรัม เสนลวด แขวนไวที่ปลาย B ถาคานสม่ําเสมอมีน้ํา หนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร มีปลาย A 37o 1m ตรงตดกาแพง คานสมดุลอยูไดดังรูป จงหา ึ ิ ํ A B วาแรงดงเสนลวดมคากนวตน  ึ  ี  ่ี ิ ั ( 125 ) 4m 5 kg 119
  • 31. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน แรงแคน , ความเคน และความเครียด 37. เสาคอนกรตตนหนงรบนาหนกไดสงสด 20000 กิโลกรัม และจะหดตัวลง 3 มิลลิเมตร ี  ่ึ ั ํ้ ั  ู ุ ถาเสาคอนกรตนมฐานกวาง 10 เซนตเิ มตร หนา 20 เซนตเิ มตร สูง 4.5 เมตร จงหา  ี ้ี ี  คามอดูลัสของเสาตนนี้ (1.5x1010 N/m2) 38(มช 36) วตถหนก 100 นิวตัน แขวนดวยลวดโลหะซึ่งมีความยาวเดิมเทากับ 1 เมตร มีพื้น ั ุ ั ทหนาตดเทากบ 100 ตารางเซนติเมตร ถาลวดโลหะนี้มีคามอดูลัสของยังเทากับ 20x1010 ่ี  ั  ั นวตนตอตารางเมตร ลวดนี้จะยืดออกเทาใด ิ ั  1. 0.5 x 10–6 เมตร 2. 0.5 x 10–7 เมตร 3. 0.5 x 10–12 เมตร 4. 0.5 x 10–11 เมตร (ขอ 2) 39. มอดูลัสของยังของเหล็กมีคา 2 x1011 นิวตัน/เมตร2 ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม ที่  ปลายลางของแทงเหล็กพื้นที่หนาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาใด 1. 1.0 x10–13 เมตร 2. 4.0 x 10–10 เมตร 3. 1.0 x 10–8 เมตร 4. 1.0 x 10–7 เมตร (ขอ 4) 40. ลวดเหล็กเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีพื้นที่หนาตัด 5 x 10–5 ตารางเมตร จงหาวาแรงดงททา  ึ ่ี ํ ใหลวดเสนนียดออก 0.02 x 10–2 เมตร มีคากี่นิวตัน ้ื (คามอดูลัสของยังของลวดเหล็กเทากับ 2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร) ิ ั  1. 200 2. 300 3. 400 4. 500 (ขอ 4.) 41. มอดูลัสของยังของเหล็กมีคา 2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม  ิ ั  ที่ปลายลางของแทงเหล็กพื้นที่หนาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาไร 1. 4.0 x 10–10 เมตร 2. 1.0 x 10–8 เมตร 3. 1.0 x 10–7 เมตร 4. 2.0 x 10–7 เมตร (ขอ 3.) 42. ลวดอลูมิเนียมยาว 2 เมตร และเสนผาศนยกลาง 0.1 เซนติเมตร นําเสนลวดนี้ไปยกวัตถุมวล   ู  1000 กโลกรม ลวดจะยืดออกเทาใด ิ ั ( คามอดูลัสของยังของอลูมิเนียมเทากับ 7 x 1010 นวตนตอตารางเมตร ) ิ ั  (0.35 เมตร) 120
  • 32. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 43. โลหะชนิดหนึ่งมีคามอดูลัสของยัง Y ถานําโลหะนี้ไปทําเปนลวดยาว L มีพื้นที่หนาตัด A แขวนลวดดังกลาวดวยมวล M ทําใหลวดมีระยะยืด X จงหาวามวล M มีคาเทาไร  1. XAY LY 2. AXg L 3. XAYgL 4. XAY (ขอ 4.) gL 44. แทงโลหะอันหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 เซนตเิ มตร และมีคามอดูลัสของยัง Y = 2x1011 นิวตัน/เมตร2 จงหาวาตองออกแรงดึงกีนวตัน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความยาวเพิ่มขึ้น 0.01 ่ ิ เปอรเ ซนต ็ 1. 5000 2. 5700 3. 6300 4. 7000 (ขอ 3.) 45(En 35) เมือแขวนมวล M ไวที่ปลายเสนลวดดังรูป จะทําใหเสน ่ ลวดยืดออก 0.12 เปอรเ ซนตของความยาวเดม ถาพื้นที่หนาตัด ็  ิ ของลวดเทากับ 0.20 ตารางมลลิเมตร และมีคามอดูลัสของยัง ิ เทากับ 2.0 x 1011 นวตนตอตารางเมตร มวล M จะมีคาเทาใด ิ ั  1. 48 kg 2. 24 kg 3. 4.8 kg 4. 2.4 kg ( ขอ 3.) 46. ลวดทองแดงและลวดเหล็กกลามีพื้นที่หนาตัดเทากับ 0.5 ตารางมลลิเมตร และมีความยาว ิ 1 เมตรเทากัน มอดูลัสของยังสําหรับลวดทองแดงเปน 1.2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร  ิ ั  และมอดูลัสของยังสําหรับลวดเหล็ก มีคาเปน 2 x 1011 นวตนตอตารางเมตร ถานําลวดทั้ง ิ ั  สองไปแขวนในแนวดงโดยมกอนนาหนก 100 นิวตัน แขวนที่ปลายลวดความเคนของลวด ่ิ ี  ํ้ ั ทั้งสองตางกันเทาใด และลวดทั้งสองจะยืดออกจากเดิมตางกันเทาใด (6.7x10–4 m) 47. ลวดเหล็กและลวดทองเหลืองยาวเทากัน มพนทหนาตดเปน 0.10 และ 0.15 ตารางเซนติ- ี ้ื ่ี  ั  เมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองดวยแรงเทากัน ลวดจะยดออก 0.25 และ 0.20 เซนตเิ มตร ตาม ึ ลําดับ จงหาอัตราสวนยังมอดูลัสของลวดเหล็กและลวดทองเหลือง 1. 3 : 4 2. 4 : 3 3. 5 : 6 4. 6 : 5 ( ขอ 4) 48. ลวดโลหะตางชนิดกัน 2 เสน ยาวเทากัน มีพื้นที่หนาตัดเทากัน อตราสวนมอดลสของยง ั  ูั ั ของลวดเสนที่ 1 ตอลวดเสนทีสอง เปน 4 : 5 มแรงกระทาตอลวดเสนทหนงตอเสนทสอง ่  ี ํ   ่ี ่ึ   ่ี 5 : 4 จงหาอตราสวนของระยะยดของลวดเสนทหนงตอลวดเสนท่ี 2 ั  ื  ่ี ่ึ   1. 1 : 1 2. 5 : 4 3. 16 : 25 4. 25 : 16 ( ขอ 3) 121
