SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 104
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
1
2
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland)
ร่างกายมีการทํางานประสานกัน เพือให้กิจกรรมต่าง ๆ ของ
ชีวิตเป็นไปอย่างราบรืน ระบบทีสําคัญ ทีช่วยให้ร่างกายมีการ
ประสานงานของอวัยวะต่าง ๆ มีอยู่ 2 ระบบ คือ
1. ระบบประสาท (nervous system) โดยระบบประสาทจะ
เกิดอย่าง…………………………………………………….. เพือให้ร่างกาย
ตอบสนองต่อภัยอันตรายในทันทีทันใด
2. ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) เป็นระบบสือสาร
ภายในร่างกายทําหน้าทีควบคุมและประสานกับการทํางานของระบบ
ต่าง ๆ ในร่างกาย มีลักษณะการทํางาน……………………………………..
……………………………………………………………………………………
3
ประวัติการศึกษาฮอร์โมน
การศึกษาทําให้ทราบว่า อัณฑะไก่จะผลิตสารเคมีชนิดหนึงออกมาแล้วลําเลียงไปตาม
ระบบหมุนเวียนเลือด ทําหน้าทีควบคุมลักษณะของการเป็นไก่ตัวผู้สารเคมีดังกล่าวคือ
……………………………………
4
ฮอร์โมนฮอร์โมน ((HormoneHormone))
- ฮอร์โมน (Hormone) คือ สารเคมีทีสร้างจาก………………….
……………………..... แล้วถูกลําเลียงไปตาม………………………………..
เพือทําหน้าที ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมลักษณะทางเพศ และ
ควบคุมการทํางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
- ผลิตจาก……………………………………. ซึงแตกต่างจากต่อม
ต่าง ๆ เช่น ต่อมนํ าลาย ต่อมเหงือ ต่อมนํ าตา ซึงต่อมเหล่านีล้วน
แล้วแต่มีท่อลําเลียงสารต่าง ๆ ทีต่อมสร้าง จึงเรียกต่อมเหล่านีว่า
ต่อมมีท่อ (Exocrine gland)
5
- ฮอร์โมนลําเลียงโดยอาศัยหลอดเลือดช่วยลําเลียง ต่อมไร้ท่อจึงมีหลอดเลือดมา
หล่อเลียงมาก ทังนีเพือลําเลียงฮอร์โมนทีสร้างขึนออกสู่กระแสเลือดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
- ฮอร์โมนส่วนใหญ่เป็นสารพวก…………………………………………….
6
ภาพแสดง การควบคุมดุลยภาพของร่างกายด้วยสารเคมีชนิดต่าง ๆ
ก. สารสือประสาทสร้างจากเซลล์ประสาท
ข. ฮอร์โมนประสาทสร้างจากเซลล์ประสาท
ค. ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ
7
ฮอร์โมนเป็นสารเคมี แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ
1. กลุ่มสเตอรอยด์ (steroid hormone) สร้างมาจาก………………...
………………………………………………………………… สเตอรอยด์ฮอร์โมน
ไม่ละลายในนํ า และไม่ถูกเก็บไว้ในต่อมทีสร้าง เมือสร้างขึนแล้วจะส่งไป
ยัง………………………………………… ระดับฮอร์โมนค่อนข้างคงที
2. กลุ่มเอมีน(amines hormone) ได้จากกรดอะมิโนเชือมกันแล้วตัด
หมู่คาร์บอกซิลออก จะได้เอมีน ฮอร์โมนกลุ่มนี……………… มีระดับฮอร์โมน
ไม่แน่นอน สูง ๆ ตํา ได้แก่ ………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………..
3. กลุ่มเพปไทด์หรือโปรตีน (peptide hormone หรือ protein
hormone) ประกอบด้วยกรดอะมิโนมาต่อกัน ฮอร์โมนนีละลายนํ าได้ และ
ระดับฮอร์โมนเปลียนแปลงเร็ว ได้แก่………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………...
8
9
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
(1) พวกทีร่างกายพอจะขาดได้ (Non-essential endocrine gland)
ถ้าหากตัดออกเมือร่างกายเจริญเต็มทีแล้ว มีผลกระทบต่อ
ร่างกายบ้าง แต่ไม่มาก แต่ถ้าหากตัดออกเมือร่างกายกําลังเจริญเติบโต
จะมีผลกระทบกระเทือนมาก ได้แก่
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกายฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกาย((ต่อต่อ))
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกายฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกาย((ต่อต่อ))
(2) พวกทีร่างกายขาดไม่ได้ (Essential endocrine gland)
เนืองจากต่อมพวกนี สร้างฮอร์โมนทีสําคัญมาก ถ้าหากตัดต่อม
เหล่านี ออกจะทําให้ร่างกายตายได้ในเวลาอันสั น ได้แก่
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
- ………………………………………………………………
10
11
12
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองหรือต่อมพิทูอิทารี (pituitary gland)
- เป็นต่อมขนาดเล็ก มีขนาด 10x13x6 มิลลิเมตร
- หนักประมาณ0.5 กรัม
- อยู่ส่วนล่างของสมองส่วน…………………………………….
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior lobe of pituitary gland)
2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง(intermediate lobe of pituitary gland)
3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง(posterior lobe of pituitary gland)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้ามีขนาดใหญ่กว่าต่อมใต้สมองส่วนหลังและ
เป็นต่อมไร้ท่อทีแท้จริงส่วน…………………………………………………….
แต่มีปลายแอกซอนของระบบประสาทจากไฮโพทาลามัสยืนเข้าไปในต่อม
13
ไฮโพทาลามัสกับการสร้างและหลังฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior pituitary gland)ถูก
ควบคุมโดยฮอร์โมนทีสร้างจาก……………………………………………
โดยเป็นพอลิเพปไทด์ฮอร์โมน ซึงเรียกชือตามผลทีแสดงออกต่อการสร้าง
ฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีทังฮอร์โมนทีกระตุ้นและยับยัง เช่น
1. โกรทฮอร์โมนรีลิสซิงฮอร์โมน (Growth hormone releasing
hormone ; GHRH)
2. โกรทฮอร์โมนอินฮิบิติงฮอร์โมน(Growth hormone inhibiting
hormone ; GHIH)
3. ไทรอยด์รีลิสซิงฮอร์โมน (Thyroid releasing hormone ; TRH )
ฮอร์โมนเหล่านีรวมเรียกว่า……………………………………….
เพราะ สร้างมาจากเซลล์ประสาท คือ นิวโรซีครีทอรีเซลล์ (Neurosecretory
cell) ภายในสมองส่วน…………………………
14
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
(anterior pituitary gland)
ฮอร์โมนทีสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีดังนีคือ
1. ……………………………………. (Growth hormone)
2. ………………………...(Gonadothophin /Gonadotrophic hormone )
3. ……………………………..(Prolactin)
4. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (Aadrenocorticotropic hormone ;
……………………………….)
5. …………………………….(Thyroid stimulting hormone;TSH)
เรียกอีกชือหนึงว่า โซมาโตรโทรฟิน (Somatotrophin / somatotrophic
hormone ; STH)
หน้าที
- ………………………………………………………………………………..
- กระตุ้นการทํางานของเซลล์สร้างกระดูก(Osteoblast) ทําให้
กระดูกเจริญเติบโตตามความยาวของกระดูกแขนขา
- มีผลต่อเมแทบอลิซึมของคาร์โบเฮเดรทและไขมัน
- …………………………การสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคสในเลือด
-ในเลือดเด็กทีกําลังเจริญเติบโตมีฮอร์โมนนี สูงกว่าในร่างกายทีโตเต็มวัย
อวัยวะเป้ าหมาย ………………………………………..
15
11.. โกรทฮอร์โมนโกรทฮอร์โมน ((GrowthGrowth hormonehormone ;; GHGH ))
11.. โกรทฮอร์โมนโกรทฮอร์โมน ((GrowthGrowth hormonehormone ;; GHGH ) () (ต่อต่อ))
ความผิดปกติของร่างกายจากปริมาณ GH สูงหรือตําเกินไป
 การขาด GH หรือได้รับในปริมาณทีน้อยเกินไป
- ขาด GH ในเด็ก ทําให้……………………………………. เพราะ
กระดูกแขนขาถูกยับยั ง เรียกลักษณะนี ว่า………………………………...
- ขาด GH ในผู้ใหญ่ จะไม่แสดงอาการสําคัญทีเห็นเด่นชัด แต่
มักจะมีนํ าตาลในเลือด………………คนปกติ ทําให้เกิดอาการเครียด
เมือเครียดมากๆอาจทําให้สมองได้รับอันตราย นอกจากนี การขาดGH
ในวัยผู้ใหญ่ทําให้เกิด…………………………………………………………
ทําให้เนื อเยือต่างๆเหียวแห้งหรือเหียวย่น
16
11.. โกรทฮอร์โมนโกรทฮอร์โมน ((GrowthGrowth hormonehormone ;; GHGH ) () (ต่อต่อ))
ความผิดปกติของร่างกายจากปริมาณ GH สูงหรือตําเกินไป
 การได้รับ GH มากเกินไป
- ในเด็กทําให้ มีแขนขายาวมาก ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติเรียกว่า
………………………………………….. และคนทีสูงผิดปกติมักมีอายุสั น
เพราะการรักษาระดับภาวะสมดุลของระบบต่าง ๆ มีประสิทธิภาพตํา
- ในผู้ใหญ่มักจะเกิดอาการเติบโตเฉพาะกระดูกบางส่วนของ
ร่างกายจะเพิมมากขึ นผิดปกติ เช่น กระดูกแผ่ขยายหนา และกว้างขึ น
มือเท้าและหน้า ใหญ่ผิดปกตเรียกอาการนี เรียกว่า………………………
……………………………………………..
17
18
22.. GonadothophinGonadothophin // GonadotrophicGonadotrophic hormonehormone
ประกอบด้วยฮอร์โมน2 ชนิด คือ
1) ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating hormone ; ……….)
2) ลูทิไนซิงฮอร์โมน (Lutinizing hormone ;…………..)
19
22.. GonadothophinGonadothophin // GonadotrophicGonadotrophic hormonehormone ((ต่อต่อ))
หน้าที
ในเพศหญิง
- FSH จะกระตุ้นการเจริญเติบโตฟอลลิเคิลของรังไข่(Ovarian
follicle) และออกฤทธิ ร่วมกับฮอร์โมนLH ให้สร้างและหลัง
……………………………………………………………………
- LH กระตุ้นให้ไข่สุกและการตกไข่ และหลังการตกไข่แล้วจะช่วย
กระตุ้นให้เซลล์ทีเหลือในฟอลลิเคิลให้กลายเป็นคอร์ปัสลูเทียม
(corpus luteum) เพือสร้าง…………………………………………..
ซึงมีผลต่อการเปลียนแปลงของเยือบุมดลูกเพือรองรับการฝังตัวของ
เอ็มบริโอ
20
22.. GonadothophinGonadothophin // GonadotrophicGonadotrophic hormonehormone ((ต่อต่อ))
หน้าที
ในเพศชาย
- FSH กระตุ้นการเจริญเติบโตของหลอดสร้างอสุจิ(siminiferous
tubule) ในอัณฑะและกระตุ้นการสร้างอสุจิ(Spermatogenesis)
- LH กระตุ้นให้กลุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์ของอัณฑะให้สร้างและ
หลังฮอร์โมน………………………………………………. ซึงเป็น
ฮอร์โมนเพศชาย ดังนันในเพศชายจึงเรียกอีกชือหนึงว่าฮอร์โมน
กระตุ้นอินเตอร์สติเชียล( interstitial cell stimulating hormone หรือ
…………………………)
21
33.. ฮอร์โมนฮอร์โมนโพรแลกตินโพรแลกติน ((ProlactinProlactin))
หน้าที
ในเพศหญิง
- ฮอร์โมนนีมีมากในหญิงตังครรภ์และปริมาณสูงสุดตอนคลอดบุตร
- ทํางานร่วมกับLH estrogen และ progesterone
- กระตุ้น……………………………………………………………..
