SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
1. จงอธิบายความหมายของคําวา จิตวิทยา และ
    การเรียนรู้
ตอบ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร
อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรม
เปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่
เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่
เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
  2. ทฤษฎีการเรียนรูแบงเปนกี่กลุม จงอธิบายราย
     ละเอียด
  ตอบ มี 4 กลุ่ม
1.ทฤษฎี พ ฤติ ก รรมนิ ย ม (Behaviorism)
นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ ได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เห็นชัด
สามารถวัดได้ สังเกตได้และทดสอบได้ แนวความคิดของกลุ่มนี้
ถือว่าสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์จะเป็นตัวกําหนดพฤติกรรมและ
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบ
สนอง การแสดงพฤติกรรมจะมีความถี่มากขึ้นถ้าหากได้รับการ
เสริมแรง แต่นักจิตวิทยาบางคนในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วย และได้เสนอ
ความคิดเห็นว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นถ้าหากได้รับการเสริมแรง แต่
นักจิตวิทยาบางคนในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วย และได้เสนอความคิดเห็น
ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ถ้ามีความใกล้ชิดระหว่างสิ่งเร้า และการ
ตอบสนอง
2. ทฤษฎี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจหรื อ ทฤษฎี ป ั ญ ญา
(Cognitive Theories)
ในด้านการจัดการเรียนการสอนนักจิตวิทยากลุ่มนี้ ได้เสนอให้ใช้
เทคนิคของ Discovery ซึ่งหมายถึง การที่ให้เด็กได้คนพบวิธีแก้
ปัญญาด้วยตนเอง ซึ่งจาการที่เด็กทําได้ด้วยตนเองเช่นนั้น จะช่วย
พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง และทําให้เด็กคุ้นเคยกับทักษะของ
การแก้ปัญหา นอกจากนั้นยังมีการใช้เทคนิคของการให้ข้อมูลที่
ไม่ตรงกับความเป็นจริง การเปิดโอกาสให้เด็กทําผิดพลาดและการ
คิดผิด เพื่อที่จะได้ทราบความคิดของเด็ก ตลอดจนการใช้เทคนิค
การสอบถาม (Inquiry) เพื่อฝึกให้เด็กรู้จักการตั้งคําถาม
3. ทฤษฎี ข องกลุ ่ ม มนุ ษ ยนิ ย ม (Humanisticism)
แนวความคิดของกลุ่มมนุษย์นิยมที่เกี่ยวกับการศึกษา คือ นักเรียนควรจะ
ได้รับความช่วยเหลือให้มีความเข้าใจในตนเอง มีจดยืนเป็นของตนเอง
                                                 ุ
อย่างชัดเจนว่า ตนเองมีความต้องการสิ่งใดแน่และมีจดมุ่งหมายในชีวิต
                                                   ุ
อย่างไร เพราะในปัจจุบนมีสิ่งที่เด็กจะต้องตัดสินใจเลือกมากมาย คนที่มี
                      ั
จุดยืนที่แน่นอนเท่านั้นจึงจะสามารถเลือกสิ่งที่มีความหมายและก่อให้เกิด
ความพึงพอใจให้กับตนเองให้ดีที่สุด นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้มีความเห็น
ตรงกันว่า เด็กควรได้รับความช่วย เหลือจากครูในทุกด้านไม่ใช่เฉพาะ
การได้รับความรู้ หรือการมีความเฉลียวฉลาดเพียงอย่างเดียว แต่ควรได้
รับความช่วยเหลือให้รู้จักศึกษาและสํารวจเกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก และ
ทําความเข้าใจเกี่ยว กับความรู้สึกนึกคิด เจตคติ และจุดมุ่งหมายความ
ต้องการของตนเอง




4. ทฤษฎี ผ สมผสาน ( Integrated Theory )
ได้ผสมผสานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมกับทฤษฏีความรู้ความเข้าใจ แล้ว
สรุปเป็น 8 ขันตอนในการเรียนรู้
             ้
1. การเรียนรู้สัญญาณ ( Sign Learning )
2. การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ( Sti
mulus Response Learning )
3. การเรียนรู้การเชื่อมโยง ( Chaining )
4. การเชื่อมโยงทางภาษา ( Verbal Association )
5. การแยกประเภท ( Multiple Discrimination Learning )
6. การเรียนรู้ความคิดรวบยอด ( Concept Learning )
7. การเรียนรู้หลักการ ( Principle Learning )
8. การเรียนรู้การแก้ปัญหา ( Problem - Solving )
3.จงอธิ บ ายทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  เ กี ่ ย วกั บ ประวั ต ิ
นั ก จิ ต วิ ท ยา สาระสํ า คั ญ ของทฤษฎี และการ
ประยุ ก ต ใ ช ดั ง นี
    ต อ บ 3.1 ทฤษฎี การเรี ย นรู การวางเงื่ อนไขแบบคลาสสิ ก
ของอีวาน พาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ อีวานเพโท
รวิ ช พาพลอฟ (Ivan Petrovich Pavlop ) นั ก สรี ร ะวิ ท ยาชาว
รัสเซีย เชื่อว่า พฤติกรรมที่จะเกิดการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกได้
มั ก เป็ น พฤติ กรรม หรื อการตอบสนองที่ เ กิ ดจากปฏิ ก ริ ย าสะท้ อ น
อั น มี พื้น ฐานมาจากการทำา งานของระบบประสาทอั ต โนมั ติ เช่ น
การที่เห็นมะม่วงแล้วนำ้า ลายไหล, การทำา งานของต่อมต่าง ๆ ใน
ร่างกาย, การทำางานของระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ พฤติกรรมการตอบ
สนองในการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเอง
ตาม ธรรมชาติ เมื่ อ มี สิ่ ง เร้ า มากระตุ้ น พฤติ ก รรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ตาม
ธรรมชาติเหล่านี้ เรียกว่า พฤติกรรมตอบสนอง หรือ พฤติกรรมที่
เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ
               พาร์ พลอฟ เชื่ อ ว่ า การเรี ย นรู้ ข องสิ่ ง มี ชีวิ ตจำา นวน
มากเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) กล่าวคือ การตอบ
สนอง หรื อ การเรี ย นรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ สิ่ ง เร้ า หนึ่ ง มั ก มี เ งื่ อ นไขหรื อ
สถานการณ์ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ในสภาพปกติ ห รื อ ในชี วิ ต ประจำา วั น การ
ตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและ
นำ้า ลายไหล เสี ย งกระดิ่ ง เป็ น สิ่ ง เร้ า ที่ ต้ อ งการให้ เ กิ ดการเรี ย นรู้
จากการวางเงื่อนไข (เพราะโดยปกติเสียงกระดิ่งมิได้ทำา ให้สุนัข
นำ้าลายไหล       แต่คนต้องการให้สุนัขนำ้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียง
กระดิ่ง) พาร์พลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (conditioned st
imulus) และปฏิกิริยานำ้าลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการ
ตอบสนองที่มีเงื่อนไข (conditioned response)


