SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
3. มาตรฐาน  IEEE  ที่ใช้ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น  เป็นแบบใดได้บ้าง  และเปรียบเทียบหน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูลของระบบเครือข่าย  พร้อมอธิบายอย่างละเอียด
มาตรฐาน  IEEE  ที่ใช้ในการออกแบบเครือข่ายข้างต้นเป็นแบบ  IEEE 802.3  และ  IEEE 802.11 IEEE 802.3  หมายถึง   IEEE 802.3  IEEE 802.3  หรือ อีเทอร์เน็ต  ( Ethernet)  เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล  10  เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว  IEEE  ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว  10  เมกะบิตต่อวินาทีไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณเช่น  •  10 Base5  อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา  ( Thick Ethernet)  ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน  500  เมตร
•  10 Base2  อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง  ( Thin Ethernet)  ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน  185  เมตร  •  10 BaseT  อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี  ( Unshield Twisted Pair)  ด้วยความยาวไม่เกิน  100  เมตร รูปที่ข้างล่าง แสดงถึงลักษณะเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแยกตามประเภทของสายสัญญาณ รหัสขึ้นต้นด้วย  10  หมายถึงความเร็วสายสัญญาณ  10  เมกะบิตต่อ วินาที
คำว่า “ Base”  หมายถึงสัญญาณชนิด “ Base”  รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลขหมายถึงความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร  (5=500, 2  แทนค่า  185)  หากเป็นอักษรจะหมายถึงชนิดของสาย เช่น  T  คือ  Twisted pair  หรือ  F  คือ  Fiber optics  ส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว  100  เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่  100 BaseTX  และ  100 BaseFX  สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่  100 BaseT, 100BaseLX  และ  100 BaseSX  เป็นต้น
เครือข่ายไร้สายมาตรฐาน  IEEE 802.11  ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ . ศ . 2540  โดยสถาบัน  IEEE (The Institute of Electronics and Electrical Engineers)  ซึ่งมีข้อกำหนดระบุไว้ว่า ผลิตภัณฑ์เครือข่ายไร้สายในส่วนของ  PHY Layer  นั้นมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลที่ความเร็ว  1, 2, 5.5, 11  และ  54  เมกะบิตต่อวินาที โดยมีสื่อนำสัญญาณ  3  ประเภทให้เลือกใช้งานอันได้แก่ คลื่นวิทยุย่านความถี่  2.4  กิกะเฮิรตซ์ , 2.5  กิกะเฮิรตซ์และคลื่นอินฟราเรด
ส่วน . ในระดับชั้น  MAC Layer  นั้นได้กำหนดกลไกของการทำงานแบบ  CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance)  ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับ  CSMA/CD (Collision Detection)  ของมาตรฐาน  IEEE 802.3 Ethernet  ซึ่งนิยมใช้งานบนระบบเครือข่ายแลนใช้สาย โดยมีกลไกในการเข้ารหัสข้อมูลก่อนแพร่กระจายสัญญาณไปบนอากาศ พร้อมกับมีการตรวจสอบผู้ใช้งานอีกด้วย
มาตรฐาน  IEEE 802.11  ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทำงานที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งไม่มีการรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกว่า  QoS (Quality of Service)  ซึ่งมีความสำคัญในสภาพแวดล้อมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทให้ใช้งาน นอกจากนั้นกลไกในเรื่องการรักษาความปลอดภัยที่นำมาใช้ก็ยังมีช่องโหว่จำนวนมาก  IEEE  จึงได้จัดตั้งคณะทำงานขึ้นมาหลายชุดด้วยกัน เพื่อทำการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานให้มีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้น
เปรียบเทียบหน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูลของระบบเครือข่าย
 
แหล่งอ้างอิง http://www.thaiall.com/internet/internet01.htm   http://www.buycoms.com/upload/coverstory/121/Wireless.html
โดย นายณัฐภัทร ปานทอง 533050182-7 E.D.Computer

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt? (13)

3
33
3
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullananภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
4.3
4.34.3
4.3
 
Chapter5.3
Chapter5.3Chapter5.3
Chapter5.3
 
IEEE
IEEEIEEE
IEEE
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
 
ดรรชนีคำศัพท์
ดรรชนีคำศัพท์ดรรชนีคำศัพท์
ดรรชนีคำศัพท์
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 

Andere mochten auch (6)

Huaraz trip 1
Huaraz trip 1Huaraz trip 1
Huaraz trip 1
 
Second
SecondSecond
Second
 
Cold frames
Cold framesCold frames
Cold frames
 
Second
SecondSecond
Second
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Third
ThirdThird
Third
 