- รักษาคอร์ปัสลูเทียมไม่ให้สลายไป
- ยับยังการหลังสารทีมากระตุ้นการสร้างโกนาโดโทรฟิน ทีสร้างมา
จากเซลล์ไฮโปทาลามัสจึงทําให้ผู้หญิงส่วนใหญ่ทียังให้นมบุตรไม่มี
การตกไข่
ในเพศชาย ยังไม่ทราบบทบาททีแน่ชัด นอกจากนียังพบในสัตว์ปีกอีก
ด้วยซึงมีผลกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการเลียงดูตัวอ่อน 22
44.. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟินฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน ((AdrenocorticotropicAdrenocorticotropic
hormone ; ACTH )hormone ; ACTH )
 เป็นเพปไทด์ฮอร์โมน
 กระตุ้นการเจริญเติบโต การสร้างและหลังฮอร์โมนของต่อมหมวกไต
ส่วนนอกให้เป็นปกติ
 กระตุ้นการหลัง…………………….และ …………… จากต่อมใต้สมอง
 ………..…………………………ของรงควัตถุเมลานินใต้ผิวหนังของสัตว์
เลือดเย็น เช่น กบ ให้ขยายตัวและมีสีเข้มมากขึ นได้
23
55.. ฮอร์โมนไทรอยด์ฮอร์โมนไทรอยด์ ((ThyroidThyroid stimultingstimulting hormonehormone;;TSHTSH))
 กระตุ้น………………..ให้สร้างและหลัง……………………………. หรือ
T3 และ …………………………….. หรือ T4 และยังควบคุมขนาดของ
ต่อมไทรอยด์
24
25
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง
- สร้างฮอร์โมนชนิดเดียว คือเมลาโนไซต์สติมูเลติงฮอร์โมน หรือฮอร์โมน
กระตุ้นเมลาโนไซด์(melanocyte stimulating hormone; …………….)
- บางทีจะเรียกว่า เมลาโนโทรฟิน (Melanotrophin)
- เป็นเพฟไทด์ฮอร์โมน
มีหน้าที
 ……………การสังเคราะห์รงควัตถุสีนํ าตาลทีเรียกว่า…………………..
ในเซลล์เมลาโนไซต์(Melanocyte)ทีผิวหนัง
 ความเข้มหรือคลําของสีจะอยู่นานประมาณ3-5 สัปดาห์
 ฮอร์โมนนีในสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลา สัตว์สะเทินนํ าสะเทินบก และ
สัตว์เลือยคลาน จะกระตุ้นให้เมลานินในเซลล์ผิวหนังกระจายไปทัว
เซลล์ซึงจัดเป็น………………………………………………………….
26
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลังฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
(posterior pituitary gland)(posterior pituitary gland)
- ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือนิวโรไฮโพไฟซิส
- …………………………..แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์
(Neurosecretory cell) ของ…………………………โดยกลุ่มเซลล์ประสาท
เหล่านีจะมีแอกซอนมาสินสุดกับภายในต่อมใต้สมองส่วนหลัง(ฮอร์โมน
ประสาท) โดยจะปล่อยฮอร์โมนทีปลายแอกซอนในต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ก่อนจากนันจึงนําไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยทางกระแสเลือดฮอร์โมน
นีมี2 ชนิด คือ
1) ……………………………………..หรือ ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก
(antidiuretic hormone ; ……….)
2) ……………………………………………
27
28
11)) วาโซเพรสวาโซเพรสซินซิน ((vasopressinvasopressin)) หรือหรือ
ฮอร์โมนแอนติไดฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกยูเรติก ((antidiureticantidiuretic hormonehormone))
หน้าที
- ……………………………………………โดยช่วยให้นํ าซึมผ่านผนัง
หลอดไตได้มากขึน
- จะหลังออกมา……………….เมือร่างกายกระหายนํ า และขาดนํ า
ความตึงเครียดสูง ความดันเลือดสูง
- นอกจากนียังกระตุ้นให้เส้นเลือดบีบตัวอีกด้วย ซึงเป็นการควบคุม
สมดุลนํ าภายในร่างกาย
29
22)) ออกซิโทออกซิโทซินซิน ((oxytocinoxytocin))
หน้าที
 กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนือเรียบของอวัยวะภายในหลายชนิด
 ช่วยให้คลอดลูกง่ายขึน โดยการ………………………………………
 ช่วยใน……………………….ขณะให้นมบุตร กระตุ้นให้มีการหดตัว
ของกล้ามเนือเรียบภายในเต้านมให้หลังนํ านมออกมามากขึน
30
31
32
ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์
((isletislet ofof LangerhansLangerhans))
 เป็นกลุ่มเซลล์ทีกระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ทัว ๆ ไปในตับอ่อน โดยการค้นพบ
ของ พอล แลงเกอร์ฮาน (Paul Langerhans) แห่งมหาวิทยาลัยไฟร์เบิร์กใน
เยอรมันในปี พ.ศ. 2411 ซึงได้ศึกษาเกียวกับตับอ่อนและสังเกตเห็นกลุ่ม
เซลล์กลุ่มหนึงกระจายอยู่เป็นหย่อมๆมีเลือดมาหล่อเลี ยงมาก ต่อมาจึง
เรียกกลุ่มเซลล์เหล่านั นเพือให้เกียรติแก่ผู้ค้นพบว่าไอเลตออฟแลงเกอร์
ฮานส์ (islet of Langerhans) แต่ยังไม่ทราบหน้าทีแน่ชัด
 ต่อมาในปี พ.ศ.2432 โยอันน์ วอน เมอริง (Johann von Mering)และออ
สกา มินคอฟสกิ (Oscar minkovski) ได้แสดงให้เห็นว่าการตัดตับอ่อน
ออกจากร่างกายของสุนัขมีผลต่อ………………………………………………..
…………………………………….. และต่อมาอีก2-3 สัปดาห์สุนัขตัวนั นก็ตาย
33
ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์
((isletislet ofof LangerhansLangerhans) () (ต่อต่อ))
 ในปี พ.ศ. 2455 ได้มีผู้ทดลองให้เห็นว่า กลุ่มเซลล์ดังกล่าวมีการผลิต
สารบางอย่างผ่านมาทางกระแสเลือดและให้ชือว่า อินซูลิน (insulin)
 ต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ศัลยแพทย์ชาวแคนาดา ชือเอฟ จี แบนติง
(F.G. Banting) และนิสิตแพทย์ ซ๊ เอช เบสต์ (C.H. Best) แห่ง
มหาวิทยาลัยโตรอนโต ทําการทดลองโดยมัดท่อตับอ่อนของสุนัข ผล
ปรากฏว่าตับอ่อนไม่สามารถสร้างเอนไซม์ได้อีก แต่ระดับนํ าตาลใน
เลือดยังปกติ และได้สกัดสารจากกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานอ
อกมา แล้วนําสารนี ไปฉีดให้กับสุนัขทีเป็นโรคเบาหวานภายหลังจาก
ตัดตับอ่อนออกแล้วปรากฎว่าสุนัขมีชีวิตอยู่เป็นปกติและ………………
…………………………………………………………………………………….
34
35
ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์
((isletislet ofof LangerhansLangerhans) () (ต่อต่อ))
ต่อมามีการศึกษาและพบว่าฮอร์โมนทีสําคัญทีผลลิตจากไอส์เลต
ออฟแลงเกอร์ฮานมี 2 ชนิดคือ …………… และ ……………..
1. ฮอร์โมนอินซูลิน(Insulin)
แหล่งทีสร้าง สร้างจาก…………………(beta cell / ß - cell) ซึงอยู่
บริเวณส่วนกลางของไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮาน
- รักษาระดับนํ าตาลในเลือดให้ปกติเมือปริมาณนํ าตาลในเลือด……..
และช่วยเร่ง……………………………………………………………..
………………………………………………………………………....
- เร่งการใช้กลูโคสของเซลล์ทัวไปทําให้นํ าตาลในเลือด,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,36
37
38
โรคเบาหวาน(diabetes mellitus)
• คนไข้ทีเป็นโรคเบาหวานนีจะมีปริมาณฮอร์โมนอินซูลิน…………………
ระดับนํ าตาลในเลือดสูงกว่าคนปกติ
• ระดับนํ าตาลในเลือดสูงเกินไปสามารถทําลายเบต้าเซลล์
• จะสลายไกลโคเจนทีสะสมไว้ภายในเซลล์ออกมาใช้จึงทําให้ระดับ
นํ าตาลในเลือดสูงมากจึงเกิดโรคเบาหวาน
• เป็นได้กับทุกเพศทุกวัย
• อาจมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม อายุมากขึน ความเครียด ความอ้วน
การอักเสบทีตับอ่อนจากเชือไวรัสหรือยาบางชนิด เป็นต้น
39
อาการทีสําคัญของโรคเบาหวาน
1. ปัสสาวะบ่อยและมาก เนืองจากมีนํ าตาลในเลือดมาก ท่อหน่วยไต
ไม่สามารถดูดกลับคืนสู่ร่างกายได้หมด
2. กระหายนํ ามากและบ่อยผิดปกติ
3. เมือเป็นแผลจะหายอยาก มีอาการคันบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และ
ผิวหนัง
4. นํ าหนักตัวลด อ่อนเพลีย เซืองซึม เมือยล้า
5. เลือดและปัสสาวะมีฤทธิ เป็นกรดมากกว่าปกติ เนืองจากมีสารคีโตน
( ketone body ) จากการสลายไขมันและถ้าเป็นโรคเบาหวานนาน ๆ
อาจจะทําให้ ตาบอดและไตจะค่อย ๆ หมดสภาพในการทํางาน
40
โรคเบาหวานทีพบในปัจจุบันมี 2 แบบ
1) โรคเบาหวานทีเกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมน
อินซูลินได้เลย
2) โรคเบาหวานทีเกิดจากเซลล์ของร่างกายไม่สังเคราะห์ตัวรับ
อินซูลิน (หน่วยรับเฉพาะ = receptor) ทําให้อินซูลินทํางาน
ไม่ได้ โรคเบาหวานแบบนีตับอ่อนของผู้ป่วยสามารถสร้าง
อินซูลินได้ปกติแต่ อินซูลินไม่สามารถทํางานได้
41
การรักษาโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเป็นโรคทีรักษาให้หายขาดได้ยาก แต่ถ้าเพิงเริมมี
อาการหากรักษาให้ถูกวิธี ก็อาจจะทําให้เซลล์ของไอส์เลตออปแลงเกอร์
อานส์ฟืนตัวเป็นปกติได้โดย……………………………………………………
และ………………………………………………………………………………….
การฉีดฮอร์โมนเข้าไปจะทําให้ร่างกายสามารถดํารงสภาพปกติอยู่ได้ หรือ
อาการผิดปกติทุเลาลงได้ แต่ส่วนใหญ่มักจะไม่หายขาด ทังนีเนืองจาก
เซลล์ในไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ทีสร้างฮอร์โมนมีประสิทธิภาพในการ
สร้างฮอร์โมนลดลงไป จําเป็นต้องฉีดฮอร์โมนอยู่เสมอ
ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์
((isletislet ofof LangerhansLangerhans) () (ต่อต่อ))
2. ฮอร์โมนกลูคากอน (glucagon)
 สร้างจาก…………………………………..(alpha cell / a-cell)
 หน้าทีตรงข้ามกับอินซูลิน คือ เมือระดับนํ าตาลในเลือดตํา กลูคากอน
จะ…………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..
 การขาดกลูคากอนมักจะไม่มีผลต่อร่างกายมากนัก เนืองจากร่างกายมี
ฮอร์โมนอีกหลายตัวทีทําหน้าทีแทนอยู่แล้ว
 ผลจากการทํางานของฮอร์โมนทั งสองจะทําให้ระดับนํ าตาลในเลือดอยู่
ในภาวะปกติเสมอ
42
43
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต (adrenal gland)(adrenal gland)
 ตังอยู่เหนือไตทัง2 ข้าง แบ่งออกเป็น2 บริเวณคือบริเวณส่วน
นอกเรียกว่า adrenal cortex และส่วนในเรียกว่า adrenal medulla
44
11.. อะดรีนัลคอร์อะดรีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex))
เนื อเยือชั นนี ผลิตฮอร์โมนมากว่า50 ชนิด ฮอร์โมนทีผลิตขึ นมี
สมบัติเป็นสเตรอยด์ ซึงร่างกายสังเคราะห์ได้จากคอเลสเทอรอล
ได้แก่
 1. Mineralocorticoid hormone
 2. Glucocortricoid hormone
 3. ฮอร์โมนเพศ (Adrenal sex hormone )
45
1. มิเนราโลคอร์ติคอยด์ฮอร์โมน (Mineralocorticoid hormone)
 เป็นฮอร์โมนทีมีหน้าทีควบคุมสมดุลนํ าและเกลือแร่ในร่างกาย ฮอร์โมน
ทีสําคัญในกลุ่มนี คือ…………………………………………………..
 ควบคุมการ………………………………………………………………
ทีท่อหน่วยไตเข้าสู่หลอดเลือด และ……………………………ออกจาก
ท่อหน่วยไตให้สมดุลกับความต้องการของร่างกาย
 ควบคุมสมดุลความเข้มข้นของฟอสเฟตในร่างกาย
 การขาด aldosterone จะมีผลให้ร่างกายสูญเสีย………………………..
