SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 50
Downloaden Sie, um offline zu lesen
                                                                                                  8

                      ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล

Leading Question: รางกายมีกระบวนการจัดการกับอาหารและนําสารอาหารไปใช
ในรางกายอยางไร
มาตรฐาน
1.1               เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบ
                  ตางๆของสิ่งมีชีวืตที่ทํางานสัมพันธกันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรูสื่อสารสิ่งที่
                  เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ผลการเรียนรู
1. เขาใจโครงสรางและหนาที่ของระบบยอยอาหารของสิ่งมีชีวิต
2. เขาใจหนาที่และกระบวนการของการยอยอาหาร
3. บูรณาการความรูบทบาทหนาที่ของระบบการยอยอาหารกับระบบรักษาดุลยภาพของรางกาย
สาระการเรียนรู
1. การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว
2. การยอยอาหารของสัตวบางชนิด
3. การยอยอาหารของคน
4. การสลายสารอาหารระดับเซลล

กิจกรรมการเรียนรู
1. การสรางโมเดล
2. การทดลอง
3. การบรรยาย
4. การสืบคนขอมูล
5. การแกปญหา
6. การอภิปรายและเปลี่ยนความคิด




เอกสารที่ใชในการจัดการเรียนรู
1. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา
2. ใบความรูในแตละแผนการจัดการเรียนรู
                                                                                                9



          แผนการจัดการเรียนรู


       1. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว (1 ชั่วโมง)


                                                                           	
  




       2. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสัตวบางชนิด (2 ชั่วโมง)




                                                                                            	
  




       3. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องระบบการยอยอาหารของคน (4 ชั่วโมง)




                                                                                     	
  




       4. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการสลายอาหารระดับเซลล (3 ชั่วโมง)




                                                                              	
  
                                                                                                  10

       1. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว (1 ชั่วโมง)


                                                                                       	
  
                                                                   ผูสอน นางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี

จุดประสงคการเรียนรู
       1. อธิบายกระบวนการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย แบคทีเรียและเห็ดรา
       2. วิเคราะหกระบวนการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

เมื่อเรียนแลวนักเรียนสามารถ
          1. ระบุชื่อโครงสรางและอวัยวะของระบบยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเซลล
          2. อธิบายหนาที่และวิธีการทํางานของการยอยอาหารในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย
แบคทีเรียและเห็ดรา
         3. วิเคราะหความเหมือนและความแตกตางของวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

ผลงาน/ชิ้นงาน 1. โมเดลสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 2. ใบกิจกรรมที่ 1

                                      กระบวนการจัดการเรียนรู

1. ขั้นตรวจสอบ        1.1 ครูติดกระดาษปรูฟ 3 แผน หนากระดาน แผนที่หนึ่งเขียนวา
ความรูเติม           “นี่คือเรื่องใหมสําหรับฉัน/ผม” แผนที่ 2 “มีความรูเรื่องนี้อยูบาง” แผนที่ 3
                      “เขาใจเรื่องนี้เปนอยางดี”
                      1.2 ครูขึ้น Powerpoint “ระบบการยอยอาหารและการสลายสารอาหาร
                      ระดับเซลล”ตั้งคําถามกับนักเรียนวาเมื่อเห็นประโยคดังกลาวนักเรียนคิดวาตน
                      เองจะเลือกอยูกลุมใดของกระดาษที่ติดไวหนากระดาน
                      1.3 นักเรียนเดินไปที่กระดาษแผนนั้น
                      1.4 ครูแจกปากกาใหกับนักเรียนชวยกันตอบคําถาม ใหเวลา 5 นาที
                      โดยมีคําถามของแตละกลุมดังนี้
                      แผนที่ 1 : นักเรียนอยากรูอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้บาง
                                    นักเรียนคิดวาเรื่องที่เรียนรูในหัวขอนี้จะมีประโยชนอยางไร

                      แผนที่ 2 : นักเรียนจํา/เขาใจอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องนี้
                                  นักเรียนอยากทําความเขาใจเรื่องใดเพิ่มเติม

                      แผนที่ 3 : นักเรียนสรุปเรื่องนี้ไดวาอยางไร
                                  นักเรียนจะใชวิธีการใดเพื่อใหเพื่อนเขาใจเหมือนนักเรียน
                                                                                               11

      ขั้นตอน                                            กิจกรรม
2. ขั้นเรา          1. ครูชี้แจงจุดประสงคการเรียนรู
ความสนใจและ           2. ครูเปดภาพเคลื่อนไหวการกินอาหารของอะมีบา พารามีเซียมและยูกลีนา
สํารวจคนหา          ใหนักเรียนไดสังเกต
                     3. แบงกลุมนักเรียนนั่งโตะละ 4-5 คน
                     4. แจกอุปกรณซึ่งประกอบไปดวย ถุงพลาสติก(ขนาดสวมมือได) แปรงสีฟน
                     ฟองน้ํา ขยะชิ้นเล็กๆ เศษผงและน้ํา
                     5. นักเรียนเปรียบเทียบวิธีการกินอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวกับอุปกรณที่
                     กําหนดให จากนั้นสรุปลงในใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง
                     6. ครูแจกขนมปงที่ขึ้นรา เห็ดที่เกาะขอนไม(สามารถใชไดทั้งภาพหรือของจริง)
                     ใหนักเรียนศึกษา
                     7. นักเรียนรวมกันศึกษาวิธีการยอยอาหารของราและเห็ดจากใบความรูที่ครู
                     เตรียมให หนังสือเรียน

3. ขั้นอธิบาย        1. นักเรียนแตละกลุมสรุปการเรียนรูและนําไปติดหนาหองเรียน
และลงขอสรุป         2. แตละกลุมสลับกันศึกษาผลการศึกษาของเพื่อนแตละกลุมจดประเด็นขอสรุป
                     และขอคนพบที่เหมือนและแตกตางกัน
                     3. สงตัวแทนแตละกลุมเสนอสะทอนความคิดเห็นจากการเรียนรูในกลุมและ
                     การศึกษาของกลุมอื่นๆ
                     4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม

4. ขั้นขยาย          1. นักเรียนแตละกลุมคนหาประเด็นความรูดังตอไปนี้
ความรู              - การทดลองระบบการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว
                     - สาเหตุที่ราทําใหอาหารเสียสภาพ จากนั้นสรุปความรูที่ไดนําเสนอ
                     ในรูปแบบตางๆ เชน ภาพประกอบเรื่องเลา วีดีโอ นําไปโพสตที่ facebook
                     ของกลุม พรอมกับตั้งคําถามใหผูอาน อยางนอย 2 คําถาม
                     2. นักเรียนทุกคนตองตอบคําถามของเพื่อนกลุมอื่นอยางนอยกลุมละ 1 คําถาม
                     สรุปในรูปแบบการเขียนสะทอนคิด (journal writing)

5. ขั้นประเมินผล 1. ครูประเมิน
                 - ความเขาใจ (K) ของผูเรียนจากใบกิจกกรรม/แบบฝกหัด /แบบทดสอบ
                           เกณฑผานคือ นักเรียนมีผลคะแนนในระดับ ดี (80%)
                 - กระบวนการทำงาน (P) จากการทํางานกลุม
                            เกณฑผาน คือ สงงานภายในเวลาที่กําหนด
                 - เจตคติ (A) จากการประเมินการเขียนสะทอนคิดของผูเรียน
                              มี key word ที่แสดงถึงสิ่งที่ไดเรียนรู สิ่งที่อยากเรียนรูตอไป
                 สิ่งที่ตนเองคิดเกี่ยวกับการเรียน
                                                                                                  12
  หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล                ชื่อ................................................
  แผนการเรียนรูที่ 1 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว                  นามสกุล.......................................
                                                                              เลขที่............................................
                                                                              .
  ใบกิจกรรมที่ 1 การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย
                                                                              ชั้น...............................................
                 แบคทีเรียและเห็ดรา                                              คะแนนที่ได………………………….
                                                                                 .

  คําชี้แจง : นักเรียนออกแบบสิ่งมี       	
  
  ชีวิตเซลลเดียวจากอุปกรณที่กําหนด
  ใหและแสดงวิธีการกินอาหารของสิ่งมี
  ชีวิตเซลลเดียว นําแสดงในรูปแบบ
  วาดภาพและคําอธิบาย


                                         	
  
  อุปกรณ
  1. ฟองน้ํา 5 ชิ้น   2. ขนแปรง
  3. ลวดสีเขียว       4. กระดาษสี
  5. กรรไกร           6. กาวยูฮู
  7. ถุงพลาสติก


                                         	
  




คําชี้แจง : ตอบคําถามในชองวาง        คําถาม : ราที่ขึ้นบนขนมปง และเห็ดที่ขึ้นบนขอนไมและแบคทีเรียบางชนิด
ใหถูกตอง                             มีกระบวนการนําอาหารเขาสูเซลลอยางไร
                                       ……………………………………………………………………………………………………………
                                       …………………………………………………………………………………………………………..
                                       (เฉลย ขับน้ํายอยออกมายอยอาหารภายนอกเซลลจนกลายเปนโมเลกุลเล็ก ๆ
                                       แลวดูดซึมไปใชประโยชนตอไป)
                                       แบคทีเรีย ความสามารถยอยสารอินทรียที่มีโมเลกุลขนาดใหญและซับซอนได
                                       ขึ้นอยูกับจํานวนเอ็นไซม เรียกการดํารงชีวิตแบบนี้วา……………..
                                       (เฉลย Saprophyte)
                                                                                        13

                              การวัดและการประเมินผลการเรียนรู

                                  ตัวอยางผลงานของผูเรียน




                                     เกณฑการใหคะแนน

       คะแนน                                   รายละเอียด
         1     สรางโมเดลหรืออธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว
         2     สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวอยางงายๆได
         3     สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวไดถูกตอง
               แตไมครบถวน
         4     สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวไดถูกตอง ครบถวน
         5     สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวไดถูกตอง
               ครบถวนและสามารถแสดงโมเดลใหเห็นอยางชัดเจน

สามารถดู Youtube ผลงานนักเรียนไดโดยคน key word : KruPumbio ชื่อ A tour of Biology
Classroom หรือเว็บไซต http://www.youtube.com/watch?v=pAop1ytuGgI
                                                                                                      14


หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล                            หัวขอสําคัญใบความรู
                                                                                        1-1 ความรูเบื้องตน
แผนการเรียนรูที่ 1 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว                              1-2 อะมีบา
                                                                                        1-3 พารามีเซียม
ใบความรูที่ 1 การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย                          1-4 ยูกลีนา
                แบคทีเรียและเห็ดรา                                                      1-5 จุลินทรีย แบคทีเรีย
                                                                                        และเห็ดรา




  ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบการยอยอาหาร

สิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีความตองการอาหารเพื่อการดํารงชีวิตหากใชเกณฑความสามารถในการสรางอาหาร
ของสิ่งมีชีวิตสามารถแบงสิ่งมีชีวิตได 2 ประเภท ดังนี้
1. autotroph คือพวกที่สามารถสรางอาหารเองไดจากสารอนินทรีย
2. heterotroph เปนพวกที่สรางอาหารเองไมได
สิ่งมีชีวิตมีกลไกการนําอาหารเขาสูเซลลที่แตกตางกัน แบงเปน 2 ประเภทไดดังนี้
1. การยอยภายในเซลล (intracellular digestion) คือ
การที่เซลลนาอาหารเขาไปภายในจนทาใหเกิดถุงอาหาร (Food vacuole) แลวใชนายอยยอยอาหารในเซลลนั้น
2. การยอยภายนอกเซลล (extracellular digestion) คือ การที่เซลลขับนายอยออกมายอยอาหาร
ภายนอกเซลลจนกลายเปนโมเลกุลเล็ก ๆ แลวดูดซึมไปใชประโยชนตอไป

เสนทางการนําอาหารเขาสูรางกายจะมี 2 รูปแบบคือ
1. ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ (complete digestive tract) ประกอบดวยชองเปด 2 ชองทางหนาที่เปนปากและทวารหนัก
2. ทางเดินอาหารแบบไมสมบูรณ (incomplete digestive tract) ประกอบดวยชองเปดเพียง1 ชอง คือ อาหารเขาทางปาก
และกากอาหารออกทางเดียวกัน

หนาที่ของทางเดินอาหาร 4 ประการ คือ
1. การกิน (ingestion) คือการนาอาหารเขารางกาย
2. การยอยอาหาร (digestion) คือการทาใหไดสารอาหารเพื่อนาไปใชประโยชน
3. การดูดซึม (absorption) คือการนาสารอาหารโมเลกุลเล็กเหลานั้นเขาสูเซลลเพื่อเขาสูระบบไหลเวียน
4. การขับออก (elimination หรือ egestion) คือการขับถายสารที่ยอยไมไดออกเปนกากอาหาร



ขั้นตอนการยอยอาหารประกอบดวย
1. การยอยเชิงกล (mechanical digestion) คือการยอยอาหารโดยการบดหรือเคี้ยวเพื่อใหอาหารมีขนาด
เล็กลง เชน ใชฟนบดเคี้ยว ใชกึ๋น (gizzard) บด
2. การยอยเชิงเคมี (chemical digestion) คือการยอยอาหารโดยใชนายอยหรือเอนไซม(enzyme)
เขาชวยเพื่อใหอาหารมีโมเลกุลเล็กที่สุด แลวจึงทาการดูดซึมเขาสูเซลลได
                                                                                                15