การเรียนรู้โดยมีเงื่อนไขแบบคลาสสิค
             ขั้นที่ ١      ก่อนวางเงื่อนไข
                               เสียงกระดิ่ง ------------ ไม่มีการ
ตอบสนอง
                               อาหาร                ------------- สุ นั ข
นำ้าลายไหล
                ขั้นที่ ٢     ระหว่างวางเงื่อนไข
                              เสี ย งกระดิ่ ง + อาหาร -------------
 สุนัขนำ้าลายไหล
                ขั้นที่ ٣     ภายหลังการวางเงื่อนไข
                                    เ สี ย ง ก ร ะ ดิ่ ง -------------
สุนัขนำ้าลายไหล
ในการนำา ทฤษฎี การวางเงื่ อ นไขแบบคลาสสิ ก ไปใช้ ใ นการเรี ย น
การสอนทำาได้ดังนี้
                ١. ครูสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน อัน
เป็นการวางเงื่อนไขที่ดี
                ٢. ครูวางตัวให้ผู้เรียนเกิดความศรัทธา เพื่อผู้เรียน
จะได้รักวิชาที่ครูสอนด้วย
                ٣. ค รู จั ด บ ท เ รี ย น ใ ห้ น่ า ส น ใ จ แ ล ะ เ กิ ด ค ว า ม
สนุกสนาน ได้ทั้งความรู้
                              และความสนุกสนาน
٤. สร้ า งความเป็ น กั น เองกั บ ผู้ เ รี ย นและให้ ค วาม
อบอุ่นกับผู้เรียน
                ٥. ครู จั ด สิ่ ง แวดล้ อ มในสถานศึ ก ษาดี เพื่ อ ให้ ผู้
เรียนรักสถานศึกษา
                ٦. ครูจัดหาและใช้สื่อการสอนที่ดี เพื่อการเรียนรู้ที่
มีประสิทธิภาพ

3.2 ทฤษฎีการเรียนรูการวางเงื่อนไขแบบการกระทำาของสกินเนอร์
การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความ
สําคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎี
การวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้
สกินเนอร์ให้ความสําคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามี
ผลทําให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุป
ไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของ
การกระทํา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและ
ทางลบ




   • ตัวชี้แนะ (Cueing) คือการสร้างสิ่งเร้าให้เกิดประโยชน์ได้
     อย่างเหมาะสมเพื่อทําให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ ภายใน
     ระยะเวลาที่ต้องการ ซึ่งบุคคลมักจะลืมอยู่บ่อยๆ เช่น ครูมัก
     จะใช้วิธีการสั่งมากกว่าการชี้แนะ เป็นต้น
   • ตัวกระตุ้น (Prompting) คือการเพิ่มตัวชี้แนะเพื่อการกระตุ้
     นพฤติกรรม ซึ่งมักจะใช้ภายหลังจากการใช้ตัวชี้แนะแล้ว

การนํ า หลั ก การมาประยุ ก ต์ ใ ช้
  • การเสริมแรง และ การลงโทษ
  • การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม
  • การสร้างบทเรียนสําเร็จรูป
3.3 ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  โ ดยการสั ง เกตหรื อ การเลี ย นแบบ
ของศาสตราจารย บ ั น ดู ร า

 การทดลองของบันดูราที่เกี่ยวกับการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือ
เลียนแบบมีผนำาไปทำาซำ้า ปรากฏผลการทดลองเหมือนกับบันดูรา
              ู้
ได้รับ นอกจากนี้มีนักจิตวิทยาหลายท่านได้ใช้แบบการเรียนรู้ โดย
วิธีการสังเกตในการเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ
ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรูทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
                                    ้
        1. บันดูราได้ให้ความสำาคัญของการปฏิสัมพันธ์ของ
อินทรีย์และสิ่งแวดล้อม และถือว่าการเรียนรู้ก็เป็นผลของ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม โดยผู้เรียนและสิ่ง
แวดล้อมมีอิทธิพลต่อกันและกัน บันดูราได้ถือว่าทังบุคคลที่
                                                  ้
ต้องการจะเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุของพฤติกรรมและได้
อธิบายการปฏิสัมพันธ์ ดังนี้




        B = พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึงของบุคคล
                                       ่
        P = บุคคล (ตัวแปรที่เกิดจากผู้เรียน เช่น ความคาดหวัง
ของผู้เรียน ฯลฯ)
        E = สิ่งแวดล้อม

4. จงอธิบายความแตกตางระหวางบุคคลในการ
เรียน
ตอบ มนุษย์เรามีความคล้ายคลึงกันอยู่หลายประการ เช่น ต่าง
ก็มีความต้องการ มีความรู้สึก มีอารมณ์แต่ในขณะเดียวกัน
บุคคลแต่ละคนก็มีความแตกต่างจากคนอื่น ๆ ได้หลายประการ
เช่น มีรูปร่างต่างกัน มีสีของตา สีของผมต่างกัน บางคนมีความ
ฉลาดบางคนโง่เขลาแม้แต่คู่แฝดยังมี ความแตกต่างกัน เช่น
แตกต่างกันในความคิดและอารมณ์ ฉะนั้นเราอาจกล่าวได้ว่า
ไม่มีผู้ใดจะมีความเหมือนกันไปเสียทุกสิ่งทุกอย่าง มนุษย์ทุก
คนในโลกนี้จงมีความแตกต่างกันทั้งทางร่างกายและสิ่งแวดล้อม
              ึ
ที่ต่างกันและความแตกต่างของมนุษย์จึงเป็นเรื่องทีบุคคลควร
                                                 ่
เข้าใจและศึกษาเพื่อให้เข้าใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน




5. จงอธิบายการวัดและประเมินผลการเรียนรู
ตอบ เป็นกระบวนการที่ให้ผู้สอนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
เพราะจะช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความ
ก้าวหน้า และความสําเร็จทางการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งข้อมูลที่
จะเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียน
รู้อย่างเต็มตามศักยภาพ

6. จงยกตัวอยางการวิจัยทางจิตวิทยาในชั้น
เรียน 1 เรือง
           ่
ตอบ
                           งานวิ จ ั ย ชั ้ น เรี ย น

ชื ่ อ    นายวีระพันธ์ แก้วรัตน์ ตํ า แหน่ ง อาจารย์ สถาน
ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยโยนก
          ตํ า บล พระบาท อํ า เภอ เมือง จั ง หวั ด ลําปาง

1. ชื ่ อ เรื ่ อ ง   การศึกษาประสิทธิภาพวิธีการสอนโดยระบบ E –
learning
               วิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน HRMT 411 ปี
การศึกษาที่ 1/2553 มหาวิทยาลัยโยนก ลําปาง