ไปพร้อมกับนํ าปัสสาวะและส่งผลให้ปริมาณเลือด…………………….
จนอาจทําให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดตําได้
46
11.. อะดรีนัลคอร์อะดรีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex) () (ต่อต่อ))
47
11.. อะดรีนัลคอร์อะดรีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex) () (ต่อต่อ))
2. กลูโคคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมน (Glucocortricoid hormone)
 ฮอร์โมนกลุ่มนีมีผลต่อการควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
ตัวอย่าง เช่น…………………………………………..
 ………………………………………ให้สูงขึน โดยการกระตุ้นเซลล์ตับ
ให้เปลียน……………………………….เป็น…………………………..
และเก็บสะสมในรูปของไกลโคเจน จากนันจึงกระตุ้นตับให้
เปลียน………………………………………………..ส่งเข้ากระแสเลือด
48
อะดอะดรีนัลคอร์รีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex) () (ต่อต่อ))
3. ฮอร์โมนเพศ (Adrenal sex hormone )
ในภาวะปกติฮอร์โมนทีสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์มีเพียงเล็กน้อย
เมือเทียบกับฮอร์โมนเพศจากอวัยวะเพศ ส่วนใหญ่จะเป็นฮอร์โมนเพศ
ชายมีฮอร์โมนเพศหญิงน้อยมาก ฮอร์โมนเพศทีสร้าง เช่น
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
49
50
ความผิดปกติเนืองจากฮอร์โมนอะดรีนัลคอร์เทกซ์
1) ถ้าอะดรีนัลคอร์เทกซ์ ทํางานมากผิดปกติ
• ทําให้สร้างฮอร์โมนมากเกินไป
• โดยเฉพาะฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ จะทําให้เกิด………………………
……………………………………….ซึงมักเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
คนไข้จะมีความผิดปกติเกียวกับเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน
และโปรตีน ……………………………………………………………………….
เนืองจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา แต่มีการสะสม
ไขมันทีบริเวณแกนกลางของลําตัว เช่น ใบหน้า ทําให้ …………………….
…………………. บริเวณต้นคอมีหนอกยืนออกมา อ้วนมากตรงกลางลําตัว
มีรอยแตกทีหน้าท้อง ขาดประจําเดือนและความดันโลหิตสูง อาการ
เช่นนีอาจพบได้ในผู้ป่วยทีได้รับการรักษาด้วยยาทีมีคอร์ติโคสเตรอยด์
เป็นส่วนผสมติดต่อกันเป็นระยะเวลานานเพือป้องกันการแพ้หรืออักเสบ
51
ความผิดปกติเนืองจากฮอร์โมนอะดรีนัลคอร์เทกซ์ (ต่อ)
2) ถ้าหากอะดรีนัลคอร์เทกซ์น้อยกว่าปกติ
เช่น ถูกทําลายจนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้หรือต่อมทํางาน
ได้น้อยกว่าปกติ(Hypofunction)
- จะทําให้เกิด…………………………………………………..
• คนไข้จะมีรงควัตถุขึนตามผิวหนังหรือผิวหนังตกกระ ซูบผอม
กล้ามเนืออ่อนเพลีย
• การขาดแอลโดสเตอโรน ทําให้ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลเกลือแร่
ได้ซึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยถึงแก่ความตายได้
52
22.. อะดรีนัลเมดัลอะดรีนัลเมดัลลาลา ((Adrenal medulla)Adrenal medulla)
มีต้นกําเนิดจากเนือเยือประสาทซึงเป็นเนือเยือชันนอก และถูก
ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนวัติสร้างฮอร์โมน2 ชนิด คือ
1. อะดรีนาลินฮอร์โมน (Adrenalin hormone) หรือ
แอพิเนฟรินฮอร์โมน (Epinephrine hormone)
 กระตุ้นให้ไกลโคเจนในตับสลายตัวเป็นกลูโคส
 กระตุ้นหัวใจให้เต้นเร็วขึน ความดันเลือดสูง
 ทําให้เมแทบอลิซึม………………………………..ซึงเป็นฮอร์โมนที
หลังออกมาเมือร่างกายอยู่ในสภาวะฉุกเฉิน ดังนันจึง เรียกอีกชือหนึง
ว่าfligth or fight hormone
53
22.. อะดรีนัลเมดัลอะดรีนัลเมดัลลาลา ((Adrenal medulla)Adrenal medulla)((ต่อต่อ))
2. นอร์อะดรีนาลินฮอร์โมน (Noradrenalin hormone) หรือ
นอร์เอพิเนฟรินฮอร์โมน (Norepinephrin hormone)
มีผลคล้ายอะดรีนาลิน คือ ทําให้ความดันเลือดสูงขึน ทําให้หลอด
เลือดทีไปเลียงอวัยวะต่างๆ บีบตัว และนอกจากนียังหลังออกมาจาก
เซลล์ประสาทตัวที2 ของประสาทซิมพาเทติกด้วย
54
55
56
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)(Thyroid gland)
ตําแหน่งและรูปร่างลักษณะ
 ต่อมไทรอยด์มีลักษณะเป็นพู มี2 พู รูปร่างคล้ายผีเสือกางปีก โดยตรง
กลางมีเยือบาง ๆ (Isthmus) เชือมติดถึงกันได้ อยู่สองข้างของคอหอย
บริเวณคอทางด้านหน้าของหลอดลม มีเลือดมาเลียงจํานวนมาก
มีนํ าหนัก20-40 กรัม
 ภายในต่อมไทรอยด์ประกอบด้วยฟอลลิเคิล ( follicle ) ขนาดต่างๆ เป็น
จํานวนมาก ซึงไทรอยด์ฟอลลิเคิลเป็นกลุ่มเซลล์กลม ๆ ชันเดียวทีเรียงตัว
เป็นวงกลมภายในช่วงกลวงบรรจุสารคอลลอยด์ทีเรียกว่าไทโรโกลบูลิน
57
58
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)(Thyroid gland)
แต่ละพูของต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมน 2 ประเภท คือ
1. ฮอร์โมนทีมีสารประกอบไทโรนีนทีมีไอโอดีน ได้แก่
……………………………( Thyroxin / Tetraiodothyronin ; T4) กับ
……………………………………………..( Triiodothyronine; T3)
2. ………………………………………………….ซึงเป็นสารประกอบ
พวกโพลีเปปไทด์
59
11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ
ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33))
 ฮอร์โมนไทรอกซินเป็นฮอร์โมนทีสร้างมาจาก
………………………….. + …………………………
 บริเวณทีสร้างฮอร์โมนนี คือ ไทรอยด์ฟอลลิเคิล ถูกเก็บไว้ในช่องตรง
กลางของฟอลลิเคิลอยู่ในรูปสารคอลลอยด์
 ฮอร์โมนนี อยู่ร่วมกับโปรตีน ทีเรียกว่าไทโรโกลบูลิน(Thyroglobulin)
ซึงเป็นโปรตีนทีมีไอโอดีนอยู่ในโมเลกุล
 การหลังฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ต้องมีเอนไซม์มาย่อยไทโรโกลบูลิน
ก่อนและทําให้อยู่ในรูปไทรอกซิน(T4) และ ไตรไอโอโดไทโรนิน(T3)
ก่อนจะเข้าหลังสู่กระแสเลือด
60
61
11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ
ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33)) ((ต่อต่อ))
 ควบคุมเมแทบอลิซึมของร่างกายโดยทําให้…………อัตราเมตาโบลิซึม
และการใช้ออกซิเจนของเซลล์
 เพิมการสังเคราะห์โปรตีนรวมทังเอนไซม์
 ทําหน้าทีร่วมกับGH ในการควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย และ
ควบคุม……………………………………………………………
 ควบคุม………………………………………..ของสัตว์ครึงบกครึงนํ า
 ถ้าร่างกายคนขาดหรือมีไทรอกซินน้อยเกินไป จะทําให้………………
................................................................................................................
62
63
64
11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ
ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33)) ((ต่อต่อ))
โรคทีมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของไทรอกซิน ได้แก่
1) คอหอยพอกธรรมดา (Simple goiter)
- ขาด………………………….
- ต่อมไทรอยด์จึง………………………………………………………..
- ต่อมไทรอยด์จึงมีขนาดโตขึนทําให้เป็นคอพอกธรรมดา
- การรักษาโดยเพิมอาหารทีมีธาตุไอโอดีนสูง เช่น อาหารทะเล
65
11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ
ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33)) ((ต่อต่อ))
2) คอหอยพอกเป็นพิษ (Toxic goiter)
- เกิดจากการทีมีไทรอกซิน…………..
- ต่อมไทรอยด์จะโตขึนและมีอาการตาโปนหรือตาถลนจากเบ้าตา
- เมแทบอลิซึมสูง
- เหนือยง่าย หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย
- การรักษาโดยกินยาขัดขวางการสร้างฮอร์โมนหรือผ่าตัดบางส่วนของ
ต่อมออกหรือให้กินสารไอโอดีนกัมมันตรังสี เพือให้เนือเยือบางส่วน
ของต่อมไทรอยด์ทํางานได้
66
67
68
69
3) มิกซีดีมา (myxedema)
มีไทรอกซิน………. ต่อมไทรอยด์ลีบ มักเป็นในวัยผู้ใหญ่
ส่วนมากเกิดกับหญิงทําให้มีเมแทบอลิซึม…… อ้วนฉุ ตามใบหน้า และ
ลําตัวบวมนํ า ผิวหนังแห้ง ตัวเย็น ผอมและขนร่วง หัวใจเต้นช้า ความจํา
เสือม รักษาโดยการให้ฮอร์โมน
70
4) ครีตินิซึม (cretinism)
มักเกิดกับเด็กทีมีไทรอกซิน
น้อย จะทําให้…………………………...
……………………………………………
……………………………………………
และมีรูปร่างเป็นเด็กอยู่เสมอ
22.. ฮอร์โมนฮอร์โมนแคลแคลซิโตซิโตนินนิน ((CalcitoninCalcitonin))
 ลดระดับแคลเซียมในเลือดทีสูงเกินไปให้เข้าสู่ระดับปกติโดย
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
 ระดับแคลเซียมในเลือดเป็นตัวควบคุมการหลังฮอร์โมน
 มีผลในการเร่งขับ………………………………ทีไต
71
ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์พาราไทรอยด์ ((parathormone)parathormone)
ฮอร์โมนพาราทอร์โมน (Parathromone) หรือ
พาราไทรอยด์ฮอร์โมน (Parathyroid hormone ; PTH)
 รักษาสมดุลของ…………………………………ในร่างกายให้คงที
 กระตุ้นให้มีการเพิมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัส ถ้าหากระดับ
แคลเซียมในเลือดตํา
 ทําให้มีการดูดซึมแคลเซียมทีลําไส้และท่อหน่วยไต…………………….
 มีการกระตุ้นให้มี…………………………แคลเซียมออกจากกระดูกมาก
 ดังนันถ้าหากมีฮอร์โมนนีมากเกินไปจะมีผลทําให้เกิดการสะสมของ
แคลเซียมทีไต ทีหลอดเลือด มีการดึงเอาแคลเซียมจากกระดูกและฟัน
ออกมา ทําให้เกิดอาการกระดูกเปราะบางและหักง่าย ทําให้เป็นโรค
กระดูกพรุน ฟันหักและผุง่าย 72
73
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ((parathormoneparathormone))((ต่อต่อ))
ถ้าต่อมพาราไทรอยด์บกพร่องไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ จะมีผลทําให้
1. สูญเสียการดูดกลับทีท่อหน่วยไตลดลงทําให้สูญเสียแคลเซียม
ไปกับนํ าปัสสาวะและเป็นผลทําให้ระดับแคลเซียมในเลือดลดตําลงมาก
2. ………………………………………………………………………..
แขนขาสัน ปอดทํางานไม่ได้และตายในทีสุด
อาการอาจหายไปเมือฉีดด้วยพาราทอร์โมนและให้วิตามินดีเข้า
ร่วมด้วย เพราะวิตามินดีช่วยทําให้ฮอร์โมนนี ทํางานได้ดีขึ นทําให้ดูดซึม
แคลเซียมทีลําไส้และท่อหน่วยไตมากขึ น การทํางานของฮอร์โมนพารา
ทอร์โมนจะทํางานควบคู่กับแคลซิโทนินจากต่อมไทรอยด์ เพือให้เกิด
ความสมดุลของระดับแคลเซียมในร่างกาย
74
75
ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ (Testis(Testis andand OvaryOvary))
ฮอร์โมนทีสร้างเป็นสารพวกสเตอรอยด์ (Steroid hormone) แบ่งเป็น 2
กลุ่ม คือ
1. ฮอร์โมนทีสร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย
2. ฮอร์โมนทีสร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง
*** โดยฮอร์โมนทัง2 ถูกกระตุ้นจาก……. และ ……. ***
76
11.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชายฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย
 แหล่งทีทําหน้าทีสร้างฮอร์โมนในอัณฑะ(testis) คืออินเตอร์สติเชียลเซลล์
(Interstitial cell) อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิ(seminiferous tubule)
 เมือเริมวัยหนุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์จะถูกกระตุ้นจากฮอร์โมน…… หรือ
…………… จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้างฮอร์โมนเพศชายทีเรียกว่า
………………………..ประกอบด้วยฮอร์โมนหลายชนิดทีสําคัญทีสุด คือ
…………………………………………….