             การยอยอาหารของโพรโทซัว เปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวสรางอาหารเองไมได ไมมีผนังเซลล แตสามารถ
เคลื่อนที่ได ไมมีระบบทางเดินอาหาร และระบบยอยอาหารโดยเฉพาะ อาศัยสวนตางๆ ของเซลลชวยใน
การนําอาหารเขาสูเซลล อาหารที่เขาไปภายในเซลลจะอยูในฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) ภายในไซโทพลาสซึม
จากนั้นไลโซโซมภายในเซลลจะยอยอาหารซึ่งเปนการยอยภายในเซลล (Intracellular digestion) กากอาหาร
จะถูกกําจัดออกโดยการแพร เชน อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา


                                                               1. อะมีบาอะมีบาเปนโพรโทซัวที่เคลื่อนที่
                                                               ดวยเทาเทียมอาหารของอะมีบาประกอบ
                                                               ดวยเศษสารอินทรีย เซลลแบคทีเรีย
                                                               สาหรายและสิ่งมีชีวิตเล็กๆ อะมีบานําอาหาร
                                                               จากสิ่งแวดลอมเขาสูเซลลโดยวิธีฟาโกไซโท
                                                               ซีสโดยยื่น ซูโดโพเดียม(Pseudopodium)
                        ภาพ 1 อะมีบา                           ออกไปโอบลอมอาหารทําใหอาหารตกเขาไป
                                                               อยูภายในเซลลแลวทําใหมีลักษณะเปนถุง
                                                               เรียกวาฟูดแวคิวโอลตอจากนั้นไซโทพลาส
                                                               ซึมของอะมีบาจะสรางน้ํายอย ซึ่งสวนใหญ
                                                               เปนกรดเกลือ (HCl) ออกมายอยอาหาร
                                                               ภายในฟูดแวคิวโอลการเคลื่อนไหวของ
                                                               ไซโทพลาสซึมจะทําใหสารอาหารตางๆ
                                                               ถูกลําเลียงไปทั่วเซลล สวนกากอาหารที่
           ภาพ 2 การนําอาหารเขาสูเซลลของอะมีบา              เหลือขนาดเล็กจะถูกขับออกทางเยื่อหุม
                                                               เซลลโดยการแพร	
  

                                          พารามีเซียม พารามีเซียมเปนโพรโทซัวที่เคลื่อนที่ดวยซิเลีย (cilia)
                                          อาหารของพารามีเซียมก็คลายกับของอะมีบาพารามีเซียมจะรับ
                                          อาหารจากสิ่งแวดลอมเขาสูเซลลทางรองปาก (Oral groove)
                                          โดยซีเลียที่อยูบริเวณ รองปากชวยโบกพัดอาหารเขาไปจนถึงปาก
                                     	
  
                                          (Mouth)ที่อยูปลายสุดของชองนี้ อาหารนั้นจะถูกนําเขาเซลลอยูใน
                                          ฟูดแวคิวโอลขณะที่ฟูดแวคิวโอลเคลื่อนที่ไปจะมีการยอยอาหารเกิด
                                          ขึ้นโดยเอนไซมจากไลโซโซมทําใหฟูดแวคิวโอลมีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ
                                          สารอาหารที่ไดจากการยอยก็จะกระจาย และแพรไปไดทั่วทุกสวน
                                          ของเซลลสวนที่เหลือจากการยอยก็จะถูกขับออกจากเซลลในรูปของ
                                          กากอาหารตอไป	
  
                                                                                         16


                   การยอยอาหารของโพรโทซัว

            	
  
                                                                    ยูกลีนา ยูกลีนาไดอาหารโดย
                                                                    วิธีการสังเคราะหดวยแสงเนื่องจาก
                                                                    มี โครมาโทฟอร (Chromato-
                                                                    phore)ซึ่งเปนรงควัตถุจึงสามารถ
                                                                    สังเคราะหดวยแสงไดนอกจากนี้ยัง
                                                                    ดํารงชีพดวยการยอยสารอาหารที่
                                                                      	
  
                                                                    อยูรอบๆตัวแลวสงเขารองปาก คือ
            1. การดูดเอาอินทรียสารผานเยื่อหุมเซลลเขาสูภายในเซลลโดยตรง
                                                                              	
  
            2. ใชชองบริเวณรอบ ๆ โคนแฟลคเจลลัม(Gullet )ซึ่งที่ปลายบนสุดของชองนี้จะมีปาก(Mouth)
            เปดอยู อาหารที่ลอยอยูในน้ําจะผานเขาสูชองนี้ แลวเขาสูภายในเซลล



                   การยอยของจุลินทรียบางชนิด แบคทีเรียและเห็ดรา

           พวกแบคทีเรีย เห็ดราและจุลินทรียบางชนิดจะมีการดารงชีวิตเปนผูยอยสลายสารอินทรีย
   ในระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตเหลานี้สวนใหญจะมีการยอยอาหารโดยปลอยเอนไซมออกมานอกเซลล
   เพื่อยอยสารอินทรียจนเปนสารอาหารโมเลกุลเล็ก (extracellular digestion) แลวจึงดูดซึมเขาสูเซลล

   	
  

(อางอิงเนื้อหาจาก : http://www.pw.ac.th/main/website/sci/1_data.htm)
                                                                                                 17

       2. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสัตวบางชนิด (2 ชั่วโมง)




                                                                                             	
  


จุดประสงคการเรียนรู
       1. อธิบายกระบวนการยอยอาหารของสัตวบางชนิด

เมื่อเรียนแลวนักเรียนสามารถ
          1. อธิบายและยกตัวอยางของการยอยอาหารในแตละ วิธี
          2. วิเคราะหโครงสรางและอวัยวะที่สําคัญของ ระบบการยอยอาหารในสัตวแตละชนิดได

ผลงาน/ชิ้นงาน 1. Wallpaper โครงสรางการยอยอาหารของวัว 2. ใบกิจกรรมที่ 2


                                     กระบวนการจัดการเรียนรู

      ขั้นตอน                                             กิจกรรม
1. ขั้นตรวจสอบ        1. นําบัตรภาพสัตวชนิดตางๆแจกใหนักเรียน ใหนักเรียนระบุชื่อสัตวชนิดนั้น
ความรูเติม           2. ตั้งคําถามวา “สัตวมีกระบวนการยอยอาหารอยางไรบาง”
                          “โครงสราง อวัยวะ มีความสัมพันธกับการกินอาหารของสัตวอยางไร”
                      3. นักเรียนจะออกแบบการทดลองอยางไร
2. ขั้นเรา           1. ครูชี้แจงจุดประสงคการเรียนรู
ความสนใจและ           2. นักเรียนศึกษาวิธีการผาตัดไสเดือนและปลา
สํารวจคนหา           3. แบงกลุมนักเรียนนั่งโตะละ 4-5 คน
                      4. แจกตัวอยาง ปลานิลและปลาดุก- ไสเดือน และอุปกรณซึ่งประกอบไปดวย
                             - เครื่องมือผาตัด ถาดผาตัด
                             - ไมบรรทัด
                             - ถุงมือยาง
                             - เข็มหมุด
                             - น้ํากลั่น
                      5. นักเรียนดําเนินการทดลองและบันทึกผลการทดลอง
                                                                                          18

      ขั้นตอน                                        กิจกรรม
3. ขั้นอธิบาย    1. นักเรียนแตละกลุมสรุปการเรียนรูและนําไปติดหนาหองเรียน
และลงขอสรุป     2. แตละกลุมสลับกันศึกษาผลการศึกษาของเพื่อนแตละกลุมจดประเด็นขอสรุป
                 และขอคนพบที่เหมือนและแตกตางกัน
                 3. สงตัวแทนแตละกลุมเสนอสะทอนความคิดเห็นจากการเรียนรูในกลุมและ
                 การศึกษาของกลุมอื่นๆ
                 4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม
4. ขั้นขยาย      1. นักเรียนแตละกลุมศึกษาระบบการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
ความรู          2. ครูจัดกิจกรรมเกมสการแขงขัน ดังนี้
                     - ติดภาพ ฟองน้ํา ไฮดรา พลานาเรีย ไสเดือน แมลง และวัว (ขนาดใหญเทา
                 A4 เปนอยางต่ํา)
                     - แจกบัตรคําเพื่อ label อวัยวะตางๆของสิ่งมีชีวิตที่กําหนดให
                     - กติกาคือ ที่ภาพของสัตวที่มีหมายเลขตางๆที่อวัยวะ เมื่อครูยกหมายเลข
                 ขึ้นมา แตละกลุมตองสงตัวแทนออกมาติดปายคําใหถูกตอง กลุมที่ถูกตอง
                 และเร็วที่สุดได 1 คะแนน
                 3. นักเรียนทุกคนเขียนสะทอนคิด (journal writing) เกี่ยวกับการเรียนรู
5. ขั้นประเมินผล 1. ครูประเมิน
                 - ความเขาใจ (K) ของผูเรียนจากใบกิจกกรรม/แบบฝกหัด /แบบทดสอบ
                           เกณฑผานคือ นักเรียนมีผลคะแนนในระดับ ดี (80%)
                 - กระบวนการทํางาน (P) จากการทํางานกลุม
                            เกณฑผาน คือ สงงานภายในเวลาที่กําหนด
                 - เจตคติ (A) จากการประเมินการเขียนสะทอนคิดของผูเรียน
                              มี key word ที่แสดงถึงสิ่งที่ไดเรียนรู สิ่งที่อยากเรียนรูตอไป
                 สิ่งที่ตนเองคิดเกี่ยวกับการเรียน
                                                                                                               19

หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล                               ชื่อ................................................
แผนการเรียนรูที่ 1 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว                                 นามสกุล.......................................
                                                                                           เลขที่............................................
                                                                                           .
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องการยอยอาหารของสัตวบางชนิด                                           ชั้น...............................................
                                                                                              คะแนนที่ได………………………….
                                                                                              .

คําชี้แจง :   1.ใหพิจารณาลักษณะและโครงสรางของปลานิล
              2.ผาตัดปลาโดยศึกษาสวนตางๆ ของอวัยวะภายในและภายนอกปลา
              3.ศึกษาโครงสรางของปลาพรอมกับชี้สวนประกอบศึกษาระบบทางเดินอาหาร โดยปฏิบัติตามขั้นตอน
              ดังตอไปนี้
              	
  	
  	
  	
  	
  1.1 ใหเอากรรไกรสอดเขาชองเปดเหนือครีบกน และตัดตามแนวลําตัวมาที่ครีบเอว (โดยถาเปน
              ปลามีเกล็ด อาจจะทําการขอดเกล็ดบริเวณทองออกเสียกอน เพื่อทําใหงายตอการใชกรรไกรตัดเนื้อ
              เพื่อเปดชองทอง)
                                  1.2 จากนั้นคอยๆ ตัดเนื้อเยื่อบริเวณทองออกเพื่อทําใหดูอวัยวะภายในไดชัดเจนขึ้นและเมื่อตัดเนื้อ
              บริเวณทองทิ้งไป ก็จะเห็นอวัยวะภายใน เชน กระเพาะ ไขมันสะสมในตัวปลา และตับปลา
              (ในปลาสวนใหญเนื้อเยื่อตับและตับออนจะอยูรวมกันเปนอวัยวะเดียว เรียกวา hepatopancreas
              ไมไดแยกออกจากกันเปน 2 อวัยวะเหมือนในสัตวเลี้ยงลูกดวยนม)
                                  1.3 ตัดเนื้อปลาสวนทองไลขึ้นไปทางปาก เพื่อดูทางเดินอาหารสวนตนและจะเห็นเยื่อกั้น
              แบงอวัยวะภายในชองอกและชองทองของปลา
                                  1.4 เมื่อเอาเนื้อดานทองของปลาออกจะเห็นวาหัวใจอยูใกลกับเหงือกและอยูภายในชองอกโดยมี
              แผนปดเหงือกซึ่งเปนโครงสรางแข็งชวยในการปองกันอันตรายและปองกันแรงกระแทกจากสิ่งตางๆ
                                  1.5 ใหนักเรียนสังเกต ดูบริเวณที่ทอทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ และระบบขับถายของเสีย
              จากไต มาเปดออกนอกรางกายปลา ทอเหลานี้เปดออกรวมกันหรือไม (ใหนิยามของคําวา Cloaca –
              เปนชองที่มีทอทางเดินอาหาร ทอจากระบบสืบพันธุและทอจากระบบขับถายของเสียจากไต
              มาเปดรวมกัน พบไดในปลา สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา สัตวเลื้อยคลาน นกและในสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
              แบบโบราณ)
                                   1.6 ใหนักเรียนสังเกต ถุงลม และไตซึ่งอยูติดกับกระดูกสันหลัง และอวัยวะในระบบสืบพันธุ
                                   1.7 วัดความยาวของทางเดินอาหารของปลาเปรียบเทียบกับความยาวของลําตัว บันทึกผล