2. ความเป็ น มาและความสํ า คั ญ ของปั ญ หา

    การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา
อาจารย์ ห รื อ ผู้ ส อน พบปั ญ หาหลายด้ า นโดยเฉพาะเนื้ อ หาบาง
อย่ า งค่ อ นข้ า งยาก วิ ธี ก ารสอนแบบเดิ ม โดยทั่ ว ไปสอนให้
นั ก ศึ ก ษาท่ อ งจํา ตามหนั ง สื อ ทํา ให้ นั ก ศึ ก ษาเบื่ อ และ ไม่ ส นใจ
เรียน นอกจากนี้ยังขาดสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย จากการ
ศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ข องการพั ฒ นาผู้ เ รี ย นด้ ว ยระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ (IT) วิ ช าการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน HRMT 411
มหาวิทยาลัยโยนก ลําปาง ในปีการศึกษาที่ 1/2552 ที่ผ่านมาพบ
ว่า นักศึกษาบางคนไม่สามารถใช้สื่อได้ สื่อการสอนยังไม่สามารถ
ตอบสนองผู้ เ รี ย นได้ อี ก ทั้ ง ยั ง ไม่ ทั น สมั ย การเข้ า เว็ ป ไซต์ ย าก
ระบบในเว็ปไซต์ยังไม่ดีพอ และ เนื้อหาเยอะเกินไป
          ดังนั้น การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความ
สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญ
ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องคํานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคล และส่งเสริมให้ผู้สอนจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนให้เกิด
การเรียนรู้ขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิด
การใช้ที่คุ้มค่าเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งมีทักษะใน
การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต
          ยุ ค ของสั ง คมเศรษฐกิ จ ฐานความรู้ การนํา เทคโนโลยี
สารสนเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย
คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดข้อมูล
และเวลานั้นเป็นสิ่งที่จําเป็นในยุคต้น ๆ ของการประยุกต์ใช้งานมี
การนําระบบการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เข้ามาใช้ใน
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และยังมีการนําเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับเว็บมา
เพื่อเพิ่มทางเลือกในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีเหล่านี้ได้
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อทํา ให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่ งในการ
ติดต่อระหว่างกัน เช่น ระหว่างผู้ผลิตกับผู้ใช้ ผู้ให้บริการกับผู้รับ
บริ ก าร ตัว อย่ างการประยุ ก ต์ ใช้ ง าน ได้ แ ก่ E-commerce, E-
banking แ ล ะ E-service ใ น ภ า ค เ อ ก ช น ห รื อ ใ น รู ป ข อ ง E-
government ในภาครั ฐ บาล เป็ น ต้ น และในทางจิ ต วิ ท ยาเป็ น ที่
ทราบกันแล้วว่า องค์ประกอบต่าง ๆ ในการเรียนมีอิทธิพลต่อการ
พัฒนาการเรียนของนักศักษาเป็นอย่างมากและผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย นนั้ น ไม่ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ กั บ องค์ ป ระกอบทางสติ ปั ญ ญาเพี ย งอย่ า ง
เดีย ว อีกทั้ งหากต้อ งอาศั ยองค์ ป ระกอบอื่ น ที่ ไม่ ใ ช่ ส ติ ปัญ ญา ซึ่ ง
ได้แก่คุณลักษณะอื่นส่วนตัวของผู้เรียนโดยเฉพาะการเรียนด้วย
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บนั้นเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนในด้าน
พื้นฐานความรู้ในเนื้อหานั้น ๆ ความชอบเกี่ยวกับรูปแบบการเรียน
ระดับความกระตือรือร้นของนักศึกษาและทักษะทางคอมพิวเตอร์
เป็นสิ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสํา เร็จในการเรียนและการ
ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็ บจะต้องมีก ารออกแบบอย่าง
ระมัดระวังเพื่อให้ตรงตามความต้องการของกลุ่มผู้เรียน (ถนอมพร
เลาหจรัสแสง.2545)
       จากผลการประเมิ น การศึ ก ษาจะเห็ น ได้ ว่ า เทคโนโลยี
สารสนเทศ มี บ ทบาท ต่ อ การเรี ย นการสอนและมี แ นวโน้ ม ว่ า
นักศึกษาจะศึกษาหาความรู้จ ากอินเทอร์เ น็ต มากขึ้น การจั ดการ
เรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ จะเป็ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและลดความ
เหลื่อมลํ้าของโอกาสทางการศึกษา เนื่องจากระบบอินเทอร์เน็ตนั้น
ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของตนเอง ซึ่งอาจทําให้
ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี จึงทําให้ผู้วิจัยสนใจที่จะการ
ศึกษาหาประสิทธิภาพสื่อระบบ E – Learning วิชาการประเมินผล
การปฏิบัติงาน HRMT 411 มหาวิทยาลัยโยนก ลํา ปาง ว่าวิธีการ
เรี ย นที่ เ รี ย นด้ ว ยสื่ อ บนเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ในรู ป แบบ E-
Learning นั้นมีประสิทธิภาพมากน้อยเพีงใด เพื่อเป็นแนวทางใน
พัฒนาสื่อบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบ E-Learning มาใช้
ในกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและการสอนต่อไป

3. วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการศึ ก ษาค้ น คว้ า

       1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนบนเครือข่าย
          อินเทอร์เน็ต E-learning วิชาการประเมินผลการปฏิบัติ
          งาน ในภาคเรียนที่ 1/2553 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
          มาตรฐาน ٨٠/ ٨٠

4. ขอบเขตของการวิ จ ั ย
      ประชากร
ประชากรที่ศึกษาเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชา การประเมิน
ผลการปฏิบัติงาน HRMT 411 ในภาคเรียนที่ 1/2553
มหาวิทยาลัยโยนก ลําปาง
       ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย
ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการสอนด้วยระบบ E – Learning วิชาการ
ประเมินผลการปฏิบัติงาน HRMT 411
ตัวแปรตาม ได้แก่        1. เจตคติตอวิชาการประเมินผลการ
                                  ่
ปฏิบัติงาน
5. สมมุ ต ิ ฐ าน
       สือการสอนด้วยระบบ E – Learning วิชาการประเมินผล
         ่
การปฏิบัติงาน HRMT 411 ใช้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม
เกณ์กําหนด 80/80

6. ข้ อ ตกลงเบื ้ อ งต้ น
       1. ความสามารถหรือทักษะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ไม่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนเพราะก่อน
          เรียนนักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์มา
แล้ว
       2. นักเรียนได้ใช้ห้องเรียนที่มีมาตรฐานและตามกําหนด
ชั่วโมงและวันที่จัดให้