 เทสโทสเทอโรนมีหน้าทีควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์เพศ
ชาย และควบคุมลักษณะขันทีสองของเพศชาย คือ เสียงแตก นมขึนพาน
ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดเครา มีขนขึนบริเวณหน้าแข้ง รักแร้ และ
อวัยวะสืบพันธุ์ กระดูกหัวไหล่กว้างและกล้ามเนือตามแขนขาเติบโต
แข็งแรงมากกว่าเพศหญิง 77
78
79
80
81
22.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง
แหล่งสร้างฮอร์โมนเพศหญิง คือ รังไข่ ฮอร์โมนทีสร้าง ได้แก่
1) เอสโทรเจน (Estrogen) ซึงสร้างจาก………………………………
 กระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิล
 ควบคุมลักษณะขันทีสองของการเป็นเพศหญิงคือ เสียงเล็กแหลม
สะโพกผาย กระตุ้นให้ต่อมนํ านมเจริญขึน กระตุ้นการเจริญของอวัยวะ
เพศ กระตุ้นมดลูก ท่อนําไข่
 ควบคุมการการเปลียนแปลงทีรังไข่และเยือบุมดลูก
 กระตุ้นการหลัง……… จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าเพือให้มีการตกไข่
 ร่วมกับ………………………………………………………………..
กระตุ้นให้เกิดการหนาตัวของผนังมดลูกด้านในเพือเตรียมตังครรภ์
82
22.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง((ต่อต่อ))
2) โพรเจสเทอโรน (Progesterone)
 สร้างจากคอร์พัสลูเทียม (Corpuslutium)ของรังไข่
 มีหน้าทีกระตุ้นให้ผนังด้านในมดลูกหนาตัวขึ น(ร่วมกับ ……………..)
ผนังมดลูกมีหลอดมาเลี ยงมากเพือรอการฝังตัวของไข่ทีปฏิสนธิแล้ว
 มีผลในการห้าม…………………………………………………………….
 กระตุ้นการเจริญของ………………….ถ้าหากไข่ทีตกไม่ได้รับการผสม
คอร์พัสลูเทียมจะค่อย ๆ สลายไป โพรเจสเทอโรนจึงลดตําลง จึงไม่มี
ฮอร์โมนไปกระตุ้นมดลูกอีก ทําให้ผนังของมดลูกแตกสลายและหลุด
ออกมาเป็นเลือดประจําเดือน
83
84
85
86
87
88
89
22.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง((ต่อต่อ))
 ขณะทีเอ็มบริโอฝังตัวทีผนังมดลูกจะมีการสร้างรก(placenta)
เชือมติดต่อระหว่างเยือหุ้มเอ็มบริโอกับเนื อเยือชั นในของผนัง
มดลูก
 รกจะทําหน้าทีสร้าง………………………………………………….
…………………………………………………………………………..
มีหน้าทีรักษาสภาพของ corpuslutium ในรังไข่สร้างฮอร์โมน
โพรเจสเทอโรน ซึง HCG ถูกขับออกมาจากนํ าปัสสาวะ จึง
สามารถใช้เป็นตัวตรวจสอบการตั งครรภ์
90
ฮอร์โมนต่อมฮอร์โมนต่อมไพเนียลไพเนียล ((Pineal gland)Pineal gland)
 ต่อมไพเนียล(pineal gland)หรือต่อมเหนือสมอง (epiphysis) เป็นต่อม
ทีอยู่บริเวณกึงกลางทีรอยต่อของสมองส่วนซีรีบรัมพูซ้ายและ พูขวา
 ฮอร์โมนทีสร้างจากต่อมนี คือฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin)
- จะไปยับยั งการเจริญของรังไข่และอัณฑะ และไปยับยั งการหลัง
โกนาโดโทรฟิน ทําให้การเติบโตเป็นหนุ่มสาวช้า
- ถ้าต่อมผิดปกติและผลิตฮอร์โมนเมลาโทนินมากเกินไปก็จะทําให้
เจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวช้ากว่าปกติ ถ้าต่อมไพเนียลไม่สามารถสร้าง
ออร์โมนเมลาโทนินจะมีผลทําให้เติบโตเป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ
- บทบาทของฮอร์โมนนี ยังไม่ชัดเจนในวัยผู้ใหญ่
91
ฮอร์โมนต่อมฮอร์โมนต่อมไพเนียลไพเนียล ((Pineal gland)Pineal gland) ((ต่อต่อ))
 ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์มีความเชือว่าในสัตว์บางชนิดต่อมไพเนียลถูก
ควบคุมโดยสารสือประสาทจากเซลล์ประสาทซิมพาเทติก เมือเรตินาที
นัยน์ตาได้รับแสง ก็จะส่งกระแสประสาทไปยังเชลส์ประสาทชิมพาเทติก
แล้วประสาทชิมพาเทติกส่งกระแสประสาทต่อไปยังต่อมไพเนียล เพือ
ยับยั งการหลังฮอร์โมนเมลาโทนิน
 จะเห็นได้ว่าการทํางานของต่อมไพเนียลของสัตว์พวกนี จะมี
ความสัมพันธ์ กับแสงสว่าง ด้วยเหตุนี ในตอนกลางวันต่อมไพเนียนจะ
หลังเมลาโทนินได้น้อยกว่าในเวลากลางคืน ในฤดูหนาวทีมีช่วงกลางวัน
สั น ต่อมไพเนียลจะหลังฮอร์โมนเมลาโทนินมาก และมีผลไปยับยั งการ
หลังฮอร์โมนเพศให้ลดลง ทําให้สัตว์ไม่ผสมพันธุ์ในฤดูนี
92
93
ฮอร์โมนต่อมฮอร์โมนต่อมไพเนียลไพเนียล ((Pineal gland)Pineal gland) ((ต่อต่อ))
 ในสัตว์ครึงบกครึงนํ าและสัตว์เลื อยคลานบางชนิดพบว่า………............
…………………………………………. มีผลทําให้สีผิวของสัตว์มีสี………..
โดยต่อมไพเนียลจะทําหน้าทีเป็นกลุ่มเชลล์รับแสงคล้าย ๆ เนื อเยือเรติ
นาของนัยน์ตา เมือนัยน์ตาได้รับแสงแล้วจะส่งกระแสประสาทไปทีเชลล์
ประสาททําให้กระตุ้นการหลังฮอร์โมนเมลาโทนิน มีผลทําให้รงควัตถุเม
ลานินในเชลส์ผิวหนังรวมกลุ่มกัน สีผิวของสัตว์จึงจางลงซึงฮอร์โมนนี
จะทํางานตรงข้าม
กับ……………………………………………………………………………….
94
ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมไทมัสไทมัสและเนือเยืออืนในร่างกายและเนือเยืออืนในร่างกาย
1. ต่อมไทมัส (Thymus gland)
มีลักษณะเป็นพู2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบหลอดเลือดใหญ่ของ
หัวใจ (บริเวณขัวหัวใจ) ต่อมนีจะเจริญตังแต่อยู่ในครรภ์มารดาและเมือมี
อายุมากขึนจะมีขนาดเล็กลงและฝ่อไปเรือย ๆ ต่อมนีสร้าง ……………
………………….. มีหน้าทีกระตุ้นต่อมให้เนือเยือต่อมไทมัสสร้าง
………………………………………………………………………….
ซึงเป็นเซลล์ทีสําคัญในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
95
ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมไทมัสไทมัสและเนือเยืออืนในร่างกายและเนือเยืออืนในร่างกาย((ต่อต่อ))
2. ฮอร์โมนจากเนือเยืออืนในร่างกาย(tissue hormone)
 แกสทริน (Gastrin) สร้างจากเนือเยือชันในของ…………………..
มีหน้าทีกระตุ้นให้เกิดการหลังกรดไฮโดรคลอริกและเอนไซม์ และ
การหลังเอนไซม์จากตับอ่อน และควบคุมการเคลือนไหวของ
กระเพาะอาหารและลําไส้เล็ก
 ซีครีทิน (Secretin) สร้างมาจากเนือเยือชันในของ…………………
……………………………..โดยซีครีทินจะกระตุ้นให้ตับอ่อนหลัง
เอนไซม์และตับให้หลังนํ าดี ขณะทีอาหารจากกระเพาะอาหารผ่าน
เข้าไปยังลําไส้เล็ก 96
ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมไทมัสไทมัสและเนือเยืออืนในร่างกายและเนือเยืออืนในร่างกาย((ต่อต่อ))
 โคเลซีสโตไคนินและแพนคลีโอไซมิน (Cholecystokinin;CCKand
pancreozymin) สร้างมาจาก………………………มีหน้าทีกระตุ้น
การสร้างและหลังนํ าย่อยจากตับอ่อนและกระตุ้นการหดตัวของถุง
นํ าดี
 เอนเทอโรแกสโทน (Enterogastron) สร้างมาจากส่วนของ
…………………………….…… ทําหน้าทีลดการเคลือนไหวของ
กระเพาะอาหาร ทําให้อาหารผ่านลําไส้เล็กช้าลง โดยเฉพาะอาหาร
พวกไขมันและยังยับยังการขับนํ าย่อยของกระเพาะอาหารด้วย
97
98
กลไกการออกฤทธิของฮอร์โมนกลไกการออกฤทธิของฮอร์โมน
1. ออกฤทธิทีผิวเซลล์
99
100
2. ออกฤทธิทียีนในนิวเคลียส
กลไกการทํางานของฮอร์โมนกลไกการทํางานของฮอร์โมน
101
สิงเร้า ต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมน อวัยวะเป้ าหมาย
สัญญาณย้อนกลับ
102
ไฮโพทาลามัส
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ต่อมไทรอยด์
TSH
ตัวกระตุ้นบางอย่าง เช่น
ความเครียด ความเย็น
TSH รีลิสซิงฮอร์โมน
ระดับไทรอกซินในเลือดตํา
กระตุ้น
การยับยัง
ไทรอกซิน
ระดับไทรอกซินมากกว่าปกติ
ยับยัง
กระตุ้น
ส่งเสริม
การเจริญเติบโต
เมเทบอลิซึม
ฟีโรโมนฟีโรโมน (Pheromone)(Pheromone)
 หมายถึง ……………………………
…………………………………………
…………………………………………
 เมือสัตว์ปล่อยฟีโรโมนออกมาแล้ว
สัตว์ตัวอืนจะได้รับสามทางคือ
1. …………………
2. …………………
3. …………………
103
104
สามารถจําแนกฟีโรโมนตามพฤติกรรมได้ดังนี
1. …………………………… (sex pheromone) พบในผีเสือไหมตัวเมีย
ปล่อยออกมาดึงดูดผีเสือไหมตัวผู้
2. ………………………(alarm pheromone) เช่น มดตาย จะมีฟีโรโมน
ออกมาจากซากมดตัวนัน ทําให้มีการขนซากมดตัวนันไปทิงนอกรัง
3. ……………….(trail pheromone) ได้แก่ กรดบางชนิดทีมดงานปล่อย
ออกมาตามทางเดิน ทําให้มดตัวอืนสามารถเดินไปยังอาหารได้ถูกต้อง
4. …………………………..(queen substance) เช่นสารทีนางพญาให้ผึง
งานกิน ทําให้ผึงงานเป็นหมัน
5. …………………………..(aggregation pheromone) เช่น นางพญา
ปลวกปล่อยออกมาทําให้ปลวกงานมารวมกลุ่มกัน
6. …………………………...(territory pheromone) เช่น สุนัขปัสสาวะ
รดสิงต่าง ๆ ทีมันเดินผ่าน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนTeakzK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านน้ำอ้อย อ้อยอ้อย
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาวt-surinrach
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004pongtum
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mewlamun
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 

Was ist angesagt? (20)

การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธา
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Exhibition
ExhibitionExhibition
Exhibition
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
การวัดความยาว
การวัดความยาวการวัดความยาว
การวัดความยาว
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 

Ähnlich wie Hormone blank

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก Utai Sukviwatsirikul
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 

Ähnlich wie Hormone blank (12)

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 

Mehr von Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 

Mehr von Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Hormone blank

  • 2. 2 ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland) ร่างกายมีการทํางานประสานกัน เพือให้กิจกรรมต่าง ๆ ของ ชีวิตเป็นไปอย่างราบรืน ระบบทีสําคัญ ทีช่วยให้ร่างกายมีการ ประสานงานของอวัยวะต่าง ๆ มีอยู่ 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาท (nervous system) โดยระบบประสาทจะ เกิดอย่าง…………………………………………………….. เพือให้ร่างกาย ตอบสนองต่อภัยอันตรายในทันทีทันใด 2. ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) เป็นระบบสือสาร ภายในร่างกายทําหน้าทีควบคุมและประสานกับการทํางานของระบบ ต่าง ๆ ในร่างกาย มีลักษณะการทํางาน…………………………………….. ……………………………………………………………………………………
  • 4. 4 ฮอร์โมนฮอร์โมน ((HormoneHormone)) - ฮอร์โมน (Hormone) คือ สารเคมีทีสร้างจาก…………………. ……………………..... แล้วถูกลําเลียงไปตาม……………………………….. เพือทําหน้าที ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมลักษณะทางเพศ และ ควบคุมการทํางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย - ผลิตจาก……………………………………. ซึงแตกต่างจากต่อม ต่าง ๆ เช่น ต่อมนํ าลาย ต่อมเหงือ ต่อมนํ าตา ซึงต่อมเหล่านีล้วน แล้วแต่มีท่อลําเลียงสารต่าง ๆ ทีต่อมสร้าง จึงเรียกต่อมเหล่านีว่า ต่อมมีท่อ (Exocrine gland)
  • 5. 5 - ฮอร์โมนลําเลียงโดยอาศัยหลอดเลือดช่วยลําเลียง ต่อมไร้ท่อจึงมีหลอดเลือดมา หล่อเลียงมาก ทังนีเพือลําเลียงฮอร์โมนทีสร้างขึนออกสู่กระแสเลือดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - ฮอร์โมนส่วนใหญ่เป็นสารพวก…………………………………………….
