SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
23
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลน่ารู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง แหล่งข้อมูลน่ารู้ (1) เวลา 3 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
แหล่งข้อมูล เป็นที่มาของข้อมูลต่างๆ ซึ่งมีทั้งแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และแหล่งข้อมูลที่ไม่ใช่
บุคคล
2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วัด
ง 3.1 ป.2/1 บอกประโยชน์ของข้อมูลและรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ที่เชื่อถือได้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกความหมายของแหล่งข้อมูลได้
2) จาแนกประเภทของแหล่งข้อมูลได้
3) บอกวิธีการรวบรวมข้อมูล และจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) ข้อมูลบางอย่างมีประโยชน์ในการดาเนินชีวิต ต้องพิจารณาก่อนนาไปใช้
2) แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เป็นแหล่งข้อมูลที่มีการรวบรวมข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์ มีเหตุผล
และมีการอ้างอิง เช่น
- แหล่งข้อมูลของทางราชการ
- แหล่งข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ตรง และศึกษาในเรื่องนั้นๆ
3) การรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งที่เชื่อถือได้ช่วยให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
และสมบูรณ์มากขึ้น
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
24
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2) ทักษะการคิดสร้างสรรค์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
1) กระบวนการสังเกต
2) กระบวนการทางานกลุ่ม
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มีความรับผิดชอบ
6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนแบบบรรยาย และวิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม)
ชั่วโมงที่ 1-2
1. ครูเล่าตานานกาเนิดท่าเตียน ให้นักเรียนฟัง เมื่อเล่าจบแล้วให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ตานาน หรือเล่าเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเป็นมาของท่าเตียนตามที่นักเรียนเคยทราบ
2. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนสามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของตานานกาเนิดท่าเตียนได้จาก
แหล่งข้อมูลใดบ้าง แล้วให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างแหล่งข้อมูล
3. ครูตรวจสอบความถูกต้องจากการยกตัวอย่างของนักเรียน และอธิบายให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับ
ความหมายและความสาคัญของแหล่งข้อมูล
4. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ประเภทของแหล่งข้อมูล จากหนังสือเรียน
5. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงความแตกต่างและความสาคัญของแหล่งข้อมูลชั้นต้น และแหล่งข้อมูล
ชั้นรอง
6. ครูสนทนากับนักเรียนว่า ในชีวิตประจาวันของเรา สามารถหาข้อมูลต่างๆ ได้จากแหล่งข้อมูลที่อยู่
ใกล้ตัว ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และแหล่งข้อมูลที่ไม่ใช่บุคคล
25
7. ให้นักเรียนแต่ละคนบอกแหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่สามารถหาข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสนใจได้เป็นอย่างดี
แล้วครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 คน เล่าถึงแหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่นักเรียนเลือก เช่น แหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่
สามารถหาข้อมูลต่างๆ ที่สนใจได้เป็นอย่างดี คือ ผู้ปกครอง ที่สามารถอธิบาย หรือแนะนาวิธีการ
หาข้อมูลหรือคาตอบในเรื่องต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
8. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว จากหนังสือเรียน เมื่อนักเรียนศึกษาจบแล้ว
ให้นักเรียนบอกประโยชน์ที่ได้รับจากแหล่งข้อมูลที่กาหนด ดังนี้
9. ครูช่วยสรุปความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัวที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และที่ไม่ใช่ตัว
บุคคล และอธิบายเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตว่า เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่
เชื่อมโยงกันทั่วโลก ทาให้สามารถรับข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีก
เครื่องหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว มีประโยชน์มากในการติดต่อสื่อสารในปัจจุบัน
10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัย และอธิบายให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