7. ทฤษฎี ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง

         ศ.ดร. เกรี ย งศั ก ดิ์ เจริ ญ วงศ์ ศั ก ดิ์ ได้ ใ ห้ ค วามหมายของ
การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์รู้หรือ
E-Learning ว่ า หมายถึ ง การเรี ย นรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ซึ่ ง
ครอบคลุ ม วิ ธี ก ารเรี ย นรู้ จ ากหลายรู ป แบบ อาทิ การรี ย นรู้ บ น
คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Learning ) การเรียนรู้บนเว็บ (
Web-Based Learning ) ห้ อ ง เ รี ย น เ ส มื อ น จ ริ ง ( Virtual
Classrooms ) และความร่ ว มมื อ กั น ผ่ า นระบบดิ จิ ตั ล ( Digital
Collaboration ) เ ป็ น ต้ น ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ ผ่ า น สื่ อ
อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท อ า ทิ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต (Internet)
อินทราเน็ ต (Intranet) เอ็ก ซ์ท ราเน็ ต (Extranet) การถ่ ายทอด
ผ่านดาวเทียม (Satellite Broadcast) ผ่านแถบบันทึกเสียงและวิดี
ทั ศ น์ (audio/video tape) โท ร ทั ศ น์ ที่ ส าม าร ถโต้ ต อ บกั น ได้
(Interactive TV) และซีดีรอม (CD Rom)
         รศ.ยืน ภู่วรรณ ได้ให้คํา นิยามสั้ นๆว่า E-Learning คือ การ
เรียนผ่านเทคโนโลย่างอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ต้นทุนถูก เรียนรู้ได้เร็ว
ได้มาก สามารถกระจายได้อย่างทั่วถึงและที่สําคัญคือ ทําให้มีการ
พัฒนารูป แบบของการศึ ก ษา การเรีย นการสอนในรู ป แบบใหม่ ๆ
ออกมากมาย
           รศ. ดร.สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร ได้ให้ความหมายของคําว่า
E-Learning ว่าเป็นระบบการเรียนรู้หรือระบบการเรียนการสอนที่
อาศั ย สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ข้ า มาช่ ว ยเพื่ อ ที่ จ ะให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้
ปั จ จุ บั น เราต้ อ งการที่ จ ะให้ ก ารเรี ย นรู้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งกว้ า งขวาง
รวดเร็ว ประหยัด ซึ่งตรงนี้สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือปัจจุบันเรีย กว่า
ICT (Information and Communication Technology) สามารถ
ทําให้การจัดการเรียนการสอนมีต้นทุนตํ่าลง ทําให้กว้างขวางขึ้น
ICT เป็นเทคโนโลยีที่สามารถจะบูรณาการสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆที่
เราเคยใช้เข้ามาสู่ระบบเพียงระบบเดียว ด้วยความสามรถของ ICT
รวมทุกสิ่งทุกอย่างมาไว้ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวโดยอาศัยสื่อ
อินเทอร์เน็ต ดังนั้น จึงต้องการเน้นไปที่การบูรณาการมากกว่า คือ
ระบบการเรียนการสอนที่อาศัยสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาช่วยให้เข้า
สู่ระบบเดียว
           ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ นิยาม
ว่า E-Learning คือ การเรียน การสอนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร (ICT) ซึ่งช่วยลดข้อจํากัดด้านเวลาและสถานที่ให้
แก่ผู้เรียนและผู้สอน ด้วยกระบวนการติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยี
ที่ เ หมาะสม เป็ น การขยายโอกาสทางการศึ ก ษาและให้ ผู้ เ รี ย นมี
โอกาสเรียนรู้ด้วยตัวเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

8. สถานที ่ ท ํ า การวิ จ ั ย

    มหาวิทยาลัยโยนก โดยใช้ห้องเรียนมาตรฐานของ
มหาวิทยาลัยโยนก ได้แก่ห้อง 1204 และ ห้อง 1203




9. ระยะเวลาในการดํ า เนิ น การศึ ก ษา ระยะเวลา 7 เดื อ น
(ภาคเรี ย นที ่ ١ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥3)
ปฏิทินแผนการดําเนินการ
ระยะเวลา ( เดือน )
     รายการ          พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
                      53   53    53    53      53  53 53
1. วางแผนและ
เขียนโครงร่าง
การวิจัย
2. ศึกษาเอกสาร/
งานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
3. ปฏิบัติการตาม
แผน
4. เก็บรวบรวม
ข้อมูล
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. เขียนรายงาน
7. จัดพิมพ์และ
เผยแพร่
10. ประโยชน์ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ
      1. ได้รูปแบบการสอนด้วยบทเรียนบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต E-learning ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
            มาตรฐาน


11. งบประมาณโครงการ
   ค่าดําเนินงานตามโครงการ        2,500 บาท
รายละเอี ย ดงบประมาณ
      1. ค่ากระดาษ A4                             100   บาท
      2. ค่าหมึก Canon iP 1900 สี                       760
      บาท
      3. ค่าหมึก Canon iP 1900 สีดํา                    740
      บาท
      3. ค่าเข้าเล่มอัดกาวเคลือบ 10 เล่ม ๆ ละ 100
1,000       บาท
                                  รวม          2,500    บาท
ลงชื่อ                          ผู้
เสนอ
                              (อาจารย์วีระพันธ์ แก้วรัตน์)
                           อาจารย์ประจะสาขาวิชาการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์
                                   คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยโยน




7. จงอธิบายการสงเสริมแรงจูงใจในการเรียน
ตอบ สิ่งซึ่งควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ อันเกิดจากความ
ต้องการ พลังกดดัน หรือ ความปรารถนา ที่จะพยายามดิ้นรนเพื่อ
ให้บรรลุผลสำาเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติ
หรือจากการเรียนรู้ก็ได้ แรงจูงใจเกิดจากสิ่งเร้าทั้งภายในและ
ภายนอกตัวบุคคลนั้น ๆ เอง ภายใน ได้แก่ ความรู้สึกต้องการ หรือ
ขาดอะไรบางอย่าง จึงเป็นพลังชักจูง หรือกระตุ้นให้มนุษย์
ประกอบกิจกรรมเพื่อทดแทนสิ่งที่ขาดหรือต้องการนั้น ส่วน
ภายนอกได้แก่ สิ่งใดก็ตามที่มาเร่งเร้า นำาช่องทาง และมาเสริม
สร้างความปรารถนาในการประกอบกิจกรรมในตัวมนุษย์ ซึ่งแรง
จูงใจนี้อาจเกิดจากสิ่งเร้าภายในหรือภายนอก แต่เพียงอย่างเดียว
หรือทั้งสองอย่างพร้อมกันได้ อาจกล่าวได้ว่า แรงจูงใจทำาให้เกิด
พฤติกรรมซึ่งเกิดจากความต้องการของมนุษย์ ซึ่งความต้องการ
เป็นสิ่งเร้าภายในที่สำาคัญกับการเกิดพฤติกรรม นอกจากนี้ยงมีสิ่ง
                                                         ั
เร้าอื่น ๆ เช่น การยอมรับของสังคม สภาพบรรยากาศที่เป็นมิตร
การบังคับขู่เข็ญ การให้รางวัลหรือกำาลังใจหรือการทำาให้เกิดความ
พอใจ ล้วนเป็นเหตุจูงใจให้เกิดแรงจูงใจได้

