SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
1 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา 
เวลา 20 ชั่วโมง 
ประกอบด้วยหน่วยย่อย จานวน 4 หน่วย ดังนี้ 
หน่วยยอ่ยที่ 1 ชื่อหน่วย รู้จักอาเซียน เวลา 2 ชั่วโมง 
หน่วยยอ่ยที่ 2 ชื่อหน่วย ประเทศในกลุม่อาเซียน เวลา 10 ชั่วโมง 
หน่วยยอ่ยที่ 3 ชื่อหน่วย สมาคมอาเซียน เวลา 7 ชั่วโมง 
หน่วยยอ่ยที่ 4 ขื่อหน่วย การเตรียมตัวสู่อาเซียน เวลา 1 ชั่วโมง
2 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
เป้าหมายการเรียนรู้ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา 
เวลา 20 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
ความรู้ 
1. มิติสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 
2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกบัประเทศสมาชิกอาเซียนโดยสังเขป ด้านที่ตั้ง สภาพภูมิศาสตร์ 
ประวตัิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ความเป็นมาตั้งแตอ่ดีตจนปัจจุบันโดยสังเขป 
3. ความร่วมมือในภูมิภาคตั้งแตอ่ดีต คือ จากองค์การ SEATO จนถึง ASEAN 
4. ความเป็นมาของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ประชาคมอาเซียน : 
ประชาคมการเมืองและความมนั่คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
ประชาคมสังคมและวฒันธรรมอาเซียน 
5. การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน ( Asean Community ) 
ภาระงาน / ชิ้นงาน 
1. แผนที่กลุม่ประเทศอาเซียน 
2. 
แผนที่ประเทศตา่งๆในกลุม่อ 
าเซียน 
3. 
สมุดภาพประเทศในกลุม่อาเซี 
ยน 
4. โครงงาน 
ประเทศในกลุม่อาเซียน 
ทักษะ / กระบวนการ/ 
สมรรถนะสาคัญ 
1. 
นักเรียนสามารถการใช้แผนที่ 
ซึ่งเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใ 
นการศึกษา 
2. 
นักเรียนใช้วิธีการทางประวตัิศา 
สตร์ ( Historical Methodology) 
ในการศึกษาเรื่องราวในอดีต 
3. 
นักเรียนมีความสามารถในการศึ 
กษาด้วยตนเอง ( Self - 
directed Learning) จากสื่อ 
เทคโนโลยี จากแหลง่เรียนรู้ 
ในการค้นควา้หาความรู้ 
4. 
นักเรียนมีความสามารถในการ 
สื่อสาร 
ความสามารถในการคิด 
หน่วยที่ 1 อาเซียนศึกษา 
คุณธรรม จริยธรรม/ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
- มีความภาคภูมิใจในผลงานของตน ประเทศชาติ และความเป็นสมาชิกอาเซียน 
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น 
- กล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 
- ผู้เรียนมีเจตคติและทัศนคติที่ดีตอ่การเตรียมเป็นประชาคมอาเซียน 
- ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ทั้งในและนอกห้องเรียน
3 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่ 1 รู้จักอาเซียน 
เวลา 2 ชั่วโมง 
ประกอบด้วยแผนการเรียนรู้ จานวน 2 แผน ดังนี้ 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 แผนที่ ที่ตั้งของกลุม่ประเทศอาเซียน เวลา 1 ชั่วโมง 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 ความเหมือนและความตา่งของประเทศ ในกลุม่อาเซียน เวลา 1 ชั่วโมง
4 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
เป้าหมายการเรียนรู้ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่ 1 รู้จักอาเซียน 
เวลา 2 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
ความรู้ 
- มิติสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ของประเทศตา่ง ๆ ในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 
- มีความรู้เกี่ยวกับที่ตั้ง ของกลุม่ประเทศอาเซียน 
- ความเหมือนและความตา่ง ด้านภาษา วฒันธรรม และเชื้อชาติ 
ของประเทศในกลุม่อาเซียน 
ภาระงาน/ชิ้นงาน 
- 
แผนที่กลุม่ประเทศอาเซี 
ยน 
- ใบงาน 
ทักษะ/กระบวนการ/ 
สมรรถนะสาคัญ 
1. นักเรียนสามารถการใช้แผนที่ 
ซึ่งเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใ 
นการศึกษา 
2. 
นักเรียนใช้วิธีการทางประวตัิศาส 
ตร์ ( Historical Methodology) 
ในการศึกษาเรื่องราวในอดีต 
3. 
นักเรียนมีความสามารถในการศึ 
กษาด้วยตนเอง ( Self - directed 
Learning) จากสื่อ เทคโนโลยี 
จากแหลง่เรียนรู้ 
ในการค้นควา้หาความรู้ 
4. 
นักเรียนมีความสามารถในการสื่ 
อสาร ความสามารถในการคิด 
และความสามารถในการแก้ปัญห 
า 
หน่วยย่อยที่1 
เรื่อง รู้จักอาเซียน 
คุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ 
- มีความภาคภูมิใจในผลงานของตน ประเทศชาติ 
และความเป็นสมาชิกอาเซียน 
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น 
- กล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 
- ผู้เรียนมีเจตคติและทัศนคติที่ดีตอ่การเตรียมเป็นประชาคมอาเซียน 
- ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ทั้งในและนอกห้องเรียน
5 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ที่ตั้งของประเทศในกลุม่อาเซียน (เวลา 1 ชั่วโมง) 
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 
ส 4.2 ตัวชี้วัด ป.5/2 
ส 5.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 ตัวชี้วัด ป.5/2 ตัวชี้วัด ป. 5/3 
ศ 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 
ท 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/6 
ท 2.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 
ต 3.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
ความรู้ 
- บอกที่ตั้งและชื่อประเทศตา่งๆ ของกลุม่อาเซียนได้ 
- อา่นชื่อประเทศ และเมืองหลวงได้ถูกต้อง 
- อา่นและเขียนชื่อประเทศตา่งๆ เป็นภาษาอังกฤษได้ 
ทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะสาคัญ 
- วาดแผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน และระบายสีได้สวยงาม 
คุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ 
- มีความภาคภูมิใจในผลงานของตน ประเทศชาติ และความเป็นสมาชิกอาเซียน 
3. กิจกรรมการเรียนรู้ 
กิจกรรมรวมชั้น 
1. นักเรียนทา แบบทดสอบกอ่นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รู้จักอาเซียน 
2. ครูนาแผนที่ทวีปเอเชียติดหรือแขวนบนกระดาน ให้นักเรียนร่วมกนัศึกษา 
ให้อาสาสมคัรออกมาชี้ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านแล้วให้นักเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น 
โดยครูตั้งคา ถาม ดังนี้ 
- ประเทศไทยตั้งอยูบ่ริเวณใด ( ประเทศไทยตั้งอยูใ่นภูมิภาคเอเชียตะวนัออก 
เฉียงใต้เหนือเส้นศูนย์สูตร )
6 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
- ประเทศไทยมีอาณาเขตติดตอ่กบัประเทศใดบ้าง ( 
ทิศเหนือติดประเทศพมา่และประเทศลาว ตะวนัออกติดประเทศลาวและประเทศเขมร 
ทิศตะวนัตกติดทะเลอันดามนัและประเทศพมา่ ทิศใต้ติดอา่วไทย และประเทศมาเลเซีย ) 
กิจกรรมจับคู่ : ชั้นเดียวกัน จับคู่ข้ามชั้น 
นักเรียนศึกษาแผนที่เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 
และอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกบัประเทศที่อยูใ่นภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้วา่มีทั้งหมดกี่ประเทศ 
และเป็นกลุม่ประเทศอาเซียนกปี่ระเทศ ไมอ่ยูใ่นกลุม่ประเทศอาเซียนคือประเทศใด 
แตล่ะประเทศมีขนาดและรูปร่างและมีที่ตั้งอย่างไร แล้วให้นักเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น 
โดยครูตั้งคา ถาม ดังนี้ 
