SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
 

เรียนรูในคายบูรณาการ
กมลรัตน ฉิมพาลี*	
  

“ศึกษาดวงดาว เฝามองนกฝูงบนนภา เดินสํารวจปา
วัดความสูงตนไม นับเรือนยอด ดูมอสและไลเคน
พิจารณาภูผา มองเมฆบนฟา ตรวจสอบคุณภาพน้ํา”
ทั้งหมดคือกิจกรรมการเรียนรูที่เกิดขึ้นใน“คายบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี
ในแหลงเรียนรูธรรมชาติ” จัดขึ้นโดย สมาคมครูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ระหวางวันที่ 18-20
ตุลาคม 2555 ณ โรงเรียนเตรียมทหาร จังหวัดนครนายก
ชวงปดเทอมคือชวงเวลาแหงการเติมพลังของคุณครูซึ่งแตละทานมีวิธีการที่แตกตางกันไปสําหรับดิฉัน
การปดเทอมคือชวงเวลาแหงการคนหาแรงบันดาลใจและเทคนิคการจัดการเรียนรูคะ ปดเทอมนี้จึงเขารวม
ประชุมปฏิบัติการ “คายบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ในแหลงเรียนรูธรรมชาติ”
ซึ่งแตละกิจกรรมก็ใหประสบการณที่เปนประโยชนในการจัดการเรียนรู ไดเปนอยางดีจึงถอดบทเรียนมาฝากคะ
กิจกรรมแรกที่ไดเรียนรูหลังจากการแบงกลุมคือการศึกษา
เรื่องดวงดาวจากทานอาจารยนิพนธ ทรายเพชร นอกจากจะไดเรียนรู
เกี่ยวกับเรื่องการดูดาวแลว ยังไดเห็นเทคนิคการสรางสื่อการเรียนรู
อีกดวยคะ
อุปกรณที่ใชในการทําทองฟาจําลองก็คือ ฝาครอบแกว
พลาสติก และเทปกระดาษกาวยนสีขาว (ตอนที่ทําจริงๆเราใชสีเมจิก
คอยขางมีปญหาในการเขียน พี่ที่นั่งขางๆใชเทปกระดาษติด เปน
ไอเดียที่ดีมาก ดิฉันจึงเพิ่มเติมตรงการเขียนลงไปบนเทปกาว
ทําใหเขาใจชัดเจนยิ่งขึ้นคะ)
จากนั่น จุดตรงกลางฝากอนคะ เพื่อตั้งตําแหนงจุดเหนือ
ศีรษะ แบงใหได 4 ทิศ (เหนือ ใต ออก ตก) ลากจากทิศเหนือมา
ทิศใตผานจุดเหนือศีรษะ เราแรกวาเสน Meridian คะ เสนตอมาคือเสนศูนยสูตรฟา(celestial equator)
จะลากจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก(ดังนั้นตัดกับเสน Meridian) อยูต่ํากวาจุดเหนือศรีษะมาทางทิศใต
ประมาณ 15 ํ เสนสุดทายคือเสนสุริยวิถี (ecliptic) ลากจากทิศตะวันออกมาทิศตะวันตกเชนเดียวกับ
เสนศูนยสูตรฟา แตจะอยูหางจากจุดเหนือศีรษะไปทางทิศเหนือ 8.5 ํ (ดังนั้นจะหางจากเสนศูนยสูตรฟา 23.5 ํ)
เทานี้เราก็จะไดทองฟาจําลอง จากนั้นก็ถึงเวลาดูทองฟาจริงกันบนดาดฟาของโรงแรม Pre- Cadet Place
เปนชวงเวลาที่สนุกและประทับใจการดูดาวมากเลยคะ เมื่อกอนเราดูดวยความจำตอนนี้เราไดดูจากความเขาใจ
ความเชื่อมโยงของดวงดาวและทิศทางการโคจร อีกทั้งโชคดีที่ทองฟาเปดไดเรียนรูกลุมดาวมากมายเลยคะ
*โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย นิสิตทุน สควค. ระดับปริญญาเอก
สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Lipaongonga@windowslive.com
โดยสวนตัวแลวชอบการดูดาวขึ้นมาทันที กอนหนาดูดาวไมเปน จําไดแคดาวลูกไก แตอยากบอก