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
masaya_32
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
unyaparn
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ruttanaphareenoon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
yuapawan
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
maymymay
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
orawan chaiyakhan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
Dee Arna'
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
PomPam Comsci
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
hadesza
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
monnareerat
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
5
55
5
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 

Ähnlich wie ทดลองส่ง 538144213

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sarawut Tikummul
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
Mai Amino
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
Ptato Ok
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 

Ähnlich wie ทดลองส่ง 538144213 (20)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 

ทดลองส่ง 538144213

  • 1. 1. จงอธิบายความหมายของคําวา จิตวิทยา และ การเรียนรู้ ตอบ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์ พฤติกรรม เปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้ ได้แก่ ฤติกรรมที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ เนื่องมาจากวุฒิภาวะ 2. ทฤษฎีการเรียนรูแบงเปนกี่กลุม จงอธิบายราย ละเอียด ตอบ มี 4 กลุ่ม 1.ทฤษฎี พ ฤติ ก รรมนิ ย ม (Behaviorism) นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ ได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เห็นชัด สามารถวัดได้ สังเกตได้และทดสอบได้ แนวความคิดของกลุ่มนี้ ถือว่าสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์จะเป็นตัวกําหนดพฤติกรรมและ การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบ สนอง การแสดงพฤติกรรมจะมีความถี่มากขึ้นถ้าหากได้รับการ เสริมแรง แต่นักจิตวิทยาบางคนในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วย และได้เสนอ ความคิดเห็นว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นถ้าหากได้รับการเสริมแรง แต่ นักจิตวิทยาบางคนในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วย และได้เสนอความคิดเห็น ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ถ้ามีความใกล้ชิดระหว่างสิ่งเร้า และการ ตอบสนอง 2. ทฤษฎี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจหรื อ ทฤษฎี ป ั ญ ญา (Cognitive Theories) ในด้านการจัดการเรียนการสอนนักจิตวิทยากลุ่มนี้ ได้เสนอให้ใช้ เทคนิคของ Discovery ซึ่งหมายถึง การที่ให้เด็กได้คนพบวิธีแก้ ปัญญาด้วยตนเอง ซึ่งจาการที่เด็กทําได้ด้วยตนเองเช่นนั้น จะช่วย พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง และทําให้เด็กคุ้นเคยกับทักษะของ การแก้ปัญหา นอกจากนั้นยังมีการใช้เทคนิคของการให้ข้อมูลที่ ไม่ตรงกับความเป็นจริง การเปิดโอกาสให้เด็กทําผิดพลาดและการ คิดผิด เพื่อที่จะได้ทราบความคิดของเด็ก ตลอดจนการใช้เทคนิค การสอบถาม (Inquiry) เพื่อฝึกให้เด็กรู้จักการตั้งคําถาม 3. ทฤษฎี ข องกลุ ่ ม มนุ ษ ยนิ ย ม (Humanisticism) แนวความคิดของกลุ่มมนุษย์นิยมที่เกี่ยวกับการศึกษา คือ นักเรียนควรจะ ได้รับความช่วยเหลือให้มีความเข้าใจในตนเอง มีจดยืนเป็นของตนเอง ุ อย่างชัดเจนว่า ตนเองมีความต้องการสิ่งใดแน่และมีจดมุ่งหมายในชีวิต ุ อย่างไร เพราะในปัจจุบนมีสิ่งที่เด็กจะต้องตัดสินใจเลือกมากมาย คนที่มี ั
  • 2. จุดยืนที่แน่นอนเท่านั้นจึงจะสามารถเลือกสิ่งที่มีความหมายและก่อให้เกิด ความพึงพอใจให้กับตนเองให้ดีที่สุด นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้มีความเห็น ตรงกันว่า เด็กควรได้รับความช่วย เหลือจากครูในทุกด้านไม่ใช่เฉพาะ การได้รับความรู้ หรือการมีความเฉลียวฉลาดเพียงอย่างเดียว แต่ควรได้ รับความช่วยเหลือให้รู้จักศึกษาและสํารวจเกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก และ ทําความเข้าใจเกี่ยว กับความรู้สึกนึกคิด เจตคติ และจุดมุ่งหมายความ ต้องการของตนเอง 4. ทฤษฎี ผ สมผสาน ( Integrated Theory ) ได้ผสมผสานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมกับทฤษฏีความรู้ความเข้าใจ แล้ว สรุปเป็น 8 ขันตอนในการเรียนรู้ ้ 1. การเรียนรู้สัญญาณ ( Sign Learning ) 2. การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ( Sti mulus Response Learning ) 3. การเรียนรู้การเชื่อมโยง ( Chaining ) 4. การเชื่อมโยงทางภาษา ( Verbal Association ) 5. การแยกประเภท ( Multiple Discrimination Learning ) 6. การเรียนรู้ความคิดรวบยอด ( Concept Learning ) 7. การเรียนรู้หลักการ ( Principle Learning ) 8. การเรียนรู้การแก้ปัญหา ( Problem - Solving ) 3.จงอธิ บ ายทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  เ กี ่ ย วกั บ ประวั ต ิ นั ก จิ ต วิ ท ยา สาระสํ า คั ญ ของทฤษฎี และการ ประยุ ก ต ใ ช ดั ง นี ต อ บ 3.1 ทฤษฎี การเรี ย นรู การวางเงื่ อนไขแบบคลาสสิ ก ของอีวาน พาฟลอฟ ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ อีวานเพโท รวิ ช พาพลอฟ (Ivan Petrovich Pavlop ) นั ก สรี ร ะวิ ท ยาชาว รัสเซีย เชื่อว่า พฤติกรรมที่จะเกิดการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกได้ มั ก เป็ น พฤติ กรรม หรื อการตอบสนองที่ เ กิ ดจากปฏิ ก ริ ย าสะท้ อ น อั น มี พื้น ฐานมาจากการทำา งานของระบบประสาทอั ต โนมั ติ เช่ น การที่เห็นมะม่วงแล้วนำ้า ลายไหล, การทำา งานของต่อมต่าง ๆ ใน ร่างกาย, การทำางานของระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ พฤติกรรมการตอบ สนองในการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเอง ตาม ธรรมชาติ เมื่ อ มี สิ่ ง เร้ า มากระตุ้ น พฤติ ก รรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ตาม