- 
ประเทศใดบ้างในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ที่ตั้งอยูใ่นคาบสมุทรหรือแผน่ดินใหญแ่ละมีประเทศ 
ใดบ้างที่เป็นเกาะ ( ประเทศที่ตั้งอยูบ่นคาบสมุทรหรือแผน่ดินใหญ่ ได้แก่ กมัพูชา ลาว มาเลเชีย 
เมียนมาร์ ไทยและ เวียดนาม ประเทศที่เป็นเกาะหรือหมูเ่กาะ ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 
และ สิงคโปร์ ประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ใหญที่่สุด ประเทศติมอร์ เลสเต 
ไมอ่ยูใ่นกลุม่ประเทศอาเซียน) 
กิจกรรมกลุ่ม 
นักเรียนศึกษา ประเทศเพื่อนบ้านที่มีอาณาเขตติดตอ่กบัประเทศไทยและประเทศที่ไมมี่ 
อาณาเขตติดตอ่กบัประเทศไทย ที่ตั้งอยูใ่นเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 
กิจกรรมเดี่ยว 
ครูแจกใบงาน ที่ 1 แผนที่โครงร่างประเทศในกลุม่อาเซียน ให้นักเรียนปฏิบัติ 
และตรวจผลงาน โดยมีครูคอยให้คา แนะนาในส่วนที่บกพร่อง หรือนักเรียนไมเ่ข้าใจ 
กิจกรรมรวมชั้น/สรุปรวม 
ครูและนักเรียนร่วมกนัสรุป ประเทศในกลุม่อาเซียนมี10ประเทศ เรียงตามลา ดับพยัญชนะ 
(ภาษาอังกฤษ) มีเมืองหลวงชื่ออะไร และตั้งอยูบ่ริเวณใด ลงในใบงานที่ 2 เรื่อง 
ประเทศในกลุม่อาเซียน (ประเทศในกลุม่อาเซียน 
เป็นดินแดนที่อยูท่างทิศตะวนัออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศทั้งหมด 10 ประเทศ 
แยกเป็น 2 กลุม่ คือ ประเทศที่ตั้งอยูบ่นคาบสมุทรหรือแผน่ดินใหญ่ ได้แก่ กมัพูชา ลาว มาเลเชีย 
เมียนมาร์ ไทย และ เวียดนาม ประเทศที่เป็นเกาะหรือหมูเ่กาะ ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย 
ฟิลิปปินส์ และ สิงคโปร์ ประเทศที่ไมอ่ยูใ่นกลุม่อาเซียน คือ ติมอร์ เลสเต 
ประเทศเหลา่นี้มีความหลากหลายในด้านประชากร ภาษา ศาสนา แตมี่รากฐานวฒันธรรมร่วมกนั
7 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
คือ วฒันธรรมอินเดียและจีน 
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ตั้งอยูก่ึ่งกลางของภูมิภาคโดยทิศเหนือติดประเทศเมียนมาร์ และ 
ประเทศลาว ตะวนัออกติดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา 
ทิศตะวนัตกติดทะเลอันดามนัและประเทศเมียนมาร์ ทิศใต้ติดอา่วไทย และประเทศมาเลเซีย) 
4. ชิ้นงาน / ภาระงาน 
- แผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน 
- ใบงานที่ 1 แผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน 
5. แหล่งเรียนรู้/สื่อ 
- ห้องสมุด/ห้องอาเซียน 
- แผนที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 
6. การวัดและประเมินผล 
วิธีวัด เครื่องมือ 
1. สังเกตการทา งาน 
2. ตรวจผลงาน 
1. แบบสังเกตการทา งาน 
2. ใบงานที่ 1 เรื่องแผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน 
ใบงานที่ 2 เรื่องประเทศในกลุม่อาเซียน
8 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
7. บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ผลการสอน.................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
ปัญหา/อุปสรรค........................................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม................................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................. 
................................................................................................................................... ............................... 
(ลงชื่อ)........................................................ 
(...................................................) 
(ครูผู้สอน) 
ความคิดเห็นของผู้บริหาร 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
(ลงชื่อ)..................................................................... 
(....................................................) 
(ผู้บริหารสถานศึกษา)
9 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
อาเซียน 10 ประเทศ เรียงตามพจนานุกรมอังกฤษ 
1. Brunei Darussalam 2. Cambodia 3. 
Indonesia 4. Lao 5. Malaysia 
6. Myanmar 7. Philippines 8. Singapore 9. 
Thailand 10. Vietnam 
ใบความรู้ที่1 
เรื่อง แผนทปี่ระเทศในกลุ่มอาเซียน
10 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ใบความรู้ที่2 
ความรู้เกี่ยวกับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
 แผนทเี่อเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงทตี่ั้งของประเทศต่าง ๆ 
1. ทา เลทตี่ั้งและขนาด 
ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ตั้งอยูที่่ละติจูด 10 องศาใต้ ถึงละติจูดที่ 28 
องศาเหนือและอยูร่ะหวา่งลองจิจูดที่ 92 องศาตะวนัออก ถึง 141 องศาตะวนัตก 
หรืออยูร่ะหวา่งภูมิภาคเอเชียตะวนัออกกบัภูมิภาคเอเชียใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นคาบสมุทร คือ 
คาบสมุทรอินโดจีน และดินแดนที่เป็นหมูเ่กาะในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก 
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แบง่มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกออกจากกนั มีชอ่งแคบ 4 แห่ง 
ได้แก่ชอ่งแคบมะละกา ชอ่งแคบซุนดา ชอ่งแคบลอมบอก และชอ่งแคบมาคัสซาร์ 
เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในปี 2009 
มีประชากรประมาณ 600 ล้านคน สิงคโปร์ 
คือเกาะที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลกหากเทียบกับขนาด
11 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้มีความหลากหลายทางวฒันธรรม ภาษา และ ศาสนา 
นอกจากนี้ยังเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมระหวา่งทวีปเอเชีย 
และทวีปออสเตรเลียประกอบด้วยประเทศตา่ง ๆ 
2. ลักษณะภูมิประเทศ 
ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มีลักษณะเปรียบเสมือนรูปพัด 
และมีแนวเกาะรูปโค้งเป็นแนวล้อมอยูโ่ดยรอบ 
พื้นที่จะแบง่ออกเป็นส่วนที่เป็นแผน่ดินใหญห่รือคาบสมุทรและส่วนที่เป็นเกาะตา่ง ๆ 
โดยพื้นที่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรจะมีลักษณะเป็นเทือกเขาสูงที่ตอ่เนื่องมาจากภูมิภาคเอเชียตะวนั 
ออก ถัดลงมาเป็นที่ราบลุม่แมน่้าขนาดใหญ่ เชน่ ที่ราบลุม่แมน่้าเจ้าพระยาในไทย 
แมน่้าอิรวดีในเมียนมาร์ ที่ราบลุม่แมน่้าแดงของเวียดนาม ที่ราบลุม่แมน่้าโขงใน 
ประเทศกมัพูชาและเวียดนาม ส่วนที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน่้าที่สาคัญ เชน่ 
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน่้าโขง แมน่้าเจ้าพระยาและแมน่้าอิรวดี เป็นต้น 
ทางใต้และตะวนัออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นหมูเ่กาะภูเขาไฟที่ยังมีพลังอยูแ่ละที่ดับแล้ว 
มีที่ราบบ้างแตไ่มก่วา้งขวางนัก เกาะใหญที่่สาคัญ ได้แก่ เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา เกาะสุมาตรา 
เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว 
3. ลักษณะภูมิอากาศ 
ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น 
มีฝนตกชุกและมีอุณหภูมิค่อนข้างสูงเกือบตลอดทั้งปี ฤดูหนาวอากาศไมห่นาวจัด 
ประเทศที่อยูใ่กล้เส้นศูนย์สูตร เชน่ ประเทศเมียนมาร์ ลาว กมัพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ 
จะมีฤดูฝนสลับกบัฤดูแล้งซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากอิทธิพลของลมมรสุม แตอ่ยา่งไรก็ตาม 
ภูมิอากาศของภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ขึ้นอยู่กบัอิทธิพลทางธรรมชาติที่สาคัญ 4 ประกาศ คือ 
ทา เลที่ตั้ง ทิศทางลมประจา ที่พัดผา่น ลักษณะภูมิประเทศและความใกล้ไกลทะเล 
4. ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ 
ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้เป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพรรณธรรมชาตินานาชนิด 
โดยมีพื้นที่ป่าไมอ้ยู่ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่ภูมิภาค แมใ้นตอนนี้มีการทา ลายป่าไม้มากขึ้น 
ทา ให้เนื้อที่ป่าลดลง ป่าไมส้่วนใหญเ่ป็นป่าดงดิบ 
ซึ่งลักษณะของต้นไมจ้ะมีขนาดสูงใหญเ่ป็นไมไ้มผ่ลัดใบ ขึ้นปะปนกนัอยา่งหนาแน่น 
ใบสีเขียวตลอดปี ด้านลา่งมีเถาวลัย์เลื้อยปกคลุมเป็นจา นวนมาก เชน่ ป่าในคาบสมุทรภาคใต้ของไทย 
อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกาะบอร์เนียว เป็นต้น ส่วนบนที่เป็นผืนแผน่ดินใหญ่
12 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
พืชพรรณธรรมชาติส่วนมาก เป็นป่าเบญจพรรณ ( ป่าไมผ้ลัดใบเมืองร้อน) 
โดยพื้นที่บางบริเวณจะมีทุง่หญ้าขึ้นแทรกปะปนอยู่ด้วย 
5. ทรัพยากรธรรมชาติ 
เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาตินานาชนิด 
ไมว่า่จะเป็นป่าไม้ สัตว์น้า แหลง่น้า ดินที่เหมาะแกก่ารเพาะปลูก แร่ธาตุ 
ใบงานที่ 1 แผนที่ประเทศในกลุ่มอาเซียน 
คาชี้แจง นักเรียนลงชื่อประเทศเป็นภาษาไทย ให้ครบทั้ง 10 ประเทศและระบายสีให้สวยงาม
13 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ลงชื่อ...............................................................ผู้ประเมิน 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเทศในกลุ่มอาเซียน 
คาชี้แจง นักเรียนเขียนชื่อประเทศเป็นภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง และระบายสีแผนที่ให้สวยงาม
14 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ลงชื่อ..........................................................................ผู้ประเมิน 
ใบงานที่ 3 
แบบทดสอบ 
คาชี้แจง นักเรียนเลือกคา ตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 
1. ข้อใดกลา่วถึงทา เลที่ตั้งและขนาดของภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ผิดจากความเป็นจริง 
ก. ตั้งอยูที่่ละติจูด 10 องศาใต้ถึง 28 องศาเหนือ 
ข. ดินแดนส่วนใหญอ่ยูเ่หนือเส้นศูนย์สูตร 
ค. เป็นภูมิภาคใหญที่่สุดของทวีปเอเชีย 
ง. อยูร่ะหวา่งประเทศจีนกบัฟิลิปปินส์ 
2. กลุม่อาเซียนมีสมาชิกกี่ประเทศ 
ก. 8 ประเทศ ข. 9 ประเทศ 
ค. 10 ประเทศ ง. 11 ประเทศ 
3. ประเทศใดไมไ่ด้เป็นสมาชิกของกลุ่มอาเซียน 
ก. ติมอร์ เลสเต ข. กมัพูชา 
ค. ลาว ง. เมียนมาร์ 
4. กลุม่อาเซียน ตั้งอยูใ่นทวีปใด 
ก. ทวีปยุโรป ข. ทวีปอเมริกาเหนือ 
ค. ทวีปเอเชีย ง. ทวีปแอฟริกา 
5. กลุม่ประเทศใดที่มีอาณาเขตติดกับมหาสมุทรอินเดีย 
ก. ไทย เมียนมาร์ อินโดนีเซีย ข. ไทย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม 
ข. สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซีย ง. มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ กมัพูชา 
6. ทะเลจีนใต้ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรใด 
ก. อาร์กติก ข. อินเดีย 
ค. แอลแลนติก ง. แปซิฟิก
15 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
7. ประเทศที่มีพื้นที่เล็กที่สุดในกลุ่มอาเซียนตรงกับข้อใด 
ก. บรูไน ข. ลาว 
ค. สิงคโปร์ ง. ไทย 
8. ประเทศมาเลเซียตะวนัออกตั้งอยูบ่ริเวณใด 
ก. เกาะสุมาตรา ข. เกาะบอเนียว 
ค. เกาะสุลาเวชี ง. เกาะอีเรียนจายา 
9. ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบใด 
ก. หนาวจัด ข. อบอุน่ 
ค. ร้อนชื้น ง. ป่าเขตร้อน 
10. ประเทศบ้านพี่เมืองน้องกบัประเทศไทย หมายถึงประเทศใด 
ก. ประเทศเมียนมาร์ ข. ประเทศมาเลเซีย 
ค. ประเทศกมัพูชา ง. ประเทศลาว 
************************ 
เฉลย 
1 ค 2 ค 3 ก 4 ค 5 ก 6 ง 7 ค 8 ข 9 ค 10 ง
16 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 
(เวลา 1 ชั่วโมง) 
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 
ส 4.2 ตัวชี้วัด ป.5/2 
ส 5.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 ตัวชี้วัด ป.5/2 ตัวชี้วัด ป. 5/3 
ศ 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 
ท 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/6 
ท 2.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 
ค 3.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
ความรู้ 
- ยกตัวอยา่งความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ 
ทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะสาคัญ 
- เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางด้าน ภาษา วฒันธรรม และเชื้อชาติ 
ของประเทศอาเซียน 
คุณธรรม จริยธรรม /คุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ 
- ยอมรับความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 
3. กิจกรรมการเรียนรู้ 
กิจกรรมรวมชั้น 
ครูนาภาพของประเทศตา่งๆ มาให้นักเรียนศึกษา เชน่ ภาพการแตง่กาย ลักษณะภูมิประเทศ 
ภาพภัยธรรมชาติ หรือภาพอื่นๆ 
โดยให้นักเรียนร่วมกนัอภิปรายถึงความเหมือนและความตา่งของประเทศนั้นๆ กบัประเทศไทย
17 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
กิจกรรมจับคู่ : ชั้นเดียวกัน จับคู่ข้ามชั้น 
ครูให้นักเรียนจับกลุม่ๆ ละ 3-4 คน ครูแจกใบความรู้ เรื่อง 
ความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 
กิจกรรมกลุ่ม 
คัดเลือกตัวแทนของกลุ่ม นาเสนอ ความเหมือน และความตา่งของประเทศในกลุม่อาเซียน 
ตามความคิดเห็นของกลุ่มตนเองหน้าชั้น ครูให้คา แนะนาเพิ่มเติมส่วนที่บกพร่อง เพื่อนๆ ตา่งกลุม่ 
สรุปเรื่องราวคราวๆ ลงในสมุดบันทึก 
กิจกรรมเดี่ยว 
ครูแจกใบงานที่ 3 เรื่อง เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 
นักเรียนบันทึกข้อมูล โดยมีครูคอยให้คา แนะนา 
กิจกรรมรวมชั้น/สรุปรวม 
ครูและนักเรียนร่วมกนัสรุป ความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 
4.ชิ้นงาน/ภาระงาน 
- ใบความรู้ เรื่อง ความเหมือนและความตา่งระหวา่งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน 
- ใบงานที่ 3 เรื่อง เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 
5. แหล่งเรียนรู้/สื่อ 
- ห้องสมุด/ห้องอาเซียน 
- ภาพการแตง่กายของประเทศตา่งๆ 
6. การวัดและประเมินผล 
วิธีวัด เครื่องมือ 
1. สังเกตการทา งาน 
2. ตรวจผลงาน 
1. แบบสังเกตการทา งาน 
2. ใบงานที่ 3 
เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน
18 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
7. บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ผลการสอน.................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
ปัญหา/อุปสรรค........................................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม................................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
(ลงชื่อ)........................................................ 