  • 6. 6 ภาพแสดง การควบคุมดุลยภาพของร่างกายด้วยสารเคมีชนิดต่าง ๆ ก. สารสือประสาทสร้างจากเซลล์ประสาท ข. ฮอร์โมนประสาทสร้างจากเซลล์ประสาท ค. ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ
  • 7. 7 ฮอร์โมนเป็นสารเคมี แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ 1. กลุ่มสเตอรอยด์ (steroid hormone) สร้างมาจาก………………... ………………………………………………………………… สเตอรอยด์ฮอร์โมน ไม่ละลายในนํ า และไม่ถูกเก็บไว้ในต่อมทีสร้าง เมือสร้างขึนแล้วจะส่งไป ยัง………………………………………… ระดับฮอร์โมนค่อนข้างคงที 2. กลุ่มเอมีน(amines hormone) ได้จากกรดอะมิโนเชือมกันแล้วตัด หมู่คาร์บอกซิลออก จะได้เอมีน ฮอร์โมนกลุ่มนี……………… มีระดับฮอร์โมน ไม่แน่นอน สูง ๆ ตํา ได้แก่ …………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………….. 3. กลุ่มเพปไทด์หรือโปรตีน (peptide hormone หรือ protein hormone) ประกอบด้วยกรดอะมิโนมาต่อกัน ฮอร์โมนนีละลายนํ าได้ และ ระดับฮอร์โมนเปลียนแปลงเร็ว ได้แก่……………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………...
  • 8. 8
  • 9. 9 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ (1) พวกทีร่างกายพอจะขาดได้ (Non-essential endocrine gland) ถ้าหากตัดออกเมือร่างกายเจริญเต็มทีแล้ว มีผลกระทบต่อ ร่างกายบ้าง แต่ไม่มาก แต่ถ้าหากตัดออกเมือร่างกายกําลังเจริญเติบโต จะมีผลกระทบกระเทือนมาก ได้แก่ - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกายฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกาย((ต่อต่อ))
  • 10. ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกายฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อทีสําคัญของร่างกาย((ต่อต่อ)) (2) พวกทีร่างกายขาดไม่ได้ (Essential endocrine gland) เนืองจากต่อมพวกนี สร้างฮอร์โมนทีสําคัญมาก ถ้าหากตัดต่อม เหล่านี ออกจะทําให้ร่างกายตายได้ในเวลาอันสั น ได้แก่ - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… - ……………………………………………………………… 10
  • 11. 11
  • 12. 12 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองหรือต่อมพิทูอิทารี (pituitary gland) - เป็นต่อมขนาดเล็ก มีขนาด 10x13x6 มิลลิเมตร - หนักประมาณ0.5 กรัม - อยู่ส่วนล่างของสมองส่วน……………………………………. แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior lobe of pituitary gland) 2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง(intermediate lobe of pituitary gland) 3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง(posterior lobe of pituitary gland) ต่อมใต้สมองส่วนหน้ามีขนาดใหญ่กว่าต่อมใต้สมองส่วนหลังและ เป็นต่อมไร้ท่อทีแท้จริงส่วน……………………………………………………. แต่มีปลายแอกซอนของระบบประสาทจากไฮโพทาลามัสยืนเข้าไปในต่อม
  • 13. 13 ไฮโพทาลามัสกับการสร้างและหลังฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า ฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า(anterior pituitary gland)ถูก ควบคุมโดยฮอร์โมนทีสร้างจาก…………………………………………… โดยเป็นพอลิเพปไทด์ฮอร์โมน ซึงเรียกชือตามผลทีแสดงออกต่อการสร้าง ฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีทังฮอร์โมนทีกระตุ้นและยับยัง เช่น 1. โกรทฮอร์โมนรีลิสซิงฮอร์โมน (Growth hormone releasing hormone ; GHRH) 2. โกรทฮอร์โมนอินฮิบิติงฮอร์โมน(Growth hormone inhibiting hormone ; GHIH) 3. ไทรอยด์รีลิสซิงฮอร์โมน (Thyroid releasing hormone ; TRH ) ฮอร์โมนเหล่านีรวมเรียกว่า………………………………………. เพราะ สร้างมาจากเซลล์ประสาท คือ นิวโรซีครีทอรีเซลล์ (Neurosecretory cell) ภายในสมองส่วน…………………………
  • 14. 14 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland) ฮอร์โมนทีสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีดังนีคือ 1. ……………………………………. (Growth hormone) 2. ………………………...(Gonadothophin /Gonadotrophic hormone ) 3. ……………………………..(Prolactin) 4. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (Aadrenocorticotropic hormone ; ……………………………….) 5. …………………………….(Thyroid stimulting hormone;TSH)
  • 15. เรียกอีกชือหนึงว่า โซมาโตรโทรฟิน (Somatotrophin / somatotrophic hormone ; STH) หน้าที - ……………………………………………………………………………….. - กระตุ้นการทํางานของเซลล์สร้างกระดูก(Osteoblast) ทําให้ กระดูกเจริญเติบโตตามความยาวของกระดูกแขนขา - มีผลต่อเมแทบอลิซึมของคาร์โบเฮเดรทและไขมัน - …………………………การสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคสในเลือด -ในเลือดเด็กทีกําลังเจริญเติบโตมีฮอร์โมนนี สูงกว่าในร่างกายทีโตเต็มวัย อวัยวะเป้ าหมาย ……………………………………….. 15 11.. โกรทฮอร์โมนโกรทฮอร์โมน ((GrowthGrowth hormonehormone ;; GHGH ))
  • 16. 11.. โกรทฮอร์โมนโกรทฮอร์โมน ((GrowthGrowth hormonehormone ;; GHGH ) () (ต่อต่อ)) ความผิดปกติของร่างกายจากปริมาณ GH สูงหรือตําเกินไป  การขาด GH หรือได้รับในปริมาณทีน้อยเกินไป - ขาด GH ในเด็ก ทําให้……………………………………. เพราะ กระดูกแขนขาถูกยับยั ง เรียกลักษณะนี ว่า………………………………... - ขาด GH ในผู้ใหญ่ จะไม่แสดงอาการสําคัญทีเห็นเด่นชัด แต่ มักจะมีนํ าตาลในเลือด………………คนปกติ ทําให้เกิดอาการเครียด เมือเครียดมากๆอาจทําให้สมองได้รับอันตราย นอกจากนี การขาดGH ในวัยผู้ใหญ่ทําให้เกิด………………………………………………………… ทําให้เนื อเยือต่างๆเหียวแห้งหรือเหียวย่น 16
  • 17. 11.. โกรทฮอร์โมนโกรทฮอร์โมน ((GrowthGrowth hormonehormone ;; GHGH ) () (ต่อต่อ)) ความผิดปกติของร่างกายจากปริมาณ GH สูงหรือตําเกินไป  การได้รับ GH มากเกินไป - ในเด็กทําให้ มีแขนขายาวมาก ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติเรียกว่า ………………………………………….. และคนทีสูงผิดปกติมักมีอายุสั น เพราะการรักษาระดับภาวะสมดุลของระบบต่าง ๆ มีประสิทธิภาพตํา - ในผู้ใหญ่มักจะเกิดอาการเติบโตเฉพาะกระดูกบางส่วนของ ร่างกายจะเพิมมากขึ นผิดปกติ เช่น กระดูกแผ่ขยายหนา และกว้างขึ น มือเท้าและหน้า ใหญ่ผิดปกตเรียกอาการนี เรียกว่า……………………… …………………………………………….. 17
  • 18. 18
  • 19. 22.. GonadothophinGonadothophin // GonadotrophicGonadotrophic hormonehormone ประกอบด้วยฮอร์โมน2 ชนิด คือ 1) ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating hormone ; ……….) 2) ลูทิไนซิงฮอร์โมน (Lutinizing hormone ;…………..) 19
  • 20. 22.. GonadothophinGonadothophin // GonadotrophicGonadotrophic hormonehormone ((ต่อต่อ)) หน้าที ในเพศหญิง - FSH จะกระตุ้นการเจริญเติบโตฟอลลิเคิลของรังไข่(Ovarian follicle) และออกฤทธิ ร่วมกับฮอร์โมนLH ให้สร้างและหลัง …………………………………………………………………… - LH กระตุ้นให้ไข่สุกและการตกไข่ และหลังการตกไข่แล้วจะช่วย กระตุ้นให้เซลล์ทีเหลือในฟอลลิเคิลให้กลายเป็นคอร์ปัสลูเทียม (corpus luteum) เพือสร้าง………………………………………….. ซึงมีผลต่อการเปลียนแปลงของเยือบุมดลูกเพือรองรับการฝังตัวของ เอ็มบริโอ 20
  • 21. 22.. GonadothophinGonadothophin // GonadotrophicGonadotrophic hormonehormone ((ต่อต่อ)) หน้าที ในเพศชาย - FSH กระตุ้นการเจริญเติบโตของหลอดสร้างอสุจิ(siminiferous tubule) ในอัณฑะและกระตุ้นการสร้างอสุจิ(Spermatogenesis) - LH กระตุ้นให้กลุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์ของอัณฑะให้สร้างและ หลังฮอร์โมน………………………………………………. ซึงเป็น ฮอร์โมนเพศชาย ดังนันในเพศชายจึงเรียกอีกชือหนึงว่าฮอร์โมน กระตุ้นอินเตอร์สติเชียล( interstitial cell stimulating hormone หรือ …………………………) 21
  • 22. 33.. ฮอร์โมนฮอร์โมนโพรแลกตินโพรแลกติน ((ProlactinProlactin)) หน้าที ในเพศหญิง - ฮอร์โมนนีมีมากในหญิงตังครรภ์และปริมาณสูงสุดตอนคลอดบุตร - ทํางานร่วมกับLH estrogen และ progesterone - กระตุ้น…………………………………………………………….. - รักษาคอร์ปัสลูเทียมไม่ให้สลายไป - ยับยังการหลังสารทีมากระตุ้นการสร้างโกนาโดโทรฟิน ทีสร้างมา จากเซลล์ไฮโปทาลามัสจึงทําให้ผู้หญิงส่วนใหญ่ทียังให้นมบุตรไม่มี การตกไข่ ในเพศชาย ยังไม่ทราบบทบาททีแน่ชัด นอกจากนียังพบในสัตว์ปีกอีก ด้วยซึงมีผลกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการเลียงดูตัวอ่อน 22
  • 23. 44.. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟินฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน ((AdrenocorticotropicAdrenocorticotropic hormone ; ACTH )hormone ; ACTH )  เป็นเพปไทด์ฮอร์โมน  กระตุ้นการเจริญเติบโต การสร้างและหลังฮอร์โมนของต่อมหมวกไต ส่วนนอกให้เป็นปกติ  กระตุ้นการหลัง…………………….และ …………… จากต่อมใต้สมอง  ………..…………………………ของรงควัตถุเมลานินใต้ผิวหนังของสัตว์ เลือดเย็น เช่น กบ ให้ขยายตัวและมีสีเข้มมากขึ นได้ 23
  • 24. 55.. ฮอร์โมนไทรอยด์ฮอร์โมนไทรอยด์ ((ThyroidThyroid stimultingstimulting hormonehormone;;TSHTSH))  กระตุ้น………………..ให้สร้างและหลัง……………………………. หรือ T3 และ …………………………….. หรือ T4 และยังควบคุมขนาดของ ต่อมไทรอยด์ 24
  • 25. 25