  • 3. ธรรมชาติเหล่านี้ เรียกว่า พฤติกรรมตอบสนอง หรือ พฤติกรรมที่ เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ พาร์ พลอฟ เชื่ อ ว่ า การเรี ย นรู้ ข องสิ่ ง มี ชีวิ ตจำา นวน มากเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) กล่าวคือ การตอบ สนอง หรื อ การเรี ย นรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ สิ่ ง เร้ า หนึ่ ง มั ก มี เ งื่ อ นไขหรื อ สถานการณ์ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง ในสภาพปกติ ห รื อ ในชี วิ ต ประจำา วั น การ ตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและ นำ้า ลายไหล เสี ย งกระดิ่ ง เป็ น สิ่ ง เร้ า ที่ ต้ อ งการให้ เ กิ ดการเรี ย นรู้ จากการวางเงื่อนไข (เพราะโดยปกติเสียงกระดิ่งมิได้ทำา ให้สุนัข นำ้าลายไหล แต่คนต้องการให้สุนัขนำ้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียง กระดิ่ง) พาร์พลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (conditioned st imulus) และปฏิกิริยานำ้าลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการ ตอบสนองที่มีเงื่อนไข (conditioned response) การเรียนรู้โดยมีเงื่อนไขแบบคลาสสิค ขั้นที่ ١ ก่อนวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง ------------ ไม่มีการ ตอบสนอง อาหาร ------------- สุ นั ข นำ้าลายไหล ขั้นที่ ٢ ระหว่างวางเงื่อนไข เสี ย งกระดิ่ ง + อาหาร -------------  สุนัขนำ้าลายไหล ขั้นที่ ٣ ภายหลังการวางเงื่อนไข เ สี ย ง ก ร ะ ดิ่ ง ------------- สุนัขนำ้าลายไหล ในการนำา ทฤษฎี การวางเงื่ อ นไขแบบคลาสสิ ก ไปใช้ ใ นการเรี ย น การสอนทำาได้ดังนี้ ١. ครูสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน อัน เป็นการวางเงื่อนไขที่ดี ٢. ครูวางตัวให้ผู้เรียนเกิดความศรัทธา เพื่อผู้เรียน จะได้รักวิชาที่ครูสอนด้วย ٣. ค รู จั ด บ ท เ รี ย น ใ ห้ น่ า ส น ใ จ แ ล ะ เ กิ ด ค ว า ม สนุกสนาน ได้ทั้งความรู้ และความสนุกสนาน
  • 4. ٤. สร้ า งความเป็ น กั น เองกั บ ผู้ เ รี ย นและให้ ค วาม อบอุ่นกับผู้เรียน ٥. ครู จั ด สิ่ ง แวดล้ อ มในสถานศึ ก ษาดี เพื่ อ ให้ ผู้ เรียนรักสถานศึกษา ٦. ครูจัดหาและใช้สื่อการสอนที่ดี เพื่อการเรียนรู้ที่ มีประสิทธิภาพ 3.2 ทฤษฎีการเรียนรูการวางเงื่อนไขแบบการกระทำาของสกินเนอร์ การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความ สําคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้ สกินเนอร์ให้ความสําคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามี ผลทําให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุป ไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของ การกระทํา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและ ทางลบ • ตัวชี้แนะ (Cueing) คือการสร้างสิ่งเร้าให้เกิดประโยชน์ได้ อย่างเหมาะสมเพื่อทําให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ ภายใน ระยะเวลาที่ต้องการ ซึ่งบุคคลมักจะลืมอยู่บ่อยๆ เช่น ครูมัก จะใช้วิธีการสั่งมากกว่าการชี้แนะ เป็นต้น • ตัวกระตุ้น (Prompting) คือการเพิ่มตัวชี้แนะเพื่อการกระตุ้ นพฤติกรรม ซึ่งมักจะใช้ภายหลังจากการใช้ตัวชี้แนะแล้ว การนํ า หลั ก การมาประยุ ก ต์ ใ ช้ • การเสริมแรง และ การลงโทษ • การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม • การสร้างบทเรียนสําเร็จรูป
  • 5. 3.3 ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  โ ดยการสั ง เกตหรื อ การเลี ย นแบบ ของศาสตราจารย บ ั น ดู ร า การทดลองของบันดูราที่เกี่ยวกับการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือ เลียนแบบมีผนำาไปทำาซำ้า ปรากฏผลการทดลองเหมือนกับบันดูรา ู้ ได้รับ นอกจากนี้มีนักจิตวิทยาหลายท่านได้ใช้แบบการเรียนรู้ โดย วิธีการสังเกตในการเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรูทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา ้ 1. บันดูราได้ให้ความสำาคัญของการปฏิสัมพันธ์ของ อินทรีย์และสิ่งแวดล้อม และถือว่าการเรียนรู้ก็เป็นผลของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม โดยผู้เรียนและสิ่ง แวดล้อมมีอิทธิพลต่อกันและกัน บันดูราได้ถือว่าทังบุคคลที่ ้ ต้องการจะเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุของพฤติกรรมและได้ อธิบายการปฏิสัมพันธ์ ดังนี้ B = พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึงของบุคคล ่ P = บุคคล (ตัวแปรที่เกิดจากผู้เรียน เช่น ความคาดหวัง ของผู้เรียน ฯลฯ) E = สิ่งแวดล้อม 4. จงอธิบายความแตกตางระหวางบุคคลในการ เรียน ตอบ มนุษย์เรามีความคล้ายคลึงกันอยู่หลายประการ เช่น ต่าง ก็มีความต้องการ มีความรู้สึก มีอารมณ์แต่ในขณะเดียวกัน บุคคลแต่ละคนก็มีความแตกต่างจากคนอื่น ๆ ได้หลายประการ เช่น มีรูปร่างต่างกัน มีสีของตา สีของผมต่างกัน บางคนมีความ ฉลาดบางคนโง่เขลาแม้แต่คู่แฝดยังมี ความแตกต่างกัน เช่น แตกต่างกันในความคิดและอารมณ์ ฉะนั้นเราอาจกล่าวได้ว่า
  • 6. ไม่มีผู้ใดจะมีความเหมือนกันไปเสียทุกสิ่งทุกอย่าง มนุษย์ทุก คนในโลกนี้จงมีความแตกต่างกันทั้งทางร่างกายและสิ่งแวดล้อม ึ ที่ต่างกันและความแตกต่างของมนุษย์จึงเป็นเรื่องทีบุคคลควร ่ เข้าใจและศึกษาเพื่อให้เข้าใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 5. จงอธิบายการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตอบ เป็นกระบวนการที่ให้ผู้สอนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความ ก้าวหน้า และความสําเร็จทางการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งข้อมูลที่ จะเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียน รู้อย่างเต็มตามศักยภาพ 6. จงยกตัวอยางการวิจัยทางจิตวิทยาในชั้น เรียน 1 เรือง ่ ตอบ งานวิ จ ั ย ชั ้ น เรี ย น ชื ่ อ นายวีระพันธ์ แก้วรัตน์ ตํ า แหน่ ง อาจารย์ สถาน ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยโยนก ตํ า บล พระบาท อํ า เภอ เมือง จั ง หวั ด ลําปาง 1. ชื ่ อ เรื ่ อ ง การศึกษาประสิทธิภาพวิธีการสอนโดยระบบ E – learning วิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน HRMT 411 ปี การศึกษาที่ 1/2553 มหาวิทยาลัยโยนก ลําปาง 2. ความเป็ น มาและความสํ า คั ญ ของปั ญ หา การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา อาจารย์ ห รื อ ผู้ ส อน พบปั ญ หาหลายด้ า นโดยเฉพาะเนื้ อ หาบาง