เพื่อนครูทุกทานวา ไมตองกลัวแลวนะคะ เพราะทุกวันนี้เรามีโปรแกรมทั้งจากมือถือและอินเตอรเน็ต*
ที่ใหความรูไดเปนอยางดี นับการดูดาวครั้งนี้จุดประกายการศึกษาเรื่องดวงดาวไดเปนอยางดี
กิจกรรมในเชาวันตอมาเริ่มตนที่การเดินสํารวจธรรมชาติยาม
เชา เราตื่นกันตั้งแตตี 5 เพื่อจะมาดูดาวอีกครั้งในชวงเชามืด พรอมกับ
สังเกตนกในยามเชาตรู กอนจะแยกยายกันไปสัมผัสบรรยากาศ
ยามเชา โดยมีภารกิจใหบันทึกรูป ตางๆที่ปรากฎในธรรมชาติ
รูปรางของสิ่งตางๆที่เปนรูปเรขาคณิตที่คุนเคย โดยมีทาน
อาจารยประมวล ศิริผันแกว ใหขอมูล
ความรูและกระตุนการคิดตลอดการศึกษา
เสนทาง ธรรมชาติ เชน ผลของตนคูณคลายรูปทรงกระบอก หอยเปนรูปวงกลม
กลีบดอกเข็มลําดับเลขฟโบนักซี ในจํานวนกลีบดอกไม จากนั้นก็ลงมือวาดภาพ
การบันทึกภาพทางวิทยาศาสตรตองคํานึงถึงอัตราสวนและความเปนจริง
เราสามารถนําเทคโนโลยีมาใชไดโดยการถายภาพที่เรา จะวาดแลวหา
มุมลงมือปฏิบัติภารกิจคะ
(ผลงานของผูเขียน ใหชื่อวา
“มองผาน 10X และ 50X คะ”)
หลังจากเติมพลังในชวงเชาเพื่อเตรียมความพรอมในการเขาฐาน วิทยาศาสตร คณิตศาสตรใน
ธรรมชาติ ฐานแรก คือ ความหลากหลายทางชีวภาพ ฐานนี้เนนทักษะการสังเกต ตรวจสอบสภาพแวดลอม
พื้นฐาน เชน อุณหภูมิของดิน คา pH ของดิน ฐานตอมาคือ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ฐานนี้เนนใหการอางอิง
ขอมูล เพราะเราจะสังเกตเห็นปาไผ พันธุไมเดน พันธุไมรอง ไปสูการสรุปและอางอิงขอมูลเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (จะทําใหเราเขาใจชัดเจนระหวางความแตกตางของการสังเกต(observation)
และการอางอิง (inference) การสังเกตคือการอธิบายสถานการณของปรากฏการณธรรมชาติที่สามารถรับรูได
โดยตรงและผูสังเกตการณจํานวนมากเห็นพองตองกันมีสิ่งที่สังเกตมีความสัมพันธกัน การอางอิง (inference)
จะสูงขึ้นไปกวาการรับรูโดยตรง เชน การอธิบายเกี่ยวกับการสังเกตสัณฐานวิทยาไปสูการอธิบายการทํางาน
ของรูปรางนั้น นักวิทยาศาสตรสามารถอางอิงรูปแบบหรือกลไกเพื่ออธิบายการสังเกต ของปรากฎการณ
ที่ซับซอน) ฐานที่ 3 คือ มอสและไลเคน ฐานนนี้เนนการทดลองคะ เครื่องมือที่ใชคือ Densiometer ฐานนี้
ผูเขียนชอบเปนพิเศษคะ เพระาทําใหไดเทคนิคการสอนระบบนิเวศนอกหองเรียน สามารถพานักเรียนเรียนรู
รอบๆบริเวณโรงเรียนไดงายๆเครื่องมือก็สรางไมยากเลยคะ (ดังภาพ)
และศึกษาความหนาแนนของมอสดวยแผนกริดพลาสติกใส ในแตละกิจกรรมจะชวนใหตั้งคําถามที่
เราสนใจ อยากเรียนรู อยากหาคําตอบ เพื่อนําไปสูการวิเคราะหและการออกแบบงานวิจัย กิจกรรมในสวนนี้
จะชวยใหเราเขาใจที่มาของโครงงานวิทยาศาสตรไดเปนอยางดีคะ ผูเรียนตองออกไปปะทะ พบเจอสิ่งแวดลอม
สิ่งที่อยูรอบตัว ตั้งคําถาม หาคําตอบดวยกระบวนการวิทยาศาสตร จึงเกิดเปนโครงงานวิทยาศาสตรคะ