(...................................................) 
(ครูผู้สอน) 
ความคิดเห็นของผู้บริหาร 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
.................................................................................................................................................................. 
(ลงชื่อ)..................................................................... 
(....................................................) 
(ผู้บริหารสถานศึกษา)
19 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ใบความรู้ที่ 1 
เรื่อง ความเหมือนและความต่างระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน 
ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพอื่นบ้าน 
ประเทศไทยกบัประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มปีระเพณีและวฒันธรร 
มตา่ง ๆ 
ทั้งที่คล้ายคลึงและแตกตา่งกนัเป็นผลมาจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ รากฐานทางวฒันธรรมและการนับถื 
อศาสนา ซึ่งจะสรุปให้เห็นเป็นภาพรวมได้ ดังนี้ 
1. ศาสนา ศาสนาสาคัญที่เผยแผเ่ข้ามาและได้รับการยอมรับนับถือจากชนชาติในภูมิภาคเอเชียตะวนัอ 
อกเฉียงใต้ ได้แก่พระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาที่ผู้คนส่วนใหญใ่นประเทศไทย พมา่ 
ลาวกมัพูชาล้วนนับถือ ดังนั้นประเพณีพิธีกรรมทางศาสนาลัทธิความเชื่อตา่ง ๆ ของพมา่ ลาว กมัพูชา 
ก็จะคล้ายคลึงกบัคนไทย เชน่ การทา บุญตักบาตร 
การสวดมนตร์ไหวพ้ระการให้ความเคารพพระสงฆ์การนิยมให้บุตรหลานเข้ารับการอุปสมบท เป็นต้น 
สาหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากรส่วนใหญนั่บถือศาสนาอิสลาม 
จึงมีวฒันธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากคริสต์ศาสนา 
ประเทศสิงคโปร์และเวียดนาม นับถือหลายศาสนา โดยนับถือลัทธิธรรมเนียมตามแบบจีนเป็นหลัก 
2. ภาษา ประเทศเพื่อนบ้านที่มีการพูดเขียนคล้ายคลึงกับไทยก็คือ ลาวเพียงชาติเดียวเทา่นั้น 
ส่วนชาติอื่น ๆ ก็จะใช้ภาษาของตนไมว่า่จะเป็นพมา่ เวียดนาม อินโดนีเซีย 
ฟิลิปปินส์ โดยที่ภาษาอังกฤษและภาษาจีนจะเป็นภาษากลางที่ใช้ติดตอ่กนัได้ทั่วทั้งภูมิภาค 
3. ประเพณี พิธีกรรม ประเทศใด นับถือศาสนาเป็นพระพุทธศาสนา ประเพณีพิธีกรรมตา่ง ๆ 
ก็จะคล้ายคลึงกบัของไทย เชน่ การทา บุญเลี้ยงพระ การเวียนเทียน ประเพณีเข้าพรรษา 
เป็นต้น ส่วนประเพณีอื่นๆ ที่ไมเ่กยี่วข้องกบัศาสนา พบวา่หากเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับไทย 
เชน่ พมา่ ลาว กมัพูชา ก็จะมีประเพณีหลายอยา่งคล้ายคลึงกับไทย เชน่ 
ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ขณะเดียวกนัวฒันธรรมไทยในการแสดงความเคารพ โดยการ
20 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ไหวข้องคนไทย ชาติเหลา่นี้ก็จะมีธรรมเนียมการไหวเ้ชน่เดียวกนั สาหรับชาติอื่นๆได้แก่มาเลเซีย 
อินโดนีเซีย 
บรุไน จะมีประเพณีพิธีกรรมตามแบบอิสลาม เวียดนามกบัสิงคโปร์จะมีประเพณีพิธีกรรมตามแบบจีน 
และมีวฒันธรรมตะวนัตกเข้ามาผสมผสาน ส่วนชาติที่มีแบบแผนประเพณี พิธีกรรมเหมือนอยา่งตะวนั 
ตก คือ ฟิลิปปินส์ 
4. อาหาร อาหารของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ส่วนใหญจ่ะประกอบด้วยข้า 
ว พืชผัก และเนื้อสัตว์ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น การปรุงอาหารโดยมากจะใช้เครื่องเทศ 
กะทิ น้ามนัรสชาติจัดจ้าน โดยอาหารของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้จะมีอยู่อยา่งหลา 
กหลาย สีสันดูน่ารับประทาน รสชาติเผ็ดร้อน ประเทศที่รับประทานอาหารไมแ่ตกตา่งจากคนไทยก็ยั 
งคงเป็นพมา่ ลาว กมัพูชา ขณะเดียวกนัก็มีอาหารจากชาติอื่น ๆ 
เชน่ ยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลี เข้ามาเผยแพร่ด้วย 
5. การแต่งกาย ผู้คนในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ สังคมเมืองในปัจจุบัน ผู้ชายสวมเสื้อ กางเกง 
ส่วนผู้หญิงสวมเสื้อ กางเกง หรือกระโปรง แตใ่นชนบทผู้หญิงจา นวนมากก็ยังคงสวมใส่ผ้าซิ่นกนัอยู่ 
ทั้งนี้ชุดประจา ชาติของประเทศในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ล้วนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ไมเ่หมือนกนั 
ทา ให้เมื่อดูแล้วสามารถบอกได้ทันทีวา่ชุดแตง่กายนั้น ๆ เป็นของชนชาติใด 
กลา่วโดยสรุปวฒันธรรมไทย เป็นสิ่งดีงามที่บรรพบุรุษของเราได้สั่งสมและสืบทอดต่อกนัมาจ 
นเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชาติไทย อยา่งไรก็ตามประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิ 
ดและมีดินแดนติดตอ่กนั เชน่ ลาว พมา่ กมัพูชา และมาเลเซีย จะมีวฒันธรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกั 
นหรือมีมติความเชื่อและประเพณีที่เหมือนหรือคล้ายกนั โดยเฉพาะอยา่งยิ่งศาสนา เชน่ พระพุทธศาส 
นา เป็นปัจจัยที่ทา ให้เกิดประเพณีที่คล้ายคลึงกนั ส่วนศาสนาอิสลามในมาเลเซีย ก็จะพบวา่มีความคล้ 
ายคลึงกบัจังหวดัชายแดนทางภาคใต้แต่กลับประเทศเพื่อนบ้านที่อยูห่่างออกไป เชน่ สิงคโปร์ บรูไน 
ก็จะทา ให้มีวฒันธรรมบางอยา่งที่แตกตา่งกับของไทย ดังนั้นจึงอาจกลา่วได้วา่วฒันธรรม นอกจากจะเ 
ป็นสิ่งที่สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกนัของคนในชาติ ความเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชาติ 
แล้ว วฒันธรรมยังทา ให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี ความรู้สึกเป็นบ้านพี่เมืองน้องกบัประเทศเพื่อนบ้านอีก
21 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ด้วย 
ที่มาข้อมูล : http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2178 
คาชี้แจง นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความตา่ง 
ระหวา่งประเทศไทยกบัประเทศในกลุ่มอาเซียน 
ประเทศ ความเหมือน ความต่าง 
บรูไน 
กมัพูชา 
อินโดนีเซีย 
ลาว 
มาเลเซีย 
เมียนมาร์ 
ใบงานที่ 3 
เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของประเทศไทยกับเพื่อนในกลุ่มอาเซียน
22 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ฟิลิปปินส์ 
สิงคโปร์ 
เวียดนาม 
เครื่องมือในการวัดและประเมินผล 
แบบประเมินผลงาน 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 ชื่อหน่วย อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน 
เวลา 2 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 
ที่ ชื่อ- 
สกุล 
รายการประเมิน รวม ผล 
ใส่ชื่อประเทศ 
ถูกต้อง 
4 
ให้สีสวยงาม 
4 
ใส่ชื่อ 
ปท.เป็นภาษาอังกฤษได้ 
ทันเวลา 
4 
อธิบายได้ 
4 
คะแนน ผา่น ไมผ่า่น 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9
23 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
10 
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การตัดสิน 
4 หมายถึง ดีมาก ผา่น หมายถึง ทา ได้ 12 คะแนนขึ้นไป 
3 หมายถึง ทา ได้ดี ไมผ่า่น หมายถึง ทา ได้ 11 คะแนนลงมา 
2 หมายถึง ทา ได้พอใช้ 
1 หมายถึง ทา ได้ปรับปรุง 
แบบสังเกตพฤติกรรมการทา งาน 
เรื่อง..................................................................................... 
ชื่อ.........................................................................ชั้น............................... 
งานเดี่ยว งานกลุม่ 
พฤติกรรม 
เกณฑ์ 