  • 26. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง - สร้างฮอร์โมนชนิดเดียว คือเมลาโนไซต์สติมูเลติงฮอร์โมน หรือฮอร์โมน กระตุ้นเมลาโนไซด์(melanocyte stimulating hormone; …………….) - บางทีจะเรียกว่า เมลาโนโทรฟิน (Melanotrophin) - เป็นเพฟไทด์ฮอร์โมน มีหน้าที  ……………การสังเคราะห์รงควัตถุสีนํ าตาลทีเรียกว่า………………….. ในเซลล์เมลาโนไซต์(Melanocyte)ทีผิวหนัง  ความเข้มหรือคลําของสีจะอยู่นานประมาณ3-5 สัปดาห์  ฮอร์โมนนีในสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลา สัตว์สะเทินนํ าสะเทินบก และ สัตว์เลือยคลาน จะกระตุ้นให้เมลานินในเซลล์ผิวหนังกระจายไปทัว เซลล์ซึงจัดเป็น…………………………………………………………. 26
  • 27. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลังฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary gland)(posterior pituitary gland) - ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือนิวโรไฮโพไฟซิส - …………………………..แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ (Neurosecretory cell) ของ…………………………โดยกลุ่มเซลล์ประสาท เหล่านีจะมีแอกซอนมาสินสุดกับภายในต่อมใต้สมองส่วนหลัง(ฮอร์โมน ประสาท) โดยจะปล่อยฮอร์โมนทีปลายแอกซอนในต่อมใต้สมองส่วนหลัง ก่อนจากนันจึงนําไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยทางกระแสเลือดฮอร์โมน นีมี2 ชนิด คือ 1) ……………………………………..หรือ ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก (antidiuretic hormone ; ……….) 2) …………………………………………… 27
  • 28. 28
  • 29. 11)) วาโซเพรสวาโซเพรสซินซิน ((vasopressinvasopressin)) หรือหรือ ฮอร์โมนแอนติไดฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกยูเรติก ((antidiureticantidiuretic hormonehormone)) หน้าที - ……………………………………………โดยช่วยให้นํ าซึมผ่านผนัง หลอดไตได้มากขึน - จะหลังออกมา……………….เมือร่างกายกระหายนํ า และขาดนํ า ความตึงเครียดสูง ความดันเลือดสูง - นอกจากนียังกระตุ้นให้เส้นเลือดบีบตัวอีกด้วย ซึงเป็นการควบคุม สมดุลนํ าภายในร่างกาย 29
  • 30. 22)) ออกซิโทออกซิโทซินซิน ((oxytocinoxytocin)) หน้าที  กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนือเรียบของอวัยวะภายในหลายชนิด  ช่วยให้คลอดลูกง่ายขึน โดยการ………………………………………  ช่วยใน……………………….ขณะให้นมบุตร กระตุ้นให้มีการหดตัว ของกล้ามเนือเรียบภายในเต้านมให้หลังนํ านมออกมามากขึน 30
  • 31. 31
  • 32. 32
  • 33. ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์ ((isletislet ofof LangerhansLangerhans))  เป็นกลุ่มเซลล์ทีกระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ทัว ๆ ไปในตับอ่อน โดยการค้นพบ ของ พอล แลงเกอร์ฮาน (Paul Langerhans) แห่งมหาวิทยาลัยไฟร์เบิร์กใน เยอรมันในปี พ.ศ. 2411 ซึงได้ศึกษาเกียวกับตับอ่อนและสังเกตเห็นกลุ่ม เซลล์กลุ่มหนึงกระจายอยู่เป็นหย่อมๆมีเลือดมาหล่อเลี ยงมาก ต่อมาจึง เรียกกลุ่มเซลล์เหล่านั นเพือให้เกียรติแก่ผู้ค้นพบว่าไอเลตออฟแลงเกอร์ ฮานส์ (islet of Langerhans) แต่ยังไม่ทราบหน้าทีแน่ชัด  ต่อมาในปี พ.ศ.2432 โยอันน์ วอน เมอริง (Johann von Mering)และออ สกา มินคอฟสกิ (Oscar minkovski) ได้แสดงให้เห็นว่าการตัดตับอ่อน ออกจากร่างกายของสุนัขมีผลต่อ……………………………………………….. …………………………………….. และต่อมาอีก2-3 สัปดาห์สุนัขตัวนั นก็ตาย 33
  • 34. ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์ ((isletislet ofof LangerhansLangerhans) () (ต่อต่อ))  ในปี พ.ศ. 2455 ได้มีผู้ทดลองให้เห็นว่า กลุ่มเซลล์ดังกล่าวมีการผลิต สารบางอย่างผ่านมาทางกระแสเลือดและให้ชือว่า อินซูลิน (insulin)  ต่อมาในปี พ.ศ. 2463 ศัลยแพทย์ชาวแคนาดา ชือเอฟ จี แบนติง (F.G. Banting) และนิสิตแพทย์ ซ๊ เอช เบสต์ (C.H. Best) แห่ง มหาวิทยาลัยโตรอนโต ทําการทดลองโดยมัดท่อตับอ่อนของสุนัข ผล ปรากฏว่าตับอ่อนไม่สามารถสร้างเอนไซม์ได้อีก แต่ระดับนํ าตาลใน เลือดยังปกติ และได้สกัดสารจากกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานอ อกมา แล้วนําสารนี ไปฉีดให้กับสุนัขทีเป็นโรคเบาหวานภายหลังจาก ตัดตับอ่อนออกแล้วปรากฎว่าสุนัขมีชีวิตอยู่เป็นปกติและ……………… ……………………………………………………………………………………. 34
  • 35. 35
  • 36. ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์ ((isletislet ofof LangerhansLangerhans) () (ต่อต่อ)) ต่อมามีการศึกษาและพบว่าฮอร์โมนทีสําคัญทีผลลิตจากไอส์เลต ออฟแลงเกอร์ฮานมี 2 ชนิดคือ …………… และ …………….. 1. ฮอร์โมนอินซูลิน(Insulin) แหล่งทีสร้าง สร้างจาก…………………(beta cell / ß - cell) ซึงอยู่ บริเวณส่วนกลางของไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮาน - รักษาระดับนํ าตาลในเลือดให้ปกติเมือปริมาณนํ าตาลในเลือด…….. และช่วยเร่ง…………………………………………………………….. ……………………………………………………………………….... - เร่งการใช้กลูโคสของเซลล์ทัวไปทําให้นํ าตาลในเลือด,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,36
  • 37. 37
  • 38. 38 โรคเบาหวาน(diabetes mellitus) • คนไข้ทีเป็นโรคเบาหวานนีจะมีปริมาณฮอร์โมนอินซูลิน………………… ระดับนํ าตาลในเลือดสูงกว่าคนปกติ • ระดับนํ าตาลในเลือดสูงเกินไปสามารถทําลายเบต้าเซลล์ • จะสลายไกลโคเจนทีสะสมไว้ภายในเซลล์ออกมาใช้จึงทําให้ระดับ นํ าตาลในเลือดสูงมากจึงเกิดโรคเบาหวาน • เป็นได้กับทุกเพศทุกวัย • อาจมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม อายุมากขึน ความเครียด ความอ้วน การอักเสบทีตับอ่อนจากเชือไวรัสหรือยาบางชนิด เป็นต้น
  • 39. 39 อาการทีสําคัญของโรคเบาหวาน 1. ปัสสาวะบ่อยและมาก เนืองจากมีนํ าตาลในเลือดมาก ท่อหน่วยไต ไม่สามารถดูดกลับคืนสู่ร่างกายได้หมด 2. กระหายนํ ามากและบ่อยผิดปกติ 3. เมือเป็นแผลจะหายอยาก มีอาการคันบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และ ผิวหนัง 4. นํ าหนักตัวลด อ่อนเพลีย เซืองซึม เมือยล้า 5. เลือดและปัสสาวะมีฤทธิ เป็นกรดมากกว่าปกติ เนืองจากมีสารคีโตน ( ketone body ) จากการสลายไขมันและถ้าเป็นโรคเบาหวานนาน ๆ อาจจะทําให้ ตาบอดและไตจะค่อย ๆ หมดสภาพในการทํางาน
  • 40. 40 โรคเบาหวานทีพบในปัจจุบันมี 2 แบบ 1) โรคเบาหวานทีเกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมน อินซูลินได้เลย 2) โรคเบาหวานทีเกิดจากเซลล์ของร่างกายไม่สังเคราะห์ตัวรับ อินซูลิน (หน่วยรับเฉพาะ = receptor) ทําให้อินซูลินทํางาน ไม่ได้ โรคเบาหวานแบบนีตับอ่อนของผู้ป่วยสามารถสร้าง อินซูลินได้ปกติแต่ อินซูลินไม่สามารถทํางานได้
  • 41. 41 การรักษาโรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นโรคทีรักษาให้หายขาดได้ยาก แต่ถ้าเพิงเริมมี อาการหากรักษาให้ถูกวิธี ก็อาจจะทําให้เซลล์ของไอส์เลตออปแลงเกอร์ อานส์ฟืนตัวเป็นปกติได้โดย…………………………………………………… และ…………………………………………………………………………………. การฉีดฮอร์โมนเข้าไปจะทําให้ร่างกายสามารถดํารงสภาพปกติอยู่ได้ หรือ อาการผิดปกติทุเลาลงได้ แต่ส่วนใหญ่มักจะไม่หายขาด ทังนีเนืองจาก เซลล์ในไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ทีสร้างฮอร์โมนมีประสิทธิภาพในการ สร้างฮอร์โมนลดลงไป จําเป็นต้องฉีดฮอร์โมนอยู่เสมอ
  • 42. ฮอร์โมนจากฮอร์โมนจากไอส์ไอส์เลตเลตออฟออฟแลงแลงเกอร์ฮานส์เกอร์ฮานส์ ((isletislet ofof LangerhansLangerhans) () (ต่อต่อ)) 2. ฮอร์โมนกลูคากอน (glucagon)  สร้างจาก…………………………………..(alpha cell / a-cell)  หน้าทีตรงข้ามกับอินซูลิน คือ เมือระดับนํ าตาลในเลือดตํา กลูคากอน จะ………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..  การขาดกลูคากอนมักจะไม่มีผลต่อร่างกายมากนัก เนืองจากร่างกายมี ฮอร์โมนอีกหลายตัวทีทําหน้าทีแทนอยู่แล้ว  ผลจากการทํางานของฮอร์โมนทั งสองจะทําให้ระดับนํ าตาลในเลือดอยู่ ในภาวะปกติเสมอ 42
  • 43. 43
  • 44. ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต (adrenal gland)(adrenal gland)  ตังอยู่เหนือไตทัง2 ข้าง แบ่งออกเป็น2 บริเวณคือบริเวณส่วน นอกเรียกว่า adrenal cortex และส่วนในเรียกว่า adrenal medulla 44
  • 45. 11.. อะดรีนัลคอร์อะดรีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex)) เนื อเยือชั นนี ผลิตฮอร์โมนมากว่า50 ชนิด ฮอร์โมนทีผลิตขึ นมี สมบัติเป็นสเตรอยด์ ซึงร่างกายสังเคราะห์ได้จากคอเลสเทอรอล ได้แก่  1. Mineralocorticoid hormone  2. Glucocortricoid hormone  3. ฮอร์โมนเพศ (Adrenal sex hormone ) 45
  • 46. 1. มิเนราโลคอร์ติคอยด์ฮอร์โมน (Mineralocorticoid hormone)  เป็นฮอร์โมนทีมีหน้าทีควบคุมสมดุลนํ าและเกลือแร่ในร่างกาย ฮอร์โมน ทีสําคัญในกลุ่มนี คือ…………………………………………………..  ควบคุมการ……………………………………………………………… ทีท่อหน่วยไตเข้าสู่หลอดเลือด และ……………………………ออกจาก ท่อหน่วยไตให้สมดุลกับความต้องการของร่างกาย  ควบคุมสมดุลความเข้มข้นของฟอสเฟตในร่างกาย  การขาด aldosterone จะมีผลให้ร่างกายสูญเสีย……………………….. ไปพร้อมกับนํ าปัสสาวะและส่งผลให้ปริมาณเลือด……………………. จนอาจทําให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดตําได้ 46 11.. อะดรีนัลคอร์อะดรีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex) () (ต่อต่อ))
  • 47. 47