  • 7. อย่ า งค่ อ นข้ า งยาก วิ ธี ก ารสอนแบบเดิ ม โดยทั่ ว ไปสอนให้ นั ก ศึ ก ษาท่ อ งจํา ตามหนั ง สื อ ทํา ให้ นั ก ศึ ก ษาเบื่ อ และ ไม่ ส นใจ เรียน นอกจากนี้ยังขาดสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย จากการ ศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ข องการพั ฒ นาผู้ เ รี ย นด้ ว ยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ (IT) วิ ช าการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน HRMT 411 มหาวิทยาลัยโยนก ลําปาง ในปีการศึกษาที่ 1/2552 ที่ผ่านมาพบ ว่า นักศึกษาบางคนไม่สามารถใช้สื่อได้ สื่อการสอนยังไม่สามารถ ตอบสนองผู้ เ รี ย นได้ อี ก ทั้ ง ยั ง ไม่ ทั น สมั ย การเข้ า เว็ ป ไซต์ ย าก ระบบในเว็ปไซต์ยังไม่ดีพอ และ เนื้อหาเยอะเกินไป ดังนั้น การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญ ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องคํานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล และส่งเสริมให้ผู้สอนจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนให้เกิด การเรียนรู้ขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิด การใช้ที่คุ้มค่าเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งมีทักษะใน การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต ยุ ค ของสั ง คมเศรษฐกิ จ ฐานความรู้ การนํา เทคโนโลยี สารสนเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดข้อมูล และเวลานั้นเป็นสิ่งที่จําเป็นในยุคต้น ๆ ของการประยุกต์ใช้งานมี การนําระบบการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เข้ามาใช้ใน การแลกเปลี่ยนข้อมูล และยังมีการนําเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับเว็บมา เพื่อเพิ่มทางเลือกในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีเหล่านี้ได้ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อทํา ให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่ งในการ ติดต่อระหว่างกัน เช่น ระหว่างผู้ผลิตกับผู้ใช้ ผู้ให้บริการกับผู้รับ บริ ก าร ตัว อย่ างการประยุ ก ต์ ใช้ ง าน ได้ แ ก่ E-commerce, E- banking แ ล ะ E-service ใ น ภ า ค เ อ ก ช น ห รื อ ใ น รู ป ข อ ง E- government ในภาครั ฐ บาล เป็ น ต้ น และในทางจิ ต วิ ท ยาเป็ น ที่ ทราบกันแล้วว่า องค์ประกอบต่าง ๆ ในการเรียนมีอิทธิพลต่อการ พัฒนาการเรียนของนักศักษาเป็นอย่างมากและผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ย นนั้ น ไม่ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ กั บ องค์ ป ระกอบทางสติ ปั ญ ญาเพี ย งอย่ า ง เดีย ว อีกทั้ งหากต้อ งอาศั ยองค์ ป ระกอบอื่ น ที่ ไม่ ใ ช่ ส ติ ปัญ ญา ซึ่ ง ได้แก่คุณลักษณะอื่นส่วนตัวของผู้เรียนโดยเฉพาะการเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บนั้นเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนในด้าน พื้นฐานความรู้ในเนื้อหานั้น ๆ ความชอบเกี่ยวกับรูปแบบการเรียน ระดับความกระตือรือร้นของนักศึกษาและทักษะทางคอมพิวเตอร์
  • 8. เป็นสิ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสํา เร็จในการเรียนและการ ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็ บจะต้องมีก ารออกแบบอย่าง ระมัดระวังเพื่อให้ตรงตามความต้องการของกลุ่มผู้เรียน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง.2545) จากผลการประเมิ น การศึ ก ษาจะเห็ น ได้ ว่ า เทคโนโลยี สารสนเทศ มี บ ทบาท ต่ อ การเรี ย นการสอนและมี แ นวโน้ ม ว่ า นักศึกษาจะศึกษาหาความรู้จ ากอินเทอร์เ น็ต มากขึ้น การจั ดการ เรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ จะเป็ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและลดความ เหลื่อมลํ้าของโอกาสทางการศึกษา เนื่องจากระบบอินเทอร์เน็ตนั้น ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของตนเอง ซึ่งอาจทําให้ ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี จึงทําให้ผู้วิจัยสนใจที่จะการ ศึกษาหาประสิทธิภาพสื่อระบบ E – Learning วิชาการประเมินผล การปฏิบัติงาน HRMT 411 มหาวิทยาลัยโยนก ลํา ปาง ว่าวิธีการ เรี ย นที่ เ รี ย นด้ ว ยสื่ อ บนเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ในรู ป แบบ E- Learning นั้นมีประสิทธิภาพมากน้อยเพีงใด เพื่อเป็นแนวทางใน พัฒนาสื่อบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบ E-Learning มาใช้ ในกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและการสอนต่อไป 3. วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการศึ ก ษาค้ น คว้ า 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต E-learning วิชาการประเมินผลการปฏิบัติ งาน ในภาคเรียนที่ 1/2553 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน ٨٠/ ٨٠ 4. ขอบเขตของการวิ จ ั ย ประชากร ประชากรที่ศึกษาเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชา การประเมิน ผลการปฏิบัติงาน HRMT 411 ในภาคเรียนที่ 1/2553 มหาวิทยาลัยโยนก ลําปาง ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการสอนด้วยระบบ E – Learning วิชาการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน HRMT 411 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1. เจตคติตอวิชาการประเมินผลการ ่ ปฏิบัติงาน