Ähnlich wie Third

ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
holahediix
 
Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)
strang
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
Noofang DarkAnegl
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
Noofang DarkAnegl
 

Ähnlich wie Third (20)

มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 
Mission3
Mission3Mission3
Mission3
 
4.3
4.34.3
4.3
 
4.3
4.34.3
4.3
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
 
Ethernet
EthernetEthernet
Ethernet
 
Chapter5tanakorn
Chapter5tanakornChapter5tanakorn
Chapter5tanakorn
 
IEEE
IEEEIEEE
IEEE
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
 
Mission4.3
Mission4.3Mission4.3
Mission4.3
 
Mission4.3
Mission4.3Mission4.3
Mission4.3
 
Mission4.3
Mission4.3Mission4.3
Mission4.3
 
Number3
Number3Number3
Number3
 
Number3
Number3Number3
Number3
 
Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.3
 
Computer network2
Computer network2Computer network2
Computer network2
 
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายหน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
 

Third

  • 1. 3. มาตรฐาน IEEE ที่ใช้ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น เป็นแบบใดได้บ้าง และเปรียบเทียบหน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูลของระบบเครือข่าย พร้อมอธิบายอย่างละเอียด
  • 2. มาตรฐาน IEEE ที่ใช้ในการออกแบบเครือข่ายข้างต้นเป็นแบบ IEEE 802.3 และ IEEE 802.11 IEEE 802.3 หมายถึง IEEE 802.3 IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต ( Ethernet) เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว IEEE ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณเช่น • 10 Base5 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา ( Thick Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 500 เมตร
  • 3. • 10 Base2 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง ( Thin Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 185 เมตร • 10 BaseT อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี ( Unshield Twisted Pair) ด้วยความยาวไม่เกิน 100 เมตร รูปที่ข้างล่าง แสดงถึงลักษณะเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแยกตามประเภทของสายสัญญาณ รหัสขึ้นต้นด้วย 10 หมายถึงความเร็วสายสัญญาณ 10 เมกะบิตต่อ วินาที
  • 4. คำว่า “ Base” หมายถึงสัญญาณชนิด “ Base” รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลขหมายถึงความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร (5=500, 2 แทนค่า 185) หากเป็นอักษรจะหมายถึงชนิดของสาย เช่น T คือ Twisted pair หรือ F คือ Fiber optics ส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว 100 เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100 BaseTX และ 100 BaseFX สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่ 100 BaseT, 100BaseLX และ 100 BaseSX เป็นต้น
  • 5. เครือข่ายไร้สายมาตรฐาน IEEE 802.11 ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ . ศ . 2540 โดยสถาบัน IEEE (The Institute of Electronics and Electrical Engineers) ซึ่งมีข้อกำหนดระบุไว้ว่า ผลิตภัณฑ์เครือข่ายไร้สายในส่วนของ PHY Layer นั้นมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลที่ความเร็ว 1, 2, 5.5, 11 และ 54 เมกะบิตต่อวินาที โดยมีสื่อนำสัญญาณ 3 ประเภทให้เลือกใช้งานอันได้แก่ คลื่นวิทยุย่านความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ , 2.5 กิกะเฮิรตซ์และคลื่นอินฟราเรด
  • 6. ส่วน . ในระดับชั้น MAC Layer นั้นได้กำหนดกลไกของการทำงานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับ CSMA/CD (Collision Detection) ของมาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet ซึ่งนิยมใช้งานบนระบบเครือข่ายแลนใช้สาย โดยมีกลไกในการเข้ารหัสข้อมูลก่อนแพร่กระจายสัญญาณไปบนอากาศ พร้อมกับมีการตรวจสอบผู้ใช้งานอีกด้วย
  • 7. มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทำงานที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งไม่มีการรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกว่า QoS (Quality of Service) ซึ่งมีความสำคัญในสภาพแวดล้อมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทให้ใช้งาน นอกจากนั้นกลไกในเรื่องการรักษาความปลอดภัยที่นำมาใช้ก็ยังมีช่องโหว่จำนวนมาก IEEE จึงได้จัดตั้งคณะทำงานขึ้นมาหลายชุดด้วยกัน เพื่อทำการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานให้มีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้น
  • 9.  
  • 10. แหล่งอ้างอิง http://www.thaiall.com/internet/internet01.htm http://www.buycoms.com/upload/coverstory/121/Wireless.html