              4. วิธีการผาไสเดือน
                       1. ปกเข็มหมุดที่ปลายดานใดดานหนึ่งของไสเดือน
                       2. ใชกรรไกรผาตัดคอยๆตัดดานปลายแลวกรีดขึ้นมาดานบน อยางเบามือ
                       3. ศึกษาอวัยวะภายในของไสเดือน
                       4. ปกเข็มหมุดเพื่อศึกษาไสเดือนไดสะดวกตามภาพ

              หมายเหตุ : ครูตองแจกภาพกายวิภาคของปลาและไสเดือนใหนักเรียนทุกกลุม
                                                           20

                                 บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 1
1. วาดภาพทางเดินอาหารของปลาที่สังเกตได พรอมระบุสวนประกอบ

ปลานิล




ปลาดุก




ไสเดือน
                                                                                          21

สรุปผลการทดลอง




ตอนที่ 2 : คําชี้แจง ใหจับคูชื่อสิ่งมีชีวิตซายมือ กับกระบวนการยอยอาหารขวามือใหถูกตอง
	
  
1.	
     Amoeba	
            ______	
     A. มีจุลินทรียและแบคทีเรียชวยยอยเซลลูโลส
                                             ใช Cilia พัดอาหารเขาสู oral grove
2.	
     Paramecium	
        ______	
     B.
                                             แลวเกิดเปน Food vacuole
                                             มีทางเดินอหารสมบูรณ ใช Gizzard
3.	
     Sponge	
            ______	
     C.
                                             บดเคี้ยวอาหาร
                                             ไมมีระบบทางเดินอาหาร ใช sucker
4.	
     Hydra	
             ______	
     D.
                                             ดูดอาหารจาก host
                                             มีอวัยวะคลายฟนในการยอยอาหาร
5.	
     Flat	
  worm	
      ______	
     E.
                                             ทางเดินอาหารสมบูรณ
                                             ใช Pseudopodium โอบลอมอาหารเปนถุง
6	
      Tapeworm	
          ______	
     F.
                                             เรียก Food vacuole
7.	
     Earth	
  Worm	
     ______	
     G. Choanocyte และ amoebocyte
8.	
     Arthropod	
         ______	
     H. ทางเดินอาหารสมบูรณ มี radula คลายฟน
                                             Pharynx เขาสูทางเดินอาหารที่
9.	
     Mollusk	
           ______	
     I.
                                             แตกแขนงไปทั่วรางกาย
10.	
   Cow	
                ______	
     J. Gastrovascular cavity และ gland cell
                                                                                                                                           22

                                   เกณฑการวัดและประเมินผล

ตอนที่ 1
                                       แบบประเมินแบบประเมินพฤติกรรมทําปฎิบัติการ

                                                  รายการประเมิน                                                                              สรุป




                                                                                                         รวมจํานวนรายการที่ผาน




                                                                                                                                              ผาน
                                                                                                                                                     ไมผาน
                                                                 การวิเคราะหขอมูลกา
                                            สังเกต ศึกษา ทดลอง




                                                                                                                                  รวมคะแนน
                         จัดเตรียมอุปกรณ




                                                                                        การสรุปความรู
                                            รวบรวมขอมูล
เลขที-ชื่อ
     ่




                                                                                                         เกณฑ ขั้นต่ํา
                                                                 รสรุปความรู
                         เครื่องมือ


1
2.
3.
4.
5.
6.
7.

                                    เกณฑการประเมินปฎิบัติการ
องคประกอบที่ 1 จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือ
       4 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไดครบถวนเหมาะสมกับงานดีมาก
       3 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไดครบถวนเหมาะสมกับงานดี
       2 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไดเหมาะสมกับงานพอใช
       1 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไมได
ตองไดรับคําแนะนําจึงจะทําไดสําเร็จ

องคประกอบที่ 2 การสังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูล
      4 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลอยางถูกตองครบถวนตามแผนที่
                 วางไวบันทึกขอมูลอยางตอเนื่องและแกปญหาการทํางานไดดวยตนเอง
      3 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลอยางถูกตองครบถวนตามแผน
                 ที่วางไวบันทึกขอมูลอยางตอเนื่อง และแกปญหาการทํางานได
                 ดวยตนเองเปนสวนใหญตองไดรับคําแนะนําเพียงเล็กนอย
       2 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลอยางถูกตองครบถวนตามแผนที่
                    วางไวบันทึกขอมูลอยางตอเนื่อง และแกปญหาเปนบางสวนตองได
                    รับคําแนะนําเพียงบางสวน
       1 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลไดและแกปญหาดวยตนเองไมได
                    ตองไดรับคําแนะนําตลอดเวลา
                                                                                 23

องคประกอบที่ 3 การวิเคราะหขอมูล
       4 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ
                   วิเคราะหเหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดอยางชัดเจนเหมาะสมกับสิ่งที่ศึกษา
                   และจุดประสงคของการศึกษาดีมาก
       3 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ
                   วิเคราะห เหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดเหมาะสมกับสิ่งที่ศึกษา
                   และจุดประสงคของการศึกษาดีมาก
       2 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ
                   วิเคราะหเหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดเปนบางสวน และตองไดรับคํา
                  ชี้แนะในบางสวน
       1 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ
                   วิเคราะหเหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดนอยมาก และตองไดรับคํา
                   ชี้แนะคอนขางมาก

องคประกอบที่ 4 การสรุปความรู
       4 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไดชัดเจนดีมาก ครบถวนตรงตามจุดประสงค
       3 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไดชัดเจนดี คอนขางจะครบถวนตรงตามจุดประสงค
       2 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไมไดทั้งหมด ตองไดรับคําแนะนําเปนบางสวน
       1 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไมไดทั้งหมด ตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ

เกณฑการตัดสินผลการเรียน
          ผูเรียนตองมีพฤติกรรมในแตละองคประกอบอยางนอยระดับ 2 ขึ้นไป จํานวน 3
 ใน 4 รายการ


ตอนที่ 2
        เฉลย

1. F             2. B              3. G              4. J             5. I
6. D             7. C              8. E              9. H             10. A
                                                                              24


หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล
แผนการเรียนรูที่ 2 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิด

ใบความรูที่ 2 การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิด


                                ระบบยอยอาหารของสิ่งมีชีวิต
                           สิ่งมีชีวิต                               ระบบทางเดินอาหาร
Porifera : ฟองน้ํา                                             การยอยอาหารเกิดในเซลล
                                                               amoebocyte มีเซลล
                                                               choanocyte โบกพัดจับอาหาร




Cnidaria :ไฮดรา                                                เกิดการยอยทั้งภายใน
                                                               และภายนอกเซลล
                                                               1. Extracellular digestion
                                                               โดยตอม gland cell
                                                               ปลอยเอนไซมออกมาจากชอง
                                                               Gastrovacular
                                                               2. Intracellular digestion
                                                               ใชแฟลเจลลาจับอาหารเขามา
                                                               ยอยในเซลล
                                                       25

                          สิ่งมีชีวิต   ระบบทางเดินอาหาร
Platyhelminthes : พลานาเรีย             - เกิดการยอยทั้งภายใน
                                        และภายนอกเซลล
                                        - ทางเดินอาหารไมสมบูรณ
                                        - พยาธิใบไมตับไมมีระบบ
                                        ทางเดินอาหาร




Nematoda : พยาธิปากขอและตัวตืด          ทางเดินอาหารสมบูรณ
                                        สมบูรณ ปาก-> คอหอย ->
                                        หลอดอาหาร -> ลําไส-> ทวาร




Annelida : ไสเดือนดิน                  สมบูรณ ปาก-> คอหอย ->
                                        กระเพาะอาหาร(crop)->
                                        บดที่กึ๋น(gizzard) ลําไส->
                                        ทวารการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ
                                        ทางเดินอาหารแบบ Peristalsis
                                        ขับถาย = nephridia

                                        สวนปลิง จะมีhirudin
                                        ที่ปลอยออกมาจากตอมน้ําลาย
                                        ทําใหเลือดไมแข็งตัว
                                                26

                  สิ่งมีชีวิต   ระบบทางเดินอาหาร
Arthopod : แมลง                 - ทางเดินอาหารสมบูรณ
                                - พัฒนาโครงสรางระยางคของปาก
                                - พัมนาตอมน้ําลาย (salivary
                                gland)
                                - ปาก(มีตอมน้ําลาย)> คอหอย >
                                หลอดอาหาร > กระเพาะพักอาหาร
                                (crop) > กึ๋นหรือโพรเวนตริคูลัส
                                มีถุง 8 ถุงเรียกวาฮพาติกซีกัม
                                (ตอกับทางเดินอาหารสวนกลาง)
                                ทําหนาที่สรางน้ํายอย >
                                กระเพาะอาหาร> ลําไสเล็ก >
                                ลําไสใหญ > ไสตรง > ทวารหนัก
Chordata : วัว                  วัว ควาย จะมีกระเพาะ 4
                                สวนเพื่อเหมาะกับการยอยเซลลูโลส
                                1. rumen กระเพาะผาขี้ริ้ว
                                - มีแบคทีเรียและโปรโตซัวที่สามารถ
                                สรางเอนไซม cellulase
                                ยอยเซลลูโลส
                                - ยูเรียและแอมโมเนียที่ไดจาก
                                การหมักจะถูกสังเคราะหเปน
                                กรดอะมิโน

                                2. Reticulum กระเพาะรังผึ้ง
                                ยอยยเซลลูโลสและทําหนาที่บดและ
                                ผสมอาหาร (การยอยเชิงกล)

                                3. Omarum กระเพาะสามสิบกลีบ
                                ทําหนาที่บดและ
                                ผสมอาหาร (การยอยเชิงกล)

                                4. Abomasum กระเพาะจริง
                                หลั่งเอนไซมออกมายอยอาหาร
                                                                                           27

3. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องระบบการยอยอาหารของคน (4 ชั่วโมง)




                                                                                       	
  


จุดประสงคการเรียนรู
       1. อธิบายระบบการยอยอาหารของคน

เมื่อเรียนแลวนักเรียนสามารถ
         1. อธิบายการยอยเชิงกลและทางเคมี แหลงที่เกิด
         2. อธิบายกระบวนการยอยอาหารในแตละลําดับทางเดินอาหาร
         3. ระบุเอนไซมที่ยอยสารอาหารแตละชนิด สารที่เกี่ยวของกับการยอย แหลงผลิต
และบริเวณที่ยอย สภาวะที่เหมาะสมตอการทํางาน

ผลงาน/ชิ้นงาน 1. เสื้อกันเปอนระบบทางเดินอาหาร 2. ใบกิจกรรม

                                      กระบวนการจัดการเรียนรู
      ขั้นตอน                                           กิจกรรม
1. ขั้นตรวจสอบ      1. ครูตั้งคําถาม “ระบบทางเดินอาหารของคนเปนอยางไร” และใชกิจกรรม
ความรูเติม         วาดภาพ 5 วินาที ดังนี้
                       - นักเรียงนั่งกลุมละ 4-5 คน รับกระดาษและปากกาสี
                       - จากคําถามดังกลาวคนที่ 1 เริ่มลงมือวาด เมื่อครบ 5 นาที สงตอใหคนที่ 2
                    ไปจนถึงคนสุดทาย ทุกคนจะมีเวลา 5 วินาที
                       - แตละกลุมสรุปภาพวาด (ครูประเมินความรูเดิมของผูเรียน)
2. ขั้นเรา         1. ครูชี้แจงจุดประสงคการเรียนรู
ความสนใจและ         2. นักเรียนศึกษาใบความรูและปฏิบัติกิจกรรม
สํารวจคนหา         3. วาดภาพระบบทางเดินอาหารของคนลงบนเสื้อกันเปอน/กระดาษที่เตรียมไว
                    4. บันทึกผลการทํากิจกรรม
                    5. ตอบคําถามใบกิจกรรมใหสมบูรณ
                                                                                               28

      ขั้นตอน                                              กิจกรรม
3. ขั้นอธิบาย        1. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานเสื้อกันเปอนระบบยอยอาหารพรอม
และลงขอสรุป         ทั้งอธิบายกระบวนการยอยอาหารของแตละสวน
                     2. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม
4. ขั้นขยาย          1. นักเรียนทำ Concept Mapping
ความรู              2. นักเรียนวิเคราะหขาวเกี่ยวกับเรื่องระบบทางเดินอาหาร เชน โรคทางอาหาร

5. ขั้นประเมินผล 1. ครูประเมิน
                 - ความเขาใจ (K) ของผูเรียนจากใบกิจกกรรม/แบบฝกหัด /แบบทดสอบ
                           เกณฑผานคือ นักเรียนมีผลคะแนนในระดับ ดี (80%)
                 - กระบวนการทํางาน (P) จากการทํางานกลุม
                            เกณฑผาน คือ สงงานภายในเวลาที่กําหนด
                 - เจตคติ (A) จากการประเมินการเขียนสะทอนคิดของผูเรียน
                              มี key word ที่แสดงถึงสิ่งที่ไดเรียนรู สิ่งที่อยากเรียนรูตอไป
                 สิ่งที่ตนเองคิดเกี่ยวกับการเรียน
                                                                                                29

หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล                ชื่อ................................................
แผนการเรียนรูที่ 3 : ระบบการยอยอาหารของคน                                 นามสกุล.......................................
                                                                            เลขที่............................................
                                                                            .
ใบกิจกรรมและใบความรูที่ 3 เรื่องระบบการยอยอาหารของคน                      ชั้น...............................................
                                                                               คะแนนที่ได………………………….
                                                                               .