  • 9. 5. สมมุ ต ิ ฐ าน สือการสอนด้วยระบบ E – Learning วิชาการประเมินผล ่ การปฏิบัติงาน HRMT 411 ใช้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม เกณ์กําหนด 80/80 6. ข้ อ ตกลงเบื ้ อ งต้ น 1. ความสามารถหรือทักษะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนเพราะก่อน เรียนนักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์มา แล้ว 2. นักเรียนได้ใช้ห้องเรียนที่มีมาตรฐานและตามกําหนด ชั่วโมงและวันที่จัดให้ 7. ทฤษฎี ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง ศ.ดร. เกรี ย งศั ก ดิ์ เจริ ญ วงศ์ ศั ก ดิ์ ได้ ใ ห้ ค วามหมายของ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์รู้หรือ E-Learning ว่ า หมายถึ ง การเรี ย นรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ซึ่ ง ครอบคลุ ม วิ ธี ก ารเรี ย นรู้ จ ากหลายรู ป แบบ อาทิ การรี ย นรู้ บ น คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Learning ) การเรียนรู้บนเว็บ ( Web-Based Learning ) ห้ อ ง เ รี ย น เ ส มื อ น จ ริ ง ( Virtual Classrooms ) และความร่ ว มมื อ กั น ผ่ า นระบบดิ จิ ตั ล ( Digital Collaboration ) เ ป็ น ต้ น ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ ผ่ า น สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท อ า ทิ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต (Internet) อินทราเน็ ต (Intranet) เอ็ก ซ์ท ราเน็ ต (Extranet) การถ่ ายทอด ผ่านดาวเทียม (Satellite Broadcast) ผ่านแถบบันทึกเสียงและวิดี ทั ศ น์ (audio/video tape) โท ร ทั ศ น์ ที่ ส าม าร ถโต้ ต อ บกั น ได้ (Interactive TV) และซีดีรอม (CD Rom) รศ.ยืน ภู่วรรณ ได้ให้คํา นิยามสั้ นๆว่า E-Learning คือ การ เรียนผ่านเทคโนโลย่างอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ต้นทุนถูก เรียนรู้ได้เร็ว ได้มาก สามารถกระจายได้อย่างทั่วถึงและที่สําคัญคือ ทําให้มีการ
  • 10. พัฒนารูป แบบของการศึ ก ษา การเรีย นการสอนในรู ป แบบใหม่ ๆ ออกมากมาย รศ. ดร.สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร ได้ให้ความหมายของคําว่า E-Learning ว่าเป็นระบบการเรียนรู้หรือระบบการเรียนการสอนที่ อาศั ย สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ข้ า มาช่ ว ยเพื่ อ ที่ จ ะให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ปั จ จุ บั น เราต้ อ งการที่ จ ะให้ ก ารเรี ย นรู้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งกว้ า งขวาง รวดเร็ว ประหยัด ซึ่งตรงนี้สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือปัจจุบันเรีย กว่า ICT (Information and Communication Technology) สามารถ ทําให้การจัดการเรียนการสอนมีต้นทุนตํ่าลง ทําให้กว้างขวางขึ้น ICT เป็นเทคโนโลยีที่สามารถจะบูรณาการสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆที่ เราเคยใช้เข้ามาสู่ระบบเพียงระบบเดียว ด้วยความสามรถของ ICT รวมทุกสิ่งทุกอย่างมาไว้ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวโดยอาศัยสื่อ อินเทอร์เน็ต ดังนั้น จึงต้องการเน้นไปที่การบูรณาการมากกว่า คือ ระบบการเรียนการสอนที่อาศัยสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาช่วยให้เข้า สู่ระบบเดียว ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ นิยาม ว่า E-Learning คือ การเรียน การสอนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) ซึ่งช่วยลดข้อจํากัดด้านเวลาและสถานที่ให้ แก่ผู้เรียนและผู้สอน ด้วยกระบวนการติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม เป็ น การขยายโอกาสทางการศึ ก ษาและให้ ผู้ เ รี ย นมี โอกาสเรียนรู้ด้วยตัวเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 8. สถานที ่ ท ํ า การวิ จ ั ย มหาวิทยาลัยโยนก โดยใช้ห้องเรียนมาตรฐานของ มหาวิทยาลัยโยนก ได้แก่ห้อง 1204 และ ห้อง 1203 9. ระยะเวลาในการดํ า เนิ น การศึ ก ษา ระยะเวลา 7 เดื อ น (ภาคเรี ย นที ่ ١ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥3) ปฏิทินแผนการดําเนินการ
  • 11. ระยะเวลา ( เดือน ) รายการ พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 53 53 53 53 53 53 53 1. วางแผนและ เขียนโครงร่าง การวิจัย 2. ศึกษาเอกสาร/ งานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง 3. ปฏิบัติการตาม แผน 4. เก็บรวบรวม ข้อมูล 5. วิเคราะห์ข้อมูล 6. เขียนรายงาน 7. จัดพิมพ์และ เผยแพร่ 10. ประโยชน์ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ 1. ได้รูปแบบการสอนด้วยบทเรียนบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต E-learning ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 11. งบประมาณโครงการ ค่าดําเนินงานตามโครงการ 2,500 บาท รายละเอี ย ดงบประมาณ 1. ค่ากระดาษ A4 100 บาท 2. ค่าหมึก Canon iP 1900 สี 760 บาท 3. ค่าหมึก Canon iP 1900 สีดํา 740 บาท 3. ค่าเข้าเล่มอัดกาวเคลือบ 10 เล่ม ๆ ละ 100 1,000 บาท รวม 2,500 บาท
  • 12. ลงชื่อ ผู้ เสนอ (อาจารย์วีระพันธ์ แก้วรัตน์) อาจารย์ประจะสาขาวิชาการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยโยน 7. จงอธิบายการสงเสริมแรงจูงใจในการเรียน ตอบ สิ่งซึ่งควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ อันเกิดจากความ ต้องการ พลังกดดัน หรือ ความปรารถนา ที่จะพยายามดิ้นรนเพื่อ ให้บรรลุผลสำาเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติ หรือจากการเรียนรู้ก็ได้ แรงจูงใจเกิดจากสิ่งเร้าทั้งภายในและ ภายนอกตัวบุคคลนั้น ๆ เอง ภายใน ได้แก่ ความรู้สึกต้องการ หรือ ขาดอะไรบางอย่าง จึงเป็นพลังชักจูง หรือกระตุ้นให้มนุษย์ ประกอบกิจกรรมเพื่อทดแทนสิ่งที่ขาดหรือต้องการนั้น ส่วน ภายนอกได้แก่ สิ่งใดก็ตามที่มาเร่งเร้า นำาช่องทาง และมาเสริม
  • 13. สร้างความปรารถนาในการประกอบกิจกรรมในตัวมนุษย์ ซึ่งแรง จูงใจนี้อาจเกิดจากสิ่งเร้าภายในหรือภายนอก แต่เพียงอย่างเดียว หรือทั้งสองอย่างพร้อมกันได้ อาจกล่าวได้ว่า แรงจูงใจทำาให้เกิด พฤติกรรมซึ่งเกิดจากความต้องการของมนุษย์ ซึ่งความต้องการ เป็นสิ่งเร้าภายในที่สำาคัญกับการเกิดพฤติกรรม นอกจากนี้ยงมีสิ่ง ั เร้าอื่น ๆ เช่น การยอมรับของสังคม สภาพบรรยากาศที่เป็นมิตร การบังคับขู่เข็ญ การให้รางวัลหรือกำาลังใจหรือการทำาให้เกิดความ พอใจ ล้วนเป็นเหตุจูงใจให้เกิดแรงจูงใจได้