ตอนรับเชาวันที่ 3 ของการเขาคายดวยกิจกรรม Oh deer กิจกรรมสันทนาการ
ที่ไดทั้งการออกกําลังกายและความรูวิทยาศาสตร กติกาคือ แบงผูเลนออกเปน 2 ฝาย
เทาๆกัน ฝายที่ 1 เปนกวาง (สวมหมวกกวาง) ฝายที่ 2 เปนอาหาร(ประสานมือไวที่ทอง)
น้ํา(ประสานมือไวที่ปาก)และที่พักอาศัย(ประกบมือเปนสามเหลี่ยมบนศีรษะ) แตละฝาย
หันหลังใหกัน (อยูหางกันประมาณ 30 เมตร) เมื่อกรรมการสงสัณญาณใหทุกคน
แสดงสัญลักษณ(กวางก็ตองตัวเองตองการอะไร อาหาร น้ําหรือที่พัก) จากนั้นนับ 1 2 3
Oh deer ฝูงกวางจะวิ่งมาจับสิ่งที่ตองการไปยังฝงตนเองกวางตัวไหนหาไมได ก็ตองตาย
อยูอีกฝงหนึ่ง คนทีโดนจับก็จะกลายเปนกวางแทน กรรมการบันทึกการเปลี่ยนแปลง
่
ของ กวาง อาหาร น้ํา และที่พักอาศัย นํามาเขียนกราฟจะพบวา “สิ่งมีชีวิตกับปจจัย (ภาพ 1 ใสหมวกคือฝูงกวาง 2 อาหาร น้ํา
และที่อยูอาศัย 3. กวางตองแสดงทาทาง
การอยูรอดมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ธรรมชาติไมเคยอยูในสภาวะสมดุล
วาตองการอะไร 4. กวางจับไปฝายตนเอง
แตมีการเปลี่ยนแปลงอยางคงตัว”
กวางที่ไมไดสิ่งที่ตนเองตองการ ก็ตาย
กลายเปนอาหาร น้ําหรือที่อยูอาศัยตอไป)
	
  

ภาพ 1 การตรวจสอบทองฟา
2.-4 การตรวจสอบคุณภาพน้ํา

เขาสูกิจกรรม 3 ฐานประกอบดวยฐานที่ 1 ภูผานารูฐานนี้จะไดใชความรู
ทางคณิตศาสตรในการหาความสูงของหนาผา (สามเหลี่ยมปทาโกรัส)
ความรูทางวิทยาศาสตร (ชั้นหิน ชั้นดินการเปลี่ยนแปลงแทนที่) ความสนุกของ
ฐานนนี้คือการแบงความรับผิดชอบในการวาดหนาผาแลวนําภาพมาตอกัน
ถาในกลุมตกลงเรื่องอัตราสวนของภาพอยางชัดเจน ภาพจะสามารถนํามา
ตอกันไดตอเนื่องกัน ฐานตอมาคือ วิทย คณิต เทคโนโลยี บนเรือรบ ฐานนี้
จะมีคําใบให เพื่อหาชิ้นสวนที่ใชในการตอบคําถาม มาตอกันเหมือนจิ๊กซอร
ซึ่งตองอาศัยการวางแผนที่ดี ความสามัคคีในการทํางานและฐานสุดทายคือ
จากนําสูฟา ฐานนี้ไดเรียนรูเรื่องเมฆและการวัดคุณภาพน้ําทางกายภาพ
และทางเคมี(ชุดตรวจวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ํา) เปนกิจกรรม
ในวันสุดทายที่จัดเต็มเม็ดเต็มหนวยในทุกวินาทีของการเขาคายเลยทีเดียว

*โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย นิสิตทุน สควค. ระดับปริญญาเอก
สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Lipaongonga@windowslive.com
การปฎิรูปหลักสูตรและการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรของประเทศแบงไดเปน 3 ระยะคือ ครั้งแรก
การเกิดสงครามเย็น ระยะที่สองคือ การเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และการปฏิรูปในปจจุบันเมื่อ OECD
กระตุนใหเห็นความสําคัญของ STEM (Science, Teachnology, Engineering and Mathematic)