คําชี้แจงตอนที่ 1 :   ใหนักเรียนอานประโยคดานลางและเลือกตัวเลือกในแตละขอมาเติมใหถูกตอง

     ระบบการยอยอาหารของคนเปนกระบวนการของอวัยวะที่แตกตัวอาหารใหกลายเปน………(1)…….
     เพื่อนําไปสรางพลังงานไปใชในรางกาย โดยสวนมากใช………(2)……. เรงการยอยอาหาร
     คารโบไฮเดรตจะถูกเปลี่ยนเปน………(3)…….ไขมันจะถูกยอยเปน ………(4)…….และโปรตีน
     จะเปน………(5)…….และกรดอะมิโน

     การยอยเริ่มตนที่ปากทําใหอาหารขนาดใหญจะมีขนาดเล็กลงและน้ําลายจะยอย………(6)……..
     บางชนิด ในขณะที่กระเพาะอาหาร………(7)…….กรดไฮโดรคลอริกจะเริ่มยอยโปรตีน ไขมันและแปง
     จะเคลื่อนไปสู………(8)…….เปนอวัยวะที่มีการยอยมากที่สุด น้ํายอยจะถูกหลั่งจาก………(9)…….
     และ………(10)…….ตับจะยอยแตกตัวไขมัน เอนไซมที่ถูกปลอยมาจากตอมของผนังลําไสเล็กที่
     จะทําการยอย………(11)…….ตอไป หลอดเลือดฝอย(capillaries) และตอมน้ําเหลืองใน
     ………(12)…….จะดูดซึมอาหารที่ถูกตองและนําไปยังสวนตางๆของรางกาย

     (1)    ก. เซลล             ข. อะตอม              ค. เอนไซม            ง. โมเลกุล
     (2)    ก. กรด               ข.เอนไซม             ค. น้ําดี             ง. น้ําเหลือง
     (3)    ก. กรดอะมิโน         ข. แปง               ค. น้ําตาล            ง. กรดไขมัน
     (4)    ก. แปงและ           ข. แปงและน้ําตาล     ค. กรดไขมันและ        ง. เปปไทดและ
            กลีเซอรอล            โมเลกุลเดี่ยว         กลีเซอรอล             กรดไขมัน
     (5)    ก. เปปไทด           ข. แปง               ค. แกสตริก            ง. กลีเซอรอล
     (6)    ก. น้ําตาล           ข. แปง               ค. โปรตีน             ง. คารโบไฮเดรต
     (7)    ก. กรดไขมัน          ข. แกสตริก            ค. น้ํายอยจาก        ง. ฮอรโมนจาก
                                                       ตับออน               ตับ
     (8)  ก. ตอมน้ําเหลือง      ข. หลอดเลือด          ค. ลําไสเล็ก         ง. ตับ
     (9)  ก. กระเพาะอาหาร        ข. ลําไสใหญ         ค.ตอมน้ําดี          ง. ตับออน
     (10) ก. น้ําดี              ข. เมือก              ค. แกสตริก            ง. กรด HCL
     (11) ก. ไขมันและ            ข. แปงและโปรตีน      ค. แปงและวิตามิน     ง. โปรตีนและน้ําดี
          วิตามิน
     (12) ก. ตับ                 ข. ตับออน            ค. วิลไล              ง. ตอมน้ําดี
                                                                                          30

       คําชี้แจงตอนที่ 2 :    จงเรียงจับคูภาพและเหตุการณ จากนั้นเรียงลําดับการกลืนอาหาร

จงเรียงจับคูภาพและเหตุการณ จากนั้นเรียงลําดับการกลืนอาหาร




                           (A)                                 (B)             (C)
1. เพดานออน (soft palate) ยกขึ้น เพื่อปดรูจมูกดานใน
2. การหายใจปกติ
3. กลามเนื้อลิ้นบังคับใหอาหารผานเขาไปในหลอดอาหาร และลิ้นจะหดถอยไปดานในของปาก
4. กลามเนื้อที่ผนังคอหอยบีบตัวดันอาหารลงสูหลอดอาหาร
5. ฝาปดกลองเสียง (epiglottis) และหลอดลมปดทับกันสนิท

คําชี้แจงตอนที่ 3 :          ศึกษาจากภาพ อานใบความรูและเติมคําในชองวางใหถูกตอง


                                กระบวนการยอยอาหารของมนุษย
1. ฟน
                                                    1. ฟนน้ํานมมี …………………………..……ซี่
                                                    2. ฟนแทมี …………………………..……ซี่
                                                    ชนิดออกฟนแบงออกเปน
                                                    3. ฟนตัด (Incisor) มี ………………ซี่
                                                    4. ฟนเขี้ยว (canine) มี ………………ซี่
                                                    5. ฟนกรามหนา (Premolar) มี ………………ซี่
                                                    6. ฟนกรามหลังมี (Molar) มี ………………ซี่
                                                    7. เขียนสูตรได …………………………..……
                                                    8. ความแตกตางของฟนน้ํานมกับฟนแทคือ
                                                    …………………………..………………………………..……
                                                                                                                  31


2. ตอมน้ําลาย (salivary gland)
                                                                  9. คูที่ 1 ตอมพาโรทิด อยูบริเวณ………………..
                                                                  10. สรางน้ําลายชนิดใสอยางเดียว ถาอักเสบ
                                                                  จะปน…………………
                                                                  คูที่ 2 ตอมใตขากรรไกร (submaxillary gland) และคูที่ 3
                                                                  ตอมใตลิ้น (sublingual gland) สรางทั้งเหนียวและใส


(ภาพจากhttp://trialx.com/g/Cancer_Of_The_Salivary_Gland-1.jpg )



3. กระเพาะอาหาร




       - กระเพาะอาหารมีกลามเนื้อหูรูด 2 ที่คือ
       11. Cardiac sphincter มีหนาที่ …………………………..……………………………….
       12. Pyloric sphincter มีหนาที่ …………………………..……………………………….
       - เซลลภายในกระเพาะอาหาร
       Gastric gland ประกอบดวย
       13 ………………………… ทําหนาที่ สรางน้ําเเมือก ปองกันอันตรายจาก HCL และน้ํายอย
       14. …………………… สราง pepsinogen, prorenin
       15 …………………… สราง HCL ชวยทําให pepsinogen(inactive) กลายเปน pepsin(active) และชวยให
       Prorenin กลายเปน renin ยอยโปรตีนในน้ํานม



       Gastrin เปนฮอรโมนที่สรางมาจากกระเพาะอาหารทําหนาที่กระตุน Pariental cell ใหหลั่ง HCL วาแต
       นักวิทยาศาสตรรูไดอยางไรวา Gastrin เปนฮอรโมน 16.…………………………..……………………………….
                                                                                                        32



4. ลําไสเล็ก




                                     (ภาพจาก http://www.britannica.com )

       ลําไสเล็กประกอบดวย                                                Enteropeptidase จากลําไสเล็ก
       17. Duodenum มีตอมสรางน้ํายอยและมีน้ํายอย      Trypsinogen (inactive)                      Trypsin
       ไหลมาจากตับออนและน้ําดีจึงทําใหมี
       ………………………………………………..……………………….                                                Trypsin
       18. Jejunum มี villi มากที่สุด                     Procarboxypeptidase                      carboxypeptidase
       ……………………………..
       และ Ileum มีขนาดยาวที่สุด ตอกับลําไสใหญ                                    Trypsin
                                                          Chymotrypsinogen                        Chymotrypsin


5. กระบวนการยอยอาหารของคน
                                                                                       33



   อวัยวะที่                  การหลั่งสาร                             ผลิตภัณฑ
  ยอยอาหาร                   (secretion)
ปาก               - น้ําลาย (saliva)                   -คารโบไฮเดรตโมเลกุลใหญกลายเปน
                  - Amylase                            โมเลกุลเล็กลง
                  - mucus                              - น้ําตาลโมเลกุลคู
                  - Enzyme lysosome
คอหอยและ          - เมือก                              -
หลอดอาหาร


กระเพาะอาหาร น้ํายอยในกระเพาะ (Gastric
             Juice)
             > กรด HCl จาก parietal cell               < สรางสภาวะกรด ให pepsin ทํางานไดดี

                  > เอนไซม pepsin สรางจาก            < Protien ขนาดใหญมี
                  chief cell                           ขนาดเล็กลง Small polypeptides


                  > เรนนิน                             < สําหรับยอยโปรตีนในน้ํานม


                  > เมือก สรางจาก mucus cell
                  สําหรับเคลือบกระเพาะ

                                                       < การดูดซึมแอลกอฮอล วิตามิน



ตับออน           Pencreatic enzymes                                       -
                  -Trypsinogen
                  - Chymotrypsinogen,
                  - Procarboxypeptidase
                  - Amylase และ lipase
                  - NaHCo3 ทําใหลําไสเล็กเปนเบส
                  - Nucleotidases
ตับและถุงน้ําดี   ตับสรางน้ําดี เก็บไวที่ถุงน้ําดี                       -
                                                                      34

    อวัยวะที่            การหลั่งสาร                       ผลิตภัณฑ
   ยอยอาหาร             (secretion)
ลําไสเล็ก      -เมือก                               Protien digestion
                - Disaccharidase,                      polypeptides
                Dipeptidases,
                Aminopeptidase,         Pancreatic trypsin and
                Aminopeptidase,         chymotrypsin
                Nucleotidases
                                                   Small polypeptides
                                        Pancreatic trypsin and
                                        chymotrypsin

                                                  Smaller polypeptides
                                        Pancreatic carboxypeptidase



                                       Amino Acid

                                        Intestine Dipeptidase,
                                        Aminopeptidase




                                                         Amino Acid

                                                   DNA, RNA digestion

                                              Pancreatic nucleases

                                                      Nucleotidases


                                                   Nucleotides

                                                   Nucleotidases and
                                                     phosphatase



                                        Nitrogenous base, sugar, phosphates
                                                                                                35

        อวัยวะที่                 การหลั่งสาร                                 ผลิตภัณฑ
       ยอยอาหาร                  (secretion)
                                                           Fat digestion
                                                                      Fat (Triglycerides)

                                                                        Bile salts



                                                                    Pancreatic lipase




                                                                      Glycerol, fatty acid,
                                                                        monoglycerides


ลําไสใหญ              - เมือก                            - ดูดน้ํา วิตามิน เกลือแรกลับ - สรางวิตามิน
                        - เคลื่อนไหวแบบ peristalsis        K, B12 กรดโฟลิก




ตอนที่ 4            เลือกคําตอบและเติมคําใหถูกตอง


1. วงกลมรอบลอมขอความที่เปนจริงเกี่ยวกับ            2. วงกลมรอบลอมขอความที่เปนจริงเกี่ยวกับ
กระเพาะอาหาร                                          ตับออน
ก. สราง trypsin                                      ก. สราง lactase
ข. สรางกรด HCL                                       ข. สราง amylase
ค. สราง amylase                                      ค. สรางโซเดียมไบคารบอเนต
ง. ชวยในกระบวนการยอยเชิงกล                          ง. เปนเอนไซมที่ชวยในกายอยของไขมัน
                                                      และกรดนิวคลีอิก
                                                                                  36

ใชขอมูลจากตารางในการตอบคําถามขอ 3-7

                              เอนไซมในกระบวนการยอยอาหาร
   เอนไซม        ตําแหนงการทํางาน            แหลงผลิต          ชนิดของสารอาหารที่ยอย
Amylase           ปาก                ตอมน้ําลาย                  คารโบไฮเดรต
Pepsin            กระเพาะอาหาร       เยื่อกระเพาะอาหาร            โปรตีน
Lipase            ลําไสเล็ก         ตับออน                      ไขมัน
Amylase           ลําไสเล็ก         ตับออน                      คารโบไฮเดรต
Trypsin           ลําไสเล็ก         ตับออน                      โปรตีน
Lactase           ลําไสเล็ก         เยื่อกระเพาะอาหาร            คารโบไฮเดรต
Maltase           ลําไสเล็ก         เยื่อกระเพาะอาหาร            คารโบไฮเดรต
Sucrase           ลําไสเล็ก         เยื่อกระเพาะอาหาร            คารโบไฮเดรต
Peptidase         ลําไสเล็ก         เยื่อกระเพาะอาหาร            โปรตีน

3. บริเวณที่มีเอนไซมมีการยอยมากที่สุดคือ…………………………………………………………………………………
4. อวัยวะใดที่มีสรางน้ํายอยมากที่สุด………………………………………………………………………………………….
5. เอนไซมที่ใชในการยอยสามารถทํางานไดมากกวา 1 ตําแหนง……………………………………………………
6. สารอาหารชนิดใดที่ถูกยอยดวยเอนไซมจํานวนมากที่สุด…………………………………………………………..
7. เอนไซมที่สรางมาจากแหลงผลิตเดียวกันจะยอยสารอาหารชนิดเดียวกันหรือไม…………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………


       ตอนที่ 5   จงพิจารณาคําถามและเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด


1. น้ําลายยอยอาหารอยางไร                   2. ลําไสเล็กตอนตนเรียกวา
ก. ยอยแปง                                  ก. วิลัส
ข. ยอยโปรตีน                                ข.โคลอน
ข. ใชน้ําดียอยน้ําตาล                      ค.ไอเลียม
ง. ใชเปปไทดยอยไขมัน                       ง.ดูโอดีนัม
3. ปริมาณที่กระเพาะสามารถบรรจุไดคือ         4. บริเวณผนังกระเพาะอาหารเชื่อมตอกับ
ก. 1 ลิตร                                    ขอใด
ข. 1.5 ลิตร                                  ก. หลอดเลือดและทอน้ําดี
ค. 2 ลิตร                                    ข. ตอมน้ําเหลืองและวิลไล
ง. 4 ลิตร                                    ค. วิไลและเยื่อเมือก (mucus)
                                             ง. หลอดเลือดและตอมลําไสเล็ก
                                                                                  37

5. เอนไซมในน้ํายอยแกสตริกยอยโปรตีน   6. อาหารชนิดใดที่มีการยอยครั้งแรกที่ลําไสเล็ก
ไดสารชนิดใด                            ก. แปง
ก. ไขมัน                                ข. ไขมัน
ข. อะไมเลส                              ค. โปรตีน
ค. กรดอะมิโน                            ง. น้ําตาล
ง. น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว
7. บริเวณดูโอดีนัมเกิดกระบวนการใด       8. ขอใดคือหนาที่ของน้ํายอยที่ลําไสเล็ก
ก. การดูดซึมวิตามินและเกลือแร          ก. เริ่มตนการยอยไขมัน
ข. ดูดซึมโมเลกุลของน้ําออกจากอาหาร      ข. ยอยวิตามินและเกลือแร
ค. ผสมอาหารเขากับน้ํายอย              ค. ดําเนินการยอยแปงและโปรตีน
จากตับออนและน้ําดี                     ง. เริ่มตนการยอยแปงและโปรตีน
ง. อาหารถูกบดจากกลามเนื้อและ
ผสมกับน้ํายอยจากลําไสเล็ก
9. เมื่อกลูโคสและกรดอะมิโนถูกดูดซึม     10. หลอดเลือดในลําไสใหญทําหนาที่ดูดซึม
ที่ลําไสเล็กจะถูกสงไปยังบริเวณใด      ก. แปง
ก. ตับ                                  ข. น้ําดี
ข. ตอมน้ําดี                           ค. โปรตีน
ค. ลําไสใหญ                           ง. เกลือแรและน้ํา
ง. ตอมน้ําเหลือง
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 

Was ist angesagt? (20)

การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
หู
หูหู
หู
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 

Ähnlich wie หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3

ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6rainacid
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารWilawon Jatinei
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Ähnlich wie หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3 (20)

ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 

Mehr von กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Mehr von กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 

หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3

  • 1.   8 ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล Leading Question: รางกายมีกระบวนการจัดการกับอาหารและนําสารอาหารไปใช ในรางกายอยางไร มาตรฐาน 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบ ตางๆของสิ่งมีชีวืตที่ทํางานสัมพันธกันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรูสื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู 1. เขาใจโครงสรางและหนาที่ของระบบยอยอาหารของสิ่งมีชีวิต 2. เขาใจหนาที่และกระบวนการของการยอยอาหาร 3. บูรณาการความรูบทบาทหนาที่ของระบบการยอยอาหารกับระบบรักษาดุลยภาพของรางกาย สาระการเรียนรู 1. การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 2. การยอยอาหารของสัตวบางชนิด 3. การยอยอาหารของคน 4. การสลายสารอาหารระดับเซลล กิจกรรมการเรียนรู 1. การสรางโมเดล 2. การทดลอง 3. การบรรยาย 4. การสืบคนขอมูล 5. การแกปญหา 6. การอภิปรายและเปลี่ยนความคิด เอกสารที่ใชในการจัดการเรียนรู 1. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา 2. ใบความรูในแตละแผนการจัดการเรียนรู
  • 2.   9 แผนการจัดการเรียนรู 1. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว (1 ชั่วโมง)   2. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสัตวบางชนิด (2 ชั่วโมง)   3. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องระบบการยอยอาหารของคน (4 ชั่วโมง)   4. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการสลายอาหารระดับเซลล (3 ชั่วโมง)  
  • 3.   10 1. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว (1 ชั่วโมง)   ผูสอน นางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายกระบวนการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย แบคทีเรียและเห็ดรา 2. วิเคราะหกระบวนการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เมื่อเรียนแลวนักเรียนสามารถ 1. ระบุชื่อโครงสรางและอวัยวะของระบบยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเซลล 2. อธิบายหนาที่และวิธีการทํางานของการยอยอาหารในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย แบคทีเรียและเห็ดรา 3. วิเคราะหความเหมือนและความแตกตางของวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ผลงาน/ชิ้นงาน 1. โมเดลสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 2. ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการจัดการเรียนรู 1. ขั้นตรวจสอบ 1.1 ครูติดกระดาษปรูฟ 3 แผน หนากระดาน แผนที่หนึ่งเขียนวา ความรูเติม “นี่คือเรื่องใหมสําหรับฉัน/ผม” แผนที่ 2 “มีความรูเรื่องนี้อยูบาง” แผนที่ 3 “เขาใจเรื่องนี้เปนอยางดี” 1.2 ครูขึ้น Powerpoint “ระบบการยอยอาหารและการสลายสารอาหาร ระดับเซลล”ตั้งคําถามกับนักเรียนวาเมื่อเห็นประโยคดังกลาวนักเรียนคิดวาตน เองจะเลือกอยูกลุมใดของกระดาษที่ติดไวหนากระดาน 1.3 นักเรียนเดินไปที่กระดาษแผนนั้น 1.4 ครูแจกปากกาใหกับนักเรียนชวยกันตอบคําถาม ใหเวลา 5 นาที โดยมีคําถามของแตละกลุมดังนี้ แผนที่ 1 : นักเรียนอยากรูอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้บาง นักเรียนคิดวาเรื่องที่เรียนรูในหัวขอนี้จะมีประโยชนอยางไร แผนที่ 2 : นักเรียนจํา/เขาใจอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องนี้ นักเรียนอยากทําความเขาใจเรื่องใดเพิ่มเติม แผนที่ 3 : นักเรียนสรุปเรื่องนี้ไดวาอยางไร นักเรียนจะใชวิธีการใดเพื่อใหเพื่อนเขาใจเหมือนนักเรียน
  • 4.   11 ขั้นตอน กิจกรรม 2. ขั้นเรา 1. ครูชี้แจงจุดประสงคการเรียนรู ความสนใจและ 2. ครูเปดภาพเคลื่อนไหวการกินอาหารของอะมีบา พารามีเซียมและยูกลีนา สํารวจคนหา ใหนักเรียนไดสังเกต 3. แบงกลุมนักเรียนนั่งโตะละ 4-5 คน 4. แจกอุปกรณซึ่งประกอบไปดวย ถุงพลาสติก(ขนาดสวมมือได) แปรงสีฟน ฟองน้ํา ขยะชิ้นเล็กๆ เศษผงและน้ํา 5. นักเรียนเปรียบเทียบวิธีการกินอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวกับอุปกรณที่ กําหนดให จากนั้นสรุปลงในใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง 6. ครูแจกขนมปงที่ขึ้นรา เห็ดที่เกาะขอนไม(สามารถใชไดทั้งภาพหรือของจริง) ใหนักเรียนศึกษา 7. นักเรียนรวมกันศึกษาวิธีการยอยอาหารของราและเห็ดจากใบความรูที่ครู เตรียมให หนังสือเรียน 3. ขั้นอธิบาย 1. นักเรียนแตละกลุมสรุปการเรียนรูและนําไปติดหนาหองเรียน และลงขอสรุป 2. แตละกลุมสลับกันศึกษาผลการศึกษาของเพื่อนแตละกลุมจดประเด็นขอสรุป และขอคนพบที่เหมือนและแตกตางกัน 3. สงตัวแทนแตละกลุมเสนอสะทอนความคิดเห็นจากการเรียนรูในกลุมและ การศึกษาของกลุมอื่นๆ 4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 4. ขั้นขยาย 1. นักเรียนแตละกลุมคนหาประเด็นความรูดังตอไปนี้ ความรู - การทดลองระบบการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว - สาเหตุที่ราทําใหอาหารเสียสภาพ จากนั้นสรุปความรูที่ไดนําเสนอ ในรูปแบบตางๆ เชน ภาพประกอบเรื่องเลา วีดีโอ นําไปโพสตที่ facebook ของกลุม พรอมกับตั้งคําถามใหผูอาน อยางนอย 2 คําถาม 2. นักเรียนทุกคนตองตอบคําถามของเพื่อนกลุมอื่นอยางนอยกลุมละ 1 คําถาม สรุปในรูปแบบการเขียนสะทอนคิด (journal writing) 5. ขั้นประเมินผล 1. ครูประเมิน - ความเขาใจ (K) ของผูเรียนจากใบกิจกกรรม/แบบฝกหัด /แบบทดสอบ เกณฑผานคือ นักเรียนมีผลคะแนนในระดับ ดี (80%) - กระบวนการทำงาน (P) จากการทํางานกลุม เกณฑผาน คือ สงงานภายในเวลาที่กําหนด - เจตคติ (A) จากการประเมินการเขียนสะทอนคิดของผูเรียน มี key word ที่แสดงถึงสิ่งที่ไดเรียนรู สิ่งที่อยากเรียนรูตอไป สิ่งที่ตนเองคิดเกี่ยวกับการเรียน
  • 5.   12 หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล ชื่อ................................................ แผนการเรียนรูที่ 1 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว นามสกุล....................................... เลขที่............................................ . ใบกิจกรรมที่ 1 การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย ชั้น............................................... แบคทีเรียและเห็ดรา คะแนนที่ได…………………………. . คําชี้แจง : นักเรียนออกแบบสิ่งมี   ชีวิตเซลลเดียวจากอุปกรณที่กําหนด ใหและแสดงวิธีการกินอาหารของสิ่งมี ชีวิตเซลลเดียว นําแสดงในรูปแบบ วาดภาพและคําอธิบาย   อุปกรณ 1. ฟองน้ํา 5 ชิ้น 2. ขนแปรง 3. ลวดสีเขียว 4. กระดาษสี 5. กรรไกร 6. กาวยูฮู 7. ถุงพลาสติก   คําชี้แจง : ตอบคําถามในชองวาง คําถาม : ราที่ขึ้นบนขนมปง และเห็ดที่ขึ้นบนขอนไมและแบคทีเรียบางชนิด ใหถูกตอง มีกระบวนการนําอาหารเขาสูเซลลอยางไร …………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….. (เฉลย ขับน้ํายอยออกมายอยอาหารภายนอกเซลลจนกลายเปนโมเลกุลเล็ก ๆ แลวดูดซึมไปใชประโยชนตอไป) แบคทีเรีย ความสามารถยอยสารอินทรียที่มีโมเลกุลขนาดใหญและซับซอนได ขึ้นอยูกับจํานวนเอ็นไซม เรียกการดํารงชีวิตแบบนี้วา…………….. (เฉลย Saprophyte)
  • 6.   13 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู ตัวอยางผลงานของผูเรียน เกณฑการใหคะแนน คะแนน รายละเอียด 1 สรางโมเดลหรืออธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 2 สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวอยางงายๆได 3 สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวไดถูกตอง แตไมครบถวน 4 สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวไดถูกตอง ครบถวน 5 สรางโมเดลและอธิบายวิธีการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวไดถูกตอง ครบถวนและสามารถแสดงโมเดลใหเห็นอยางชัดเจน สามารถดู Youtube ผลงานนักเรียนไดโดยคน key word : KruPumbio ชื่อ A tour of Biology Classroom หรือเว็บไซต http://www.youtube.com/watch?v=pAop1ytuGgI
  • 7.   14 หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล หัวขอสําคัญใบความรู 1-1 ความรูเบื้องตน แผนการเรียนรูที่ 1 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 1-2 อะมีบา 1-3 พารามีเซียม ใบความรูที่ 1 การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว จุลินทรีย 1-4 ยูกลีนา แบคทีเรียและเห็ดรา 1-5 จุลินทรีย แบคทีเรีย และเห็ดรา ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบการยอยอาหาร สิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีความตองการอาหารเพื่อการดํารงชีวิตหากใชเกณฑความสามารถในการสรางอาหาร ของสิ่งมีชีวิตสามารถแบงสิ่งมีชีวิตได 2 ประเภท ดังนี้ 1. autotroph คือพวกที่สามารถสรางอาหารเองไดจากสารอนินทรีย 2. heterotroph เปนพวกที่สรางอาหารเองไมได สิ่งมีชีวิตมีกลไกการนําอาหารเขาสูเซลลที่แตกตางกัน แบงเปน 2 ประเภทไดดังนี้ 1. การยอยภายในเซลล (intracellular digestion) คือ การที่เซลลนาอาหารเขาไปภายในจนทาใหเกิดถุงอาหาร (Food vacuole) แลวใชนายอยยอยอาหารในเซลลนั้น 2. การยอยภายนอกเซลล (extracellular digestion) คือ การที่เซลลขับนายอยออกมายอยอาหาร ภายนอกเซลลจนกลายเปนโมเลกุลเล็ก ๆ แลวดูดซึมไปใชประโยชนตอไป เสนทางการนําอาหารเขาสูรางกายจะมี 2 รูปแบบคือ 1. ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ (complete digestive tract) ประกอบดวยชองเปด 2 ชองทางหนาที่เปนปากและทวารหนัก 2. ทางเดินอาหารแบบไมสมบูรณ (incomplete digestive tract) ประกอบดวยชองเปดเพียง1 ชอง คือ อาหารเขาทางปาก และกากอาหารออกทางเดียวกัน หนาที่ของทางเดินอาหาร 4 ประการ คือ 1. การกิน (ingestion) คือการนาอาหารเขารางกาย 2. การยอยอาหาร (digestion) คือการทาใหไดสารอาหารเพื่อนาไปใชประโยชน 3. การดูดซึม (absorption) คือการนาสารอาหารโมเลกุลเล็กเหลานั้นเขาสูเซลลเพื่อเขาสูระบบไหลเวียน 4. การขับออก (elimination หรือ egestion) คือการขับถายสารที่ยอยไมไดออกเปนกากอาหาร ขั้นตอนการยอยอาหารประกอบดวย 1. การยอยเชิงกล (mechanical digestion) คือการยอยอาหารโดยการบดหรือเคี้ยวเพื่อใหอาหารมีขนาด เล็กลง เชน ใชฟนบดเคี้ยว ใชกึ๋น (gizzard) บด 2. การยอยเชิงเคมี (chemical digestion) คือการยอยอาหารโดยใชนายอยหรือเอนไซม(enzyme) เขาชวยเพื่อใหอาหารมีโมเลกุลเล็กที่สุด แลวจึงทาการดูดซึมเขาสูเซลลได
  • 8.   15 การยอยอาหารของโพรโทซัว เปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวสรางอาหารเองไมได ไมมีผนังเซลล แตสามารถ เคลื่อนที่ได ไมมีระบบทางเดินอาหาร และระบบยอยอาหารโดยเฉพาะ อาศัยสวนตางๆ ของเซลลชวยใน การนําอาหารเขาสูเซลล อาหารที่เขาไปภายในเซลลจะอยูในฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) ภายในไซโทพลาสซึม จากนั้นไลโซโซมภายในเซลลจะยอยอาหารซึ่งเปนการยอยภายในเซลล (Intracellular digestion) กากอาหาร จะถูกกําจัดออกโดยการแพร เชน อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา 1. อะมีบาอะมีบาเปนโพรโทซัวที่เคลื่อนที่ ดวยเทาเทียมอาหารของอะมีบาประกอบ ดวยเศษสารอินทรีย เซลลแบคทีเรีย สาหรายและสิ่งมีชีวิตเล็กๆ อะมีบานําอาหาร จากสิ่งแวดลอมเขาสูเซลลโดยวิธีฟาโกไซโท ซีสโดยยื่น ซูโดโพเดียม(Pseudopodium) ภาพ 1 อะมีบา ออกไปโอบลอมอาหารทําใหอาหารตกเขาไป อยูภายในเซลลแลวทําใหมีลักษณะเปนถุง เรียกวาฟูดแวคิวโอลตอจากนั้นไซโทพลาส ซึมของอะมีบาจะสรางน้ํายอย ซึ่งสวนใหญ เปนกรดเกลือ (HCl) ออกมายอยอาหาร ภายในฟูดแวคิวโอลการเคลื่อนไหวของ ไซโทพลาสซึมจะทําใหสารอาหารตางๆ ถูกลําเลียงไปทั่วเซลล สวนกากอาหารที่ ภาพ 2 การนําอาหารเขาสูเซลลของอะมีบา เหลือขนาดเล็กจะถูกขับออกทางเยื่อหุม เซลลโดยการแพร   พารามีเซียม พารามีเซียมเปนโพรโทซัวที่เคลื่อนที่ดวยซิเลีย (cilia) อาหารของพารามีเซียมก็คลายกับของอะมีบาพารามีเซียมจะรับ อาหารจากสิ่งแวดลอมเขาสูเซลลทางรองปาก (Oral groove) โดยซีเลียที่อยูบริเวณ รองปากชวยโบกพัดอาหารเขาไปจนถึงปาก   (Mouth)ที่อยูปลายสุดของชองนี้ อาหารนั้นจะถูกนําเขาเซลลอยูใน ฟูดแวคิวโอลขณะที่ฟูดแวคิวโอลเคลื่อนที่ไปจะมีการยอยอาหารเกิด ขึ้นโดยเอนไซมจากไลโซโซมทําใหฟูดแวคิวโอลมีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ สารอาหารที่ไดจากการยอยก็จะกระจาย และแพรไปไดทั่วทุกสวน ของเซลลสวนที่เหลือจากการยอยก็จะถูกขับออกจากเซลลในรูปของ กากอาหารตอไป  
