SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 180
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

                                       วรรณคดีวิจักษ์
                      • วิชาภาษาไทย รหัส ท๓๒๑๐๒
                              • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

ลิลิตตะเลงพ่าย              • โดย..ครูไทยรัฐ โพธิ์พันธุ์
                            • กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
            • โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ฯ
คาชี้แจง
        ลิ ลิ ต ตะเลงพ่ า ยเป็ น วรรณคดี ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา
ศัพท์บางคายากแก่การเข้าใจ จึงจัดทา PWP ประกอบ
การเรียนโดยมีคาแปลอย่างย่อๆ ของแต่ละตอน และมีคาศัพท์
ประกอบเพื่อให้นักเรียนศึกษา และอ่านเข้าใจยิ่งขึ้น จะทาให้
นักเรียนเกิดความประทับใจในความงามของวรรณคดีไทย อัน
ควรแก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ให้ ค นรุ่ น หลั ง ได้ ชื่ น ชมและเห็ น ความ
เก่งกล้าสามารถของกษัตริย์ไทย
ประวัติผู้พระนิพนธ์
 ลักษณะการประพันธ์
   เรื่องย่อ/คาประพันธ์
     แบบทดสอบ/กิจกรรม
             ความรูเ้ สริม
ภาค ๑
เคลือนทัพจับความตามที่มา
    ่
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
                       คาว่า “ตะเลง” หมายถึง มอญ
                “พ่ า ย” หมายถึ ง แพ้ “ตะเลงพ่ า ย” จึ ง
แปลว่า “มอญแพ้” ทั้งนี้เพราะในสมัยสมเด็จพระนเรศวร-
มหาราช มอญตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า และพม่าได้ย้ายราช
ธานีมาอยู่ที่เมืองหงสาวดีเพื่อควบคุมดูแลพวกมอญได้สะดวก
การสงครามระหว่างไทยกับพม่าในสมัยพระนเรศวรมหาราช
ดังปรากฏในวรรณคดีเรื่องนี้ “ไทยมีชัยชนะ”
                 แม้ว่าพม่าได้เกณฑ์พวกมอญมาในกองทัพ
                 เป็นจานวนมาก คาว่า “ตะเลงพ่าย”
                                จึงหมายถึง “พม่าแพ้นั่นเอง”
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
       วรรณคดี เ รื่ อ งนี้ ด าเนิ น เรื่ อ งตามพระราช
พงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) (ซึ่งเป็นพระราช-
พงศาวดารอยุธ ยาที่ น ามาช าระ และเรีย บเรี ยงให้ ไ ด้
เนื้อหาที่ครบถ้วนสมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นฉบับที่ถือเป็น
หลักกันมา) ดังปรากฏในร่ายตอนต้นเรื่องว่า
               “จักดาเนินในเบื้ อง เรืองราชพงศาวดาร
                                      ่
            บรรหารเหตุแผ่นภู ชูพระยศเจ้าหล้า...”
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
        ลิ ลิ ต ต ะ เ ล ง พ่ า ย แ ต่ ง ขึ้ น โ ด ย มี
จุดประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระ-
นเรศวรมหาราช ดังความในร่ายต้นเรื่องว่า
“...เฉลิมพระเกียรติผ่านเผ้า เจ้าจักรพรรดิแผ่น
สยาม สมญานามนฤเบศ นเรศวรนรินทร์...”
และในโคลงสี่สุภาพท้ายเรื่องว่า
        “จบกลอนเกลาพากย์อาง อภิปราย
                                 ้
        เถลิงเกียรติราชบรรยาย ยศไท้”
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
                         พระประวัติผูนิพนธ์
                                     ้
   ผูนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย คือ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า-
     ้
กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส กวีผูแต่งได้บอกนามไว้ชดเจน
                              ้                ั
ในโคลงกระทูตอนท้ายเรือง ดังนี้ ๕/๔
              ้        ่
                กรมหมื่นนุชิตเชื้อ    กวีวร
       ชิโนรส มิ่งมหิศร               เสกให้
       ศรีสุคต พจนสุนทร               เถลิงลักษณ์ นี้นา
       ขัตติยวงศ์ ผจงโอษฐ์ไว้          สืบหล้าอย่าศูนย์
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
     นอกจากนี้ มี ผู้ ช่ ว ยแต่ ง คื อ พระองค์ เ จ้ า
ก ปิ ษ ฐ า ขั ต ติ ย กุ ม า ร เ ป็ น พ ร ะ ร า ช โ อ ร ส ใ น
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอม
มารดาอัมพา ดังระบุในเรื่องว่า
        “ไพบูลย์โดยบทเบื้อง โบราณ รีดนา
      รังสฤษฏ์พระหลานตู              ต่อบ้าง
      กปิษฐาขัตติยกุมาร              สมมติ นามนา
      หน่อบพิตรเจ้าช้าง              เผือกผู้สามทรง”
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
         สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า กรมพระปรมานุ ชิ ต
ชิโนรส เป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาจุ้ย เมื่อวัน
เสาร์ที่ ๑๑ ธัน วาคม พ.ศ. ๒๓๓๓ พระนามเดิ ม คื อ
พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวาสุกรี ๕/๓
         เมื่อมีพระชนมายุได้ ๑๒ พรรษา ได้บรรพชาเป็ น
สามเณร ณ วัด พระศรี ร ัต นศาสดาราม แล้ว เสด็ จ ไป
ประทับ ณ วัน พระเชตุ พ นวิ ม ลมัง คลาราม ทรงศึ ก ษา
ภาษาไทย ภาษาขอม ภาษาบาลี วิ ช าโบราณคดี
ตลอดจนวิชาลงเลขยันต์ต่างๆ จากสานักสมเด็จพระวันรัต
                        (พนรัตน) วัดพระเชตุพนฯ นั้น
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
         ต่ อ มาใน พ.ศ. ๒๓๕๔ พระองค์
ผนวชเป็ นพระภิ ก ษุ ฉายาว่ า “สุ ว ัณ ณรัง สี ”
และประทับ ณ วัด พระเชตุ พ นฯ สื บ มาจน
ตลอดพระชนมายุ
         พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้า -
นภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระ
เจ้าน้องยาเธอพระองค์เจ้าวาสุกรี เป็ นอธิบดี
สงฆ์ว ด พระเชตุ พ นฯ และทรงสถาปนาเป็ น
       ั
“กรมหมืนนุชิตชิโนรส ศรีสุคตขัตติยวงศ์”
          ่
                  ๕/๖
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
           ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หว ได้มี
                                        ่         ั
การบู ร ณปฏิ ส ัง ขรณ์ว ัด พระเชตุ พ นฯ และรวบรวมวิ ช า
ความรู ด านต่ า งๆ มาจารึ ก ลงในแผ่ นศิ ล าประดับ ไว้ต าม
         ้ ้
ระเบียงและผนังภายในเพื่อให้เป็ นแหล่งวิ ทยาการสาหรับ
ประชาชน
           วัดพระเชตุพนฯ จึ งนับว่าเป็ น “มหาวิทยาลัยแห่ง
แรกของเมืองไทย” การจารึกวิชาการดังกล่าว กรมหมืนนุ     ่
ชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ตาราต่ างๆ ไว้หลายเรื่อง เช่น ตารา-
ฉัน ท์ว รรณพฤติ แ ละมาตราพฤติ , โคลงภาพฤาษี ด ด ตน, ั
โคลงจารึกศาลาราย, โคลงจารึกพระมหาเจดีย,์
          โคลงภาพคนต่างภาษา เป็ นต้น
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
         เมือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวขึ้ น
              ่                                   ั
ครองราชย์ใน พ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงสถาปนากรมหมื่นนุ
ชิตชิ โนรสขึ้ นเป็ น กรมสมเด็จ พระปรมานุ ชิตชิ โนรส”
ตาแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
องค์ที่ ๗ แห่ งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์สิ้นพระชนม์
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมือ พ.ศ. ๒๓๙๖ สิริพระชนมายุได้
                      ่
๖๓ พรรษา
         หลังจากสิ้ นพระชนม์แล้ว ๖๘ ปี คือใน พ.ศ.
๒๔๖๔ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรง     ั
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้ นเป็ น “สมเด็จพระ
มหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส”
ลิลิตสมเด็จพระมหาสมณเจ้าย
     ...ตะเลงพ่ า กรมพระปรมานุ
ชิตชิโนรส ทรงมีความรู้ แตกฉานทังทางคดีโลกและ    ้
คดีธรรมทรงได้ รับพระเกียรติคณยกย่องว่าเป็ น
                                   ุ
“รั ต นกวี ” แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ทรงมี พ ระปรี ช า
สามารถอันเชี่ยวชาญยิ่งในการทรงนิพนธ์คาประพันธ์
ประเภทต่างๆ งานพระนิพนธ์จึงมีเป็ นจานวนมาก ทัง้
โคลง ฉันท์ กาพย์ ร่ าย กลอน และร้ อยแก้ ว ทุก -
เรื่ องล้ วนมีคณค่าด้ านวรรณศิลปและมีเนื ้อหางดงาม
               ุ                            ์
เป็ นมรดกอันล ้าค่าที่อนุชนควรรักษา
            พระนิ พ นธ์ ซึ่ง เป็ นที่ ร้ ู จัก แพร่ ห ลาย ได้ แ ก่
สรรพสิทธิ์ คาฉันท์ กฤษณาสอนน้ องคาฉันท์ สมุทร
โฆษคาฉันท์ตอนปลาย ร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
(หลายกัณฑ์) ปฐมสมโพธิกถา และลิลิตตะเลงพ่ าย
ลิลิต...ตะเลงพ่าย
          สมเด็ จ พระมหา สมณเจ้ า กรม-
พระปรมานุชิตชิโนรส ทรงมีความรู้แตกฉานทัง           ้
ทางคดีโลกและคดีธรรมทรงได้ รับพระเกียรติคุ
          ทรงได้ รั บ การยกย่ อ งจากองค์ ก าร
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
( UNESCO)ว่ า พระองค์ เ ป็ นบุ ค คลดี เ ด่ น
ท า ง ด้ า น วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง โ ล ก ป ร ะ จ า ปี
พ.ศ. ๒๕๓๓
ลักษณะคำประพันธ์
      แต่งเป็ นลิลิตสุภาพ ประกอบด้วยร่ายสุภาพและโคลง
สุภาพ (ได้แก่ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่
สุภาพ) แต่ งปนกันโดยร้อยโคลงส่ งสัมผัส ระหว่ างบทโดย
ตลอด ดังนี้
       โคลง ๔ ส่ งสั มผัสระหว่ างบทกับโคลงสาม
               เบื้องบรมขัตติย์ท่องท้อง แถวธาร
     พระจักไล่ลุยลาญ                     เศิกไสร้
     ริปูบ่อรอราญ                        ฤทธิ์ราช เลยพ่อ
     พ่อจักชาญชเยศได้                    ดั่งท้าวใฝ่ฝัน

                      ครั้นบดินทร์ดาลได้ สดับพยากรณ์ไท้
             ธิราชแผ้วบนเกษม
คาประพันธ์แต่ละชนิดมีคณะและสัมผัสบังคับ
   ดังนี้
            แผนผังของโคลงสองสุภาพ




สัมผัสระหว่างบท (คารับสัมผัสระหว่างบทจะใช้คาที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ได้)
ตัวอย่ำงคำประพันธ์
          เจ็บจาบัลบ่มเศร้า   ไป่กี่ปางจักเต้า
   แขกน้องคืนถนอม             แม่นา
   ตรอมกระอุอกช้า             ปวดปิ้มฝีหวขว้า
                                          ั
   บ่งได้เยียไฉน              นี้นา
แผนผังของโคลงสามสุภาพ




คำรับสัมผัสในวรรคที่ ๒ จะใช้คำที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ได้
ตัวอย่ำงคำประพันธ์           พวกพลทัพรามัญ
                     เห็นไทยผันหนีหน้า
                     ไปบ่หยุดยั้งช้า
                     ตื่นต้อนแตกฉาน น่านนา
                             ไป่แจ้งการแห่งเล่ห์
                     เท่ห์กลไทยใช่น้อย
                     ต่างเร่งติดเร่งต้อย
                     เร่งเต้าตีนตาม มานา
แผนผังของโคลงสี่สุภาพ


ตัวอย่าง
               อ้าองค์จักรพรรดิผู้   เพ็ญยศ
       แม้พระเสียเอารส               แก่เสี้ยน
       จักเจ็บอุระระทด               ทุกข์ใหญ่ หลวงนา
       ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน            หั่นกลิ้งไกลองค์
แผนผังของร่ ายสุภาพ