คือการบูรณการทั้ง 4 สาขาวิชาเขาดวยกัน การบูรณาการจะชวยพัฒนาและสรางทักษะสําคัญใหกับผูเรียน
ไมวาจะเปนทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะชีวิตและการทํางาน รวมถึงทักษะดานสารสนเทศ สื่อและ
เทคโนโลยีเพื่อใหผูเรียนประยุกตใชความรูทุกแขนงมาแกปญหาในโลกของความเปนจริงซึ่งปญหาไมสามารถ
แกไขไดอยางมีประสิทธิภาพดวยสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง การสรางสรรคหรือพัฒนาสิ่งตางๆอยางรอบคอบ
และรอบดาน สิ่งเหลานี้คือภารกิจหนาที่ที่สําคัญของคุณครูที่จะตองเรียนรูและปรับตัว เพิ่มเติมประสบการณ
หรือที่ทานวิทยากรกลาววา “สะสมตนทุนการเปนครู” คุณครูจึงตองเรียนรูควบคูไปกับการจัดการเรียน
การสอน คุณครูหยุดเรียนรูไมได เพราะไมวาจะเปนงานวิจัยหรือหนังสือเลมไหน ตางก็ยืนยันวาครูคือผูที่มี
บทบาทสําคัญที่สุดในการจัดการเรียนรูใหผูเรียน ผูที่เปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศชาติ
หนาที่มีคุณคาเชนนี้อยูในมือของคุณครูทุกทาน เหมือนเชนที่ มารวา คอลลินส** กลาววา “ประสบการณที่ได
รับจากการเปนครูนั้นมีคา มากกวาทองคําทั้งหมดในคลังเก็บทองคําแทงของสหรัฐอเมริกา”
ผูเขียนขอขอบพระคุณทานวิทยากรทุกทานที่ใหทั้งความรู กําลังใจ แรงบันดาลใจ และดวงไฟ
แหงความหวังในการเปนครูวิทยาศาสตรที่สรางสรรคและพัฒนาการเรียนรูอยางไมหยุดยั้ง
เอกสารอางอิง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. แนวการจัดคายวิทยาศาสตร. 2553.
สมาคมครูวิทยาศาสตร คริตศาสตรและเทคโนโลยี. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมบูรณาการ วิทยาศาสตร
คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในแหลงเรียนรูธรรมชาติ วันที่ 18-20 ตุลาคม 2555. 2555.
ขอบพระคุณภาพประกอบบทความจาก http://www.thaigoodview.com
*เว็บไซตดูดาว
http://www.thaigoodview.com/library/astro/1024size/high/knowStar/m2_winterMain_
frm.php
**มารวา คอลลินส คุณครูผูมีอุดมการณและเชื่อวาเด็กๆที่ทุกคน แมวาถูกไลออกโรงเรียนไมรับเขา
ศึกษาหรือตราหนาวาเหลือกําลังที่จะสอนได มีศักยภาพที่จะประสบความสําเร็จได เริ่มกอตั้งโรงเรียน
โดยใชบานตัวเอง กระเสือกกระสนดิ้นรนหาเงินทุน ดวยพลังที่เชื่อวา“การไดเห็นแสงประกายเจิดจา
ในแววตาของเด็ก ซึ่งวันหนึ่งจะสองสวางใหกับโลกใบนี้ ถือวาคุมคากับการที่ฉันขมตาไมหลับ
ทุกคืน เพราะมัวแตพะวงวาจะหารายไดมาชดเชยรายจายไดอยางไร” ในที่สุดเด็กๆตาง
ประสบความสําเร็จ เธอไดรับการเสนอตําแหนง ชื่อเสียง และเงินทองมากมายแตเธอก็ปฏิเสธ
เพราะรักในงานสอนและเชื่อมั่นวาตัวเองจะสรางความแตกตางที่ยิ่งใหญที่สุดเมื่อไดใชชีวิตอยู
กับการสอนนักเรียน จากหนังสือ เปดหองเรียนวิชาแหงความสุข. ดร.ทาล เบน-ซาฮาร ฉบับแปล.
สํานักพิมพวีเลิรน. 2011.
*โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย นิสิตทุน สควค. ระดับปริญญาเอก
สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Lipaongonga@windowslive.com

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Andere mochten auch (11)

6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 

Mehr von กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Mehr von กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 

กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

  • 1.   เรียนรูในคายบูรณาการ กมลรัตน ฉิมพาลี*   “ศึกษาดวงดาว เฝามองนกฝูงบนนภา เดินสํารวจปา วัดความสูงตนไม นับเรือนยอด ดูมอสและไลเคน พิจารณาภูผา มองเมฆบนฟา ตรวจสอบคุณภาพน้ํา” ทั้งหมดคือกิจกรรมการเรียนรูที่เกิดขึ้นใน“คายบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ในแหลงเรียนรูธรรมชาติ” จัดขึ้นโดย สมาคมครูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ระหวางวันที่ 18-20 ตุลาคม 2555 ณ โรงเรียนเตรียมทหาร จังหวัดนครนายก ชวงปดเทอมคือชวงเวลาแหงการเติมพลังของคุณครูซึ่งแตละทานมีวิธีการที่แตกตางกันไปสําหรับดิฉัน การปดเทอมคือชวงเวลาแหงการคนหาแรงบันดาลใจและเทคนิคการจัดการเรียนรูคะ ปดเทอมนี้จึงเขารวม ประชุมปฏิบัติการ “คายบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ในแหลงเรียนรูธรรมชาติ” ซึ่งแตละกิจกรรมก็ใหประสบการณที่เปนประโยชนในการจัดการเรียนรู ไดเปนอยางดีจึงถอดบทเรียนมาฝากคะ กิจกรรมแรกที่ไดเรียนรูหลังจากการแบงกลุมคือการศึกษา เรื่องดวงดาวจากทานอาจารยนิพนธ ทรายเพชร นอกจากจะไดเรียนรู เกี่ยวกับเรื่องการดูดาวแลว ยังไดเห็นเทคนิคการสรางสื่อการเรียนรู อีกดวยคะ อุปกรณที่ใชในการทําทองฟาจําลองก็คือ ฝาครอบแกว พลาสติก และเทปกระดาษกาวยนสีขาว (ตอนที่ทําจริงๆเราใชสีเมจิก คอยขางมีปญหาในการเขียน พี่ที่นั่งขางๆใชเทปกระดาษติด เปน ไอเดียที่ดีมาก ดิฉันจึงเพิ่มเติมตรงการเขียนลงไปบนเทปกาว ทําใหเขาใจชัดเจนยิ่งขึ้นคะ) จากนั่น จุดตรงกลางฝากอนคะ เพื่อตั้งตําแหนงจุดเหนือ ศีรษะ แบงใหได 4 ทิศ (เหนือ ใต ออก ตก) ลากจากทิศเหนือมา ทิศใตผานจุดเหนือศีรษะ เราแรกวาเสน Meridian คะ เสนตอมาคือเสนศูนยสูตรฟา(celestial equator) จะลากจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก(ดังนั้นตัดกับเสน Meridian) อยูต่ํากวาจุดเหนือศรีษะมาทางทิศใต ประมาณ 15 ํ เสนสุดทายคือเสนสุริยวิถี (ecliptic) ลากจากทิศตะวันออกมาทิศตะวันตกเชนเดียวกับ เสนศูนยสูตรฟา แตจะอยูหางจากจุดเหนือศีรษะไปทางทิศเหนือ 8.5 ํ (ดังนั้นจะหางจากเสนศูนยสูตรฟา 23.5 ํ) เทานี้เราก็จะไดทองฟาจําลอง จากนั้นก็ถึงเวลาดูทองฟาจริงกันบนดาดฟาของโรงแรม Pre- Cadet Place เปนชวงเวลาที่สนุกและประทับใจการดูดาวมากเลยคะ เมื่อกอนเราดูดวยความจำตอนนี้เราไดดูจากความเขาใจ ความเชื่อมโยงของดวงดาวและทิศทางการโคจร อีกทั้งโชคดีที่ทองฟาเปดไดเรียนรูกลุมดาวมากมายเลยคะ *โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย นิสิตทุน สควค. ระดับปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Lipaongonga@windowslive.com