จากนั้นให้นักเรียนทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประเภทของแหล่งข้อมูล เมื่อนักเรียนทาใบงานเสร็จแล้วให้
ตรวจสอบความถูกต้องก่อนนาส่งครูตรวจ
ชั่วโมงที่ 3
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อมูล หรือเรื่องราวที่สนใจว่า นักเรียนมีวิธีการรวบรวม
ข้อมูลที่ศึกษาอย่างไร
2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง
3. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลพอสังเขป
4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง
การรวบรวมข้อมูล จากหนังสือเรียน แล้วร่วมกันสรุปความรู้ในประเด็นที่ครูกาหนด ดังนี้
- วิธีการรวบรวมข้อมูล
- การจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้
5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่าง การรวบรวมข้อมูล จากหนังสือเรียน
6. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับตัวอย่างที่ได้ศึกษา และสรุปความรู้ร่วมกัน
หนังสือ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต
26
7. ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับวิธีการรวบรวมข้อมูล และการจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้ ให้นักเรียนจด
บันทึกลงสมุด จากนั้นให้นักเรียนทาใบงานที่ 2.2 เรื่อง การรวบรวมข้อมูล เสร็จแล้วครูและนักเรียน
ช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงาน ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน
7. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานที่ 2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.2
2) ตานานกาเนิดท่าเตียน
3) ตัวอย่างภาพข้อมูลประเภทต่างๆ
4) กระดาษขนาด A4
5) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประเภทของแหล่งข้อมูล
6) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การรวบรวมข้อมูล
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
27
ตัวอย่างสื่อประกอบการสอน
ตานานยักษ์วัดโพธิ์ - ตานานกาเนิดท่าเตียน
“ยักษ์วัดโพธิ์” ตั้งเก็บไว้อยู่ในตู้หน้าซุ้มประตูทางเข้าพระมณฑป (หอไตรจตุรมุข)
ในส่วนของยักษ์ประจาวัดโพธิ์ หลายคนคงเคยได้ยินตานานกาเนิดท่าเตียน
ที่เล่าปากต่อปากกันมาว่าบริเวณท่าเตียนอันเป็นพื้นที่โล่งเตียนนั้น
เป็นผลจากการต่อสู้ของ “ยักษ์วัดแจ้ง” กับ “ยักษ์วัดโพธิ์”
โดยมี “ยักษ์วัดพระแก้ว” เป็นผู้ห้ามทัพ
ตานานกาเนิดท่าเตียน มีว่า ยักษ์วัดโพธิ์ซึ่งทาหน้าที่ดูแลวัดโพธิ์
และยักษ์วัดแจ้งซึ่งทาหน้าที่ดูแลวัดแจ้งหรือวัดอรุณฯ ฝั่งตรงข้ามนั้น
ทั้ง 2 ตนเป็นเพื่อนรักกัน วันหนึ่งทางฝ่ายยักษ์วัดโพธิ์ไม่มีเงิน
จึงข้ามแม่น้าเจ้าพระยาไปขอยืมเงินจากยักษ์วัดแจ้ง
พร้อมทั้งนัดวันที่จะนาเงินไปส่งคืน
เมื่อถึงกาหนดส่งเงินคืน ยักษ์วัดโพธิ์กลับไม่ยอมจ่าย เบี้ยวเอาเสียดื้อๆ
28
ยักษ์วัดแจ้งเมื่อรอแล้วรอเล่าจนทนไม่ไหว
จึงตัดสินใจข้ามแม่น้าเจ้าพระยามาทวงเงินคืน แต่ยักษ์วัดโพธิ์ไม่ยอมให้
ในที่สุดยักษ์ทั้ง 2 ตน จึงเกิดการทะเลาะถึงขั้นต่อสู้กัน
แต่เพราะรูปร่างที่ใหญ่โตมหึมาและมีกาลังมหาศาลของยักษ์ทั้ง 2 ตน
เมื่อต่อสู้กันจึงทาให้ต้นไม้ในบริเวณนั้นถูกยักษ์ทั้งสองเหยียบย่าจนล้มตายลงหมด
หลังจากที่เลิกต่อสู้กันแล้วบริเวณที่ทั้งสองประลองกาลังกันนั้น
จึงราบเรียบกลายเป็นสถานที่ที่โล่งเตียนไปหมด ไม่มีอะไรเหลือเลย
ครั้นเมื่อพระอิศวรได้ทราบเรื่องราวการต่อสู้กัน
ทาให้บรรดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายในบริเวณนั้นเดือดร้อน
จึงได้ลงโทษโดยการสาปให้ยักษ์ทั้ง 2 กลายเป็นหิน
แล้วให้ยักษ์วัดโพธิ์ทาหน้าที่ยืนเฝ้าหน้าพระอุโบสถ
และให้ยักษ์วัดแจ้งทาหน้าที่ยืนเฝ้าพระวิหารวัดแจ้งเรื่อยมา
ส่วนฤทธิ์จากการสู้รบของยักษ์ทั้งคู่ที่ทาชุมชนละแวกนี้ราบเรียบเป็นหน้ากลอง
ทาให้ชาวบ้านพากันเรียกว่า “ท่าเตียน” เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้
Credit : http://www.huaybondin.net/

More Related Content

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs
2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs
2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecsPloykarn Lamdual
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3Sakonwan Na Roiet
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1Kungkunk Naruk
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04Poo-Chom Siriwut
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานWarunchai Chaipunya
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library materialPloykarn Lamdual