จบด้ วยโคลงสุภาพ (ตรงช่ วงที่ขีดเส้ นใต้ คือ โคลงสองสุภาพ)
ข้อบังคับ
     ร่าย ๑บท จะยาวกี่วรรคก็ได้ แต่ละวรรคมีจานวนคาวรรคละ
๕ คาการส่งสัมผัส ให้คาสุดท้ายของวรรคหน้าส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๑
หรือ ๒ หรือ ๓ (คาใดคาหนึ่ง) ในวรรคถัดไป ต่อเนื่องกันไปเช่นนี้ทุก
วรรค
     ถ้ า ค าส่ ง สั ม ผั ส มี รู ป วรรณยุ ก ต์ ใ ด ค ารั บ สั ม ผั ส ควรใช้ รู ป
วรรณยุกต์นั้นด้วย (ให้สังเกตจากตัวอย่างที่ยกมา)
เวลาจบบท ต้องจบด้วยโคลงสองสุภาพ (ตามช่วงที่ขีดเส้นใต้ให้เห็น)
ตัวอย่าง
        พระอาวรณ์หวั่นเทวษ ถึงอัคเรศแรมเวียง พลางเมิลเมียงไม้เขา
  โดยลาเนาแดนเถื่อน เคลื่อนแสนยาโจษจน ลุตาบลสังคล่า ป่าระหง
  ดงดอน พิศศีขรรายเรียง เพียงสุดสายเมฆเมิล เนื่องเนิ่นเนินไศล
  สูงไสวว่ายฟ้า ชอ่าอ้าหาวหน ...ฯลฯ พฤกษาเสียดสีกิ่ง เสียงเสนาะ
  ยิ่ ง อย่ า งพิ ณ พระยลยิ น พิ ศ วง ถวิ ล ถึ ง องค์ อั ค เรศ ยามดุ ริ เ ยศ
  จาเรียง ประสานเสียงถวายซอ พึงพอใจพอกรรณ ธ ก็ จาบัลบมิ
  เบื่อ เหงื่อเนตรตกอกช้า เหลือทุกข์เหลือที่กล้า เทวษไว้ไป่มี แม่เอย
๕/๒
ภาค ๒
เดินทัพ จับเรื่อง
เนื้อเรื่องย่อ
           เริ่มเรื่องด้วยบทประณามพจน์ยอพระเกี ยรติยศ
พระเจ้าแผ่นดิน และกล่าวถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ต่ อ จากรพระราชบิ ด า (สมเด็ จ พระ
มหาธรรมราชา) พระเอกาทศรถผู้เป็นพระอนุชาได้เป็น
พระมหาอุปราช พระองค์ทรงปรารภจะไปตีเมืองเขมรซึ่ง
มักเอาใจออกห่างเสมอ
เนื้อเรื่องย่อ
       ทางฝ่ า ยพม่ า พระเจ้ า หงสาวดี ท รงปรารภว่ า จะ
มาตีกรุงศรีอยุธยา เพราะเห็นว่าเพิ่งผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน
พระมหาอุปราชพระราชโอรสจึงจาต้องยกทัพมาตีไทยโดย
เดินทัพมาตั้งค่ายที่ตาบลตะพังตรุ
เนื้อเรื่องย่อ
       สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทราบข่าวศึก ขณะ
เตรียมทัพไปรบเขมร จึงทรงเคลื่อนทัพไปตั้งรับพม่าที่หนอง
สาหร่าย ทัพหน้าของไทยปะทะทัพหงสาวดี สมเด็จพระ
นเรศวรทรงเคลื่อนทัพหลวงและได้เข้าชนช้างกับพระมหา
อุปราชา ทรงได้ชัยชนะ ทัพหงสาวดีแตกพ่าย
       เมื่อเสร็จศึกทรงปูนบาเหน็จทหาร และปรึกษาโทษ
แม่ทัพนายกองที่ตามเสด็จไม่ทัน ปล่อยพระองค์และพระ
อนุชาตกอยู่ท่ามกลางวงล้อมของพม่า
เนื้อเรื่องย่อ
        สมเด็จพระวันรั ต วัดป่าแก้วทูลขอพระราชทานอภัย
โทษแก่แม่ทัพนายกองเหล่านั้น พระองค์พระราชทานให้ แต่
ให้แม่ทั พนายกองทั้ งหลายแก้ตั ว โดยยกทัพไปตีเมื อ งทวาย
มะริด และตะนาวศรี ต่อมาเมืองเชียงใหม่ส่งทูตมาขอเป็น
เมืองขึ้น ตอนท้ายเรื่องเป็นเนื้อความยอพระเกียรติสมเด็จ
พระนเรศวรที่ทรงดารงพระองค์อยู่ในทศพิธราชธรรม ๑๐
ข้อ ราชสดุดี ๕ ข้อ และจักรพรรดิวัตร ๑๒ ข้อ
ตอนจบบอกนามผู้นิพนธ์
เนื้อเรื่องย่อ
           ลิ ลิ ต ตะเลงพ่ า ยเป็ น วรรณคดี ที่ มี เ นื้ อ
เรื่องค่อนข้างยาว ดาเนินเรื่องโดยใช้ร่ายและ
โคลง (ทั้ งโคลงสอง โคลงสาม และโคลงสี่ )
ในที่ นี้ จึ ง ขอกล่ า วถึ ง เนื้ อ เรื่ อ งพร้ อ มทั้ ง ยกค า
ประพั น ธ์ มาประกอบเพี ยงบางส่ วนเพื่ อให้ไ ด้
เห็ น คุ ณ ค่ า ด้ า นต่ า งๆ ของวรรณคดี อั น เป็ น
งานพระนิพนธ์ที่ดีเยี่ยมของสมเด็จพระมหา-
สมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
แบบทดสอบ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑
คาสั่ ง จงเติมคาหรือข้ อความลงในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง
๑.ผูแต่ง “ลิลิตตะเลงพ่าย” ทรงมีพระนามเดิมว่า......................................................
    ้
๒.ผูแต่ง “ลิลิตตะเลงพ่าย” ทรงเป็ นพระราชโอรสใน..............................................
      ้
และ......................................................................
๓.ผูแต่ง “ลิลิตตะเลงพ่าย” ได้บรรพชา และอุปสมบทที่วด ....................................
    ้                                                                     ั
๔.ตาแหน่ง “พระมหาสมณเจ้า” ของผูแต่ง                      ้
   พระมหากษัตริ ยผทรงพระราชทานคือ........
                           ์ ู้
๕. เหตุใดผูแต่งจึงได้รับยกย่องเป็ น “รัตนกวี” แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ....................
               ้
แบบทดสอบ
๖. ตะเลงพ่าย หมายถึง...................................................................................
๗. เรื่ อง “ลิลิตตะเลงพ่าย” มีผช่วยแต่ง พระนามว่า.......................................
                                                ู้
๘. ลิลิตสุ ภาพ ประกอบด้วยคาประพันธ์ประเภท...........................................
๙.ร่ ายสุ ภาพเป็ นร่ ายที่บงคับ วรรคละ .............คา และจบด้วยคาประพันธ์
                                     ั
    ประเภท.......................................
๑๐.ให้เขียนแผนผังร่ ายสุ ภาพ จานวน ๑ บท พร้อมทั้งลักษณะบังคับ
.........................................................................................................................
๑๑.ให้เขียนแผนผังโคลงสองสุ ภาพ จานวน ๑ บท........................................
๑.พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวาสุกรี
๒.พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก และเจ้าจอมมารดาอุย
                                                     ้
๓.บรรพชา ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และอุสมบท ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม
๔.พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั
๕.พระองค์ทรงมีพระปรี ชาสามารถในการทรงนิพนธ์คาประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และมีงานนิพนธ์ จานวนมาก
๖.พม่าแพ้
๗.พระองค์เจ้ากปิ ษฐาขัตติยกุมาร
๘.ร่ ายสุภาพ และโคลงสุภาพ (โคลงสองสุภาพ , โคลงสามสุภาพ , โคลงสี่ สุภาพ)
๙.วรรคละ ๕ คา จบด้วยโคลงสองสุภาพ
๑๐. แผนผังร่ ายสุภาพ

๑๑.แผนผังโคลงสองสุภาพ




                    สัมผัสระหว่างบท (คารับสัมผัสระหว่างบทจะใช้ คาที่ ๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ ก็ได้ )
กรอบที่ ๒
                          เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี

• ตอนที่หนึ่ง เริ่มด้วยบทกวี
       บทประณามพจน์ เริ่มด้วยร่ายยอพระเกีย รติพระเจ้าแผ่นดินว่า
  ด้วยพระเดชานุภาพทรงสามารถปราบศัตรูให้พ่ายแพ้ไป
       เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์บ้านเมืองจึงสงบร่มเย็น ผู้คนในแผ่นดินล้วน
  กล่าวสรรเสริญพระเกียรติคุณ
กรอบที่ ๒
                  เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี
เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี
        พระเจ้านันทบุเรง กษัตริย์พม่าทรงทราบข่าวว่าพระมหา-
ธรรมราชาสวรรคต จึ งทรงคาดว่ ากรุ ง ศรีอยธยาอาจมีก ารชิ ง
บัลลังก์กันระหว่างพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถ จึงรับสั่งให้พระ
มหาอุปราชาผู้เป็นโอรสยกทัพมารุกรานไทย แต่พระมหาอุปราชา
ได้กราบทูลพระราชบิดาว่า โหรทานายว่าพระองค์กาลังมีเคราะห์
พระเจ้า นันทบุเ รงจึงตรัสประชดว่า ถ้าเกรงจะมี เคราะห์ก็ให้นา
เสื้อผ้าสตรีมาสวมใส่เพื่อเป็นการสร่างเคราะห์ พระมหาอุปราชา
เกรงพระราชอาญาและทรงอับอาย จึงยกทัพไปกรุงศรีอยุธยา
โดยเกณฑ์พลจากเชียงใหม่และเมืองขึ้นต่าง ๆ มาช่วย จากนั้น
พระองค์ก็เสด็จเข้าห้องเพื่อไปลาพระสนมด้วยความอาลัย
กรอบที่ ๒
                          เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี
• ร่าย
                 ฝ่ ายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้ าวอัสดง หงสาวดีบเุ รศ รั่วรู้ เหตุบมิหึง
แห่งเอิก อึงกิ ดาการ ฝ่ ายพสุธารอออกทิศ ว่าอดิศวรกษั ตรา มหาธรรมราชนริ นทร์
เจ้ าปถพินทร์ ผ่านทวีป ดับชนมชีพพิราลัย เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยศวรรยา แจ้ ง
กิจจาตระหนัก จึ่งพระปิ่ นปั กธาษตรี บุรี รัตนหงสา ธก็บญชาพิภาษ ด้ วยมวลมาตยา
                                                               ั
กร ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร เพื่อกษัตริ ย์สองสู้ บร้ าง
รู้ เหตุผล ควรยาตรพลไปเยือน เตือนประยุทธ์เอาเปรี ยบ แม้ นไป่ เรี ยบเป็ นที โจมจู่ยี่ย่า
ภพ เสนีนบนึกชอบ ระบอบเบื ้องบรรหาร ธก็เอื ้อนสารเสาวพจน์ แต่เอารสยศเยศ องค์
อิศเรศอุปราช ให้ ยกยาตราทัพ กับนครเชี ยงใหม่ เป็ นพยุหใหญ่ ห้าแสน ไปเหยียบ
แดนปราจิ น บุต รท่ า นยิ น ถ้ อ ถ้ อ ย ข้ อ ยผู้ข้ า บาทบงสุ์ โหรควรคงท านาย ทายพระ
เคราะห์ถงฆาต
           ึ
กรอบที่ ๒
                           เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี
                                    ๕/๑
• ฟั งสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้ าอยุธยามีบตร ล้ วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ หาญหัก
                                                       ุ
  ศึกบมิยอ ต่อสู้ศกบมิหยอน ไปพักวอนว่าใช้ ให้ ธหวงธห้ าม แม้ นเจ้ าคร้ ามเคราะห์กาจ
          ่        ึ
  จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรี ย์สร่ างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด
  องค์ อุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตย์ มวล นวลพระพักตร์ ผ่องเผือด เลือดสลด
  หมดคล ้า ช ้ากมลหมองมัว กลัวพระอาชญายอบ นอบประณตบทมูล ทูลลาไท้ ลีลาศ
  ธก็ประกาศเกณฑ์พล บอกยุบลบ่มิหึง ถึงเชียงใหม่ตระบัด เร่ งแจงจัดจตุรงค์ ลงมาสู่
  หงสา แล้ วธให้ หาเมืองออก บอกทุกแดนทุกด้ าว บอกทุกท้ าวทุกเทศ ทั่วทุกเขตทุก
  ขอบ รอบสีมามณฑล ทราบนุสนธิ์ ทุกแห่ง ต่างตกแต่งแสะสาร แสนยาหาญมหิมา
  คลาบรรลุเวียงราช แลสระพราศสระพรั่ง คังคับนับเหลือตรา ต่างภาษาต่างเพศ พิเศษ
                                                ่
  สรรพแต่งตน ข้ าศึกยลแสยงฤทธิ์ บพิตรธเทียบทัพหลวง โดยกระทรวงพยุบาตร จัก
  ยาตราตรู่เช้ า เสด็จเข้ านิเวศไท้ เกรี ยมอุระราชไหม้ หม่นเศร้ าศรี สลาย อยูนา
                                                                            ่
กรอบที่ ๒
                 เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี
• โคลง ๒
          พระผาดผายสู่ห้อง หาอนุชนวลน้อง
   หนุ่มหน้าพระสนม
          ปวงประนมนบเกล้า งามเสงี่ยมเฟี้ยมเฝ้า
   อยู่ถ้าทูลสนอง
          กรตระกองกอดแก้ว       เรียมจักร้างรสแคล้ว
   คลาดเคล้าคลาสมร
          จาใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละห้อย
   ห่อนช้าคืนสม แม่แล ๕/๒
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒

คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
๑.“หงสาวดีบุเรศ รั่วรู้เหตุบมิหึง แห่งเอกอึงกิดาการ”
   ข้อความนี้สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
 ก.   หาญหักศึกบมิย่อ ต่อสูศกบมิหย่อน
                           ้ึ
 ข.   เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยสวรรยา
 ค.   มหาธรรมราชานรินทร์ เจ้าปถพินทุร์ผ่านทวีป ดับชนม์ชีพพิราลัย
 ง.   เตือนประยุทธ์เอาเปรียบ แม้นไป่เรียบเป็นที โจมจู่ยย่าภพ
                                                       ี
๒. “ธก็บัญชาพิภาษ ด้วยมวลมาตรยากร ว่านครรามินทร์
ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช” “นครรามินทร์” หมายถึงข้อใด
  ก. เมืองมอญ                                    ข. เมืองพม่า
  ค. เมืองไทย                                    ง. เมืองเขมร
  ๓. เมืองใดมาช่วยพม่ารบกับไทย
ก.เมืองเขมร                                      ค. เมืองเชียงราย
ข.เมืองเชียงใหม่                                 ง. เมืองมอญ
  ๔. “แม้นไป่เรียบเป็นที โจมจู่ยีย่าภพ” หมายความว่าอะไร
    ก. ถ้าสนามรบเรียบดี การโจมตีก็สะดวก
    ข. แม้เหตุการณ์ไม่เรียบร้อย เป็นโอกาสที่จะโจมตี
    ค. หากว่าสนามรบไม่ราบเรียบ ก็อย่าเข้าโจมตีเลย
    ง. แม้นมีเหตุการณ์เรียบร้อย ก็ยกทัพกลับโดยเร็ว
๕.“เป็นพยุหใหญ่ห้าแสน ไปเหยียบแดนปราจิน”ข้อความที่ขด    ี
   เส้นใต้หมายถึงข้อใด
   ก. จังหวัดปราจีนบุรี          ข. เมืองเขมร
   ค. เมืองเชียงใหม่             ง. เมืองไทย
๖. “บุตรท่านยินถ้อถ้อย ข้อยผู้ข้าบาทบงสุ” คาที่ขีดเส้นใต้
                                             ์
   หมายถึงข้อใด
   ก. ค่าพูดที่ไพเราะ            ข. กล่าวโต้ตอบ
   ค. ถ้อยค่าพูด                 ง. ถนัด
๗. คาพูดในข้อใดทาให้ผู้ฟัง “แสนอัประมาณมาตย์มวล”
   ก. เจ้าอยุธยามีบุตร       ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ
   ข. เอาพัสตราสตรี          สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์
   ค. ให้ยกยาตราทัพ         กับนครเชียงใหม่
   ง. เลือดสลดหมดคล้่า      ช้่ากมลหมองมัว
๘. “เร่งแจงจัดจตุรงค์” จตุรงค์หมายถึงอะไร
        ก. ทหารสี่เหล่า คือ เหล่าช้าง ม้า รถ พลเดินเท้า
        ข. โชคดีสี่ประการ คือ แม่ทัพดี อาหารสมบูรณ์ ทหารกล้า วันเดือนดี
        ค. พรสี่ประการคือ อายุ วรรณะ สุข พละ
        ง. อาวุธดี ได้แก่ ดาบ ของ้าว หน้าไม้ ปืนไฟ
๙. “คั่งคับนับเหลือตรา ต่างภาษาต่างเพศ” คาว่า เพศ ในที่นี้
  แปลว่าอะไร
        ก. ภาษาพูด                       ข. อาวุธชนิดหนึ่ง
        ค. สัตว์พาหนะ                    ง. รูปร่างหน้าตา
๑๐.ข้อใดมีการใช้สัญลักษณ์ แสดงภาพพจน์
     ก.   พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จศึกด้าว ดั่งเบื้องบรรหาร
     ข.   มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
     ค.   กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว คลาดคลาสม
     ง.   สงครามครานี้หนัก ใจเจ็บจริงนา
คาตอบ
๑. ค
๒. ค
๓. ค
๔. ข
๕. ง
๖. ข
๗. ข
๘. ก
๙. ง
๑๐. ก
กรอบที่ ๓
                 พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท
พระเจ้านันทบุเรง ประทานโอวาท ๘ ประการแก่พระมหาอุปราชา ดังนี้
  ๑. อย่าเป็นคนหูเบา
  ๒. อย่าทาอะไรตามใจตนเอง ไม่นึกถึงใจผู้อื่น
  ๓. รู้จักเอาใจทหารให้ฮึกเหิมอยู่เสมอ
  ๔. อย่าไว้ใจคนขี้ขลาดและคนโง่
  ๕. ควรรอบรู้ในการจัดกระบวนทัพทุกรูปแบบ
   ๖. รู้หลักพิชยสงคราม การตั้งค่าย
                 ั
   ๗. รู้จักให้บาเหน็จความดีความชอบแก่แม่ทัพนายกองทีเ่ ก่งกล้า
   ๘. อย่าลดความเพียรหรืออย่าเกียจคร้าน
กรอบที่ ๓
               พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท
• โคลง ๒
        พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จศึกด้าว
  ดั่งเบื้องบรรหาร
• โคลง ๓
        ภูบาลอื้นอานวย    อวยพระพรเลิศล้น
  จงอยุธย์อย่าพ้น         แห่งเงื้อมมือเทอญ พ่อนา
กรอบที่ ๓
            พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท
• โคลง ๔
     จงเจริญชเยศด้วย             เดชะ
  ชาวอยุธย์อย่าพะ                พ่อได้
  จงแพ้พินาศพระ                  วิริยภาพ พ่อนา
  ชนะแด่สองท่านไท้               ธิราชเจ้าจอมสยาม
กรอบที่ ๓
            พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท

      สงครามความเศิกซึ้ง           แสนกล
จงพ่ออย่ายินยล                     แต่ตื้น
อย่าลองคะนองตน                     ตามชอบ ทานา
การศึกลึกเล่ห์พื้น                 ล่อเลี้ยวหลอกหลอน
กรอบที่ ๓
             พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท
        จงแจ้งแห่งเหตุเบื้อง        โบราณ
เป็นประโยชน์ยุทธการ                 กล่าวไว้
เอาใจทหารหาญ                        เริงรื่น อยู่นา
อย่าระคนปนใกล้                      เกลือกกลั้วขลาดเขลา
        หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้        สบสถาน
เจนจิตวิทยาการ                      กาจแกล้ว
รู้เชิงพิชัยชาญ                     ชุมค่าย ควรนา
อาจจักรอนรณแผ้ว                     แผกแพ้พังหนี
กรอบที่ ๓
            พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท

      หนึ่งรู้บาเหน็จให้            ขุนพล
อันสมรรถมือผจญ                      จิตเสี้ยน
อย่าหย่อนวิริยะยล                   อย่างเกียจ
แปดประการกลเที้ยร                   ถ่องแท้ทางแถลง
กรอบที่ ๓
     พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท
      จงจำคำพ่อไซร้        สั่งสอน
จงประสิทธิ์สมพร            พ่อให้
จงเรืองพระฤทธิ์รอน         อริรำช
จงพ่อลุกลำภได้             เผด็จด้ำวแดนสยำม
พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง
      กวีใช้ลีลาการแต่งแบบนิราศแต่งบทราพันถึงนาง
โดยนาธรรมชาติที่พระมหาอุปราชาได้พบเห็นเชื่อมโยงกับ
อารมณ์ความรู้สึกของพระองค์ที่มีต่อพระสนม
      ใช้ความเปรียบโดยนาชื่อดอกไม้ ต้นไม้ เป็นสื่อ
พรรณนาความรัก และความอาลัยต่อนางอันเป็นที่รักได้
อย่างไพเราะ และสะเทือนอารมณ์เป็นอย่างยิ่ง ๕/๔
พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง
• โคลง ๔
           มาเดียวเปลียวอกอ้า อายสู
                      ่
    สถิตอยู่เอ้องค์ดู         ละห้อย
    พิศโพ้นพฤกษ์พบู           บานเบิก ใจนา
    พลางคะนึงนุชน้อย          แน่งเนื้ อนวลสงวน
พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง
• โคลง ๔
          สลัดไดใดสลัดน้อง   แหนงนอน ไพรฤๅ
    เพราะเพือมาราญรอน
            ่                เศิกไสร้
    สละสละสมร                เสมอชื่อ ไม้นา
    นึกระกานามไม้            แม่นแม้นทรวงเรียม
พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง
      • โคลง ๔
        สายหยุดหยุดกลินฟุ้ ง
                      ่        ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่หหาย
               ์               ห่างเศร้า
กีคืนกีวนวาย
  ่ ่ั                         วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบคาเช้า
             ่                 หยุดได้ฉนใด
                                         ั
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓
คาชี้แจง ให้นักเรียนยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่มีความหมายเกี่ยวกับโอวาท ๘
         ประการต่อไปนี้ (ข้อ ๑ – ๘)
         ๑. อย่ าหูเบา
        ๒. อย่าทาอะไรตามใจตนเอง
        ๓. ให้ เอาใจทหาร
         ๔. อย่าไว้ ใจคนขลาด
        ๕. รอบรู้ กระบวนการจัดทัพ
        ๖. รู้ หลักตาราพิชัยสงคราม
         ๗. ให้ รางวัลทหารที่มความสามารถ
                               ี
        ๘. จงพากเพียร อย่ าเกียจคร้ าน
  ๙. “สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นำ” คาประพันธ์ นีใช้ ศิลปะในการแต่ งอย่ างไร
                                                ้
 ๑๐.“สำยหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยำมสำย” คาประพันธ์ นีใช้ ศิลปะในการแต่ งอย่ างไร
                                                  ้
คำตอบ
๑. จงพ่ออย่ายินยล         แต่ตื้น
๒. อย่าลองคะนองตน         ตามชอบ ทานา
๓. เอาใจทหารหาญ           เริงรื่น อยู่นา
๔. อย่าระคนปนใกล้         เกลือกกลั้ว ขลาดเขลา
๕. หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้   สบสถาน
๖. รู้เชิงพิชัยชาญ        ชุมค่าย ควรนา
๗. หนึ่งรู้บาเหน็จให้     ขุนพล
๘. อย่าหย่อนวิริยะยล      อย่างเกียจ
๙. การใช้คาซ้า
๑๐. การใช้คาซ้า
กรอบที่ ๔
      ลางร้ายของพระมหาอุปราช
ตอนที่สี่ สมเด็จพระนเรศวรทรงปรารภเรื่องตีเมืองเขมร
       ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยู่ที่ท้องพระ-
  โรง ทรงไต่ถำมทุกข์สุขของมวลพสกนิกร ขุนนำงทั้งหลำย
  ต่ำงถวำยควำมเห็นแด่สมเด็จพระนเรศวร พระองค์ทรง
  ตัดสินคดีควำมให้ลุล่วงไปตำมแบบอย่ำงยุติธรรม
       เสร็จแล้วทรงปรึกษำขุนนำง เพื่อเตรียมทัพไปปรำบ
  เขมรว่ำควรยกไปเมื่อไรดี โดยให้เกณฑ์กำลังพลมำจำกทำง
  ใต้
กรอบที่ ๔
     ลางร้ายของพระมหาอุปราช
      พระองค์ทรงห่วงแต่ศึกมอญพม่า เกรงว่าจะยกมาตี
กรุงศรีอยุธยา จึงมอบหมายให้พระยาจักรี เป็นผู้ดูแล
กรุงศรีอยุธยาในระหว่างที่ทาศึกกับเขมร ให้ตั้งใจรักษา
เมื อ งไว้ พระองค์ จ ะรี บ กลั บ มาปกป้ อ งแผ่ น ดิ น สยาม
โดยไว
      พระองค์ ท รงปลอบพระองค์ ว่ า พม่ า เพิ่ ง แพ้ ไ ทย
กลับไปเมื่อต้นปี คงไม่ยกกลับมาภายในปีนี้หรอก เหล่า
ขุนนางยังไม่ได้ตอบพระราชบรรหาร ทันใดนั้นทูตจาก
เมืองกาญจนบุรีก็มาถึง
กรอบที่ ๔
       ลางร้ายของพระมหาอุปราช
- ลางร้ายของพระมหาอุปราชา
       พระมหาอุ ป ราชายกทั พ มาถึ ง อ าเภอพนมทวน
  จังหวัดกาญจนบุรี เกิดเหตุร้าย ลมเวรัมภา (ลมที่เกิด
  จากอานาจเวรกรรม) พัดฉัตรบนหลังช้างทรงหัก พระ
  มหาอุปราชาทรงหวั่น พระทัย จึงทรงให้โหรมาทานาย
  เหตุการณ์ดังกล่าว
       โหรทั้งหลายต่างตระหนักว่าเป็นเหตุร้ายแรง ถ้าทูล
  ความจริงเกรงจะได้รับโทษ จึงทูลว่าเหตุการณ์นี้เกิดใน
  ยามเช้าไม่ดี แต่เกิดในยามเย็นนั้นดี
กรอบที่ ๔
ลางร้ายของพระมหาอุปราช
             พระฝืนทุกข์เทวษกลำ    แกล่ครวญ
     ขับคชทบจรจวน                  จักเพล้
     บรรลุพนมทวน                   เถื่อนที่ นันนำ
     เหตุอนำถหนักเอ้               อำจให้ชนเห็น
             เกิดเป็นหมอกมืดห้อง   เวหำ หนเฮย
     ลมชื่อเวรัมภำ                 พัดคลุ้ม
     หวนหอบหักฉัตรำ                คชขำด ลงแฮ
     แลธุลีกลัดกลุ้ม               เกลื่อนเพียงจักรผัน
กรอบที่ ๔
    ลางร้ายของพระมหาอุปราช
    พระพลันเห็นเหตุไซร้      เสียวดวง แดเฮย
ถนัดดั่งภูผาหลวง             ตกต้อง
กระหม่าหระเหม่นทรวง          สั่นซีด พักตร์นา
หนักหฤทัยท่านร้อง            เรียกให้โหรทาย
กรอบที่ ๔
ลางร้ายของพระมหาอุปราช
     ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง   เจนไสย ศาสตร์แฮ
เห็นตระหนักแน่ใน          เหตุห้าว
จักทูลบ่ทูลไท             เกรงโทษ ท่านนา
เสนอแต่ดกลบร้าว
           ี              เกลื่อนร้ายกลายดี
     เหตุนี้ผิดเช้าชั่ว   ฉุกเข็น
เกิดเมื่อยามเย็นดี        ดอกไท้
อย่าขุ่นอย่าลาเค็ญ        ใจเจ็บ พระเอย
พระจักลุลาภได้            เผด็จเสี้ยนศึกสยาม ฯลฯ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔
                          *********************
คาสั่ง ให้ นักเรียนตอบคาถามต่ อไปนี ้
๑. พระมหาอุปราชา ยกทัพมาถึง “พนมทวน” เวลาใด....
๒. อาเภอพนมทวน อยู่ในจังหวัดใด....
๓. ให้ ยกตัวอย่ างบทประพันธ์ ทกล่ าวถึงเหตุร้ายของพระมหาอุปราชา....
                              ี่
๔. ลมเวรัมภา หมายถึง....
๕.     “ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย ศาสตร์แฮ”
       จากบทประพันธ์ นีหมายถึงใคร....
                       ้
๖. “พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเฮย
     ถนัดดังภูผาหลวง
           ่                  ตกต้อง”
    จากบทประพันธ์ นีมีโวหารใด...
                      ้
๗. บทประพันธ์ ใด ที่กล่ าวถึงคาทานายของโหร....
๘. เหตุใดโหรจึงไม่ ทูลความจริงเกียวกับคาทานาย.....
                                 ่
คาตอบ
    ๑. ใกล้ คา ่
    ๒. กาญจนบุรี
    ๓. เกิดเป็ นหมอกมืดห้ อง เวหา หนเฮย
      ลมชื่อเวรัมภา                พัดคลุ้ม
      หวนหอบหักฉัตรา               คชขาด ลงแฮ
      แลธุลกลัดกลุ้ม
             ี                     เกลือนเพียงจักรผัน
                                       ่     ้
    ๔. ลมที่เกิดจากอานาจเวรกรรม
    ๕. โหร
    ๖. อุปมาโวหาร
    ๗.           เหตุนีผดเช้ าชั่ว
                       ้ ิ         ฉุกเข็น
        เกิดเมื่อยามเย็นดี         ดอกไท้
        อย่ าขุ่นอย่ าลาเค็ญ       ใจเจ็บ พระเอย
       พระจักลุลาภได้              เผด็จเสี้ยนศึกสยาม ฯลฯ
    ๘. เกรงจะได้ รับโทษ
กรอบที่ ๕
                        พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา
        พระมหาอุปราชาทรงราพึงถึงพระบิ ดาว่า หากต้องทรง
เสียโอรส คือพระมหาอุปราชาแก่ข้าศึก พระเจ้านันทบุเรงคงจะ
ทรงเสี ย พระทัย และทรงเป็ น ทุ ก ข์ ยิ่ ง แผ่ น ดิน มอญก็ จะไม่มี ผู้ ม า
ปกป้อง ด้วยพระเจ้า นันทบุเรงก็ทรงชราภาพแล้ว เกรงว่าจะแพ้
ข้าศึก
        หากพระมหาอุ ป ราชาสิ้ น พระชนม์ ใ นสงครามครั้ ง นี้ ท รง
เป็นห่วงว่าจะไม่มีใครมาเก็บพระศพ พระเจ้า นันทบุเรงก็จะไม่มี
คู่คิดในการทาศึกสงคราม พระคุณของพระเจ้า นันทบุเรงนั้นมาก
เกรงว่าจะไม่ได้ตอบแทน
กรอบที่ ๕
       พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา
         สระเทินสระทกแท้      ไทถวิล อยู่เฮย
ฤาใคร่คลายใจจินต์             จืดสร้อย
คานึงนฤบดินทร์                บิตุเรศ พระแฮ
พระเร่งลานละห้อย              เทวษไห้โหยหา
         อ้าจอมจักรพรรดิผู้   เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอำรส               แก่เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด               ทุกข์ใหญ่ หลวงนา
ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน            หั่นกลิ้งไกลองค์
กรอบที่ ๕
        พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา
         ณรงค์นเรศวร์ด้าว   ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน             รบสู้
เสียดายแผ่นดินมอญ           พลันมอด ม้วยแฮ
เหตุบ่มีมอผู้
         ื                  อื่นต้านทานเข็ญ
         เอ็นดูภูธเรศเจ้ำ   จอมถวัลย์
เปลี่ยวอุระราชรัน-          ทดแท้
พระชนม์ชรำครัน              ครองภพ พระเอย
เกรงบพิตรจักแพ้             เพลี่ยงพล้าศึกสยาม
กรอบที่ ๕
     พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา
         สงครามครานี้หนัก   ใจเจ็บ ใจนา
เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ      อกโอ้
ลูกตายฤใครเก็บ              ผีฝาก พระเอย
ผีจักเท้งทีโพล้
            ่               ทีเพล้ใครเผา
                               ่
         พระเนานัคเรศอ้า    เอองค์
ฤาบ่มีใครคง                 คู่ร้อน
จักริจักเริ่มรงค์           ฤาลุ แล้วแฮ
พระจักขุ่นจักข้อน           จักแค้นคับทรวง
กรอบที่ ๕
            พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา
     พระคุณตวงเพียบพื้น   ภูวดล
เต็มตรลอดแหล่งบน          บ่อนใต้
พระเกิดพระก่อชนม์         ชุบชีพ มานา
เกรงบ่ทันลูกได้           กลับเต้าตอบสนอง
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๕
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
๑. “อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอารส                 แก่เสี้ยน” จากบทประพันธ์ นี้ คาว่ า “เอารส” หมายถึงใคร
        ก. พระนเรศวร                       ข. พระเอกาทศรส
        ค. พระมหาอุปราชา                   ง. พระเจ้านันทบุเรง
๒.       “ณรงค์นเรศวร์ด้าว ดัสกร
   ใครจักอาจออกรอน              รบสู้
   เสียดายแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วยแฮ
   เหตุบ่มีมือผู้               อื่นต้านทานเข็ญ” บทประพันธ์ นีให้ ข้อคิดเห็นอย่ างไร
                                                                  ้
         ก. ทุกสิ่ งทุกอย่างย่อมผันแปร               ข. พม่าไร้คนมีฝีมือ
         ค. พม่าคิดแต่จะรบกับไทย                     ง. ไม่มีใครคิดอยากทาสงครามอีก
๓.       “ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย
    ผีจักเท้งทีโพล้
               ่                ทีเพล้ใครเผา” จากบทประพันธ์ นี้ “เท้ง” หมายถึงอะไร
                                   ่
         ก. ลอยตามน้ า          ข. ทิ้งไว้           ค. เก็บไว้          ง. พลบค่า
๔.        “พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
          เต็มตรลอดแหล่งบน                บ่อนใต้
          พระเกิดพระก่อชนม์               ชุบชีพ มานา
          เกรงบ่ทันลูกได้                 กลับเต้าตอบสนอง”
จากบทประพันธ์ นีชี้ให้ เห็นเด่ นชัดเรื่องใด
                    ้
  ก. ความกตัญญู ข. เกิดจินตภาพ ค.ใช้คาได้ดีสละสลวย ง. เกิดอารมณ์หวันไหว
                                                                   ่
๕. ข้ อใดเป็ นโวหารแบบอธิพจน์
  ก.       พระคุณตวงเพียบพื้น             ภูวดล
     เต็มตรลอดแหล่งบน                     บ่อนได้
  ข.       อ้าจอมจักพรรดิ์ผู้             เพ็ญยศ
      แม้พระเสี ยเอารส                    แก่เสี้ ยน
  ค.       ชาวสยามคร้ามเศิกสิ้ น          ทั้งผอง
      นายและไพร่ ไป่ ปอง                  รบเร้า
  ง.       มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า            อายสู
      สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู                  ละห้อย
คาตอบ
 ๑. ค
 ๒. ค
 ๓. ข
 ๔. ก
 ๕. ก
กรอบที่ ๖
พระสุบิน และพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
 ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
          สมเด็จพระนเรศวรตรัสว่า เราจะไปตีเมืองกัมพูชา แต่มอญ
 ชิงส่งทัพเข้ามารบเสียก่อน ทาให้เราไม่ได้ไปรบกับเขมร ทรงสั่งให้ไป
 รบกับมอญแทน อันเป็นมหรสพอันยิ่งใหญ่ ว่าแล้ว ทรงประกาศให้
 เมื อ งกาญจนบุ รี เกณฑ์ ก าลั ง พล ๕๐๐ ไปสอดแนมซุ่ ม ดู ก าลั ง ของ
 ข้าศึก ที่เดินทางผ่านล าน้ากระเพิน โดยตัดสะพานให้ข าดเป็นท่อน
 ทาลายเชือกสะพานให้ขาดลอยเป็นทุ่น ก่อไปทาลายเสียอย่าให้มอญ
 จับได้
กรอบที่ ๖
               พระสุบิน และพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
          ทั น ใดนั้ น ทู ต จากเมื อ งต่ า งๆ ก็ ส่ ง รายงานศึ ก มาให้ พ ระองค์
ทราบ เป็นการสนับสนุนข่าวนั้นว่าเป็นจริง พระนเรศวรทรงยินดีที่จะ
ได้ปราบศัตรูบ้านเมือง ทรงปรึกษากับเหล่าเสนาอามาตย์ว่า การศึก
ครั้งนี้ ควรจะสู้นอกเมือง หรือตั้งรับในเมือง เหล่าขุนนางทั้งหลายก็
กราบทูลว่า พระองค์ควรเสด็จไปทาศึกนอกเมืองจะดีกว่า ซึ่งก็ตรงกับ
พระทัยของสมเด็จพระนเรศวร
          แล้ ว มี พ ระบรมราชโองการ เรี ย กเกณฑ์ พ ลจากหั วเมื อ ง ตรี
จัตวา กับหัวเมืองทางใต้
กรอบที่ ๖
               พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ

    ให้ พระยาศรีไสยณรงค์ เป็นทัพหน้า
    มี พระราชฤทธานนท์ เป็นปลัดทัพ มีกาลังพล ๕ หมื่น
             ทรงสั่งอีกว่าให้รีบรบโดยเร็ว หากต้านทานไม่ไหว พระองค์
 จะเสด็จมาช่วยภายหลัง แม่ทัพทั้งสองกราบบังคมลา แล้วยกทัพ
 ไปตาบลหนองสาหร่าย เขตจังหวัดกาญจนบุรี แล้วตั้งค่ายลงตรง
 ชั ย ภู มิ ชื่ อ สี ห นาม เพื่ อ รอรบ และหลอกล่ อ ข้ า ศึ ก ให้ ต่ อ สู้ ไ ด้
 ยากลาบาก
กรอบที่ ๖
      พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
พระสุบิน และพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
           สมเด็จพระนเรศวรเสด็จจากกรุงศรีอยุธยาไปขึ้น
บกที่ อ าเภอปากโมก (ป่ า โมก) จั ง หวั ด อ่ า งทอง เมื่ อ
พระองค์บรรทมก็เกิดพระสุบินเทพสังหรณ์ว่า
           ...มีน้าท่วมมาจากทิศตะวันตก พระองค์ทรงลุย
น้ า พบจระเข้ ใ หญ่ จ ะกั ด พระองค์ จึ ง ทรงต่ อ สู้ กั บ
จระเข้ ด้ ว ยพระแสงดาบ จระเข้ ถู ก พระนเรศวรฆ่ า
น้ าที่ ท่ ว มก็ ก ลั บ แห้ ง เหื อ ดไป... เมื่ อ พระองค์ ส ร่ า ง
บรรทมจึงทรงให้โหรทานายพระสุบิน
กรอบที่ ๖
              พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
           โหรทานายว่าเป็นพระสุบินที่เทวดาดลบันดาลให้ทรงทราบ
  น้าที่ไหลเชี่ยวคือกองทัพพม่า ส่วนจระเข้นั้นหมายถึงพระมหาอุป
  ราชา สมเด็จพระนเรศวรจะทรงกระทายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา
  และทรงมีชัยชนะ
           เมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงสดับคาพยากรณ์ของโหรก็ทรง
  ยิ น ดี จากนั้ น ทรงเครื่ อ งต้ น เสด็ จ พร้ อ มพระอนุ ช าไปยั ง กองทั พ ที่
  เตรียมไว้ เกิดศุภนิมิต สมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตรพระบรม
  สารีริกธาตุ มีแสงสว่างงดงามขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยงลอยมาจากทิศ
  ใต้ เวียนขวารอบกองทัพ ๓ รอบ แล้วลอยไปทางทิศเหนือ
กรอบที่ ๖
             พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
  โคลง ๔
                    เทวัญแสดงเหตุให้    สังหรณ์ เห็นแฮ
          เห็นกระแสสาคร                 หลั่งล้น
          ไหลลบวนาดอน                   แดนตก ทิศนา
          พระแต่เพ่งฤาพ้น               ที่น้่านองสาย
                    พระกรายกรย่างเยื้อง จรลี
          ลุยมหาวารี                    เรี่ยวกว้าง
          พอพานพะกุมภีล์                หนึ่งใหญ่ ไสร้นา
          โถมปะทะเจ้าช้าง               จักเคี้ยวขบองค์
กรอบที่ ๖
              พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
 โคลง ๒
                   ครั้งบดินทร์ดาลได้    สดับพยากรณ์ไท้
         ธิราชแผ้วพูนเกษม
                   เปรมปรีดิ์ปราโมทย์แท้ เพราะพระโหรหากแก้
         กล่าวต้องตามฝัน
                   พระพลันทรงเครื่องต้น  งามประเสริฐเลิศล้น
         แหล่งหล้าควรชม ชื่นนา
                   สมเด็จอนุชาน้องแก้ว   ทรงสุภาภรณ์แพร้ว
         เพริศพร้อมเพราตา ยิ่งแฮ
กรอบที่ ๖
            พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร
ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ
  ร่าย
           สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ ขุนคชขับช้างเทียบ
  ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดู มหิมาดาดาษ สระพราศพร้อมโดยขบวน
  องค์อ ดิ ศ วรสองกษัต ริ ย ์ คอยนฤขัต รพิ ช ัย บัด เดี๋ ย วไททฤษฎี
  พระศรีสารีริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต ช่ วงชวลิตพ่างผล ส้ม
  เกลี้ ยงกลกุก่อง ฟ่ องฟ้ าฝ่ ายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคารบ
  สามครา เป็ นทักษิณาวรรตเวียน ว่ายฉวัดเฉวียนอัมพร ผ่านไป
  อุดรโดยด้าว พลางบพิตรโทท้าว ท่านตั้งสดุดี อยู่นา ...ฯลฯ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๖

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
๑.             “เทวัญแสดงเหตุให้         สังหรณ์ เห็นแฮ
      เห็นกระแสสาคร                      หลั่งล้น
      ไหลลบวนาดอน                        แดนตก ทิศนา
      พระแต่เพ่งฤาพ้น                    ที่น้านองสาย”
จากบทประพันธ์ นีแสดงให้ เห็นว่ าพระนเรศวรฝันแบบใด
                 ้
      ก. บุพนิมิต                        ข. จิตนิวรณ์
               ค. เทพสังหรณ์                      ง. ธาตุโขภะ
๒. “ไหลลบวนาดอนแดนตก ทิศนา” จากบทประพันธ์ นี“แดนตก”หมายถึงข้ อใด
                                                   ้
      ก.พม่า                             ข. มอญ
      ค. เขมร                            ง. ไทย
๓.                  “พระกรายกรท่งเยื้อง        จรลี
        ลุยมหาวารี                             เรี่ยวกว้าง
        พอพานพะกุมภีล์                         หนึ่งใหญ่ ไสร้นา
        โถมปะทะเจ้าช้าง                        จักเคี้ยวขบองค์”
  จากบทประพันธ์ นี้ ข้ อใดกล่ าวไม่ ถูกต้ อง
        ก. กุมภีล์ คือ พระมหาอุปราชา           ข. เจ้าช้าง คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ
        ค. วารี คือ กองทัพพม่า                 ง. เจ้าช้าง คือ พระนเรศวร
๔. คาคู่ใดมีความหมายต่ างกัน
        ก. กุมภีล์ - สุ งสุ มาร                ข. สายสิ นธุ์ - กระแสสาคร
        ค. ดิลกเจ้าจอมถวัลย์ - ไทเทเวศร์ ง. ทฤษฎี - ยล
๕. ข้ อใดไม่ ใช่ ศุภนิมิต ทีสมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตร
                             ่
        ก. สองขัตติยายุรยาตร         ยังเกยราชหอทัพ
        ข. บัดเดี๋ยวไททฤษฎี          พระศรี สารี ริกบรมธาตุ        ไขโอภาสโศภิต
        ค. ช่วงชวลิตพ่างผล           ส้มเกลี้ยงกลกุก่อง            ฟ่ องฟ้ าฝ่ ายทักษิณ
        ง. นับคารบสามครา             เป็ นทักษิณาวรรตเวียน         ว่ายฉวัดเฉวียนอัมพร
คำตอบ
  ๑. ค
  ๒. ก
  ๓. ข
  ๔. ค
  ๕. ก
กรอบที่ ๗
               เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
          สมเด็จพระนเรศวร ให้โหรหาฤกษ์ยามดีเพื่อเคลื่อนพล
ไปรบ หลวงญาณโยคโลกทีป ถวายคาพยากรณ์ทูลว่า พระองค์
ได้ จ ตุ ร งคโชค อาจปราบประเทศต่ า งๆให้ แ พ้ ส งครามได้
เชิญเสด็จเคลื่อ นทัพในยามเช้า วันอาทิ ตย์ขึ้น ๑๑ ค่า ย่ารุ่ ง ๘
นาฬิกา ๓๐ นาที ในเดือนยี่ นับเป็นฤกษ์สิริมงคล ทรงสดับแล้ว
ให้ตรวจทัพเตรียมเคลื่อนพลทางน้า มุ่งสู่ตาบลปากโมก จังหวัด
อ่างทอง
กรอบที่ ๗
          เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
        สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ สรงน้ าอบ
หอม แต่งพระองค์ด้วยภูษาทรงอันสวยงาม นับแต่ผ้ารัดบั้นพระองค์
มีชายไหวชายแครงสนับเพลา ทับทรวง สะอิ้ง ล้วนสวยงาม สวมข้อ
พระกรด้วยกาไลอ่อน พระธามรงค์ที่สวมนิ้วพระหัตถ์ทั้ง ๘ ประดับ
เพชรพลอยแพรวพราวเป็นสีรุ้ง ทรงมงกุฎทองประดับเพชร ถือคัน -
ธนูเสด็จมาช้าๆ กษัตริย์ ๒ พระองค์ดุจดังพระลักษมณ์กับพระรามรบ
ทศกัณฐ์ และปราบศัตรูทั่วทิศ
กรอบที่ ๗
            เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
 ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
         เมื่อได้ฤกษ์ออกศึก โหรตีฆ้องดังกึกก้อง บรรดาสมณชีพราหมณ์ก็ร่ายมนตร์
ตามคัมภีร์ พร้อมเป่าสังข์เป่าแตรถวาย เสียงประสานกันเซ็งแซ่ จากนั้นเคลื่อนพล
ผ่านโขลนทวาร พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาให้มีชัย และเคลื่อนทัพ จนถึงตาบลปาก-
โมก ทรงปรึกษาเหล่าขุนนางเรื่องการศึก จนล่วงเข้ายามสามก็เสด็จเข้าที่บรรทมครั้น
ถึงเวลา ๑๐ ทุ่ม พระองค์ทรงสุบิน เป็นศุภนิมิต ว่า....
          ...ทรงทอดพระเนตรเห็นน้าไหลบ่าท่วมป่าสูง มาทางทิศตะวันตก เป็นแนว
ยาวสุดสายพระเนตร ขณะพระองค์ลุยกระแสน้าอันเชี่ยวกรากนั้น มีจระเข้ใหญ่ตัว
หนึ่ งมาโถมปะทะ และจะกั ดพระองค์ พระองค์ใช้แสงดาบที่ ถื อในพระหัตถ์ ต่อสู้กั บ
จระเข้ พระองค์ฟันเข้าถูกจระเข้ตาย ทันใดนั้นสายน้าที่ท่วมป่าอยู่ก็เหือดแห้ง...
กรอบที่ ๗
         เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
        เมื่อตื่นบรรทม สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้โหรทานาย
พระสุบินนิมิตทันที เหล่าโหรพยากรณ์ว่า พระสุบินครั้งนี้ เกิด
เพราะเทวดาสังหรณ์ให้ทราบเป็นนัยว่า
    น้าซึ่งไหลท่วมป่าทางทิศตะวันตกนั้นคือกองทัพพม่า
    ส่วนจระเข้นั้นคือพระมหาอุปราชา การสงครามนี้ยิ่งใหญ่ ถึง
ขนาดต้องกระทายุทธหัตถี
    การลุยกระแสน้านั้นหมายความว่าพระองค์จะทรงตะลุยไล่
บุกเข้าไปในหมู่ข้าศึก จนข้าศึกแตกพ่าย
กรอบที่ ๗
           เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
  ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
        เมื่อพระองค์สดับฟังคาพยากรณ์ ก็มีความผ่องแผ้วเป็น
สุขใจ และเสด็จมายังเกยช้างที่ประทับ ณ พลับพลาในค่ายหลวง
ในระหว่างที่คอยพิชัยฤกษ์อยู่ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นพระบรม
สารีริกธาตุ ส่องแสงเรืองรอง มีขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยง ลอยมาใน
ท้องฟ้าทางทิศใต้ ลอยวนรอบกองทัพเป็นทักษิณาวรรต ๓ รอบ
แล้วลอยเวียนฉวัดเฉวียนกลางฟ้า ผ่านไปทางทิศเหนือ
กรอบที่ ๗
          เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
 ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ
      สมเด็จพระพี่น้อง ทรงกราบนมัสการด้วยความ
ปลาบปลื้มปิติยินดียิ่ง ทรงพระช้างชื่อ ไชยานุภาพ ส่วน
พระเอกาทศรถทรงช้าง พลายปราบไตรจักร โดยเสด็จ
นาหน้าขบวนสมเด็จพระนเรศวร
กรอบที่ ๗
                  เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ตอนที่เจ็ด
พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า
ของไทย
       ฝ่ า ยนายกองลาดตระเวน ซึ่ ง พระมหาอุ ป ราชาใช้ ใ ห้ ขี่ ม้ า
ตรวจดูทัพไทย มีสมิงอะคร้าน สมิงเป่อ สมิงซายม่วน พร้อมทหารม้า
๕๐๐ และกราบทูลพระมหาอุปราชาว่า กองทัพไทยตั้งค่ายอยู่ที่หนอง
สาหร่าย สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถเป็นผู้ยกทัพ
มาเอง มีรี้พลประมาณ ๑๗-๑๘ หมื่น
กรอบที่ ๗
                     เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ตอนที่เจ็ด
พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า
ของไทย
         พระมหาอุปราชาจึงตัดสินใจใช้วิธีจู่โจม หักเอาชัยชนะเสียแต่
แรก เพื่ อ เบาแรง แล้ ว ล้ อ มกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แล้ ว ชิ ง ราชสมบั ติ ใ น
ภายหลัง จึงรับสั่งให้เตรียมพลให้เสร็จตั้งแต่ ๓ นาฬิกา(ตีสาม) พอ ๕
นาฬิกา(ตีห้า) ก็ยกทัพกะให้ไปสว่างกลางทาง รุ่งเช้าจะได้เข้ามีทันที
พระองค์ขึ้นประทับ พลับพลาที่มีเกยสาหรับขึ้นช้าง เพื่อประทับช้าง
พระที่นั่งชื่อ พลายพันธกอ
กรอบที่ ๗
              เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
ตอนที่เจ็ด
พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า
ของไทย
       ฝ่ายไทย พระยาศรีไสยณรงค์ กับพระราชฤทธานนท์
ได้รับพระราชโองการจากสมเด็จพระนเรศวร จึงยกพลเข้า
โจมตีทัพพม่าตั้งแต่กลางดึก มีกาลังพลทั้งหมด ๕ หมื่น โดย
จัดทัพดังนี้
กรอบที่ ๗
ตอนที่เจ็ด         เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค
พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า
ของไทย
           ทัพหน้า       มีพระสุพรรณฯ เป็นแม่ทัพ เจ้าเมืองธนบุรีเป็น
   ปีกซ้าย เจ้าเมืองนนทบุรีเป็นปีกขวา
           ทัพหลวง พระยาศรีไสยณรงค์เป็นแม่ทัพ ขี่ช้างชื่อพลาย-
   สุรงคเดชะ เจ้าเมืองสรรค์บุรีเป็นปีกซ้าย เจ้าเมืองสิงห์บุรีเป็นปีกขวา
           ทัพหลัง พระราชฤทธานนท์เป็นแม่ทัพ ขี่ช้างชื่อชนะจาบัง
   เจ้าเมืองชัยนาทเป็นปีกซ้าย พระยาวิเศษชัยชาญเป็นปีกขวา
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