  • 2. โดยสวนตัวแลวชอบการดูดาวขึ้นมาทันที กอนหนาดูดาวไมเปน จําไดแคดาวลูกไก แตอยากบอก เพื่อนครูทุกทานวา ไมตองกลัวแลวนะคะ เพราะทุกวันนี้เรามีโปรแกรมทั้งจากมือถือและอินเตอรเน็ต* ที่ใหความรูไดเปนอยางดี นับการดูดาวครั้งนี้จุดประกายการศึกษาเรื่องดวงดาวไดเปนอยางดี กิจกรรมในเชาวันตอมาเริ่มตนที่การเดินสํารวจธรรมชาติยาม เชา เราตื่นกันตั้งแตตี 5 เพื่อจะมาดูดาวอีกครั้งในชวงเชามืด พรอมกับ สังเกตนกในยามเชาตรู กอนจะแยกยายกันไปสัมผัสบรรยากาศ ยามเชา โดยมีภารกิจใหบันทึกรูป ตางๆที่ปรากฎในธรรมชาติ รูปรางของสิ่งตางๆที่เปนรูปเรขาคณิตที่คุนเคย โดยมีทาน อาจารยประมวล ศิริผันแกว ใหขอมูล ความรูและกระตุนการคิดตลอดการศึกษา เสนทาง ธรรมชาติ เชน ผลของตนคูณคลายรูปทรงกระบอก หอยเปนรูปวงกลม กลีบดอกเข็มลําดับเลขฟโบนักซี ในจํานวนกลีบดอกไม จากนั้นก็ลงมือวาดภาพ การบันทึกภาพทางวิทยาศาสตรตองคํานึงถึงอัตราสวนและความเปนจริง เราสามารถนําเทคโนโลยีมาใชไดโดยการถายภาพที่เรา จะวาดแลวหา มุมลงมือปฏิบัติภารกิจคะ (ผลงานของผูเขียน ใหชื่อวา “มองผาน 10X และ 50X คะ”) หลังจากเติมพลังในชวงเชาเพื่อเตรียมความพรอมในการเขาฐาน วิทยาศาสตร คณิตศาสตรใน ธรรมชาติ ฐานแรก คือ ความหลากหลายทางชีวภาพ ฐานนี้เนนทักษะการสังเกต ตรวจสอบสภาพแวดลอม พื้นฐาน เชน อุณหภูมิของดิน คา pH ของดิน ฐานตอมาคือ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ฐานนี้เนนใหการอางอิง ขอมูล เพราะเราจะสังเกตเห็นปาไผ พันธุไมเดน พันธุไมรอง ไปสูการสรุปและอางอิงขอมูลเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (จะทําใหเราเขาใจชัดเจนระหวางความแตกตางของการสังเกต(observation) และการอางอิง (inference) การสังเกตคือการอธิบายสถานการณของปรากฏการณธรรมชาติที่สามารถรับรูได โดยตรงและผูสังเกตการณจํานวนมากเห็นพองตองกันมีสิ่งที่สังเกตมีความสัมพันธกัน การอางอิง (inference) จะสูงขึ้นไปกวาการรับรูโดยตรง เชน การอธิบายเกี่ยวกับการสังเกตสัณฐานวิทยาไปสูการอธิบายการทํางาน ของรูปรางนั้น นักวิทยาศาสตรสามารถอางอิงรูปแบบหรือกลไกเพื่ออธิบายการสังเกต ของปรากฎการณ ที่ซับซอน) ฐานที่ 3 คือ มอสและไลเคน ฐานนนี้เนนการทดลองคะ เครื่องมือที่ใชคือ Densiometer ฐานนี้ ผูเขียนชอบเปนพิเศษคะ เพระาทําใหไดเทคนิคการสอนระบบนิเวศนอกหองเรียน สามารถพานักเรียนเรียนรู รอบๆบริเวณโรงเรียนไดงายๆเครื่องมือก็สรางไมยากเลยคะ (ดังภาพ)