  • 48. 11.. อะดรีนัลคอร์อะดรีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex) () (ต่อต่อ)) 2. กลูโคคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมน (Glucocortricoid hormone)  ฮอร์โมนกลุ่มนีมีผลต่อการควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ตัวอย่าง เช่น…………………………………………..  ………………………………………ให้สูงขึน โดยการกระตุ้นเซลล์ตับ ให้เปลียน……………………………….เป็น………………………….. และเก็บสะสมในรูปของไกลโคเจน จากนันจึงกระตุ้นตับให้ เปลียน………………………………………………..ส่งเข้ากระแสเลือด 48
  • 49. อะดอะดรีนัลคอร์รีนัลคอร์เท็กซ์เท็กซ์ ((Adrenal cortexAdrenal cortex) () (ต่อต่อ)) 3. ฮอร์โมนเพศ (Adrenal sex hormone ) ในภาวะปกติฮอร์โมนทีสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์มีเพียงเล็กน้อย เมือเทียบกับฮอร์โมนเพศจากอวัยวะเพศ ส่วนใหญ่จะเป็นฮอร์โมนเพศ ชายมีฮอร์โมนเพศหญิงน้อยมาก ฮอร์โมนเพศทีสร้าง เช่น ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… 49
  • 50. 50 ความผิดปกติเนืองจากฮอร์โมนอะดรีนัลคอร์เทกซ์ 1) ถ้าอะดรีนัลคอร์เทกซ์ ทํางานมากผิดปกติ • ทําให้สร้างฮอร์โมนมากเกินไป • โดยเฉพาะฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ จะทําให้เกิด……………………… ……………………………………….ซึงมักเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คนไข้จะมีความผิดปกติเกียวกับเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ………………………………………………………………………. เนืองจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา แต่มีการสะสม ไขมันทีบริเวณแกนกลางของลําตัว เช่น ใบหน้า ทําให้ ……………………. …………………. บริเวณต้นคอมีหนอกยืนออกมา อ้วนมากตรงกลางลําตัว มีรอยแตกทีหน้าท้อง ขาดประจําเดือนและความดันโลหิตสูง อาการ เช่นนีอาจพบได้ในผู้ป่วยทีได้รับการรักษาด้วยยาทีมีคอร์ติโคสเตรอยด์ เป็นส่วนผสมติดต่อกันเป็นระยะเวลานานเพือป้องกันการแพ้หรืออักเสบ
  • 51. 51 ความผิดปกติเนืองจากฮอร์โมนอะดรีนัลคอร์เทกซ์ (ต่อ) 2) ถ้าหากอะดรีนัลคอร์เทกซ์น้อยกว่าปกติ เช่น ถูกทําลายจนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้หรือต่อมทํางาน ได้น้อยกว่าปกติ(Hypofunction) - จะทําให้เกิด………………………………………………….. • คนไข้จะมีรงควัตถุขึนตามผิวหนังหรือผิวหนังตกกระ ซูบผอม กล้ามเนืออ่อนเพลีย • การขาดแอลโดสเตอโรน ทําให้ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลเกลือแร่ ได้ซึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยถึงแก่ความตายได้
  • 52. 52
  • 53. 22.. อะดรีนัลเมดัลอะดรีนัลเมดัลลาลา ((Adrenal medulla)Adrenal medulla) มีต้นกําเนิดจากเนือเยือประสาทซึงเป็นเนือเยือชันนอก และถูก ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนวัติสร้างฮอร์โมน2 ชนิด คือ 1. อะดรีนาลินฮอร์โมน (Adrenalin hormone) หรือ แอพิเนฟรินฮอร์โมน (Epinephrine hormone)  กระตุ้นให้ไกลโคเจนในตับสลายตัวเป็นกลูโคส  กระตุ้นหัวใจให้เต้นเร็วขึน ความดันเลือดสูง  ทําให้เมแทบอลิซึม………………………………..ซึงเป็นฮอร์โมนที หลังออกมาเมือร่างกายอยู่ในสภาวะฉุกเฉิน ดังนันจึง เรียกอีกชือหนึง ว่าfligth or fight hormone 53
  • 54. 22.. อะดรีนัลเมดัลอะดรีนัลเมดัลลาลา ((Adrenal medulla)Adrenal medulla)((ต่อต่อ)) 2. นอร์อะดรีนาลินฮอร์โมน (Noradrenalin hormone) หรือ นอร์เอพิเนฟรินฮอร์โมน (Norepinephrin hormone) มีผลคล้ายอะดรีนาลิน คือ ทําให้ความดันเลือดสูงขึน ทําให้หลอด เลือดทีไปเลียงอวัยวะต่างๆ บีบตัว และนอกจากนียังหลังออกมาจาก เซลล์ประสาทตัวที2 ของประสาทซิมพาเทติกด้วย 54
  • 55. 55
  • 56. 56
  • 57. ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)(Thyroid gland) ตําแหน่งและรูปร่างลักษณะ  ต่อมไทรอยด์มีลักษณะเป็นพู มี2 พู รูปร่างคล้ายผีเสือกางปีก โดยตรง กลางมีเยือบาง ๆ (Isthmus) เชือมติดถึงกันได้ อยู่สองข้างของคอหอย บริเวณคอทางด้านหน้าของหลอดลม มีเลือดมาเลียงจํานวนมาก มีนํ าหนัก20-40 กรัม  ภายในต่อมไทรอยด์ประกอบด้วยฟอลลิเคิล ( follicle ) ขนาดต่างๆ เป็น จํานวนมาก ซึงไทรอยด์ฟอลลิเคิลเป็นกลุ่มเซลล์กลม ๆ ชันเดียวทีเรียงตัว เป็นวงกลมภายในช่วงกลวงบรรจุสารคอลลอยด์ทีเรียกว่าไทโรโกลบูลิน 57
  • 58. 58
  • 59. ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)(Thyroid gland) แต่ละพูของต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมน 2 ประเภท คือ 1. ฮอร์โมนทีมีสารประกอบไทโรนีนทีมีไอโอดีน ได้แก่ ……………………………( Thyroxin / Tetraiodothyronin ; T4) กับ ……………………………………………..( Triiodothyronine; T3) 2. ………………………………………………….ซึงเป็นสารประกอบ พวกโพลีเปปไทด์ 59
  • 60. 11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33))  ฮอร์โมนไทรอกซินเป็นฮอร์โมนทีสร้างมาจาก ………………………….. + …………………………  บริเวณทีสร้างฮอร์โมนนี คือ ไทรอยด์ฟอลลิเคิล ถูกเก็บไว้ในช่องตรง กลางของฟอลลิเคิลอยู่ในรูปสารคอลลอยด์  ฮอร์โมนนี อยู่ร่วมกับโปรตีน ทีเรียกว่าไทโรโกลบูลิน(Thyroglobulin) ซึงเป็นโปรตีนทีมีไอโอดีนอยู่ในโมเลกุล  การหลังฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ต้องมีเอนไซม์มาย่อยไทโรโกลบูลิน ก่อนและทําให้อยู่ในรูปไทรอกซิน(T4) และ ไตรไอโอโดไทโรนิน(T3) ก่อนจะเข้าหลังสู่กระแสเลือด 60
  • 61. 61
  • 62. 11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33)) ((ต่อต่อ))  ควบคุมเมแทบอลิซึมของร่างกายโดยทําให้…………อัตราเมตาโบลิซึม และการใช้ออกซิเจนของเซลล์  เพิมการสังเคราะห์โปรตีนรวมทังเอนไซม์  ทําหน้าทีร่วมกับGH ในการควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย และ ควบคุม……………………………………………………………  ควบคุม………………………………………..ของสัตว์ครึงบกครึงนํ า  ถ้าร่างกายคนขาดหรือมีไทรอกซินน้อยเกินไป จะทําให้……………… ................................................................................................................ 62
  • 63. 63
  • 64. 64
  • 65. 11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33)) ((ต่อต่อ)) โรคทีมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของไทรอกซิน ได้แก่ 1) คอหอยพอกธรรมดา (Simple goiter) - ขาด…………………………. - ต่อมไทรอยด์จึง……………………………………………………….. - ต่อมไทรอยด์จึงมีขนาดโตขึนทําให้เป็นคอพอกธรรมดา - การรักษาโดยเพิมอาหารทีมีธาตุไอโอดีนสูง เช่น อาหารทะเล 65
  • 66. 11.. ฮอร์โมนไทรอกฮอร์โมนไทรอกซินซิน ((TT44)) และและ ไตรไอโอโดไทไตรไอโอโดไทโรนีนโรนีน (T(T33)) ((ต่อต่อ)) 2) คอหอยพอกเป็นพิษ (Toxic goiter) - เกิดจากการทีมีไทรอกซิน………….. - ต่อมไทรอยด์จะโตขึนและมีอาการตาโปนหรือตาถลนจากเบ้าตา - เมแทบอลิซึมสูง - เหนือยง่าย หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย - การรักษาโดยกินยาขัดขวางการสร้างฮอร์โมนหรือผ่าตัดบางส่วนของ ต่อมออกหรือให้กินสารไอโอดีนกัมมันตรังสี เพือให้เนือเยือบางส่วน ของต่อมไทรอยด์ทํางานได้ 66
  • 67. 67
  • 68. 68
  • 69. 69 3) มิกซีดีมา (myxedema) มีไทรอกซิน………. ต่อมไทรอยด์ลีบ มักเป็นในวัยผู้ใหญ่ ส่วนมากเกิดกับหญิงทําให้มีเมแทบอลิซึม…… อ้วนฉุ ตามใบหน้า และ ลําตัวบวมนํ า ผิวหนังแห้ง ตัวเย็น ผอมและขนร่วง หัวใจเต้นช้า ความจํา เสือม รักษาโดยการให้ฮอร์โมน
  • 70. 70 4) ครีตินิซึม (cretinism) มักเกิดกับเด็กทีมีไทรอกซิน น้อย จะทําให้…………………………... …………………………………………… …………………………………………… และมีรูปร่างเป็นเด็กอยู่เสมอ
  • 71. 22.. ฮอร์โมนฮอร์โมนแคลแคลซิโตซิโตนินนิน ((CalcitoninCalcitonin))  ลดระดับแคลเซียมในเลือดทีสูงเกินไปให้เข้าสู่ระดับปกติโดย ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………  ระดับแคลเซียมในเลือดเป็นตัวควบคุมการหลังฮอร์โมน  มีผลในการเร่งขับ………………………………ทีไต 71
  • 72. ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์พาราไทรอยด์ ((parathormone)parathormone) ฮอร์โมนพาราทอร์โมน (Parathromone) หรือ พาราไทรอยด์ฮอร์โมน (Parathyroid hormone ; PTH)  รักษาสมดุลของ…………………………………ในร่างกายให้คงที  กระตุ้นให้มีการเพิมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัส ถ้าหากระดับ แคลเซียมในเลือดตํา  ทําให้มีการดูดซึมแคลเซียมทีลําไส้และท่อหน่วยไต…………………….  มีการกระตุ้นให้มี…………………………แคลเซียมออกจากกระดูกมาก  ดังนันถ้าหากมีฮอร์โมนนีมากเกินไปจะมีผลทําให้เกิดการสะสมของ แคลเซียมทีไต ทีหลอดเลือด มีการดึงเอาแคลเซียมจากกระดูกและฟัน ออกมา ทําให้เกิดอาการกระดูกเปราะบางและหักง่าย ทําให้เป็นโรค กระดูกพรุน ฟันหักและผุง่าย 72
  • 73. 73
  • 74. ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ((parathormoneparathormone))((ต่อต่อ)) ถ้าต่อมพาราไทรอยด์บกพร่องไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ จะมีผลทําให้ 1. สูญเสียการดูดกลับทีท่อหน่วยไตลดลงทําให้สูญเสียแคลเซียม ไปกับนํ าปัสสาวะและเป็นผลทําให้ระดับแคลเซียมในเลือดลดตําลงมาก 2. ……………………………………………………………………….. แขนขาสัน ปอดทํางานไม่ได้และตายในทีสุด อาการอาจหายไปเมือฉีดด้วยพาราทอร์โมนและให้วิตามินดีเข้า ร่วมด้วย เพราะวิตามินดีช่วยทําให้ฮอร์โมนนี ทํางานได้ดีขึ นทําให้ดูดซึม แคลเซียมทีลําไส้และท่อหน่วยไตมากขึ น การทํางานของฮอร์โมนพารา ทอร์โมนจะทํางานควบคู่กับแคลซิโทนินจากต่อมไทรอยด์ เพือให้เกิด ความสมดุลของระดับแคลเซียมในร่างกาย 74