Was ist angesagt? (20)

รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 

Ähnlich wie ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]

บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติniralai
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12MilkOrapun
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 

Ähnlich wie ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1] (20)

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12โตฎก ฉันท์ 12
โตฎก ฉันท์ 12
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 

Mehr von นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 

Mehr von นิตยา ทองดียิ่ง (19)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
 

ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]

  • 1. สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส วรรณคดีวิจักษ์ • วิชาภาษาไทย รหัส ท๓๒๑๐๒ • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ลิลิตตะเลงพ่าย • โดย..ครูไทยรัฐ โพธิ์พันธุ์ • กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย • โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ฯ
  • 2. คาชี้แจง ลิ ลิ ต ตะเลงพ่ า ยเป็ น วรรณคดี ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ศัพท์บางคายากแก่การเข้าใจ จึงจัดทา PWP ประกอบ การเรียนโดยมีคาแปลอย่างย่อๆ ของแต่ละตอน และมีคาศัพท์ ประกอบเพื่อให้นักเรียนศึกษา และอ่านเข้าใจยิ่งขึ้น จะทาให้ นักเรียนเกิดความประทับใจในความงามของวรรณคดีไทย อัน ควรแก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ให้ ค นรุ่ น หลั ง ได้ ชื่ น ชมและเห็ น ความ เก่งกล้าสามารถของกษัตริย์ไทย
  • 3. ประวัติผู้พระนิพนธ์ ลักษณะการประพันธ์ เรื่องย่อ/คาประพันธ์ แบบทดสอบ/กิจกรรม ความรูเ้ สริม
  • 5.
  • 6. ลิลิต...ตะเลงพ่าย คาว่า “ตะเลง” หมายถึง มอญ “พ่ า ย” หมายถึ ง แพ้ “ตะเลงพ่ า ย” จึ ง แปลว่า “มอญแพ้” ทั้งนี้เพราะในสมัยสมเด็จพระนเรศวร- มหาราช มอญตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า และพม่าได้ย้ายราช ธานีมาอยู่ที่เมืองหงสาวดีเพื่อควบคุมดูแลพวกมอญได้สะดวก การสงครามระหว่างไทยกับพม่าในสมัยพระนเรศวรมหาราช ดังปรากฏในวรรณคดีเรื่องนี้ “ไทยมีชัยชนะ” แม้ว่าพม่าได้เกณฑ์พวกมอญมาในกองทัพ เป็นจานวนมาก คาว่า “ตะเลงพ่าย” จึงหมายถึง “พม่าแพ้นั่นเอง”
  • 7. ลิลิต...ตะเลงพ่าย วรรณคดี เ รื่ อ งนี้ ด าเนิ น เรื่ อ งตามพระราช พงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) (ซึ่งเป็นพระราช- พงศาวดารอยุธ ยาที่ น ามาช าระ และเรีย บเรี ยงให้ ไ ด้ เนื้อหาที่ครบถ้วนสมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นฉบับที่ถือเป็น หลักกันมา) ดังปรากฏในร่ายตอนต้นเรื่องว่า “จักดาเนินในเบื้ อง เรืองราชพงศาวดาร ่ บรรหารเหตุแผ่นภู ชูพระยศเจ้าหล้า...”
  • 8. ลิลิต...ตะเลงพ่าย ลิ ลิ ต ต ะ เ ล ง พ่ า ย แ ต่ ง ขึ้ น โ ด ย มี จุดประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระ- นเรศวรมหาราช ดังความในร่ายต้นเรื่องว่า “...เฉลิมพระเกียรติผ่านเผ้า เจ้าจักรพรรดิแผ่น สยาม สมญานามนฤเบศ นเรศวรนรินทร์...” และในโคลงสี่สุภาพท้ายเรื่องว่า “จบกลอนเกลาพากย์อาง อภิปราย ้ เถลิงเกียรติราชบรรยาย ยศไท้”
  • 9.
  • 10. ลิลิต...ตะเลงพ่าย พระประวัติผูนิพนธ์ ้ ผูนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย คือ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า- ้ กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส กวีผูแต่งได้บอกนามไว้ชดเจน ้ ั ในโคลงกระทูตอนท้ายเรือง ดังนี้ ๕/๔ ้ ่ กรมหมื่นนุชิตเชื้อ กวีวร ชิโนรส มิ่งมหิศร เสกให้ ศรีสุคต พจนสุนทร เถลิงลักษณ์ นี้นา ขัตติยวงศ์ ผจงโอษฐ์ไว้ สืบหล้าอย่าศูนย์
  • 11. ลิลิต...ตะเลงพ่าย นอกจากนี้ มี ผู้ ช่ ว ยแต่ ง คื อ พระองค์ เ จ้ า ก ปิ ษ ฐ า ขั ต ติ ย กุ ม า ร เ ป็ น พ ร ะ ร า ช โ อ ร ส ใ น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอม มารดาอัมพา ดังระบุในเรื่องว่า “ไพบูลย์โดยบทเบื้อง โบราณ รีดนา รังสฤษฏ์พระหลานตู ต่อบ้าง กปิษฐาขัตติยกุมาร สมมติ นามนา หน่อบพิตรเจ้าช้าง เผือกผู้สามทรง”
  • 12. ลิลิต...ตะเลงพ่าย สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า กรมพระปรมานุ ชิ ต ชิโนรส เป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาจุ้ย เมื่อวัน เสาร์ที่ ๑๑ ธัน วาคม พ.ศ. ๒๓๓๓ พระนามเดิ ม คื อ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวาสุกรี ๕/๓ เมื่อมีพระชนมายุได้ ๑๒ พรรษา ได้บรรพชาเป็ น สามเณร ณ วัด พระศรี ร ัต นศาสดาราม แล้ว เสด็ จ ไป ประทับ ณ วัน พระเชตุ พ นวิ ม ลมัง คลาราม ทรงศึ ก ษา ภาษาไทย ภาษาขอม ภาษาบาลี วิ ช าโบราณคดี ตลอดจนวิชาลงเลขยันต์ต่างๆ จากสานักสมเด็จพระวันรัต (พนรัตน) วัดพระเชตุพนฯ นั้น
  • 13. ลิลิต...ตะเลงพ่าย ต่ อ มาใน พ.ศ. ๒๓๕๔ พระองค์ ผนวชเป็ นพระภิ ก ษุ ฉายาว่ า “สุ ว ัณ ณรัง สี ” และประทับ ณ วัด พระเชตุ พ นฯ สื บ มาจน ตลอดพระชนมายุ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้า - นภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระ เจ้าน้องยาเธอพระองค์เจ้าวาสุกรี เป็ นอธิบดี สงฆ์ว ด พระเชตุ พ นฯ และทรงสถาปนาเป็ น ั “กรมหมืนนุชิตชิโนรส ศรีสุคตขัตติยวงศ์” ่ ๕/๖
  • 14. ลิลิต...ตะเลงพ่าย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หว ได้มี ่ ั การบู ร ณปฏิ ส ัง ขรณ์ว ัด พระเชตุ พ นฯ และรวบรวมวิ ช า ความรู ด านต่ า งๆ มาจารึ ก ลงในแผ่ นศิ ล าประดับ ไว้ต าม ้ ้ ระเบียงและผนังภายในเพื่อให้เป็ นแหล่งวิ ทยาการสาหรับ ประชาชน วัดพระเชตุพนฯ จึ งนับว่าเป็ น “มหาวิทยาลัยแห่ง แรกของเมืองไทย” การจารึกวิชาการดังกล่าว กรมหมืนนุ ่ ชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ตาราต่ างๆ ไว้หลายเรื่อง เช่น ตารา- ฉัน ท์ว รรณพฤติ แ ละมาตราพฤติ , โคลงภาพฤาษี ด ด ตน, ั โคลงจารึกศาลาราย, โคลงจารึกพระมหาเจดีย,์ โคลงภาพคนต่างภาษา เป็ นต้น
  • 15. ลิลิต...ตะเลงพ่าย เมือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวขึ้ น ่ ั ครองราชย์ใน พ.ศ. ๒๓๙๔ ทรงสถาปนากรมหมื่นนุ ชิตชิ โนรสขึ้ นเป็ น กรมสมเด็จ พระปรมานุ ชิตชิ โนรส” ตาแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราชเจ้า องค์ที่ ๗ แห่ งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์สิ้นพระชนม์ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมือ พ.ศ. ๒๓๙๖ สิริพระชนมายุได้ ่ ๖๓ พรรษา หลังจากสิ้ นพระชนม์แล้ว ๖๘ ปี คือใน พ.ศ. ๒๔๖๔ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวทรง ั พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้ นเป็ น “สมเด็จพระ มหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส”
  • 16. ลิลิตสมเด็จพระมหาสมณเจ้าย ...ตะเลงพ่ า กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรส ทรงมีความรู้ แตกฉานทังทางคดีโลกและ ้ คดีธรรมทรงได้ รับพระเกียรติคณยกย่องว่าเป็ น ุ “รั ต นกวี ” แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ทรงมี พ ระปรี ช า สามารถอันเชี่ยวชาญยิ่งในการทรงนิพนธ์คาประพันธ์ ประเภทต่างๆ งานพระนิพนธ์จึงมีเป็ นจานวนมาก ทัง้ โคลง ฉันท์ กาพย์ ร่ าย กลอน และร้ อยแก้ ว ทุก - เรื่ องล้ วนมีคณค่าด้ านวรรณศิลปและมีเนื ้อหางดงาม ุ ์ เป็ นมรดกอันล ้าค่าที่อนุชนควรรักษา พระนิ พ นธ์ ซึ่ง เป็ นที่ ร้ ู จัก แพร่ ห ลาย ได้ แ ก่ สรรพสิทธิ์ คาฉันท์ กฤษณาสอนน้ องคาฉันท์ สมุทร โฆษคาฉันท์ตอนปลาย ร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดก (หลายกัณฑ์) ปฐมสมโพธิกถา และลิลิตตะเลงพ่ าย
  • 17. ลิลิต...ตะเลงพ่าย สมเด็ จ พระมหา สมณเจ้ า กรม- พระปรมานุชิตชิโนรส ทรงมีความรู้แตกฉานทัง ้ ทางคดีโลกและคดีธรรมทรงได้ รับพระเกียรติคุ ทรงได้ รั บ การยกย่ อ งจากองค์ ก าร วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ( UNESCO)ว่ า พระองค์ เ ป็ นบุ ค คลดี เ ด่ น ท า ง ด้ า น วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง โ ล ก ป ร ะ จ า ปี พ.ศ. ๒๕๓๓
  • 18.
  • 19. ลักษณะคำประพันธ์ แต่งเป็ นลิลิตสุภาพ ประกอบด้วยร่ายสุภาพและโคลง สุภาพ (ได้แก่ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่ สุภาพ) แต่ งปนกันโดยร้อยโคลงส่ งสัมผัส ระหว่ างบทโดย ตลอด ดังนี้ โคลง ๔ ส่ งสั มผัสระหว่ างบทกับโคลงสาม เบื้องบรมขัตติย์ท่องท้อง แถวธาร พระจักไล่ลุยลาญ เศิกไสร้ ริปูบ่อรอราญ ฤทธิ์ราช เลยพ่อ พ่อจักชาญชเยศได้ ดั่งท้าวใฝ่ฝัน ครั้นบดินทร์ดาลได้ สดับพยากรณ์ไท้ ธิราชแผ้วบนเกษม
  • 20. คาประพันธ์แต่ละชนิดมีคณะและสัมผัสบังคับ ดังนี้ แผนผังของโคลงสองสุภาพ สัมผัสระหว่างบท (คารับสัมผัสระหว่างบทจะใช้คาที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ได้)
  • 21. ตัวอย่ำงคำประพันธ์ เจ็บจาบัลบ่มเศร้า ไป่กี่ปางจักเต้า แขกน้องคืนถนอม แม่นา ตรอมกระอุอกช้า ปวดปิ้มฝีหวขว้า ั บ่งได้เยียไฉน นี้นา
  • 23. ตัวอย่ำงคำประพันธ์ พวกพลทัพรามัญ เห็นไทยผันหนีหน้า ไปบ่หยุดยั้งช้า ตื่นต้อนแตกฉาน น่านนา ไป่แจ้งการแห่งเล่ห์ เท่ห์กลไทยใช่น้อย ต่างเร่งติดเร่งต้อย เร่งเต้าตีนตาม มานา
  • 24. แผนผังของโคลงสี่สุภาพ ตัวอย่าง อ้าองค์จักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน หั่นกลิ้งไกลองค์
  • 25. แผนผังของร่ ายสุภาพ จบด้ วยโคลงสุภาพ (ตรงช่ วงที่ขีดเส้ นใต้ คือ โคลงสองสุภาพ)
  • 26. ข้อบังคับ ร่าย ๑บท จะยาวกี่วรรคก็ได้ แต่ละวรรคมีจานวนคาวรรคละ ๕ คาการส่งสัมผัส ให้คาสุดท้ายของวรรคหน้าส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ (คาใดคาหนึ่ง) ในวรรคถัดไป ต่อเนื่องกันไปเช่นนี้ทุก วรรค ถ้ า ค าส่ ง สั ม ผั ส มี รู ป วรรณยุ ก ต์ ใ ด ค ารั บ สั ม ผั ส ควรใช้ รู ป วรรณยุกต์นั้นด้วย (ให้สังเกตจากตัวอย่างที่ยกมา) เวลาจบบท ต้องจบด้วยโคลงสองสุภาพ (ตามช่วงที่ขีดเส้นใต้ให้เห็น)
  • 27. ตัวอย่าง พระอาวรณ์หวั่นเทวษ ถึงอัคเรศแรมเวียง พลางเมิลเมียงไม้เขา โดยลาเนาแดนเถื่อน เคลื่อนแสนยาโจษจน ลุตาบลสังคล่า ป่าระหง ดงดอน พิศศีขรรายเรียง เพียงสุดสายเมฆเมิล เนื่องเนิ่นเนินไศล สูงไสวว่ายฟ้า ชอ่าอ้าหาวหน ...ฯลฯ พฤกษาเสียดสีกิ่ง เสียงเสนาะ ยิ่ ง อย่ า งพิ ณ พระยลยิ น พิ ศ วง ถวิ ล ถึ ง องค์ อั ค เรศ ยามดุ ริ เ ยศ จาเรียง ประสานเสียงถวายซอ พึงพอใจพอกรรณ ธ ก็ จาบัลบมิ เบื่อ เหงื่อเนตรตกอกช้า เหลือทุกข์เหลือที่กล้า เทวษไว้ไป่มี แม่เอย ๕/๒
  • 29. เนื้อเรื่องย่อ เริ่มเรื่องด้วยบทประณามพจน์ยอพระเกี ยรติยศ พระเจ้าแผ่นดิน และกล่าวถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ต่ อ จากรพระราชบิ ด า (สมเด็ จ พระ มหาธรรมราชา) พระเอกาทศรถผู้เป็นพระอนุชาได้เป็น พระมหาอุปราช พระองค์ทรงปรารภจะไปตีเมืองเขมรซึ่ง มักเอาใจออกห่างเสมอ
  • 30. เนื้อเรื่องย่อ ทางฝ่ า ยพม่ า พระเจ้ า หงสาวดี ท รงปรารภว่ า จะ มาตีกรุงศรีอยุธยา เพราะเห็นว่าเพิ่งผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน พระมหาอุปราชพระราชโอรสจึงจาต้องยกทัพมาตีไทยโดย เดินทัพมาตั้งค่ายที่ตาบลตะพังตรุ