  • 3. และศึกษาความหนาแนนของมอสดวยแผนกริดพลาสติกใส ในแตละกิจกรรมจะชวนใหตั้งคําถามที่ เราสนใจ อยากเรียนรู อยากหาคําตอบ เพื่อนําไปสูการวิเคราะหและการออกแบบงานวิจัย กิจกรรมในสวนนี้ จะชวยใหเราเขาใจที่มาของโครงงานวิทยาศาสตรไดเปนอยางดีคะ ผูเรียนตองออกไปปะทะ พบเจอสิ่งแวดลอม สิ่งที่อยูรอบตัว ตั้งคําถาม หาคําตอบดวยกระบวนการวิทยาศาสตร จึงเกิดเปนโครงงานวิทยาศาสตรคะ ตอนรับเชาวันที่ 3 ของการเขาคายดวยกิจกรรม Oh deer กิจกรรมสันทนาการ ที่ไดทั้งการออกกําลังกายและความรูวิทยาศาสตร กติกาคือ แบงผูเลนออกเปน 2 ฝาย เทาๆกัน ฝายที่ 1 เปนกวาง (สวมหมวกกวาง) ฝายที่ 2 เปนอาหาร(ประสานมือไวที่ทอง) น้ํา(ประสานมือไวที่ปาก)และที่พักอาศัย(ประกบมือเปนสามเหลี่ยมบนศีรษะ) แตละฝาย หันหลังใหกัน (อยูหางกันประมาณ 30 เมตร) เมื่อกรรมการสงสัณญาณใหทุกคน แสดงสัญลักษณ(กวางก็ตองตัวเองตองการอะไร อาหาร น้ําหรือที่พัก) จากนั้นนับ 1 2 3 Oh deer ฝูงกวางจะวิ่งมาจับสิ่งที่ตองการไปยังฝงตนเองกวางตัวไหนหาไมได ก็ตองตาย อยูอีกฝงหนึ่ง คนทีโดนจับก็จะกลายเปนกวางแทน กรรมการบันทึกการเปลี่ยนแปลง ่ ของ กวาง อาหาร น้ํา และที่พักอาศัย นํามาเขียนกราฟจะพบวา “สิ่งมีชีวิตกับปจจัย (ภาพ 1 ใสหมวกคือฝูงกวาง 2 อาหาร น้ํา และที่อยูอาศัย 3. กวางตองแสดงทาทาง การอยูรอดมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ธรรมชาติไมเคยอยูในสภาวะสมดุล วาตองการอะไร 4. กวางจับไปฝายตนเอง แตมีการเปลี่ยนแปลงอยางคงตัว” กวางที่ไมไดสิ่งที่ตนเองตองการ ก็ตาย กลายเปนอาหาร น้ําหรือที่อยูอาศัยตอไป)   ภาพ 1 การตรวจสอบทองฟา 2.-4 การตรวจสอบคุณภาพน้ํา เขาสูกิจกรรม 3 ฐานประกอบดวยฐานที่ 1 ภูผานารูฐานนี้จะไดใชความรู ทางคณิตศาสตรในการหาความสูงของหนาผา (สามเหลี่ยมปทาโกรัส) ความรูทางวิทยาศาสตร (ชั้นหิน ชั้นดินการเปลี่ยนแปลงแทนที่) ความสนุกของ ฐานนนี้คือการแบงความรับผิดชอบในการวาดหนาผาแลวนําภาพมาตอกัน ถาในกลุมตกลงเรื่องอัตราสวนของภาพอยางชัดเจน ภาพจะสามารถนํามา ตอกันไดตอเนื่องกัน ฐานตอมาคือ วิทย คณิต เทคโนโลยี บนเรือรบ ฐานนี้ จะมีคําใบให เพื่อหาชิ้นสวนที่ใชในการตอบคําถาม มาตอกันเหมือนจิ๊กซอร ซึ่งตองอาศัยการวางแผนที่ดี ความสามัคคีในการทํางานและฐานสุดทายคือ จากนําสูฟา ฐานนี้ไดเรียนรูเรื่องเมฆและการวัดคุณภาพน้ําทางกายภาพ และทางเคมี(ชุดตรวจวัดออกซิเจนที่ละลายในน้ํา) เปนกิจกรรม ในวันสุดทายที่จัดเต็มเม็ดเต็มหนวยในทุกวินาทีของการเขาคายเลยทีเดียว *โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย นิสิตทุน สควค. ระดับปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Lipaongonga@windowslive.com
  • 4. การปฎิรูปหลักสูตรและการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรของประเทศแบงไดเปน 3 ระยะคือ ครั้งแรก การเกิดสงครามเย็น ระยะที่สองคือ การเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และการปฏิรูปในปจจุบันเมื่อ OECD กระตุนใหเห็นความสําคัญของ STEM (Science, Teachnology, Engineering and Mathematic) คือการบูรณการทั้ง 4 สาขาวิชาเขาดวยกัน