  • 33. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 49(En 38) นําทองแดงและโลหะไมทราบชนิดที่มีพื้นที่หนาตัดและความยาวเทากันมาผูกวัตถุ 7000 กิโลกรัม แขวนหอยไวในแนวดิง ปรากฎวาทองแดงยดออกจากเดม 1.75 มิลลิเมตร ่  ื ิ ขณะที่โลหะไมทราบชนิดยืดออกจากเดิม 1.43 มิลลิเมตร ถาทองแดงมีคามอดูลัสของยัง เทากับ 1.1 x 1011 นวตนตอตารางเมตร โลหะนี้จะมีคามอดูลัสของยังเทากับ ิ ั  1. 1.15 x 1011 N/m2 2. 1.35 x 1011 N/m2 3. 1.65 x 1011 N/m2 4. 1.85 x 1011 N/m2 (ขอ 2) 50. ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟตตัวหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟทและสัม- ภาระในลิฟตมีน้ําหนักรวม 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน (stress) ในสายเคเบิล ในขณะที่  ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอวนาท2  ิ ี 1. 64 x 106 N/m2 2. 48 x 106 N/m2 3. 40 x 106 N/m2 4. 32 x 106 N/m2 (ขอ 2) 51. ลวดเหล็กดึงลิฟตมีความเคนทีขีดจํากัดความยึดหยุนเทากับ 2x108 N/m2 และมีพื้นที่หนา ตัด 1.77x10–4 m2 ถาลิฟทและสัมภาระมีมวล 2000 กิโลกรัม ลิฟตนี้จะสามารถเคลื่อนที่ ขึ้นดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยึดเกินขีดจํากัด (กําหนดให g=10 m/s2) 1. 7.7 m/s2 2. 6.3 m/s2 3. 50 m/s2 4. 4.3 m/s2 (ขอ 1) 52. ลวดเหล็กกลามีขีดจํากัดสภาพยืดหยุด 4 x 107 N/m2 มีพื้นที่หนา ตัด 1x10–3m2 นํามาใชยกลิฟทที่มีมวลรวมทั้งสิ้น 2000 กิโลกรัม ลวดเหล็กกลา ดังรูป อยากทราบคาความเรงสูงสุดของลิฟทที่จะไมทําใหลวดเหล็ก นี้เกินขีดจํากัดสภาพยืดหยุน ลิฟท 1. 100.0 m/s2 2. 10.0 m/s2 a 3. 1.0 m/s2 4. 0.1 m/s2 (ขอ 2) 53. ลวดเหล็กดึงลิฟตมีความเคนที่ขีดจํากัดความยืดหยุนเทากับ 2 x 108 นิวตัน/ตารางเมตร และมีพื้นที่หนาตัด 1.77 x 10–4 ตารางเมตร ถาลิฟตและสัมภาวะมีมวล 2000 กิโลกรัม ลิฟตนี้จะสามารถเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยืดเกินขีดจํากัด 1. 7.7 m/s2 2. 6.3 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 4.3 m/s2 (ขอ 1) !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" 122
  • 34. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สมดุ ล กล (บางข อ ) 5. ตอบ ขอ ก.  วธทา คิดแกน y ิี ํ จะได Fลัพธ = Fลง T1 sinθ = mg T1 = mg sinθ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" 6. ตอบ 10 N วธทา ิี ํ คิดแกน y จะได Fขึ้น = Fลง 20 sin 30 = W W = 20( 1 ) 2 W = 10 นิวตัน !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" 12. ตอบขอ 4 วิธีที T1 T2 T1 T2 53o 90o 37o 90o 90o 90o 143o 127o W W T1 T1 จากรูปจะไดวา sin127o = sin143o T1 sin127o T2 = sin143o T1 (4 ) T2 = sin37o = 3 5 = 4 sin53o 3 ( 5) !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" 123
  • 35. Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน 15. ตอบ 100 N วธทา จากรูปจะไดวา ิี ํ 20 kg F = Fลง F 30o ขน ้ึ F = 200sin30o 200sin30o F = 200( 1 ) 2 30o F = 100 นิวตัน 200 N !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" 16. ตอบ ขอ 4. วธทา ในภาวะสมดุล แรงลัพธตองเปนศูนย ิี ํ ดังนันจึงไดวา Fดึงขึ้น = Fดึงลง ้  m2 ⋅ g = m1 g ⋅ sinθ m2 = m1 ⋅ sinθθ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" 124