  • 31. เนื้อเรื่องย่อ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทราบข่าวศึก ขณะ เตรียมทัพไปรบเขมร จึงทรงเคลื่อนทัพไปตั้งรับพม่าที่หนอง สาหร่าย ทัพหน้าของไทยปะทะทัพหงสาวดี สมเด็จพระ นเรศวรทรงเคลื่อนทัพหลวงและได้เข้าชนช้างกับพระมหา อุปราชา ทรงได้ชัยชนะ ทัพหงสาวดีแตกพ่าย เมื่อเสร็จศึกทรงปูนบาเหน็จทหาร และปรึกษาโทษ แม่ทัพนายกองที่ตามเสด็จไม่ทัน ปล่อยพระองค์และพระ อนุชาตกอยู่ท่ามกลางวงล้อมของพม่า
  • 32. เนื้อเรื่องย่อ สมเด็จพระวันรั ต วัดป่าแก้วทูลขอพระราชทานอภัย โทษแก่แม่ทัพนายกองเหล่านั้น พระองค์พระราชทานให้ แต่ ให้แม่ทั พนายกองทั้ งหลายแก้ตั ว โดยยกทัพไปตีเมื อ งทวาย มะริด และตะนาวศรี ต่อมาเมืองเชียงใหม่ส่งทูตมาขอเป็น เมืองขึ้น ตอนท้ายเรื่องเป็นเนื้อความยอพระเกียรติสมเด็จ พระนเรศวรที่ทรงดารงพระองค์อยู่ในทศพิธราชธรรม ๑๐ ข้อ ราชสดุดี ๕ ข้อ และจักรพรรดิวัตร ๑๒ ข้อ ตอนจบบอกนามผู้นิพนธ์
  • 33. เนื้อเรื่องย่อ ลิ ลิ ต ตะเลงพ่ า ยเป็ น วรรณคดี ที่ มี เ นื้ อ เรื่องค่อนข้างยาว ดาเนินเรื่องโดยใช้ร่ายและ โคลง (ทั้ งโคลงสอง โคลงสาม และโคลงสี่ ) ในที่ นี้ จึ ง ขอกล่ า วถึ ง เนื้ อ เรื่ อ งพร้ อ มทั้ ง ยกค า ประพั น ธ์ มาประกอบเพี ยงบางส่ วนเพื่ อให้ไ ด้ เห็ น คุ ณ ค่ า ด้ า นต่ า งๆ ของวรรณคดี อั น เป็ น งานพระนิพนธ์ที่ดีเยี่ยมของสมเด็จพระมหา- สมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
  • 34. แบบทดสอบ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ คาสั่ ง จงเติมคาหรือข้ อความลงในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง ๑.ผูแต่ง “ลิลิตตะเลงพ่าย” ทรงมีพระนามเดิมว่า...................................................... ้ ๒.ผูแต่ง “ลิลิตตะเลงพ่าย” ทรงเป็ นพระราชโอรสใน.............................................. ้ และ...................................................................... ๓.ผูแต่ง “ลิลิตตะเลงพ่าย” ได้บรรพชา และอุปสมบทที่วด .................................... ้ ั ๔.ตาแหน่ง “พระมหาสมณเจ้า” ของผูแต่ง ้ พระมหากษัตริ ยผทรงพระราชทานคือ........ ์ ู้ ๕. เหตุใดผูแต่งจึงได้รับยกย่องเป็ น “รัตนกวี” แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ .................... ้
  • 35. แบบทดสอบ ๖. ตะเลงพ่าย หมายถึง................................................................................... ๗. เรื่ อง “ลิลิตตะเลงพ่าย” มีผช่วยแต่ง พระนามว่า....................................... ู้ ๘. ลิลิตสุ ภาพ ประกอบด้วยคาประพันธ์ประเภท........................................... ๙.ร่ ายสุ ภาพเป็ นร่ ายที่บงคับ วรรคละ .............คา และจบด้วยคาประพันธ์ ั ประเภท....................................... ๑๐.ให้เขียนแผนผังร่ ายสุ ภาพ จานวน ๑ บท พร้อมทั้งลักษณะบังคับ ......................................................................................................................... ๑๑.ให้เขียนแผนผังโคลงสองสุ ภาพ จานวน ๑ บท........................................
  • 36. ๑.พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวาสุกรี ๒.พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก และเจ้าจอมมารดาอุย ้ ๓.บรรพชา ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และอุสมบท ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ๔.พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั ๕.พระองค์ทรงมีพระปรี ชาสามารถในการทรงนิพนธ์คาประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และมีงานนิพนธ์ จานวนมาก ๖.พม่าแพ้ ๗.พระองค์เจ้ากปิ ษฐาขัตติยกุมาร ๘.ร่ ายสุภาพ และโคลงสุภาพ (โคลงสองสุภาพ , โคลงสามสุภาพ , โคลงสี่ สุภาพ) ๙.วรรคละ ๕ คา จบด้วยโคลงสองสุภาพ ๑๐. แผนผังร่ ายสุภาพ ๑๑.แผนผังโคลงสองสุภาพ สัมผัสระหว่างบท (คารับสัมผัสระหว่างบทจะใช้ คาที่ ๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ ก็ได้ )
  • 37.
  • 38. กรอบที่ ๒ เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี • ตอนที่หนึ่ง เริ่มด้วยบทกวี บทประณามพจน์ เริ่มด้วยร่ายยอพระเกีย รติพระเจ้าแผ่นดินว่า ด้วยพระเดชานุภาพทรงสามารถปราบศัตรูให้พ่ายแพ้ไป เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์บ้านเมืองจึงสงบร่มเย็น ผู้คนในแผ่นดินล้วน กล่าวสรรเสริญพระเกียรติคุณ
  • 39. กรอบที่ ๒ เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี พระเจ้านันทบุเรง กษัตริย์พม่าทรงทราบข่าวว่าพระมหา- ธรรมราชาสวรรคต จึ งทรงคาดว่ ากรุ ง ศรีอยธยาอาจมีก ารชิ ง บัลลังก์กันระหว่างพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถ จึงรับสั่งให้พระ มหาอุปราชาผู้เป็นโอรสยกทัพมารุกรานไทย แต่พระมหาอุปราชา ได้กราบทูลพระราชบิดาว่า โหรทานายว่าพระองค์กาลังมีเคราะห์ พระเจ้า นันทบุเ รงจึงตรัสประชดว่า ถ้าเกรงจะมี เคราะห์ก็ให้นา เสื้อผ้าสตรีมาสวมใส่เพื่อเป็นการสร่างเคราะห์ พระมหาอุปราชา เกรงพระราชอาญาและทรงอับอาย จึงยกทัพไปกรุงศรีอยุธยา โดยเกณฑ์พลจากเชียงใหม่และเมืองขึ้นต่าง ๆ มาช่วย จากนั้น พระองค์ก็เสด็จเข้าห้องเพื่อไปลาพระสนมด้วยความอาลัย
  • 40. กรอบที่ ๒ เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี • ร่าย ฝ่ ายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้ าวอัสดง หงสาวดีบเุ รศ รั่วรู้ เหตุบมิหึง แห่งเอิก อึงกิ ดาการ ฝ่ ายพสุธารอออกทิศ ว่าอดิศวรกษั ตรา มหาธรรมราชนริ นทร์ เจ้ าปถพินทร์ ผ่านทวีป ดับชนมชีพพิราลัย เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยศวรรยา แจ้ ง กิจจาตระหนัก จึ่งพระปิ่ นปั กธาษตรี บุรี รัตนหงสา ธก็บญชาพิภาษ ด้ วยมวลมาตยา ั กร ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร เพื่อกษัตริ ย์สองสู้ บร้ าง รู้ เหตุผล ควรยาตรพลไปเยือน เตือนประยุทธ์เอาเปรี ยบ แม้ นไป่ เรี ยบเป็ นที โจมจู่ยี่ย่า ภพ เสนีนบนึกชอบ ระบอบเบื ้องบรรหาร ธก็เอื ้อนสารเสาวพจน์ แต่เอารสยศเยศ องค์ อิศเรศอุปราช ให้ ยกยาตราทัพ กับนครเชี ยงใหม่ เป็ นพยุหใหญ่ ห้าแสน ไปเหยียบ แดนปราจิ น บุต รท่ า นยิ น ถ้ อ ถ้ อ ย ข้ อ ยผู้ข้ า บาทบงสุ์ โหรควรคงท านาย ทายพระ เคราะห์ถงฆาต ึ
  • 41. กรอบที่ ๒ เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี ๕/๑ • ฟั งสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้ าอยุธยามีบตร ล้ วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ หาญหัก ุ ศึกบมิยอ ต่อสู้ศกบมิหยอน ไปพักวอนว่าใช้ ให้ ธหวงธห้ าม แม้ นเจ้ าคร้ ามเคราะห์กาจ ่ ึ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรี ย์สร่ างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องค์ อุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตย์ มวล นวลพระพักตร์ ผ่องเผือด เลือดสลด หมดคล ้า ช ้ากมลหมองมัว กลัวพระอาชญายอบ นอบประณตบทมูล ทูลลาไท้ ลีลาศ ธก็ประกาศเกณฑ์พล บอกยุบลบ่มิหึง ถึงเชียงใหม่ตระบัด เร่ งแจงจัดจตุรงค์ ลงมาสู่ หงสา แล้ วธให้ หาเมืองออก บอกทุกแดนทุกด้ าว บอกทุกท้ าวทุกเทศ ทั่วทุกเขตทุก ขอบ รอบสีมามณฑล ทราบนุสนธิ์ ทุกแห่ง ต่างตกแต่งแสะสาร แสนยาหาญมหิมา คลาบรรลุเวียงราช แลสระพราศสระพรั่ง คังคับนับเหลือตรา ต่างภาษาต่างเพศ พิเศษ ่ สรรพแต่งตน ข้ าศึกยลแสยงฤทธิ์ บพิตรธเทียบทัพหลวง โดยกระทรวงพยุบาตร จัก ยาตราตรู่เช้ า เสด็จเข้ านิเวศไท้ เกรี ยมอุระราชไหม้ หม่นเศร้ าศรี สลาย อยูนา ่
  • 42. กรอบที่ ๒ เหตุการณ์ทางกรุงหงสาวดี • โคลง ๒ พระผาดผายสู่ห้อง หาอนุชนวลน้อง หนุ่มหน้าพระสนม ปวงประนมนบเกล้า งามเสงี่ยมเฟี้ยมเฝ้า อยู่ถ้าทูลสนอง กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว คลาดเคล้าคลาสมร จาใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละห้อย ห่อนช้าคืนสม แม่แล ๕/๒
  • 43. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว ๑.“หงสาวดีบุเรศ รั่วรู้เหตุบมิหึง แห่งเอกอึงกิดาการ” ข้อความนี้สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด ก. หาญหักศึกบมิย่อ ต่อสูศกบมิหย่อน ้ึ ข. เอารสไทนฤเบศ นเรศวรเสวยสวรรยา ค. มหาธรรมราชานรินทร์ เจ้าปถพินทุร์ผ่านทวีป ดับชนม์ชีพพิราลัย ง. เตือนประยุทธ์เอาเปรียบ แม้นไป่เรียบเป็นที โจมจู่ยย่าภพ ี
  • 44. ๒. “ธก็บัญชาพิภาษ ด้วยมวลมาตรยากร ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช” “นครรามินทร์” หมายถึงข้อใด ก. เมืองมอญ ข. เมืองพม่า ค. เมืองไทย ง. เมืองเขมร ๓. เมืองใดมาช่วยพม่ารบกับไทย ก.เมืองเขมร ค. เมืองเชียงราย ข.เมืองเชียงใหม่ ง. เมืองมอญ ๔. “แม้นไป่เรียบเป็นที โจมจู่ยีย่าภพ” หมายความว่าอะไร ก. ถ้าสนามรบเรียบดี การโจมตีก็สะดวก ข. แม้เหตุการณ์ไม่เรียบร้อย เป็นโอกาสที่จะโจมตี ค. หากว่าสนามรบไม่ราบเรียบ ก็อย่าเข้าโจมตีเลย ง. แม้นมีเหตุการณ์เรียบร้อย ก็ยกทัพกลับโดยเร็ว
  • 45. ๕.“เป็นพยุหใหญ่ห้าแสน ไปเหยียบแดนปราจิน”ข้อความที่ขด ี เส้นใต้หมายถึงข้อใด ก. จังหวัดปราจีนบุรี ข. เมืองเขมร ค. เมืองเชียงใหม่ ง. เมืองไทย ๖. “บุตรท่านยินถ้อถ้อย ข้อยผู้ข้าบาทบงสุ” คาที่ขีดเส้นใต้ ์ หมายถึงข้อใด ก. ค่าพูดที่ไพเราะ ข. กล่าวโต้ตอบ ค. ถ้อยค่าพูด ง. ถนัด ๗. คาพูดในข้อใดทาให้ผู้ฟัง “แสนอัประมาณมาตย์มวล” ก. เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ ข. เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์ ค. ให้ยกยาตราทัพ กับนครเชียงใหม่ ง. เลือดสลดหมดคล้่า ช้่ากมลหมองมัว
  • 46. ๘. “เร่งแจงจัดจตุรงค์” จตุรงค์หมายถึงอะไร ก. ทหารสี่เหล่า คือ เหล่าช้าง ม้า รถ พลเดินเท้า ข. โชคดีสี่ประการ คือ แม่ทัพดี อาหารสมบูรณ์ ทหารกล้า วันเดือนดี ค. พรสี่ประการคือ อายุ วรรณะ สุข พละ ง. อาวุธดี ได้แก่ ดาบ ของ้าว หน้าไม้ ปืนไฟ ๙. “คั่งคับนับเหลือตรา ต่างภาษาต่างเพศ” คาว่า เพศ ในที่นี้ แปลว่าอะไร ก. ภาษาพูด ข. อาวุธชนิดหนึ่ง ค. สัตว์พาหนะ ง. รูปร่างหน้าตา
  • 47. ๑๐.ข้อใดมีการใช้สัญลักษณ์ แสดงภาพพจน์ ก. พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จศึกด้าว ดั่งเบื้องบรรหาร ข. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู ค. กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว คลาดคลาสม ง. สงครามครานี้หนัก ใจเจ็บจริงนา
  • 48. คาตอบ ๑. ค ๒. ค ๓. ค ๔. ข ๕. ง ๖. ข ๗. ข ๘. ก ๙. ง ๑๐. ก
  • 49. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท พระเจ้านันทบุเรง ประทานโอวาท ๘ ประการแก่พระมหาอุปราชา ดังนี้ ๑. อย่าเป็นคนหูเบา ๒. อย่าทาอะไรตามใจตนเอง ไม่นึกถึงใจผู้อื่น ๓. รู้จักเอาใจทหารให้ฮึกเหิมอยู่เสมอ ๔. อย่าไว้ใจคนขี้ขลาดและคนโง่ ๕. ควรรอบรู้ในการจัดกระบวนทัพทุกรูปแบบ ๖. รู้หลักพิชยสงคราม การตั้งค่าย ั ๗. รู้จักให้บาเหน็จความดีความชอบแก่แม่ทัพนายกองทีเ่ ก่งกล้า ๘. อย่าลดความเพียรหรืออย่าเกียจคร้าน
  • 50. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท • โคลง ๒ พระฟังความลูกท้าว ลาเสด็จศึกด้าว ดั่งเบื้องบรรหาร • โคลง ๓ ภูบาลอื้นอานวย อวยพระพรเลิศล้น จงอยุธย์อย่าพ้น แห่งเงื้อมมือเทอญ พ่อนา