พฤติกรรม 
เกณฑ์ 
1 2 3 1 2 3 
1. ทันเวลา 
2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
3. มีความรับผิดชอบ 
1. 
มีลักษณะการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ 
ดี 
2. ทา งานร่วมกบัคนอื่นได้ 
3. กล้าแสดงความคิดเห็น 
ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน 
เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน 
เรื่อง..................................................................................... 
ชื่อ.........................................................................ชั้น............................... 
เกณฑ์การประมาณ ระดับ 4 
(10 คะแนน) 
ระดับ 3 
(8 คะแนน) 
ระดับ 2 
(6 คะแนน) 
ระดับ 1 
(น้อยกวา่ 6 
คะแนน) 
ความเหมือนและความตา่งของประเทศ เปรียบเทียบด้า เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ
24 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ในกลุม่อาเซียน น 
ขนาดของพื้นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร ภาษา 
ได้ถูกต้องทุกป 
ระเทศ 
ด้าน 
ขนาดของพื้ 
นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร 
ภาษา 
ได้ถูกต้อง 8 
ประเทศ 
ด้าน 
ขนาดของพื้ 
นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร 
ภาษา 
ได้ถูกต้อง 6 
ประเทศ 
ด้าน 
ขนาดของพื้ 
นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร 
ภาษา 
ได้ถูกต้อง 
น้อยกวา่ 6 
ประเทศ 
ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน 
เครื่องมือทใี่ช้ในการประเมิน 
เกณฑ์การประเมินการตรวจผลงาน 
เกณฑ์การประมาณ ระดับ 4 
(10 คะแนน) 
ระดับ 3 
(8 คะแนน) 
ระดับ 2 
(6 คะแนน) 
ระดับ 1 
(น้อยกวา่ 6 
คะแนน) 
ความเหมือนและความตา่งของประเทศ 
ในกลุม่อาเซียน 
เปรียบเทียบด้า 
น 
ขนาดของพื้นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร ภาษา 
ได้ถูกต้องทุกป 
ระเทศ 
เปรียบเทียบ 
ด้าน 
ขนาดของพื้ 
นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร 
ภาษา 
ได้ถูกต้อง 8 
ประเทศ 
เปรียบเทียบ 
ด้าน 
ขนาดของพื้ 
นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร 
ภาษา 
ได้ถูกต้อง 6 
ประเทศ 
เปรียบเทียบ 
ด้าน 
ขนาดของพื้ 
นที่ 
วฒันธรรม 
การแตง่กาย 
อาหาร 
ภาษา 
ได้ถูกต้อง 
น้อยกวา่ 6 
ประเทศ
25 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยการเรียนรู้ที่10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่ 1 รู้จักอาเซียน 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 2 ชั่วโมง 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ส 4.2 ส 4.2 
เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจา 
กอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความ 
สัมพันธ์ 
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการ 
ตัวชี้วัด ป.5/2 
อธิบายอิทธิพลของวฒันธรรมตา่ 
งชาติที่มีตอ่สังคมไทยปัจจุบันโด 
ยสังเขป 
- 
การเข้ามาของวฒันธรรมตา่งช 
าติในสังคมไทย เชน่ อาหาร 
ภาษา การ 
แตง่กาย ดนตรี
26 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ณ์อยา่งตอ่เนื่อง 
ตระหนักถึงความสาคัญ 
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบ 
ที่เกิดขึ้น 
โดยระบุลักษณะสาเหตุ 
และผลโดยสังเขป 
- 
อิทธิพลที่หลากหลายของกระ 
แสวฒันธรรมตา่งชาติที่มีต่อสั 
งคมไทย ในปัจจุบัน 
โดยสังเขป 
ส 5.1 
เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภา 
พ 
และความสาคัญของสรรพสิ่งซึ่ง 
มีผลตอ่กนัและกนัในระบบของธ 
รรมชาติ 
ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศา 
สตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป 
และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอยา่ง 
มีประสิทธิภาพ 
ตัวชี้วัด ป.5/1 
รู้ตา แหน่ง(พิกดัภูมิศาสตร์ 
ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ 
ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง 
ตัวชี้วัด ป.5/2 
ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สาคัญใ 
นภูมิภาคของตนเองในแผนที่ 
ตัวชี้วัด ป. 5/3 
อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณ 
ะทางกายภาพกบัลักษณะทางสัง 
คม ในภูมิภาคของตนเอง 
- ตา แหน่ง(พิกดัภูมิศาสตร์ 
ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ 
ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง 
- 
ภูมิลักษณะที่สาคัญในภูมิภาค 
ของตนเอง เชน่ แมน่้า ภูเขา 
ป่าไม้ 
- 
ความสัมพันธ์ของลักษณะทาง 
กายภาพ (ภูมิลักษณะ 
ภูมิอากาศ) 
และลักษณะทางสังคม 
(ภูมิสังคม) 
ในภูมิภาคของตนเอง 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ศ 1.1 
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนากา 
ร และความคิดสร้างสรรค์วิเคราะห์ 
วิพากษ์ วิจารย์คุณคา่งานทัศนศิลป์ 
ตัวชี้วัด ป.5/3 วาดภาพ 
โดยใช้เทคนิคของแสงเงา 
น้าหนัก และวรรณะสี 
- แสงเงา น้าหนัก 
และวรรณะสี
27 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
ถา่ยทอดความรู้สึก 
ความคิดตอ่งานศิลปะอย่างอิสระ 
ชื่นชม 
และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา วนั 
ค 3.1 
ใช้ภาษาตา่งประเทศในการเชื่อมโยงควา 
มรู้กบักลุม่สาระการเรียนรู้อื่น 
และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา 
แสวงหาความรู้ 
และเปิดโลกทัศน์ของตน 
ตัวชี้วัด ป.5/1 ค้นควา้ 
รวบรวมคา ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกั 
บกลุม่สาระการเรียนรู้อื่น 
และนาเสนอด้วนการพูด/การเ 
ขียน 
- การค้นควา้ การรวบรวม 
และการนาเสนอคา ศัพท์ 
ที่เกยี่วข้องกบักลุม่สาระกา 
รเรียนรู้อื่น 
ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่น 
สร้างความรู้และความคิด 
เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ 
แกปั้ญหาในการดา เนินชีวิต 
และมีนิสัยรักการอา่น 
ตัวชี้วัด ป.5/6 
อา่นงานเขียนเชิงอธิบาย 
คา สั่ง ข้อแนะนา และ 
ปฏิบัติตาม 
- อา่นงานเขียนเชิงอธิบาย 
คา สั่ง ข้อแนะนา และ 
ปฏิบัติตาม เชน่ 
- การใช้พจนานุกรม 
- การใช้วสัดุอุปกรณ์ 
- การอา่นฉลากยา 
- 
คูมื่อและเอกสารของโรงเรี 
ยนที่เกยี่วกบันักเรียน 
- ขา่วสารทางราชการ 
ศ 1.1 
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนากา 
ร และความคิดสร้างสรรค์วิเคราะห์ 
วิพากษ์ วิจารย์คุณคา่งานทัศนศิลป์ 
ถา่ยทอดความรู้สึก 
ความคิดตอ่งานศิลปะอย่างอิสระ 
ชื่นชม 
และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา วนั 
ตัวชี้วัด ป.5/3 วาดภาพ 
โดยใช้เทคนิคของแสงเงา 
น้าหนัก และวรรณะสี 
- แสงเงา น้าหนัก 
และวรรณะสี 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน ตัวชี้วัด ป.5/3 -
28 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา 
หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 
เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ความ 
และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตา่งๆ 
เขียนรายงานสารสนเทศ 
และรายงานการศึกษา 
ค้นควา้อยา่งมีประสิทธิภาพ 
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง 
และแผนภาพความคิด 
เพื่อใช้พัฒนางานเขียน 
การนาแผนภาพโครงเรื่อง 
และแผนภาพความคิด 
ไปพัฒนางานเขียน