  • 9.   16 การยอยอาหารของโพรโทซัว   ยูกลีนา ยูกลีนาไดอาหารโดย วิธีการสังเคราะหดวยแสงเนื่องจาก มี โครมาโทฟอร (Chromato- phore)ซึ่งเปนรงควัตถุจึงสามารถ สังเคราะหดวยแสงไดนอกจากนี้ยัง ดํารงชีพดวยการยอยสารอาหารที่   อยูรอบๆตัวแลวสงเขารองปาก คือ 1. การดูดเอาอินทรียสารผานเยื่อหุมเซลลเขาสูภายในเซลลโดยตรง   2. ใชชองบริเวณรอบ ๆ โคนแฟลคเจลลัม(Gullet )ซึ่งที่ปลายบนสุดของชองนี้จะมีปาก(Mouth) เปดอยู อาหารที่ลอยอยูในน้ําจะผานเขาสูชองนี้ แลวเขาสูภายในเซลล การยอยของจุลินทรียบางชนิด แบคทีเรียและเห็ดรา พวกแบคทีเรีย เห็ดราและจุลินทรียบางชนิดจะมีการดารงชีวิตเปนผูยอยสลายสารอินทรีย ในระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตเหลานี้สวนใหญจะมีการยอยอาหารโดยปลอยเอนไซมออกมานอกเซลล เพื่อยอยสารอินทรียจนเปนสารอาหารโมเลกุลเล็ก (extracellular digestion) แลวจึงดูดซึมเขาสูเซลล   (อางอิงเนื้อหาจาก : http://www.pw.ac.th/main/website/sci/1_data.htm)
  • 10.   17 2. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องการยอยอาหารของสัตวบางชนิด (2 ชั่วโมง)   จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายกระบวนการยอยอาหารของสัตวบางชนิด เมื่อเรียนแลวนักเรียนสามารถ 1. อธิบายและยกตัวอยางของการยอยอาหารในแตละ วิธี 2. วิเคราะหโครงสรางและอวัยวะที่สําคัญของ ระบบการยอยอาหารในสัตวแตละชนิดได ผลงาน/ชิ้นงาน 1. Wallpaper โครงสรางการยอยอาหารของวัว 2. ใบกิจกรรมที่ 2 กระบวนการจัดการเรียนรู ขั้นตอน กิจกรรม 1. ขั้นตรวจสอบ 1. นําบัตรภาพสัตวชนิดตางๆแจกใหนักเรียน ใหนักเรียนระบุชื่อสัตวชนิดนั้น ความรูเติม 2. ตั้งคําถามวา “สัตวมีกระบวนการยอยอาหารอยางไรบาง” “โครงสราง อวัยวะ มีความสัมพันธกับการกินอาหารของสัตวอยางไร” 3. นักเรียนจะออกแบบการทดลองอยางไร 2. ขั้นเรา 1. ครูชี้แจงจุดประสงคการเรียนรู ความสนใจและ 2. นักเรียนศึกษาวิธีการผาตัดไสเดือนและปลา สํารวจคนหา 3. แบงกลุมนักเรียนนั่งโตะละ 4-5 คน 4. แจกตัวอยาง ปลานิลและปลาดุก- ไสเดือน และอุปกรณซึ่งประกอบไปดวย - เครื่องมือผาตัด ถาดผาตัด - ไมบรรทัด - ถุงมือยาง - เข็มหมุด - น้ํากลั่น 5. นักเรียนดําเนินการทดลองและบันทึกผลการทดลอง
  • 11.   18 ขั้นตอน กิจกรรม 3. ขั้นอธิบาย 1. นักเรียนแตละกลุมสรุปการเรียนรูและนําไปติดหนาหองเรียน และลงขอสรุป 2. แตละกลุมสลับกันศึกษาผลการศึกษาของเพื่อนแตละกลุมจดประเด็นขอสรุป และขอคนพบที่เหมือนและแตกตางกัน 3. สงตัวแทนแตละกลุมเสนอสะทอนความคิดเห็นจากการเรียนรูในกลุมและ การศึกษาของกลุมอื่นๆ 4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 4. ขั้นขยาย 1. นักเรียนแตละกลุมศึกษาระบบการยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิด ความรู 2. ครูจัดกิจกรรมเกมสการแขงขัน ดังนี้ - ติดภาพ ฟองน้ํา ไฮดรา พลานาเรีย ไสเดือน แมลง และวัว (ขนาดใหญเทา A4 เปนอยางต่ํา) - แจกบัตรคําเพื่อ label อวัยวะตางๆของสิ่งมีชีวิตที่กําหนดให - กติกาคือ ที่ภาพของสัตวที่มีหมายเลขตางๆที่อวัยวะ เมื่อครูยกหมายเลข ขึ้นมา แตละกลุมตองสงตัวแทนออกมาติดปายคําใหถูกตอง กลุมที่ถูกตอง และเร็วที่สุดได 1 คะแนน 3. นักเรียนทุกคนเขียนสะทอนคิด (journal writing) เกี่ยวกับการเรียนรู 5. ขั้นประเมินผล 1. ครูประเมิน - ความเขาใจ (K) ของผูเรียนจากใบกิจกกรรม/แบบฝกหัด /แบบทดสอบ เกณฑผานคือ นักเรียนมีผลคะแนนในระดับ ดี (80%) - กระบวนการทํางาน (P) จากการทํางานกลุม เกณฑผาน คือ สงงานภายในเวลาที่กําหนด - เจตคติ (A) จากการประเมินการเขียนสะทอนคิดของผูเรียน มี key word ที่แสดงถึงสิ่งที่ไดเรียนรู สิ่งที่อยากเรียนรูตอไป สิ่งที่ตนเองคิดเกี่ยวกับการเรียน
  • 12.   19 หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล ชื่อ................................................ แผนการเรียนรูที่ 1 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว นามสกุล....................................... เลขที่............................................ . ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องการยอยอาหารของสัตวบางชนิด ชั้น............................................... คะแนนที่ได…………………………. . คําชี้แจง : 1.ใหพิจารณาลักษณะและโครงสรางของปลานิล 2.ผาตัดปลาโดยศึกษาสวนตางๆ ของอวัยวะภายในและภายนอกปลา 3.ศึกษาโครงสรางของปลาพรอมกับชี้สวนประกอบศึกษาระบบทางเดินอาหาร โดยปฏิบัติตามขั้นตอน ดังตอไปนี้          1.1 ใหเอากรรไกรสอดเขาชองเปดเหนือครีบกน และตัดตามแนวลําตัวมาที่ครีบเอว (โดยถาเปน ปลามีเกล็ด อาจจะทําการขอดเกล็ดบริเวณทองออกเสียกอน เพื่อทําใหงายตอการใชกรรไกรตัดเนื้อ เพื่อเปดชองทอง) 1.2 จากนั้นคอยๆ ตัดเนื้อเยื่อบริเวณทองออกเพื่อทําใหดูอวัยวะภายในไดชัดเจนขึ้นและเมื่อตัดเนื้อ บริเวณทองทิ้งไป ก็จะเห็นอวัยวะภายใน เชน กระเพาะ ไขมันสะสมในตัวปลา และตับปลา (ในปลาสวนใหญเนื้อเยื่อตับและตับออนจะอยูรวมกันเปนอวัยวะเดียว เรียกวา hepatopancreas ไมไดแยกออกจากกันเปน 2 อวัยวะเหมือนในสัตวเลี้ยงลูกดวยนม) 1.3 ตัดเนื้อปลาสวนทองไลขึ้นไปทางปาก เพื่อดูทางเดินอาหารสวนตนและจะเห็นเยื่อกั้น แบงอวัยวะภายในชองอกและชองทองของปลา 1.4 เมื่อเอาเนื้อดานทองของปลาออกจะเห็นวาหัวใจอยูใกลกับเหงือกและอยูภายในชองอกโดยมี แผนปดเหงือกซึ่งเปนโครงสรางแข็งชวยในการปองกันอันตรายและปองกันแรงกระแทกจากสิ่งตางๆ 1.5 ใหนักเรียนสังเกต ดูบริเวณที่ทอทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ และระบบขับถายของเสีย จากไต มาเปดออกนอกรางกายปลา ทอเหลานี้เปดออกรวมกันหรือไม (ใหนิยามของคําวา Cloaca – เปนชองที่มีทอทางเดินอาหาร ทอจากระบบสืบพันธุและทอจากระบบขับถายของเสียจากไต มาเปดรวมกัน พบไดในปลา สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา สัตวเลื้อยคลาน นกและในสัตวเลี้ยงลูกดวยนม แบบโบราณ) 1.6 ใหนักเรียนสังเกต ถุงลม และไตซึ่งอยูติดกับกระดูกสันหลัง และอวัยวะในระบบสืบพันธุ 1.7 วัดความยาวของทางเดินอาหารของปลาเปรียบเทียบกับความยาวของลําตัว บันทึกผล 4. วิธีการผาไสเดือน 1. ปกเข็มหมุดที่ปลายดานใดดานหนึ่งของไสเดือน 2. ใชกรรไกรผาตัดคอยๆตัดดานปลายแลวกรีดขึ้นมาดานบน อยางเบามือ 3. ศึกษาอวัยวะภายในของไสเดือน 4. ปกเข็มหมุดเพื่อศึกษาไสเดือนไดสะดวกตามภาพ หมายเหตุ : ครูตองแจกภาพกายวิภาคของปลาและไสเดือนใหนักเรียนทุกกลุม
  • 13.   20 บันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 1. วาดภาพทางเดินอาหารของปลาที่สังเกตได พรอมระบุสวนประกอบ ปลานิล ปลาดุก ไสเดือน
  • 14.   21 สรุปผลการทดลอง ตอนที่ 2 : คําชี้แจง ใหจับคูชื่อสิ่งมีชีวิตซายมือ กับกระบวนการยอยอาหารขวามือใหถูกตอง   1.   Amoeba   ______   A. มีจุลินทรียและแบคทีเรียชวยยอยเซลลูโลส ใช Cilia พัดอาหารเขาสู oral grove 2.   Paramecium   ______   B. แลวเกิดเปน Food vacuole มีทางเดินอหารสมบูรณ ใช Gizzard 3.   Sponge   ______   C. บดเคี้ยวอาหาร ไมมีระบบทางเดินอาหาร ใช sucker 4.   Hydra   ______   D. ดูดอาหารจาก host มีอวัยวะคลายฟนในการยอยอาหาร 5.   Flat  worm   ______   E. ทางเดินอาหารสมบูรณ ใช Pseudopodium โอบลอมอาหารเปนถุง 6   Tapeworm   ______   F. เรียก Food vacuole 7.   Earth  Worm   ______   G. Choanocyte และ amoebocyte 8.   Arthropod   ______   H. ทางเดินอาหารสมบูรณ มี radula คลายฟน Pharynx เขาสูทางเดินอาหารที่ 9.   Mollusk   ______   I. แตกแขนงไปทั่วรางกาย 10.   Cow   ______   J. Gastrovascular cavity และ gland cell
  • 15.   22 เกณฑการวัดและประเมินผล ตอนที่ 1 แบบประเมินแบบประเมินพฤติกรรมทําปฎิบัติการ รายการประเมิน สรุป รวมจํานวนรายการที่ผาน ผาน ไมผาน การวิเคราะหขอมูลกา สังเกต ศึกษา ทดลอง รวมคะแนน จัดเตรียมอุปกรณ การสรุปความรู รวบรวมขอมูล เลขที-ชื่อ ่ เกณฑ ขั้นต่ํา รสรุปความรู เครื่องมือ 1 2. 3. 4. 5. 6. 7. เกณฑการประเมินปฎิบัติการ องคประกอบที่ 1 จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือ 4 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไดครบถวนเหมาะสมกับงานดีมาก 3 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไดครบถวนเหมาะสมกับงานดี 2 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไดเหมาะสมกับงานพอใช 1 หมายถึง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือดวยตนเองไมได ตองไดรับคําแนะนําจึงจะทําไดสําเร็จ องคประกอบที่ 2 การสังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูล 4 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลอยางถูกตองครบถวนตามแผนที่ วางไวบันทึกขอมูลอยางตอเนื่องและแกปญหาการทํางานไดดวยตนเอง 3 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลอยางถูกตองครบถวนตามแผน ที่วางไวบันทึกขอมูลอยางตอเนื่อง และแกปญหาการทํางานได ดวยตนเองเปนสวนใหญตองไดรับคําแนะนําเพียงเล็กนอย 2 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลอยางถูกตองครบถวนตามแผนที่ วางไวบันทึกขอมูลอยางตอเนื่อง และแกปญหาเปนบางสวนตองได รับคําแนะนําเพียงบางสวน 1 หมายถึง สังเกต ศึกษา ทดลอง รวบรวมขอมูลไดและแกปญหาดวยตนเองไมได ตองไดรับคําแนะนําตลอดเวลา
  • 16.   23 องคประกอบที่ 3 การวิเคราะหขอมูล 4 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ วิเคราะหเหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดอยางชัดเจนเหมาะสมกับสิ่งที่ศึกษา และจุดประสงคของการศึกษาดีมาก 3 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ วิเคราะห เหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดเหมาะสมกับสิ่งที่ศึกษา และจุดประสงคของการศึกษาดีมาก 2 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ วิเคราะหเหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดเปนบางสวน และตองไดรับคํา ชี้แนะในบางสวน 1 หมายถึง จําแนก แยกแยะขอมูล เปรียบเทียบความเหมือนความตาง เรียงลําดับ วิเคราะหเหตุผล ฯลฯ ดวยตนเองไดนอยมาก และตองไดรับคํา ชี้แนะคอนขางมาก องคประกอบที่ 4 การสรุปความรู 4 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไดชัดเจนดีมาก ครบถวนตรงตามจุดประสงค 3 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไดชัดเจนดี คอนขางจะครบถวนตรงตามจุดประสงค 2 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไมไดทั้งหมด ตองไดรับคําแนะนําเปนบางสวน 1 หมายถึง สรุปความรูดวยตนเองไมไดทั้งหมด ตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ เกณฑการตัดสินผลการเรียน ผูเรียนตองมีพฤติกรรมในแตละองคประกอบอยางนอยระดับ 2 ขึ้นไป จํานวน 3 ใน 4 รายการ ตอนที่ 2 เฉลย 1. F 2. B 3. G 4. J 5. I 6. D 7. C 8. E 9. H 10. A
  • 17.   24 หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล แผนการเรียนรูที่ 2 : การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิด ใบความรูที่ 2 การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิด ระบบยอยอาหารของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต ระบบทางเดินอาหาร Porifera : ฟองน้ํา การยอยอาหารเกิดในเซลล amoebocyte มีเซลล choanocyte โบกพัดจับอาหาร Cnidaria :ไฮดรา เกิดการยอยทั้งภายใน และภายนอกเซลล 1. Extracellular digestion โดยตอม gland cell ปลอยเอนไซมออกมาจากชอง Gastrovacular 2. Intracellular digestion ใชแฟลเจลลาจับอาหารเขามา ยอยในเซลล
  • 18.   25 สิ่งมีชีวิต ระบบทางเดินอาหาร Platyhelminthes : พลานาเรีย - เกิดการยอยทั้งภายใน และภายนอกเซลล - ทางเดินอาหารไมสมบูรณ - พยาธิใบไมตับไมมีระบบ ทางเดินอาหาร Nematoda : พยาธิปากขอและตัวตืด ทางเดินอาหารสมบูรณ สมบูรณ ปาก-> คอหอย -> หลอดอาหาร -> ลําไส-> ทวาร Annelida : ไสเดือนดิน สมบูรณ ปาก-> คอหอย -> กระเพาะอาหาร(crop)-> บดที่กึ๋น(gizzard) ลําไส-> ทวารการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ ทางเดินอาหารแบบ Peristalsis ขับถาย = nephridia สวนปลิง จะมีhirudin ที่ปลอยออกมาจากตอมน้ําลาย ทําใหเลือดไมแข็งตัว