  • 51. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท • โคลง ๔ จงเจริญชเยศด้วย เดชะ ชาวอยุธย์อย่าพะ พ่อได้ จงแพ้พินาศพระ วิริยภาพ พ่อนา ชนะแด่สองท่านไท้ ธิราชเจ้าจอมสยาม
  • 52. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท สงครามความเศิกซึ้ง แสนกล จงพ่ออย่ายินยล แต่ตื้น อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทานา การศึกลึกเล่ห์พื้น ล่อเลี้ยวหลอกหลอน
  • 53. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท จงแจ้งแห่งเหตุเบื้อง โบราณ เป็นประโยชน์ยุทธการ กล่าวไว้ เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่นา อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้วขลาดเขลา หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน เจนจิตวิทยาการ กาจแกล้ว รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา อาจจักรอนรณแผ้ว แผกแพ้พังหนี
  • 54. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท หนึ่งรู้บาเหน็จให้ ขุนพล อันสมรรถมือผจญ จิตเสี้ยน อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ แปดประการกลเที้ยร ถ่องแท้ทางแถลง
  • 55. กรอบที่ ๓ พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาท จงจำคำพ่อไซร้ สั่งสอน จงประสิทธิ์สมพร พ่อให้ จงเรืองพระฤทธิ์รอน อริรำช จงพ่อลุกลำภได้ เผด็จด้ำวแดนสยำม
  • 56. พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง กวีใช้ลีลาการแต่งแบบนิราศแต่งบทราพันถึงนาง โดยนาธรรมชาติที่พระมหาอุปราชาได้พบเห็นเชื่อมโยงกับ อารมณ์ความรู้สึกของพระองค์ที่มีต่อพระสนม ใช้ความเปรียบโดยนาชื่อดอกไม้ ต้นไม้ เป็นสื่อ พรรณนาความรัก และความอาลัยต่อนางอันเป็นที่รักได้ อย่างไพเราะ และสะเทือนอารมณ์เป็นอย่างยิ่ง ๕/๔
  • 57. พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง • โคลง ๔ มาเดียวเปลียวอกอ้า อายสู ่ สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้ อนวลสงวน
  • 58. พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง • โคลง ๔ สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤๅ เพราะเพือมาราญรอน ่ เศิกไสร้ สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
  • 59. พระมหาอุปราชาราพันถึงนาง • โคลง ๔ สายหยุดหยุดกลินฟุ้ ง ่ ยามสาย สายบ่หยุดเสน่หหาย ์ ห่างเศร้า กีคืนกีวนวาย ่ ่ั วางเทวษ ราแม่ ถวิลทุกขวบคาเช้า ่ หยุดได้ฉนใด ั
  • 60. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ คาชี้แจง ให้นักเรียนยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่มีความหมายเกี่ยวกับโอวาท ๘ ประการต่อไปนี้ (ข้อ ๑ – ๘) ๑. อย่ าหูเบา ๒. อย่าทาอะไรตามใจตนเอง ๓. ให้ เอาใจทหาร ๔. อย่าไว้ ใจคนขลาด ๕. รอบรู้ กระบวนการจัดทัพ ๖. รู้ หลักตาราพิชัยสงคราม ๗. ให้ รางวัลทหารที่มความสามารถ ี ๘. จงพากเพียร อย่ าเกียจคร้ าน ๙. “สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นำ” คาประพันธ์ นีใช้ ศิลปะในการแต่ งอย่ างไร ้ ๑๐.“สำยหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยำมสำย” คาประพันธ์ นีใช้ ศิลปะในการแต่ งอย่ างไร ้
  • 61. คำตอบ ๑. จงพ่ออย่ายินยล แต่ตื้น ๒. อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทานา ๓. เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่นา ๔. อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้ว ขลาดเขลา ๕. หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน ๖. รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา ๗. หนึ่งรู้บาเหน็จให้ ขุนพล ๘. อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ ๙. การใช้คาซ้า ๑๐. การใช้คาซ้า
  • 62. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช ตอนที่สี่ สมเด็จพระนเรศวรทรงปรารภเรื่องตีเมืองเขมร ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยู่ที่ท้องพระ- โรง ทรงไต่ถำมทุกข์สุขของมวลพสกนิกร ขุนนำงทั้งหลำย ต่ำงถวำยควำมเห็นแด่สมเด็จพระนเรศวร พระองค์ทรง ตัดสินคดีควำมให้ลุล่วงไปตำมแบบอย่ำงยุติธรรม เสร็จแล้วทรงปรึกษำขุนนำง เพื่อเตรียมทัพไปปรำบ เขมรว่ำควรยกไปเมื่อไรดี โดยให้เกณฑ์กำลังพลมำจำกทำง ใต้
  • 63. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช พระองค์ทรงห่วงแต่ศึกมอญพม่า เกรงว่าจะยกมาตี กรุงศรีอยุธยา จึงมอบหมายให้พระยาจักรี เป็นผู้ดูแล กรุงศรีอยุธยาในระหว่างที่ทาศึกกับเขมร ให้ตั้งใจรักษา เมื อ งไว้ พระองค์ จ ะรี บ กลั บ มาปกป้ อ งแผ่ น ดิ น สยาม โดยไว พระองค์ ท รงปลอบพระองค์ ว่ า พม่ า เพิ่ ง แพ้ ไ ทย กลับไปเมื่อต้นปี คงไม่ยกกลับมาภายในปีนี้หรอก เหล่า ขุนนางยังไม่ได้ตอบพระราชบรรหาร ทันใดนั้นทูตจาก เมืองกาญจนบุรีก็มาถึง
  • 64. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช - ลางร้ายของพระมหาอุปราชา พระมหาอุ ป ราชายกทั พ มาถึ ง อ าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เกิดเหตุร้าย ลมเวรัมภา (ลมที่เกิด จากอานาจเวรกรรม) พัดฉัตรบนหลังช้างทรงหัก พระ มหาอุปราชาทรงหวั่น พระทัย จึงทรงให้โหรมาทานาย เหตุการณ์ดังกล่าว โหรทั้งหลายต่างตระหนักว่าเป็นเหตุร้ายแรง ถ้าทูล ความจริงเกรงจะได้รับโทษ จึงทูลว่าเหตุการณ์นี้เกิดใน ยามเช้าไม่ดี แต่เกิดในยามเย็นนั้นดี
  • 65. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช พระฝืนทุกข์เทวษกลำ แกล่ครวญ ขับคชทบจรจวน จักเพล้ บรรลุพนมทวน เถื่อนที่ นันนำ เหตุอนำถหนักเอ้ อำจให้ชนเห็น เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหำ หนเฮย ลมชื่อเวรัมภำ พัดคลุ้ม หวนหอบหักฉัตรำ คชขำด ลงแฮ แลธุลีกลัดกลุ้ม เกลื่อนเพียงจักรผัน
  • 66. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเฮย ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง กระหม่าหระเหม่นทรวง สั่นซีด พักตร์นา หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย
  • 67. กรอบที่ ๔ ลางร้ายของพระมหาอุปราช ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย ศาสตร์แฮ เห็นตระหนักแน่ใน เหตุห้าว จักทูลบ่ทูลไท เกรงโทษ ท่านนา เสนอแต่ดกลบร้าว ี เกลื่อนร้ายกลายดี เหตุนี้ผิดเช้าชั่ว ฉุกเข็น เกิดเมื่อยามเย็นดี ดอกไท้ อย่าขุ่นอย่าลาเค็ญ ใจเจ็บ พระเอย พระจักลุลาภได้ เผด็จเสี้ยนศึกสยาม ฯลฯ
  • 68. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ********************* คาสั่ง ให้ นักเรียนตอบคาถามต่ อไปนี ้ ๑. พระมหาอุปราชา ยกทัพมาถึง “พนมทวน” เวลาใด.... ๒. อาเภอพนมทวน อยู่ในจังหวัดใด.... ๓. ให้ ยกตัวอย่ างบทประพันธ์ ทกล่ าวถึงเหตุร้ายของพระมหาอุปราชา.... ี่ ๔. ลมเวรัมภา หมายถึง.... ๕. “ทั้งหลายล้วนจบแจ้ง เจนไสย ศาสตร์แฮ” จากบทประพันธ์ นีหมายถึงใคร.... ้ ๖. “พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเฮย ถนัดดังภูผาหลวง ่ ตกต้อง” จากบทประพันธ์ นีมีโวหารใด... ้ ๗. บทประพันธ์ ใด ที่กล่ าวถึงคาทานายของโหร.... ๘. เหตุใดโหรจึงไม่ ทูลความจริงเกียวกับคาทานาย..... ่
  • 69. คาตอบ ๑. ใกล้ คา ่ ๒. กาญจนบุรี ๓. เกิดเป็ นหมอกมืดห้ อง เวหา หนเฮย ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ แลธุลกลัดกลุ้ม ี เกลือนเพียงจักรผัน ่ ้ ๔. ลมที่เกิดจากอานาจเวรกรรม ๕. โหร ๖. อุปมาโวหาร ๗. เหตุนีผดเช้ าชั่ว ้ ิ ฉุกเข็น เกิดเมื่อยามเย็นดี ดอกไท้ อย่ าขุ่นอย่ าลาเค็ญ ใจเจ็บ พระเอย พระจักลุลาภได้ เผด็จเสี้ยนศึกสยาม ฯลฯ ๘. เกรงจะได้ รับโทษ
  • 70. กรอบที่ ๕ พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา พระมหาอุปราชาทรงราพึงถึงพระบิ ดาว่า หากต้องทรง เสียโอรส คือพระมหาอุปราชาแก่ข้าศึก พระเจ้านันทบุเรงคงจะ ทรงเสี ย พระทัย และทรงเป็ น ทุ ก ข์ ยิ่ ง แผ่ น ดิน มอญก็ จะไม่มี ผู้ ม า ปกป้อง ด้วยพระเจ้า นันทบุเรงก็ทรงชราภาพแล้ว เกรงว่าจะแพ้ ข้าศึก หากพระมหาอุ ป ราชาสิ้ น พระชนม์ ใ นสงครามครั้ ง นี้ ท รง เป็นห่วงว่าจะไม่มีใครมาเก็บพระศพ พระเจ้า นันทบุเรงก็จะไม่มี คู่คิดในการทาศึกสงคราม พระคุณของพระเจ้า นันทบุเรงนั้นมาก เกรงว่าจะไม่ได้ตอบแทน
  • 71. กรอบที่ ๕ พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา สระเทินสระทกแท้ ไทถวิล อยู่เฮย ฤาใคร่คลายใจจินต์ จืดสร้อย คานึงนฤบดินทร์ บิตุเรศ พระแฮ พระเร่งลานละห้อย เทวษไห้โหยหา อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสียเอำรส แก่เสี้ยน จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน หั่นกลิ้งไกลองค์
  • 72. กรอบที่ ๕ พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา ณรงค์นเรศวร์ด้าว ดัสกร ใครจักอาจออกรอน รบสู้ เสียดายแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วยแฮ เหตุบ่มีมอผู้ ื อื่นต้านทานเข็ญ เอ็นดูภูธเรศเจ้ำ จอมถวัลย์ เปลี่ยวอุระราชรัน- ทดแท้ พระชนม์ชรำครัน ครองภพ พระเอย เกรงบพิตรจักแพ้ เพลี่ยงพล้าศึกสยาม
  • 73. กรอบที่ ๕ พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา สงครามครานี้หนัก ใจเจ็บ ใจนา เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อกโอ้ ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย ผีจักเท้งทีโพล้ ่ ทีเพล้ใครเผา ่ พระเนานัคเรศอ้า เอองค์ ฤาบ่มีใครคง คู่ร้อน จักริจักเริ่มรงค์ ฤาลุ แล้วแฮ พระจักขุ่นจักข้อน จักแค้นคับทรวง
  • 74. กรอบที่ ๕ พระมหาอุปราชาราพึงถึงพระบิดา พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้ พระเกิดพระก่อชนม์ ชุบชีพ มานา เกรงบ่ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง
  • 75. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๕ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว ๑. “อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน” จากบทประพันธ์ นี้ คาว่ า “เอารส” หมายถึงใคร ก. พระนเรศวร ข. พระเอกาทศรส ค. พระมหาอุปราชา ง. พระเจ้านันทบุเรง ๒. “ณรงค์นเรศวร์ด้าว ดัสกร ใครจักอาจออกรอน รบสู้ เสียดายแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วยแฮ เหตุบ่มีมือผู้ อื่นต้านทานเข็ญ” บทประพันธ์ นีให้ ข้อคิดเห็นอย่ างไร ้ ก. ทุกสิ่ งทุกอย่างย่อมผันแปร ข. พม่าไร้คนมีฝีมือ ค. พม่าคิดแต่จะรบกับไทย ง. ไม่มีใครคิดอยากทาสงครามอีก ๓. “ลูกตายฤใครเก็บ ผีฝาก พระเอย ผีจักเท้งทีโพล้ ่ ทีเพล้ใครเผา” จากบทประพันธ์ นี้ “เท้ง” หมายถึงอะไร ่ ก. ลอยตามน้ า ข. ทิ้งไว้ ค. เก็บไว้ ง. พลบค่า
  • 76. ๔. “พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้ พระเกิดพระก่อชนม์ ชุบชีพ มานา เกรงบ่ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง” จากบทประพันธ์ นีชี้ให้ เห็นเด่ นชัดเรื่องใด ้ ก. ความกตัญญู ข. เกิดจินตภาพ ค.ใช้คาได้ดีสละสลวย ง. เกิดอารมณ์หวันไหว ่ ๕. ข้ อใดเป็ นโวหารแบบอธิพจน์ ก. พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนได้ ข. อ้าจอมจักพรรดิ์ผู้ เพ็ญยศ แม้พระเสี ยเอารส แก่เสี้ ยน ค. ชาวสยามคร้ามเศิกสิ้ น ทั้งผอง นายและไพร่ ไป่ ปอง รบเร้า ง. มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย
  • 77. คาตอบ ๑. ค ๒. ค ๓. ข ๔. ก ๕. ก