More Related Content

What's hot

แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1sompriaw aums
 
แผนอาเซียน ป.2
แผนอาเซียน  ป.2แผนอาเซียน  ป.2
แผนอาเซียน ป.2sompriaw aums
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1sompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6sompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3sompriaw aums
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

What's hot (20)

แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
 
แผนอาเซียน ป.2
แผนอาเซียน  ป.2แผนอาเซียน  ป.2
แผนอาเซียน ป.2
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
200 day part1
200 day part1200 day part1
200 day part1
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
Asean course
Asean courseAsean course
Asean course
 
Asean curriculum source_book
Asean curriculum source_bookAsean curriculum source_book
Asean curriculum source_book
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
รายวิชา
รายวิชารายวิชา
รายวิชา
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5

หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]กุลเศรษฐ บานเย็น
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
Random 131004053551-phpapp02
Random 131004053551-phpapp02Random 131004053551-phpapp02
Random 131004053551-phpapp02Iammai Dangruang
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSine Hrcn
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60kroodarunee samerpak
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5 (20)

บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
Random 131004053551-phpapp02
Random 131004053551-phpapp02Random 131004053551-phpapp02
Random 131004053551-phpapp02
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 

More from sompriaw aums

ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpcปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpcsompriaw aums
 
นิทาน ปลาบู่ทอง
นิทาน   ปลาบู่ทองนิทาน   ปลาบู่ทอง
นิทาน ปลาบู่ทองsompriaw aums
 
นิทาน ดวงอาทิตย์
นิทาน   ดวงอาทิตย์นิทาน   ดวงอาทิตย์
นิทาน ดวงอาทิตย์sompriaw aums
 
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachineSerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachinesompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 

More from sompriaw aums (12)

Google apps photos
Google apps photosGoogle apps photos
Google apps photos
 
Active Directory
Active DirectoryActive Directory
Active Directory
 
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpcปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
 
นิทาน ปลาบู่ทอง
นิทาน   ปลาบู่ทองนิทาน   ปลาบู่ทอง
นิทาน ปลาบู่ทอง
 
นิทาน ดวงอาทิตย์
นิทาน   ดวงอาทิตย์นิทาน   ดวงอาทิตย์
นิทาน ดวงอาทิตย์
 
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachineSerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
Parents guide
Parents guideParents guide
Parents guide
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
Tablet3
Tablet3Tablet3
Tablet3
 
Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
 

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5

  • 1. 1 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา เวลา 20 ชั่วโมง ประกอบด้วยหน่วยย่อย จานวน 4 หน่วย ดังนี้ หน่วยยอ่ยที่ 1 ชื่อหน่วย รู้จักอาเซียน เวลา 2 ชั่วโมง หน่วยยอ่ยที่ 2 ชื่อหน่วย ประเทศในกลุม่อาเซียน เวลา 10 ชั่วโมง หน่วยยอ่ยที่ 3 ชื่อหน่วย สมาคมอาเซียน เวลา 7 ชั่วโมง หน่วยยอ่ยที่ 4 ขื่อหน่วย การเตรียมตัวสู่อาเซียน เวลา 1 ชั่วโมง
  • 2. 2 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 เป้าหมายการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา เวลา 20 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความรู้ 1. มิติสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกบัประเทศสมาชิกอาเซียนโดยสังเขป ด้านที่ตั้ง สภาพภูมิศาสตร์ ประวตัิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ความเป็นมาตั้งแตอ่ดีตจนปัจจุบันโดยสังเขป 3. ความร่วมมือในภูมิภาคตั้งแตอ่ดีต คือ จากองค์การ SEATO จนถึง ASEAN 4. ความเป็นมาของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ประชาคมอาเซียน : ประชาคมการเมืองและความมนั่คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวฒันธรรมอาเซียน 5. การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน ( Asean Community ) ภาระงาน / ชิ้นงาน 1. แผนที่กลุม่ประเทศอาเซียน 2. แผนที่ประเทศตา่งๆในกลุม่อ าเซียน 3. สมุดภาพประเทศในกลุม่อาเซี ยน 4. โครงงาน ประเทศในกลุม่อาเซียน ทักษะ / กระบวนการ/ สมรรถนะสาคัญ 1. นักเรียนสามารถการใช้แผนที่ ซึ่งเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใ นการศึกษา 2. นักเรียนใช้วิธีการทางประวตัิศา สตร์ ( Historical Methodology) ในการศึกษาเรื่องราวในอดีต 3. นักเรียนมีความสามารถในการศึ กษาด้วยตนเอง ( Self - directed Learning) จากสื่อ เทคโนโลยี จากแหลง่เรียนรู้ ในการค้นควา้หาความรู้ 4. นักเรียนมีความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด หน่วยที่ 1 อาเซียนศึกษา คุณธรรม จริยธรรม/ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มีความภาคภูมิใจในผลงานของตน ประเทศชาติ และความเป็นสมาชิกอาเซียน - มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น - กล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น - ผู้เรียนมีเจตคติและทัศนคติที่ดีตอ่การเตรียมเป็นประชาคมอาเซียน - ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ทั้งในและนอกห้องเรียน
  • 3. 3 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่ 1 รู้จักอาเซียน เวลา 2 ชั่วโมง ประกอบด้วยแผนการเรียนรู้ จานวน 2 แผน ดังนี้ แผนการเรียนรู้ที่ 1 แผนที่ ที่ตั้งของกลุม่ประเทศอาเซียน เวลา 1 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 2 ความเหมือนและความตา่งของประเทศ ในกลุม่อาเซียน เวลา 1 ชั่วโมง
  • 4. 4 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 เป้าหมายการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่ 1 รู้จักอาเซียน เวลา 2 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความรู้ - มิติสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ของประเทศตา่ง ๆ ในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ - มีความรู้เกี่ยวกับที่ตั้ง ของกลุม่ประเทศอาเซียน - ความเหมือนและความตา่ง ด้านภาษา วฒันธรรม และเชื้อชาติ ของประเทศในกลุม่อาเซียน ภาระงาน/ชิ้นงาน - แผนที่กลุม่ประเทศอาเซี ยน - ใบงาน ทักษะ/กระบวนการ/ สมรรถนะสาคัญ 1. นักเรียนสามารถการใช้แผนที่ ซึ่งเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใ นการศึกษา 2. นักเรียนใช้วิธีการทางประวตัิศาส ตร์ ( Historical Methodology) ในการศึกษาเรื่องราวในอดีต 3. นักเรียนมีความสามารถในการศึ กษาด้วยตนเอง ( Self - directed Learning) จากสื่อ เทคโนโลยี จากแหลง่เรียนรู้ ในการค้นควา้หาความรู้ 4. นักเรียนมีความสามารถในการสื่ อสาร ความสามารถในการคิด และความสามารถในการแก้ปัญห า หน่วยย่อยที่1 เรื่อง รู้จักอาเซียน คุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ - มีความภาคภูมิใจในผลงานของตน ประเทศชาติ และความเป็นสมาชิกอาเซียน - มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น - กล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น - ผู้เรียนมีเจตคติและทัศนคติที่ดีตอ่การเตรียมเป็นประชาคมอาเซียน - ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ทั้งในและนอกห้องเรียน
  • 5. 5 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ที่ตั้งของประเทศในกลุม่อาเซียน (เวลา 1 ชั่วโมง) 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 ตัวชี้วัด ป.5/2 ส 5.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 ตัวชี้วัด ป.5/2 ตัวชี้วัด ป. 5/3 ศ 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 ท 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/6 ท 2.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 ต 3.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ - บอกที่ตั้งและชื่อประเทศตา่งๆ ของกลุม่อาเซียนได้ - อา่นชื่อประเทศ และเมืองหลวงได้ถูกต้อง - อา่นและเขียนชื่อประเทศตา่งๆ เป็นภาษาอังกฤษได้ ทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะสาคัญ - วาดแผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน และระบายสีได้สวยงาม คุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ - มีความภาคภูมิใจในผลงานของตน ประเทศชาติ และความเป็นสมาชิกอาเซียน 3. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมรวมชั้น 1. นักเรียนทา แบบทดสอบกอ่นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รู้จักอาเซียน 2. ครูนาแผนที่ทวีปเอเชียติดหรือแขวนบนกระดาน ให้นักเรียนร่วมกนัศึกษา ให้อาสาสมคัรออกมาชี้ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านแล้วให้นักเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูตั้งคา ถาม ดังนี้ - ประเทศไทยตั้งอยูบ่ริเวณใด ( ประเทศไทยตั้งอยูใ่นภูมิภาคเอเชียตะวนัออก เฉียงใต้เหนือเส้นศูนย์สูตร )