  • 75. 75
  • 76. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ (Testis(Testis andand OvaryOvary)) ฮอร์โมนทีสร้างเป็นสารพวกสเตอรอยด์ (Steroid hormone) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ฮอร์โมนทีสร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย 2. ฮอร์โมนทีสร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง *** โดยฮอร์โมนทัง2 ถูกกระตุ้นจาก……. และ ……. *** 76
  • 77. 11.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชายฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย  แหล่งทีทําหน้าทีสร้างฮอร์โมนในอัณฑะ(testis) คืออินเตอร์สติเชียลเซลล์ (Interstitial cell) อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิ(seminiferous tubule)  เมือเริมวัยหนุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์จะถูกกระตุ้นจากฮอร์โมน…… หรือ …………… จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้างฮอร์โมนเพศชายทีเรียกว่า ………………………..ประกอบด้วยฮอร์โมนหลายชนิดทีสําคัญทีสุด คือ …………………………………………….  เทสโทสเทอโรนมีหน้าทีควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์เพศ ชาย และควบคุมลักษณะขันทีสองของเพศชาย คือ เสียงแตก นมขึนพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดเครา มีขนขึนบริเวณหน้าแข้ง รักแร้ และ อวัยวะสืบพันธุ์ กระดูกหัวไหล่กว้างและกล้ามเนือตามแขนขาเติบโต แข็งแรงมากกว่าเพศหญิง 77
  • 78. 78
  • 79. 79
  • 80. 80
  • 81. 81
  • 82. 22.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง แหล่งสร้างฮอร์โมนเพศหญิง คือ รังไข่ ฮอร์โมนทีสร้าง ได้แก่ 1) เอสโทรเจน (Estrogen) ซึงสร้างจาก………………………………  กระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิล  ควบคุมลักษณะขันทีสองของการเป็นเพศหญิงคือ เสียงเล็กแหลม สะโพกผาย กระตุ้นให้ต่อมนํ านมเจริญขึน กระตุ้นการเจริญของอวัยวะ เพศ กระตุ้นมดลูก ท่อนําไข่  ควบคุมการการเปลียนแปลงทีรังไข่และเยือบุมดลูก  กระตุ้นการหลัง……… จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าเพือให้มีการตกไข่  ร่วมกับ……………………………………………………………….. กระตุ้นให้เกิดการหนาตัวของผนังมดลูกด้านในเพือเตรียมตังครรภ์ 82
  • 83. 22.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง((ต่อต่อ)) 2) โพรเจสเทอโรน (Progesterone)  สร้างจากคอร์พัสลูเทียม (Corpuslutium)ของรังไข่  มีหน้าทีกระตุ้นให้ผนังด้านในมดลูกหนาตัวขึ น(ร่วมกับ ……………..) ผนังมดลูกมีหลอดมาเลี ยงมากเพือรอการฝังตัวของไข่ทีปฏิสนธิแล้ว  มีผลในการห้าม…………………………………………………………….  กระตุ้นการเจริญของ………………….ถ้าหากไข่ทีตกไม่ได้รับการผสม คอร์พัสลูเทียมจะค่อย ๆ สลายไป โพรเจสเทอโรนจึงลดตําลง จึงไม่มี ฮอร์โมนไปกระตุ้นมดลูกอีก ทําให้ผนังของมดลูกแตกสลายและหลุด ออกมาเป็นเลือดประจําเดือน 83
  • 84. 84
  • 85. 85
  • 86. 86
  • 87. 87
  • 88. 88
  • 89. 89
  • 90. 22.. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง((ต่อต่อ))  ขณะทีเอ็มบริโอฝังตัวทีผนังมดลูกจะมีการสร้างรก(placenta) เชือมติดต่อระหว่างเยือหุ้มเอ็มบริโอกับเนื อเยือชั นในของผนัง มดลูก  รกจะทําหน้าทีสร้าง…………………………………………………. ………………………………………………………………………….. มีหน้าทีรักษาสภาพของ corpuslutium ในรังไข่สร้างฮอร์โมน โพรเจสเทอโรน ซึง HCG ถูกขับออกมาจากนํ าปัสสาวะ จึง สามารถใช้เป็นตัวตรวจสอบการตั งครรภ์ 90
  • 91. ฮอร์โมนต่อมฮอร์โมนต่อมไพเนียลไพเนียล ((Pineal gland)Pineal gland)  ต่อมไพเนียล(pineal gland)หรือต่อมเหนือสมอง (epiphysis) เป็นต่อม ทีอยู่บริเวณกึงกลางทีรอยต่อของสมองส่วนซีรีบรัมพูซ้ายและ พูขวา  ฮอร์โมนทีสร้างจากต่อมนี คือฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) - จะไปยับยั งการเจริญของรังไข่และอัณฑะ และไปยับยั งการหลัง โกนาโดโทรฟิน ทําให้การเติบโตเป็นหนุ่มสาวช้า - ถ้าต่อมผิดปกติและผลิตฮอร์โมนเมลาโทนินมากเกินไปก็จะทําให้ เจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวช้ากว่าปกติ ถ้าต่อมไพเนียลไม่สามารถสร้าง ออร์โมนเมลาโทนินจะมีผลทําให้เติบโตเป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ - บทบาทของฮอร์โมนนี ยังไม่ชัดเจนในวัยผู้ใหญ่ 91
  • 92. ฮอร์โมนต่อมฮอร์โมนต่อมไพเนียลไพเนียล ((Pineal gland)Pineal gland) ((ต่อต่อ))  ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์มีความเชือว่าในสัตว์บางชนิดต่อมไพเนียลถูก ควบคุมโดยสารสือประสาทจากเซลล์ประสาทซิมพาเทติก เมือเรตินาที นัยน์ตาได้รับแสง ก็จะส่งกระแสประสาทไปยังเชลส์ประสาทชิมพาเทติก แล้วประสาทชิมพาเทติกส่งกระแสประสาทต่อไปยังต่อมไพเนียล เพือ ยับยั งการหลังฮอร์โมนเมลาโทนิน  จะเห็นได้ว่าการทํางานของต่อมไพเนียลของสัตว์พวกนี จะมี ความสัมพันธ์ กับแสงสว่าง ด้วยเหตุนี ในตอนกลางวันต่อมไพเนียนจะ หลังเมลาโทนินได้น้อยกว่าในเวลากลางคืน ในฤดูหนาวทีมีช่วงกลางวัน สั น ต่อมไพเนียลจะหลังฮอร์โมนเมลาโทนินมาก และมีผลไปยับยั งการ หลังฮอร์โมนเพศให้ลดลง ทําให้สัตว์ไม่ผสมพันธุ์ในฤดูนี 92
  • 93. 93
  • 94. ฮอร์โมนต่อมฮอร์โมนต่อมไพเนียลไพเนียล ((Pineal gland)Pineal gland) ((ต่อต่อ))  ในสัตว์ครึงบกครึงนํ าและสัตว์เลื อยคลานบางชนิดพบว่า………............ …………………………………………. มีผลทําให้สีผิวของสัตว์มีสี……….. โดยต่อมไพเนียลจะทําหน้าทีเป็นกลุ่มเชลล์รับแสงคล้าย ๆ เนื อเยือเรติ นาของนัยน์ตา เมือนัยน์ตาได้รับแสงแล้วจะส่งกระแสประสาทไปทีเชลล์ ประสาททําให้กระตุ้นการหลังฮอร์โมนเมลาโทนิน มีผลทําให้รงควัตถุเม ลานินในเชลส์ผิวหนังรวมกลุ่มกัน สีผิวของสัตว์จึงจางลงซึงฮอร์โมนนี จะทํางานตรงข้าม กับ………………………………………………………………………………. 94
  • 95. ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมไทมัสไทมัสและเนือเยืออืนในร่างกายและเนือเยืออืนในร่างกาย 1. ต่อมไทมัส (Thymus gland) มีลักษณะเป็นพู2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบหลอดเลือดใหญ่ของ หัวใจ (บริเวณขัวหัวใจ) ต่อมนีจะเจริญตังแต่อยู่ในครรภ์มารดาและเมือมี อายุมากขึนจะมีขนาดเล็กลงและฝ่อไปเรือย ๆ ต่อมนีสร้าง …………… ………………….. มีหน้าทีกระตุ้นต่อมให้เนือเยือต่อมไทมัสสร้าง …………………………………………………………………………. ซึงเป็นเซลล์ทีสําคัญในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย 95
  • 96. ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมไทมัสไทมัสและเนือเยืออืนในร่างกายและเนือเยืออืนในร่างกาย((ต่อต่อ)) 2. ฮอร์โมนจากเนือเยืออืนในร่างกาย(tissue hormone)  แกสทริน (Gastrin) สร้างจากเนือเยือชันในของ………………….. มีหน้าทีกระตุ้นให้เกิดการหลังกรดไฮโดรคลอริกและเอนไซม์ และ การหลังเอนไซม์จากตับอ่อน และควบคุมการเคลือนไหวของ กระเพาะอาหารและลําไส้เล็ก  ซีครีทิน (Secretin) สร้างมาจากเนือเยือชันในของ………………… ……………………………..โดยซีครีทินจะกระตุ้นให้ตับอ่อนหลัง เอนไซม์และตับให้หลังนํ าดี ขณะทีอาหารจากกระเพาะอาหารผ่าน เข้าไปยังลําไส้เล็ก 96
  • 97. ฮอร์โมนจากต่อมฮอร์โมนจากต่อมไทมัสไทมัสและเนือเยืออืนในร่างกายและเนือเยืออืนในร่างกาย((ต่อต่อ))  โคเลซีสโตไคนินและแพนคลีโอไซมิน (Cholecystokinin;CCKand pancreozymin) สร้างมาจาก………………………มีหน้าทีกระตุ้น การสร้างและหลังนํ าย่อยจากตับอ่อนและกระตุ้นการหดตัวของถุง นํ าดี  เอนเทอโรแกสโทน (Enterogastron) สร้างมาจากส่วนของ …………………………….…… ทําหน้าทีลดการเคลือนไหวของ กระเพาะอาหาร ทําให้อาหารผ่านลําไส้เล็กช้าลง โดยเฉพาะอาหาร พวกไขมันและยังยับยังการขับนํ าย่อยของกระเพาะอาหารด้วย 97
  • 98. 98
  • 102. 102 ไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ต่อมไทรอยด์ TSH ตัวกระตุ้นบางอย่าง เช่น ความเครียด ความเย็น TSH รีลิสซิงฮอร์โมน ระดับไทรอกซินในเลือดตํา กระตุ้น การยับยัง ไทรอกซิน ระดับไทรอกซินมากกว่าปกติ ยับยัง กระตุ้น ส่งเสริม การเจริญเติบโต เมเทบอลิซึม
  • 103. ฟีโรโมนฟีโรโมน (Pheromone)(Pheromone)  หมายถึง …………………………… ………………………………………… …………………………………………  เมือสัตว์ปล่อยฟีโรโมนออกมาแล้ว สัตว์ตัวอืนจะได้รับสามทางคือ 1. ………………… 2. ………………… 3. ………………… 103
  • 104. 104 สามารถจําแนกฟีโรโมนตามพฤติกรรมได้ดังนี 1. …………………………… (sex pheromone) พบในผีเสือไหมตัวเมีย ปล่อยออกมาดึงดูดผีเสือไหมตัวผู้ 2. ………………………(alarm pheromone) เช่น มดตาย จะมีฟีโรโมน ออกมาจากซากมดตัวนัน ทําให้มีการขนซากมดตัวนันไปทิงนอกรัง 3. ……………….(trail pheromone) ได้แก่ กรดบางชนิดทีมดงานปล่อย ออกมาตามทางเดิน ทําให้มดตัวอืนสามารถเดินไปยังอาหารได้ถูกต้อง 4. …………………………..(queen substance) เช่นสารทีนางพญาให้ผึง งานกิน ทําให้ผึงงานเป็นหมัน 5. …………………………..(aggregation pheromone) เช่น นางพญา ปลวกปล่อยออกมาทําให้ปลวกงานมารวมกลุ่มกัน 6. …………………………...(territory pheromone) เช่น สุนัขปัสสาวะ รดสิงต่าง ๆ ทีมันเดินผ่าน