  • 78. กรอบที่ ๖ พระสุบิน และพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ สมเด็จพระนเรศวรตรัสว่า เราจะไปตีเมืองกัมพูชา แต่มอญ ชิงส่งทัพเข้ามารบเสียก่อน ทาให้เราไม่ได้ไปรบกับเขมร ทรงสั่งให้ไป รบกับมอญแทน อันเป็นมหรสพอันยิ่งใหญ่ ว่าแล้ว ทรงประกาศให้ เมื อ งกาญจนบุ รี เกณฑ์ ก าลั ง พล ๕๐๐ ไปสอดแนมซุ่ ม ดู ก าลั ง ของ ข้าศึก ที่เดินทางผ่านล าน้ากระเพิน โดยตัดสะพานให้ข าดเป็นท่อน ทาลายเชือกสะพานให้ขาดลอยเป็นทุ่น ก่อไปทาลายเสียอย่าให้มอญ จับได้
  • 79. กรอบที่ ๖ พระสุบิน และพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ ทั น ใดนั้ น ทู ต จากเมื อ งต่ า งๆ ก็ ส่ ง รายงานศึ ก มาให้ พ ระองค์ ทราบ เป็นการสนับสนุนข่าวนั้นว่าเป็นจริง พระนเรศวรทรงยินดีที่จะ ได้ปราบศัตรูบ้านเมือง ทรงปรึกษากับเหล่าเสนาอามาตย์ว่า การศึก ครั้งนี้ ควรจะสู้นอกเมือง หรือตั้งรับในเมือง เหล่าขุนนางทั้งหลายก็ กราบทูลว่า พระองค์ควรเสด็จไปทาศึกนอกเมืองจะดีกว่า ซึ่งก็ตรงกับ พระทัยของสมเด็จพระนเรศวร แล้ ว มี พ ระบรมราชโองการ เรี ย กเกณฑ์ พ ลจากหั วเมื อ ง ตรี จัตวา กับหัวเมืองทางใต้
  • 80. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ ให้ พระยาศรีไสยณรงค์ เป็นทัพหน้า มี พระราชฤทธานนท์ เป็นปลัดทัพ มีกาลังพล ๕ หมื่น ทรงสั่งอีกว่าให้รีบรบโดยเร็ว หากต้านทานไม่ไหว พระองค์ จะเสด็จมาช่วยภายหลัง แม่ทัพทั้งสองกราบบังคมลา แล้วยกทัพ ไปตาบลหนองสาหร่าย เขตจังหวัดกาญจนบุรี แล้วตั้งค่ายลงตรง ชั ย ภู มิ ชื่ อ สี ห นาม เพื่ อ รอรบ และหลอกล่ อ ข้ า ศึ ก ให้ ต่ อ สู้ ไ ด้ ยากลาบาก
  • 81. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร พระสุบิน และพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร สมเด็จพระนเรศวรเสด็จจากกรุงศรีอยุธยาไปขึ้น บกที่ อ าเภอปากโมก (ป่ า โมก) จั ง หวั ด อ่ า งทอง เมื่ อ พระองค์บรรทมก็เกิดพระสุบินเทพสังหรณ์ว่า ...มีน้าท่วมมาจากทิศตะวันตก พระองค์ทรงลุย น้ า พบจระเข้ ใ หญ่ จ ะกั ด พระองค์ จึ ง ทรงต่ อ สู้ กั บ จระเข้ ด้ ว ยพระแสงดาบ จระเข้ ถู ก พระนเรศวรฆ่ า น้ าที่ ท่ ว มก็ ก ลั บ แห้ ง เหื อ ดไป... เมื่ อ พระองค์ ส ร่ า ง บรรทมจึงทรงให้โหรทานายพระสุบิน
  • 82. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ โหรทานายว่าเป็นพระสุบินที่เทวดาดลบันดาลให้ทรงทราบ น้าที่ไหลเชี่ยวคือกองทัพพม่า ส่วนจระเข้นั้นหมายถึงพระมหาอุป ราชา สมเด็จพระนเรศวรจะทรงกระทายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา และทรงมีชัยชนะ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงสดับคาพยากรณ์ของโหรก็ทรง ยิ น ดี จากนั้ น ทรงเครื่ อ งต้ น เสด็ จ พร้ อ มพระอนุ ช าไปยั ง กองทั พ ที่ เตรียมไว้ เกิดศุภนิมิต สมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตรพระบรม สารีริกธาตุ มีแสงสว่างงดงามขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยงลอยมาจากทิศ ใต้ เวียนขวารอบกองทัพ ๓ รอบ แล้วลอยไปทางทิศเหนือ
  • 83. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ โคลง ๔ เทวัญแสดงเหตุให้ สังหรณ์ เห็นแฮ เห็นกระแสสาคร หลั่งล้น ไหลลบวนาดอน แดนตก ทิศนา พระแต่เพ่งฤาพ้น ที่น้่านองสาย พระกรายกรย่างเยื้อง จรลี ลุยมหาวารี เรี่ยวกว้าง พอพานพะกุมภีล์ หนึ่งใหญ่ ไสร้นา โถมปะทะเจ้าช้าง จักเคี้ยวขบองค์
  • 84. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ โคลง ๒ ครั้งบดินทร์ดาลได้ สดับพยากรณ์ไท้ ธิราชแผ้วพูนเกษม เปรมปรีดิ์ปราโมทย์แท้ เพราะพระโหรหากแก้ กล่าวต้องตามฝัน พระพลันทรงเครื่องต้น งามประเสริฐเลิศล้น แหล่งหล้าควรชม ชื่นนา สมเด็จอนุชาน้องแก้ว ทรงสุภาภรณ์แพร้ว เพริศพร้อมเพราตา ยิ่งแฮ
  • 85. กรอบที่ ๖ พระสุบินและพระนิมิตของสมเด็จพระนเรศวร ตอนที่ห้า สมเด็จพระนเรศวรทรงเตรียมการสู้ศึกมอญ ร่าย สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ ขุนคชขับช้างเทียบ ทวยหาญเพียบแผ่นภู ดู มหิมาดาดาษ สระพราศพร้อมโดยขบวน องค์อ ดิ ศ วรสองกษัต ริ ย ์ คอยนฤขัต รพิ ช ัย บัด เดี๋ ย วไททฤษฎี พระศรีสารีริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต ช่ วงชวลิตพ่างผล ส้ม เกลี้ ยงกลกุก่อง ฟ่ องฟ้ าฝ่ ายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคารบ สามครา เป็ นทักษิณาวรรตเวียน ว่ายฉวัดเฉวียนอัมพร ผ่านไป อุดรโดยด้าว พลางบพิตรโทท้าว ท่านตั้งสดุดี อยู่นา ...ฯลฯ
  • 86. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๖ คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว ๑. “เทวัญแสดงเหตุให้ สังหรณ์ เห็นแฮ เห็นกระแสสาคร หลั่งล้น ไหลลบวนาดอน แดนตก ทิศนา พระแต่เพ่งฤาพ้น ที่น้านองสาย” จากบทประพันธ์ นีแสดงให้ เห็นว่ าพระนเรศวรฝันแบบใด ้ ก. บุพนิมิต ข. จิตนิวรณ์ ค. เทพสังหรณ์ ง. ธาตุโขภะ ๒. “ไหลลบวนาดอนแดนตก ทิศนา” จากบทประพันธ์ นี“แดนตก”หมายถึงข้ อใด ้ ก.พม่า ข. มอญ ค. เขมร ง. ไทย
  • 87. ๓. “พระกรายกรท่งเยื้อง จรลี ลุยมหาวารี เรี่ยวกว้าง พอพานพะกุมภีล์ หนึ่งใหญ่ ไสร้นา โถมปะทะเจ้าช้าง จักเคี้ยวขบองค์” จากบทประพันธ์ นี้ ข้ อใดกล่ าวไม่ ถูกต้ อง ก. กุมภีล์ คือ พระมหาอุปราชา ข. เจ้าช้าง คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ ค. วารี คือ กองทัพพม่า ง. เจ้าช้าง คือ พระนเรศวร ๔. คาคู่ใดมีความหมายต่ างกัน ก. กุมภีล์ - สุ งสุ มาร ข. สายสิ นธุ์ - กระแสสาคร ค. ดิลกเจ้าจอมถวัลย์ - ไทเทเวศร์ ง. ทฤษฎี - ยล ๕. ข้ อใดไม่ ใช่ ศุภนิมิต ทีสมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตร ่ ก. สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ ข. บัดเดี๋ยวไททฤษฎี พระศรี สารี ริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต ค. ช่วงชวลิตพ่างผล ส้มเกลี้ยงกลกุก่อง ฟ่ องฟ้ าฝ่ ายทักษิณ ง. นับคารบสามครา เป็ นทักษิณาวรรตเวียน ว่ายฉวัดเฉวียนอัมพร
  • 88. คำตอบ ๑. ค ๒. ก ๓. ข ๔. ค ๕. ก
  • 89. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ สมเด็จพระนเรศวร ให้โหรหาฤกษ์ยามดีเพื่อเคลื่อนพล ไปรบ หลวงญาณโยคโลกทีป ถวายคาพยากรณ์ทูลว่า พระองค์ ได้ จ ตุ ร งคโชค อาจปราบประเทศต่ า งๆให้ แ พ้ ส งครามได้ เชิญเสด็จเคลื่อ นทัพในยามเช้า วันอาทิ ตย์ขึ้น ๑๑ ค่า ย่ารุ่ ง ๘ นาฬิกา ๓๐ นาที ในเดือนยี่ นับเป็นฤกษ์สิริมงคล ทรงสดับแล้ว ให้ตรวจทัพเตรียมเคลื่อนพลทางน้า มุ่งสู่ตาบลปากโมก จังหวัด อ่างทอง
  • 90. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ สรงน้ าอบ หอม แต่งพระองค์ด้วยภูษาทรงอันสวยงาม นับแต่ผ้ารัดบั้นพระองค์ มีชายไหวชายแครงสนับเพลา ทับทรวง สะอิ้ง ล้วนสวยงาม สวมข้อ พระกรด้วยกาไลอ่อน พระธามรงค์ที่สวมนิ้วพระหัตถ์ทั้ง ๘ ประดับ เพชรพลอยแพรวพราวเป็นสีรุ้ง ทรงมงกุฎทองประดับเพชร ถือคัน - ธนูเสด็จมาช้าๆ กษัตริย์ ๒ พระองค์ดุจดังพระลักษมณ์กับพระรามรบ ทศกัณฐ์ และปราบศัตรูทั่วทิศ
  • 91. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ เมื่อได้ฤกษ์ออกศึก โหรตีฆ้องดังกึกก้อง บรรดาสมณชีพราหมณ์ก็ร่ายมนตร์ ตามคัมภีร์ พร้อมเป่าสังข์เป่าแตรถวาย เสียงประสานกันเซ็งแซ่ จากนั้นเคลื่อนพล ผ่านโขลนทวาร พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาให้มีชัย และเคลื่อนทัพ จนถึงตาบลปาก- โมก ทรงปรึกษาเหล่าขุนนางเรื่องการศึก จนล่วงเข้ายามสามก็เสด็จเข้าที่บรรทมครั้น ถึงเวลา ๑๐ ทุ่ม พระองค์ทรงสุบิน เป็นศุภนิมิต ว่า.... ...ทรงทอดพระเนตรเห็นน้าไหลบ่าท่วมป่าสูง มาทางทิศตะวันตก เป็นแนว ยาวสุดสายพระเนตร ขณะพระองค์ลุยกระแสน้าอันเชี่ยวกรากนั้น มีจระเข้ใหญ่ตัว หนึ่ งมาโถมปะทะ และจะกั ดพระองค์ พระองค์ใช้แสงดาบที่ ถื อในพระหัตถ์ ต่อสู้กั บ จระเข้ พระองค์ฟันเข้าถูกจระเข้ตาย ทันใดนั้นสายน้าที่ท่วมป่าอยู่ก็เหือดแห้ง...
  • 92. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ เมื่อตื่นบรรทม สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้โหรทานาย พระสุบินนิมิตทันที เหล่าโหรพยากรณ์ว่า พระสุบินครั้งนี้ เกิด เพราะเทวดาสังหรณ์ให้ทราบเป็นนัยว่า น้าซึ่งไหลท่วมป่าทางทิศตะวันตกนั้นคือกองทัพพม่า ส่วนจระเข้นั้นคือพระมหาอุปราชา การสงครามนี้ยิ่งใหญ่ ถึง ขนาดต้องกระทายุทธหัตถี การลุยกระแสน้านั้นหมายความว่าพระองค์จะทรงตะลุยไล่ บุกเข้าไปในหมู่ข้าศึก จนข้าศึกแตกพ่าย
  • 93. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ เมื่อพระองค์สดับฟังคาพยากรณ์ ก็มีความผ่องแผ้วเป็น สุขใจ และเสด็จมายังเกยช้างที่ประทับ ณ พลับพลาในค่ายหลวง ในระหว่างที่คอยพิชัยฤกษ์อยู่ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นพระบรม สารีริกธาตุ ส่องแสงเรืองรอง มีขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยง ลอยมาใน ท้องฟ้าทางทิศใต้ ลอยวนรอบกองทัพเป็นทักษิณาวรรต ๓ รอบ แล้วลอยเวียนฉวัดเฉวียนกลางฟ้า ผ่านไปทางทิศเหนือ
  • 94. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่หก พระนเรศวรทรงตรวจเตรียมทัพ สมเด็จพระพี่น้อง ทรงกราบนมัสการด้วยความ ปลาบปลื้มปิติยินดียิ่ง ทรงพระช้างชื่อ ไชยานุภาพ ส่วน พระเอกาทศรถทรงช้าง พลายปราบไตรจักร โดยเสด็จ นาหน้าขบวนสมเด็จพระนเรศวร
  • 95. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่เจ็ด พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า ของไทย ฝ่ า ยนายกองลาดตระเวน ซึ่ ง พระมหาอุ ป ราชาใช้ ใ ห้ ขี่ ม้ า ตรวจดูทัพไทย มีสมิงอะคร้าน สมิงเป่อ สมิงซายม่วน พร้อมทหารม้า ๕๐๐ และกราบทูลพระมหาอุปราชาว่า กองทัพไทยตั้งค่ายอยู่ที่หนอง สาหร่าย สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถเป็นผู้ยกทัพ มาเอง มีรี้พลประมาณ ๑๗-๑๘ หมื่น
  • 96. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่เจ็ด พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า ของไทย พระมหาอุปราชาจึงตัดสินใจใช้วิธีจู่โจม หักเอาชัยชนะเสียแต่ แรก เพื่ อ เบาแรง แล้ ว ล้ อ มกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แล้ ว ชิ ง ราชสมบั ติ ใ น ภายหลัง จึงรับสั่งให้เตรียมพลให้เสร็จตั้งแต่ ๓ นาฬิกา(ตีสาม) พอ ๕ นาฬิกา(ตีห้า) ก็ยกทัพกะให้ไปสว่างกลางทาง รุ่งเช้าจะได้เข้ามีทันที พระองค์ขึ้นประทับ พลับพลาที่มีเกยสาหรับขึ้นช้าง เพื่อประทับช้าง พระที่นั่งชื่อ พลายพันธกอ
  • 97. กรอบที่ ๗ เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค ตอนที่เจ็ด พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า ของไทย ฝ่ายไทย พระยาศรีไสยณรงค์ กับพระราชฤทธานนท์ ได้รับพระราชโองการจากสมเด็จพระนเรศวร จึงยกพลเข้า โจมตีทัพพม่าตั้งแต่กลางดึก มีกาลังพลทั้งหมด ๕ หมื่น โดย จัดทัพดังนี้
  • 98. กรอบที่ ๗ ตอนที่เจ็ด เคลื่อนพลตามเกล็ดนาค พระมหาอุปราชทรงปรึกษาการศึกแล้วยกทัพเข้าประทะทัพหน้า ของไทย ทัพหน้า มีพระสุพรรณฯ เป็นแม่ทัพ เจ้าเมืองธนบุรีเป็น ปีกซ้าย เจ้าเมืองนนทบุรีเป็นปีกขวา ทัพหลวง พระยาศรีไสยณรงค์เป็นแม่ทัพ ขี่ช้างชื่อพลาย- สุรงคเดชะ เจ้าเมืองสรรค์บุรีเป็นปีกซ้าย เจ้าเมืองสิงห์บุรีเป็นปีกขวา ทัพหลัง พระราชฤทธานนท์เป็นแม่ทัพ ขี่ช้างชื่อชนะจาบัง เจ้าเมืองชัยนาทเป็นปีกซ้าย พระยาวิเศษชัยชาญเป็นปีกขวา