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้fonrin
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้fonrin
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs
2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs
2.2 แหล่งสารสนเทศ infomation resourcecs
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 

More from อนงค์นารถ จันทร์ชนะ

More from อนงค์นารถ จันทร์ชนะ (12)

ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่  2.2ใบงานที่  2.2
ใบงานที่ 2.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่  1ใบงานที่  1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  รับรู้ข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1  รับรู้ข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การนำไฟล์
การนำไฟล์การนำไฟล์
การนำไฟล์
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

  • 1. 23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลน่ารู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง แหล่งข้อมูลน่ารู้ (1) เวลา 3 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด แหล่งข้อมูล เป็นที่มาของข้อมูลต่างๆ ซึ่งมีทั้งแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และแหล่งข้อมูลที่ไม่ใช่ บุคคล 2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ง 3.1 ป.2/1 บอกประโยชน์ของข้อมูลและรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) บอกความหมายของแหล่งข้อมูลได้ 2) จาแนกประเภทของแหล่งข้อมูลได้ 3) บอกวิธีการรวบรวมข้อมูล และจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ข้อมูลบางอย่างมีประโยชน์ในการดาเนินชีวิต ต้องพิจารณาก่อนนาไปใช้ 2) แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เป็นแหล่งข้อมูลที่มีการรวบรวมข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์ มีเหตุผล และมีการอ้างอิง เช่น - แหล่งข้อมูลของทางราชการ - แหล่งข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ตรง และศึกษาในเรื่องนั้นๆ 3) การรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งที่เชื่อถือได้ช่วยให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และสมบูรณ์มากขึ้น 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น -
  • 2. 24 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 1) กระบวนการสังเกต 2) กระบวนการทางานกลุ่ม 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีความรับผิดชอบ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนแบบบรรยาย และวิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม) ชั่วโมงที่ 1-2 1. ครูเล่าตานานกาเนิดท่าเตียน ให้นักเรียนฟัง เมื่อเล่าจบแล้วให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ตานาน หรือเล่าเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเป็นมาของท่าเตียนตามที่นักเรียนเคยทราบ 2. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนสามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของตานานกาเนิดท่าเตียนได้จาก แหล่งข้อมูลใดบ้าง แล้วให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างแหล่งข้อมูล 3. ครูตรวจสอบความถูกต้องจากการยกตัวอย่างของนักเรียน และอธิบายให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับ ความหมายและความสาคัญของแหล่งข้อมูล 4. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ประเภทของแหล่งข้อมูล จากหนังสือเรียน 5. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงความแตกต่างและความสาคัญของแหล่งข้อมูลชั้นต้น และแหล่งข้อมูล ชั้นรอง 6. ครูสนทนากับนักเรียนว่า ในชีวิตประจาวันของเรา สามารถหาข้อมูลต่างๆ ได้จากแหล่งข้อมูลที่อยู่ ใกล้ตัว ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และแหล่งข้อมูลที่ไม่ใช่บุคคล
  • 3. 25 7. ให้นักเรียนแต่ละคนบอกแหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่สามารถหาข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสนใจได้เป็นอย่างดี แล้วครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 คน เล่าถึงแหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่นักเรียนเลือก เช่น แหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่ สามารถหาข้อมูลต่างๆ ที่สนใจได้เป็นอย่างดี คือ ผู้ปกครอง ที่สามารถอธิบาย หรือแนะนาวิธีการ หาข้อมูลหรือคาตอบในเรื่องต่างๆ ได้เป็นอย่างดี 8. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว จากหนังสือเรียน เมื่อนักเรียนศึกษาจบแล้ว ให้นักเรียนบอกประโยชน์ที่ได้รับจากแหล่งข้อมูลที่กาหนด ดังนี้ 9. ครูช่วยสรุปความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัวที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และที่ไม่ใช่ตัว บุคคล และอธิบายเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตว่า เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ เชื่อมโยงกันทั่วโลก ทาให้สามารถรับข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีก เครื่องหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว มีประโยชน์มากในการติดต่อสื่อสารในปัจจุบัน 10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัย และอธิบายให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น จากนั้นให้นักเรียนทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประเภทของแหล่งข้อมูล เมื่อนักเรียนทาใบงานเสร็จแล้วให้ ตรวจสอบความถูกต้องก่อนนาส่งครูตรวจ ชั่วโมงที่ 3 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อมูล หรือเรื่องราวที่สนใจว่า นักเรียนมีวิธีการรวบรวม ข้อมูลที่ศึกษาอย่างไร 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง 3. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลพอสังเขป 4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง การรวบรวมข้อมูล จากหนังสือเรียน แล้วร่วมกันสรุปความรู้ในประเด็นที่ครูกาหนด ดังนี้ - วิธีการรวบรวมข้อมูล - การจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้ 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่าง การรวบรวมข้อมูล จากหนังสือเรียน 6. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับตัวอย่างที่ได้ศึกษา และสรุปความรู้ร่วมกัน หนังสือ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต
  • 4. 26 7. ครูสรุปความรู้เกี่ยวกับวิธีการรวบรวมข้อมูล และการจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้ ให้นักเรียนจด บันทึกลงสมุด จากนั้นให้นักเรียนทาใบงานที่ 2.2 เรื่อง การรวบรวมข้อมูล เสร็จแล้วครูและนักเรียน ช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงาน ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน 7. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานที่ 2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.2 2) ตานานกาเนิดท่าเตียน 3) ตัวอย่างภาพข้อมูลประเภทต่างๆ 4) กระดาษขนาด A4 5) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประเภทของแหล่งข้อมูล 6) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การรวบรวมข้อมูล 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
  • 5. 27 ตัวอย่างสื่อประกอบการสอน ตานานยักษ์วัดโพธิ์ - ตานานกาเนิดท่าเตียน “ยักษ์วัดโพธิ์” ตั้งเก็บไว้อยู่ในตู้หน้าซุ้มประตูทางเข้าพระมณฑป (หอไตรจตุรมุข) ในส่วนของยักษ์ประจาวัดโพธิ์ หลายคนคงเคยได้ยินตานานกาเนิดท่าเตียน ที่เล่าปากต่อปากกันมาว่าบริเวณท่าเตียนอันเป็นพื้นที่โล่งเตียนนั้น เป็นผลจากการต่อสู้ของ “ยักษ์วัดแจ้ง” กับ “ยักษ์วัดโพธิ์” โดยมี “ยักษ์วัดพระแก้ว” เป็นผู้ห้ามทัพ ตานานกาเนิดท่าเตียน มีว่า ยักษ์วัดโพธิ์ซึ่งทาหน้าที่ดูแลวัดโพธิ์ และยักษ์วัดแจ้งซึ่งทาหน้าที่ดูแลวัดแจ้งหรือวัดอรุณฯ ฝั่งตรงข้ามนั้น ทั้ง 2 ตนเป็นเพื่อนรักกัน วันหนึ่งทางฝ่ายยักษ์วัดโพธิ์ไม่มีเงิน จึงข้ามแม่น้าเจ้าพระยาไปขอยืมเงินจากยักษ์วัดแจ้ง พร้อมทั้งนัดวันที่จะนาเงินไปส่งคืน เมื่อถึงกาหนดส่งเงินคืน ยักษ์วัดโพธิ์กลับไม่ยอมจ่าย เบี้ยวเอาเสียดื้อๆ
  • 6. 28 ยักษ์วัดแจ้งเมื่อรอแล้วรอเล่าจนทนไม่ไหว จึงตัดสินใจข้ามแม่น้าเจ้าพระยามาทวงเงินคืน แต่ยักษ์วัดโพธิ์ไม่ยอมให้ ในที่สุดยักษ์ทั้ง 2 ตน จึงเกิดการทะเลาะถึงขั้นต่อสู้กัน แต่เพราะรูปร่างที่ใหญ่โตมหึมาและมีกาลังมหาศาลของยักษ์ทั้ง 2 ตน เมื่อต่อสู้กันจึงทาให้ต้นไม้ในบริเวณนั้นถูกยักษ์ทั้งสองเหยียบย่าจนล้มตายลงหมด หลังจากที่เลิกต่อสู้กันแล้วบริเวณที่ทั้งสองประลองกาลังกันนั้น จึงราบเรียบกลายเป็นสถานที่ที่โล่งเตียนไปหมด ไม่มีอะไรเหลือเลย ครั้นเมื่อพระอิศวรได้ทราบเรื่องราวการต่อสู้กัน ทาให้บรรดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายในบริเวณนั้นเดือดร้อน จึงได้ลงโทษโดยการสาปให้ยักษ์ทั้ง 2 กลายเป็นหิน แล้วให้ยักษ์วัดโพธิ์ทาหน้าที่ยืนเฝ้าหน้าพระอุโบสถ และให้ยักษ์วัดแจ้งทาหน้าที่ยืนเฝ้าพระวิหารวัดแจ้งเรื่อยมา ส่วนฤทธิ์จากการสู้รบของยักษ์ทั้งคู่ที่ทาชุมชนละแวกนี้ราบเรียบเป็นหน้ากลอง ทาให้ชาวบ้านพากันเรียกว่า “ท่าเตียน” เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้ Credit : http://www.huaybondin.net/