  • 19.   26 สิ่งมีชีวิต ระบบทางเดินอาหาร Arthopod : แมลง - ทางเดินอาหารสมบูรณ - พัฒนาโครงสรางระยางคของปาก - พัมนาตอมน้ําลาย (salivary gland) - ปาก(มีตอมน้ําลาย)> คอหอย > หลอดอาหาร > กระเพาะพักอาหาร (crop) > กึ๋นหรือโพรเวนตริคูลัส มีถุง 8 ถุงเรียกวาฮพาติกซีกัม (ตอกับทางเดินอาหารสวนกลาง) ทําหนาที่สรางน้ํายอย > กระเพาะอาหาร> ลําไสเล็ก > ลําไสใหญ > ไสตรง > ทวารหนัก Chordata : วัว วัว ควาย จะมีกระเพาะ 4 สวนเพื่อเหมาะกับการยอยเซลลูโลส 1. rumen กระเพาะผาขี้ริ้ว - มีแบคทีเรียและโปรโตซัวที่สามารถ สรางเอนไซม cellulase ยอยเซลลูโลส - ยูเรียและแอมโมเนียที่ไดจาก การหมักจะถูกสังเคราะหเปน กรดอะมิโน 2. Reticulum กระเพาะรังผึ้ง ยอยยเซลลูโลสและทําหนาที่บดและ ผสมอาหาร (การยอยเชิงกล) 3. Omarum กระเพาะสามสิบกลีบ ทําหนาที่บดและ ผสมอาหาร (การยอยเชิงกล) 4. Abomasum กระเพาะจริง หลั่งเอนไซมออกมายอยอาหาร
  • 20.   27 3. แผนการจัดการเรียนรูเรื่องระบบการยอยอาหารของคน (4 ชั่วโมง)   จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายระบบการยอยอาหารของคน เมื่อเรียนแลวนักเรียนสามารถ 1. อธิบายการยอยเชิงกลและทางเคมี แหลงที่เกิด 2. อธิบายกระบวนการยอยอาหารในแตละลําดับทางเดินอาหาร 3. ระบุเอนไซมที่ยอยสารอาหารแตละชนิด สารที่เกี่ยวของกับการยอย แหลงผลิต และบริเวณที่ยอย สภาวะที่เหมาะสมตอการทํางาน ผลงาน/ชิ้นงาน 1. เสื้อกันเปอนระบบทางเดินอาหาร 2. ใบกิจกรรม กระบวนการจัดการเรียนรู ขั้นตอน กิจกรรม 1. ขั้นตรวจสอบ 1. ครูตั้งคําถาม “ระบบทางเดินอาหารของคนเปนอยางไร” และใชกิจกรรม ความรูเติม วาดภาพ 5 วินาที ดังนี้ - นักเรียงนั่งกลุมละ 4-5 คน รับกระดาษและปากกาสี - จากคําถามดังกลาวคนที่ 1 เริ่มลงมือวาด เมื่อครบ 5 นาที สงตอใหคนที่ 2 ไปจนถึงคนสุดทาย ทุกคนจะมีเวลา 5 วินาที - แตละกลุมสรุปภาพวาด (ครูประเมินความรูเดิมของผูเรียน) 2. ขั้นเรา 1. ครูชี้แจงจุดประสงคการเรียนรู ความสนใจและ 2. นักเรียนศึกษาใบความรูและปฏิบัติกิจกรรม สํารวจคนหา 3. วาดภาพระบบทางเดินอาหารของคนลงบนเสื้อกันเปอน/กระดาษที่เตรียมไว 4. บันทึกผลการทํากิจกรรม 5. ตอบคําถามใบกิจกรรมใหสมบูรณ
  • 21.   28 ขั้นตอน กิจกรรม 3. ขั้นอธิบาย 1. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานเสื้อกันเปอนระบบยอยอาหารพรอม และลงขอสรุป ทั้งอธิบายกระบวนการยอยอาหารของแตละสวน 2. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 4. ขั้นขยาย 1. นักเรียนทำ Concept Mapping ความรู 2. นักเรียนวิเคราะหขาวเกี่ยวกับเรื่องระบบทางเดินอาหาร เชน โรคทางอาหาร 5. ขั้นประเมินผล 1. ครูประเมิน - ความเขาใจ (K) ของผูเรียนจากใบกิจกกรรม/แบบฝกหัด /แบบทดสอบ เกณฑผานคือ นักเรียนมีผลคะแนนในระดับ ดี (80%) - กระบวนการทํางาน (P) จากการทํางานกลุม เกณฑผาน คือ สงงานภายในเวลาที่กําหนด - เจตคติ (A) จากการประเมินการเขียนสะทอนคิดของผูเรียน มี key word ที่แสดงถึงสิ่งที่ไดเรียนรู สิ่งที่อยากเรียนรูตอไป สิ่งที่ตนเองคิดเกี่ยวกับการเรียน
  • 22.   29 หนวยการเรียนรู : ระบบยอยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล ชื่อ................................................ แผนการเรียนรูที่ 3 : ระบบการยอยอาหารของคน นามสกุล....................................... เลขที่............................................ . ใบกิจกรรมและใบความรูที่ 3 เรื่องระบบการยอยอาหารของคน ชั้น............................................... คะแนนที่ได…………………………. . คําชี้แจงตอนที่ 1 : ใหนักเรียนอานประโยคดานลางและเลือกตัวเลือกในแตละขอมาเติมใหถูกตอง ระบบการยอยอาหารของคนเปนกระบวนการของอวัยวะที่แตกตัวอาหารใหกลายเปน………(1)……. เพื่อนําไปสรางพลังงานไปใชในรางกาย โดยสวนมากใช………(2)……. เรงการยอยอาหาร คารโบไฮเดรตจะถูกเปลี่ยนเปน………(3)…….ไขมันจะถูกยอยเปน ………(4)…….และโปรตีน จะเปน………(5)…….และกรดอะมิโน การยอยเริ่มตนที่ปากทําใหอาหารขนาดใหญจะมีขนาดเล็กลงและน้ําลายจะยอย………(6)…….. บางชนิด ในขณะที่กระเพาะอาหาร………(7)…….กรดไฮโดรคลอริกจะเริ่มยอยโปรตีน ไขมันและแปง จะเคลื่อนไปสู………(8)…….เปนอวัยวะที่มีการยอยมากที่สุด น้ํายอยจะถูกหลั่งจาก………(9)……. และ………(10)…….ตับจะยอยแตกตัวไขมัน เอนไซมที่ถูกปลอยมาจากตอมของผนังลําไสเล็กที่ จะทําการยอย………(11)…….ตอไป หลอดเลือดฝอย(capillaries) และตอมน้ําเหลืองใน ………(12)…….จะดูดซึมอาหารที่ถูกตองและนําไปยังสวนตางๆของรางกาย (1) ก. เซลล ข. อะตอม ค. เอนไซม ง. โมเลกุล (2) ก. กรด ข.เอนไซม ค. น้ําดี ง. น้ําเหลือง (3) ก. กรดอะมิโน ข. แปง ค. น้ําตาล ง. กรดไขมัน (4) ก. แปงและ ข. แปงและน้ําตาล ค. กรดไขมันและ ง. เปปไทดและ กลีเซอรอล โมเลกุลเดี่ยว กลีเซอรอล กรดไขมัน (5) ก. เปปไทด ข. แปง ค. แกสตริก ง. กลีเซอรอล (6) ก. น้ําตาล ข. แปง ค. โปรตีน ง. คารโบไฮเดรต (7) ก. กรดไขมัน ข. แกสตริก ค. น้ํายอยจาก ง. ฮอรโมนจาก ตับออน ตับ (8) ก. ตอมน้ําเหลือง ข. หลอดเลือด ค. ลําไสเล็ก ง. ตับ (9) ก. กระเพาะอาหาร ข. ลําไสใหญ ค.ตอมน้ําดี ง. ตับออน (10) ก. น้ําดี ข. เมือก ค. แกสตริก ง. กรด HCL (11) ก. ไขมันและ ข. แปงและโปรตีน ค. แปงและวิตามิน ง. โปรตีนและน้ําดี วิตามิน (12) ก. ตับ ข. ตับออน ค. วิลไล ง. ตอมน้ําดี
  • 23.   30 คําชี้แจงตอนที่ 2 : จงเรียงจับคูภาพและเหตุการณ จากนั้นเรียงลําดับการกลืนอาหาร จงเรียงจับคูภาพและเหตุการณ จากนั้นเรียงลําดับการกลืนอาหาร (A) (B) (C) 1. เพดานออน (soft palate) ยกขึ้น เพื่อปดรูจมูกดานใน 2. การหายใจปกติ 3. กลามเนื้อลิ้นบังคับใหอาหารผานเขาไปในหลอดอาหาร และลิ้นจะหดถอยไปดานในของปาก 4. กลามเนื้อที่ผนังคอหอยบีบตัวดันอาหารลงสูหลอดอาหาร 5. ฝาปดกลองเสียง (epiglottis) และหลอดลมปดทับกันสนิท คําชี้แจงตอนที่ 3 : ศึกษาจากภาพ อานใบความรูและเติมคําในชองวางใหถูกตอง กระบวนการยอยอาหารของมนุษย 1. ฟน 1. ฟนน้ํานมมี …………………………..……ซี่ 2. ฟนแทมี …………………………..……ซี่ ชนิดออกฟนแบงออกเปน 3. ฟนตัด (Incisor) มี ………………ซี่ 4. ฟนเขี้ยว (canine) มี ………………ซี่ 5. ฟนกรามหนา (Premolar) มี ………………ซี่ 6. ฟนกรามหลังมี (Molar) มี ………………ซี่ 7. เขียนสูตรได …………………………..…… 8. ความแตกตางของฟนน้ํานมกับฟนแทคือ …………………………..………………………………..……
  • 24.   31 2. ตอมน้ําลาย (salivary gland) 9. คูที่ 1 ตอมพาโรทิด อยูบริเวณ……………….. 10. สรางน้ําลายชนิดใสอยางเดียว ถาอักเสบ จะปน………………… คูที่ 2 ตอมใตขากรรไกร (submaxillary gland) และคูที่ 3 ตอมใตลิ้น (sublingual gland) สรางทั้งเหนียวและใส (ภาพจากhttp://trialx.com/g/Cancer_Of_The_Salivary_Gland-1.jpg ) 3. กระเพาะอาหาร - กระเพาะอาหารมีกลามเนื้อหูรูด 2 ที่คือ 11. Cardiac sphincter มีหนาที่ …………………………..………………………………. 12. Pyloric sphincter มีหนาที่ …………………………..………………………………. - เซลลภายในกระเพาะอาหาร Gastric gland ประกอบดวย 13 ………………………… ทําหนาที่ สรางน้ําเเมือก ปองกันอันตรายจาก HCL และน้ํายอย 14. …………………… สราง pepsinogen, prorenin 15 …………………… สราง HCL ชวยทําให pepsinogen(inactive) กลายเปน pepsin(active) และชวยให Prorenin กลายเปน renin ยอยโปรตีนในน้ํานม Gastrin เปนฮอรโมนที่สรางมาจากกระเพาะอาหารทําหนาที่กระตุน Pariental cell ใหหลั่ง HCL วาแต นักวิทยาศาสตรรูไดอยางไรวา Gastrin เปนฮอรโมน 16.…………………………..……………………………….
  • 25.   32 4. ลําไสเล็ก (ภาพจาก http://www.britannica.com ) ลําไสเล็กประกอบดวย Enteropeptidase จากลําไสเล็ก 17. Duodenum มีตอมสรางน้ํายอยและมีน้ํายอย Trypsinogen (inactive) Trypsin ไหลมาจากตับออนและน้ําดีจึงทําใหมี ………………………………………………..………………………. Trypsin 18. Jejunum มี villi มากที่สุด Procarboxypeptidase carboxypeptidase …………………………….. และ Ileum มีขนาดยาวที่สุด ตอกับลําไสใหญ Trypsin Chymotrypsinogen Chymotrypsin 5. กระบวนการยอยอาหารของคน
  • 26.   33 อวัยวะที่ การหลั่งสาร ผลิตภัณฑ ยอยอาหาร (secretion) ปาก - น้ําลาย (saliva) -คารโบไฮเดรตโมเลกุลใหญกลายเปน - Amylase โมเลกุลเล็กลง - mucus - น้ําตาลโมเลกุลคู - Enzyme lysosome คอหอยและ - เมือก - หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร น้ํายอยในกระเพาะ (Gastric Juice) > กรด HCl จาก parietal cell < สรางสภาวะกรด ให pepsin ทํางานไดดี > เอนไซม pepsin สรางจาก < Protien ขนาดใหญมี chief cell ขนาดเล็กลง Small polypeptides > เรนนิน < สําหรับยอยโปรตีนในน้ํานม > เมือก สรางจาก mucus cell สําหรับเคลือบกระเพาะ < การดูดซึมแอลกอฮอล วิตามิน ตับออน Pencreatic enzymes - -Trypsinogen - Chymotrypsinogen, - Procarboxypeptidase - Amylase และ lipase - NaHCo3 ทําใหลําไสเล็กเปนเบส - Nucleotidases ตับและถุงน้ําดี ตับสรางน้ําดี เก็บไวที่ถุงน้ําดี -
  • 27.   34 อวัยวะที่ การหลั่งสาร ผลิตภัณฑ ยอยอาหาร (secretion) ลําไสเล็ก -เมือก Protien digestion - Disaccharidase, polypeptides Dipeptidases, Aminopeptidase, Pancreatic trypsin and Aminopeptidase, chymotrypsin Nucleotidases Small polypeptides Pancreatic trypsin and chymotrypsin Smaller polypeptides Pancreatic carboxypeptidase Amino Acid Intestine Dipeptidase, Aminopeptidase Amino Acid DNA, RNA digestion Pancreatic nucleases Nucleotidases Nucleotides Nucleotidases and phosphatase Nitrogenous base, sugar, phosphates
  • 28.   35 อวัยวะที่ การหลั่งสาร ผลิตภัณฑ ยอยอาหาร (secretion) Fat digestion Fat (Triglycerides) Bile salts Pancreatic lipase Glycerol, fatty acid, monoglycerides ลําไสใหญ - เมือก - ดูดน้ํา วิตามิน เกลือแรกลับ - สรางวิตามิน - เคลื่อนไหวแบบ peristalsis K, B12 กรดโฟลิก ตอนที่ 4 เลือกคําตอบและเติมคําใหถูกตอง 1. วงกลมรอบลอมขอความที่เปนจริงเกี่ยวกับ 2. วงกลมรอบลอมขอความที่เปนจริงเกี่ยวกับ กระเพาะอาหาร ตับออน ก. สราง trypsin ก. สราง lactase ข. สรางกรด HCL ข. สราง amylase ค. สราง amylase ค. สรางโซเดียมไบคารบอเนต ง. ชวยในกระบวนการยอยเชิงกล ง. เปนเอนไซมที่ชวยในกายอยของไขมัน และกรดนิวคลีอิก
  • 29.   36 ใชขอมูลจากตารางในการตอบคําถามขอ 3-7 เอนไซมในกระบวนการยอยอาหาร เอนไซม ตําแหนงการทํางาน แหลงผลิต ชนิดของสารอาหารที่ยอย Amylase ปาก ตอมน้ําลาย คารโบไฮเดรต Pepsin กระเพาะอาหาร เยื่อกระเพาะอาหาร โปรตีน Lipase ลําไสเล็ก ตับออน ไขมัน Amylase ลําไสเล็ก ตับออน คารโบไฮเดรต Trypsin ลําไสเล็ก ตับออน โปรตีน Lactase ลําไสเล็ก เยื่อกระเพาะอาหาร คารโบไฮเดรต Maltase ลําไสเล็ก เยื่อกระเพาะอาหาร คารโบไฮเดรต Sucrase ลําไสเล็ก เยื่อกระเพาะอาหาร คารโบไฮเดรต Peptidase ลําไสเล็ก เยื่อกระเพาะอาหาร โปรตีน 3. บริเวณที่มีเอนไซมมีการยอยมากที่สุดคือ………………………………………………………………………………… 4. อวัยวะใดที่มีสรางน้ํายอยมากที่สุด…………………………………………………………………………………………. 5. เอนไซมที่ใชในการยอยสามารถทํางานไดมากกวา 1 ตําแหนง…………………………………………………… 6. สารอาหารชนิดใดที่ถูกยอยดวยเอนไซมจํานวนมากที่สุด………………………………………………………….. 7. เอนไซมที่สรางมาจากแหลงผลิตเดียวกันจะยอยสารอาหารชนิดเดียวกันหรือไม………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 5 จงพิจารณาคําถามและเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด 1. น้ําลายยอยอาหารอยางไร 2. ลําไสเล็กตอนตนเรียกวา ก. ยอยแปง ก. วิลัส ข. ยอยโปรตีน ข.โคลอน ข. ใชน้ําดียอยน้ําตาล ค.ไอเลียม ง. ใชเปปไทดยอยไขมัน ง.ดูโอดีนัม 3. ปริมาณที่กระเพาะสามารถบรรจุไดคือ 4. บริเวณผนังกระเพาะอาหารเชื่อมตอกับ ก. 1 ลิตร ขอใด ข. 1.5 ลิตร ก. หลอดเลือดและทอน้ําดี ค. 2 ลิตร ข. ตอมน้ําเหลืองและวิลไล ง. 4 ลิตร ค. วิไลและเยื่อเมือก (mucus) ง. หลอดเลือดและตอมลําไสเล็ก
  • 30.   37 5. เอนไซมในน้ํายอยแกสตริกยอยโปรตีน 6. อาหารชนิดใดที่มีการยอยครั้งแรกที่ลําไสเล็ก ไดสารชนิดใด ก. แปง ก. ไขมัน ข. ไขมัน ข. อะไมเลส ค. โปรตีน ค. กรดอะมิโน ง. น้ําตาล ง. น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว 7. บริเวณดูโอดีนัมเกิดกระบวนการใด 8. ขอใดคือหนาที่ของน้ํายอยที่ลําไสเล็ก ก. การดูดซึมวิตามินและเกลือแร ก. เริ่มตนการยอยไขมัน ข. ดูดซึมโมเลกุลของน้ําออกจากอาหาร ข. ยอยวิตามินและเกลือแร ค. ผสมอาหารเขากับน้ํายอย ค. ดําเนินการยอยแปงและโปรตีน จากตับออนและน้ําดี ง. เริ่มตนการยอยแปงและโปรตีน ง. อาหารถูกบดจากกลามเนื้อและ ผสมกับน้ํายอยจากลําไสเล็ก 9. เมื่อกลูโคสและกรดอะมิโนถูกดูดซึม 10. หลอดเลือดในลําไสใหญทําหนาที่ดูดซึม ที่ลําไสเล็กจะถูกสงไปยังบริเวณใด ก. แปง ก. ตับ ข. น้ําดี ข. ตอมน้ําดี ค. โปรตีน ค. ลําไสใหญ ง. เกลือแรและน้ํา ง. ตอมน้ําเหลือง