การบูรณาการจะชวยพัฒนาและสรางทักษะสําคัญใหกับผูเรียน ไมวาจะเปนทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะชีวิตและการทํางาน รวมถึงทักษะดานสารสนเทศ สื่อและ เทคโนโลยีเพื่อใหผูเรียนประยุกตใชความรูทุกแขนงมาแกปญหาในโลกของความเปนจริงซึ่งปญหาไมสามารถ แกไขไดอยางมีประสิทธิภาพดวยสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง การสรางสรรคหรือพัฒนาสิ่งตางๆอยางรอบคอบ และรอบดาน สิ่งเหลานี้คือภารกิจหนาที่ที่สําคัญของคุณครูที่จะตองเรียนรูและปรับตัว เพิ่มเติมประสบการณ หรือที่ทานวิทยากรกลาววา “สะสมตนทุนการเปนครู” คุณครูจึงตองเรียนรูควบคูไปกับการจัดการเรียน การสอน คุณครูหยุดเรียนรูไมได เพราะไมวาจะเปนงานวิจัยหรือหนังสือเลมไหน ตางก็ยืนยันวาครูคือผูที่มี บทบาทสําคัญที่สุดในการจัดการเรียนรูใหผูเรียน ผูที่เปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศชาติ หนาที่มีคุณคาเชนนี้อยูในมือของคุณครูทุกทาน เหมือนเชนที่ มารวา คอลลินส** กลาววา “ประสบการณที่ได รับจากการเปนครูนั้นมีคา มากกวาทองคําทั้งหมดในคลังเก็บทองคําแทงของสหรัฐอเมริกา” ผูเขียนขอขอบพระคุณทานวิทยากรทุกทานที่ใหทั้งความรู กําลังใจ แรงบันดาลใจ และดวงไฟ แหงความหวังในการเปนครูวิทยาศาสตรที่สรางสรรคและพัฒนาการเรียนรูอยางไมหยุดยั้ง เอกสารอางอิง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. แนวการจัดคายวิทยาศาสตร. 2553. สมาคมครูวิทยาศาสตร คริตศาสตรและเทคโนโลยี. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมบูรณาการ วิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในแหลงเรียนรูธรรมชาติ วันที่ 18-20 ตุลาคม 2555. 2555. ขอบพระคุณภาพประกอบบทความจาก http://www.thaigoodview.com *เว็บไซตดูดาว http://www.thaigoodview.com/library/astro/1024size/high/knowStar/m2_winterMain_ frm.php **มารวา คอลลินส คุณครูผูมีอุดมการณและเชื่อวาเด็กๆที่ทุกคน แมวาถูกไลออกโรงเรียนไมรับเขา ศึกษาหรือตราหนาวาเหลือกําลังที่จะสอนได มีศักยภาพที่จะประสบความสําเร็จได เริ่มกอตั้งโรงเรียน โดยใชบานตัวเอง กระเสือกกระสนดิ้นรนหาเงินทุน ดวยพลังที่เชื่อวา“การไดเห็นแสงประกายเจิดจา ในแววตาของเด็ก ซึ่งวันหนึ่งจะสองสวางใหกับโลกใบนี้ ถือวาคุมคากับการที่ฉันขมตาไมหลับ ทุกคืน เพราะมัวแตพะวงวาจะหารายไดมาชดเชยรายจายไดอยางไร” ในที่สุดเด็กๆตาง ประสบความสําเร็จ เธอไดรับการเสนอตําแหนง ชื่อเสียง และเงินทองมากมายแตเธอก็ปฏิเสธ เพราะรักในงานสอนและเชื่อมั่นวาตัวเองจะสรางความแตกตางที่ยิ่งใหญที่สุดเมื่อไดใชชีวิตอยู กับการสอนนักเรียน จากหนังสือ เปดหองเรียนวิชาแหงความสุข. ดร.ทาล เบน-ซาฮาร ฉบับแปล. สํานักพิมพวีเลิรน. 2011.
  • 5. *โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย นิสิตทุน สควค. ระดับปริญญาเอก สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Lipaongonga@windowslive.com