  • 6. 6 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 - ประเทศไทยมีอาณาเขตติดตอ่กบัประเทศใดบ้าง ( ทิศเหนือติดประเทศพมา่และประเทศลาว ตะวนัออกติดประเทศลาวและประเทศเขมร ทิศตะวนัตกติดทะเลอันดามนัและประเทศพมา่ ทิศใต้ติดอา่วไทย และประเทศมาเลเซีย ) กิจกรรมจับคู่ : ชั้นเดียวกัน จับคู่ข้ามชั้น นักเรียนศึกษาแผนที่เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ และอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกบัประเทศที่อยูใ่นภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้วา่มีทั้งหมดกี่ประเทศ และเป็นกลุม่ประเทศอาเซียนกปี่ระเทศ ไมอ่ยูใ่นกลุม่ประเทศอาเซียนคือประเทศใด แตล่ะประเทศมีขนาดและรูปร่างและมีที่ตั้งอย่างไร แล้วให้นักเรียนร่วมกนัแสดงความคิดเห็น โดยครูตั้งคา ถาม ดังนี้ - ประเทศใดบ้างในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ที่ตั้งอยูใ่นคาบสมุทรหรือแผน่ดินใหญแ่ละมีประเทศ ใดบ้างที่เป็นเกาะ ( ประเทศที่ตั้งอยูบ่นคาบสมุทรหรือแผน่ดินใหญ่ ได้แก่ กมัพูชา ลาว มาเลเชีย เมียนมาร์ ไทยและ เวียดนาม ประเทศที่เป็นเกาะหรือหมูเ่กาะ ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และ สิงคโปร์ ประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ใหญที่่สุด ประเทศติมอร์ เลสเต ไมอ่ยูใ่นกลุม่ประเทศอาเซียน) กิจกรรมกลุ่ม นักเรียนศึกษา ประเทศเพื่อนบ้านที่มีอาณาเขตติดตอ่กบัประเทศไทยและประเทศที่ไมมี่ อาณาเขตติดตอ่กบัประเทศไทย ที่ตั้งอยูใ่นเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ กิจกรรมเดี่ยว ครูแจกใบงาน ที่ 1 แผนที่โครงร่างประเทศในกลุม่อาเซียน ให้นักเรียนปฏิบัติ และตรวจผลงาน โดยมีครูคอยให้คา แนะนาในส่วนที่บกพร่อง หรือนักเรียนไมเ่ข้าใจ กิจกรรมรวมชั้น/สรุปรวม ครูและนักเรียนร่วมกนัสรุป ประเทศในกลุม่อาเซียนมี10ประเทศ เรียงตามลา ดับพยัญชนะ (ภาษาอังกฤษ) มีเมืองหลวงชื่ออะไร และตั้งอยูบ่ริเวณใด ลงในใบงานที่ 2 เรื่อง ประเทศในกลุม่อาเซียน (ประเทศในกลุม่อาเซียน เป็นดินแดนที่อยูท่างทิศตะวนัออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศทั้งหมด 10 ประเทศ แยกเป็น 2 กลุม่ คือ ประเทศที่ตั้งอยูบ่นคาบสมุทรหรือแผน่ดินใหญ่ ได้แก่ กมัพูชา ลาว มาเลเชีย เมียนมาร์ ไทย และ เวียดนาม ประเทศที่เป็นเกาะหรือหมูเ่กาะ ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และ สิงคโปร์ ประเทศที่ไมอ่ยูใ่นกลุม่อาเซียน คือ ติมอร์ เลสเต ประเทศเหลา่นี้มีความหลากหลายในด้านประชากร ภาษา ศาสนา แตมี่รากฐานวฒันธรรมร่วมกนั
  • 7. 7 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 คือ วฒันธรรมอินเดียและจีน ประเทศไทยเป็นประเทศที่ตั้งอยูก่ึ่งกลางของภูมิภาคโดยทิศเหนือติดประเทศเมียนมาร์ และ ประเทศลาว ตะวนัออกติดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทิศตะวนัตกติดทะเลอันดามนัและประเทศเมียนมาร์ ทิศใต้ติดอา่วไทย และประเทศมาเลเซีย) 4. ชิ้นงาน / ภาระงาน - แผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน - ใบงานที่ 1 แผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน 5. แหล่งเรียนรู้/สื่อ - ห้องสมุด/ห้องอาเซียน - แผนที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 6. การวัดและประเมินผล วิธีวัด เครื่องมือ 1. สังเกตการทา งาน 2. ตรวจผลงาน 1. แบบสังเกตการทา งาน 2. ใบงานที่ 1 เรื่องแผนที่ประเทศในกลุม่อาเซียน ใบงานที่ 2 เรื่องประเทศในกลุม่อาเซียน
  • 8. 8 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 7. บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการสอน.................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค........................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ............................... (ลงชื่อ)........................................................ (...................................................) (ครูผู้สอน) ความคิดเห็นของผู้บริหาร .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)..................................................................... (....................................................) (ผู้บริหารสถานศึกษา)
  • 9. 9 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 อาเซียน 10 ประเทศ เรียงตามพจนานุกรมอังกฤษ 1. Brunei Darussalam 2. Cambodia 3. Indonesia 4. Lao 5. Malaysia 6. Myanmar 7. Philippines 8. Singapore 9. Thailand 10. Vietnam ใบความรู้ที่1 เรื่อง แผนทปี่ระเทศในกลุ่มอาเซียน
  • 10. 10 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ใบความรู้ที่2 ความรู้เกี่ยวกับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  แผนทเี่อเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงทตี่ั้งของประเทศต่าง ๆ 1. ทา เลทตี่ั้งและขนาด ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ตั้งอยูที่่ละติจูด 10 องศาใต้ ถึงละติจูดที่ 28 องศาเหนือและอยูร่ะหวา่งลองจิจูดที่ 92 องศาตะวนัออก ถึง 141 องศาตะวนัตก หรืออยูร่ะหวา่งภูมิภาคเอเชียตะวนัออกกบัภูมิภาคเอเชียใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นคาบสมุทร คือ คาบสมุทรอินโดจีน และดินแดนที่เป็นหมูเ่กาะในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แบง่มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกออกจากกนั มีชอ่งแคบ 4 แห่ง ได้แก่ชอ่งแคบมะละกา ชอ่งแคบซุนดา ชอ่งแคบลอมบอก และชอ่งแคบมาคัสซาร์ เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในปี 2009 มีประชากรประมาณ 600 ล้านคน สิงคโปร์ คือเกาะที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลกหากเทียบกับขนาด
  • 11. 11 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้มีความหลากหลายทางวฒันธรรม ภาษา และ ศาสนา นอกจากนี้ยังเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมระหวา่งทวีปเอเชีย และทวีปออสเตรเลียประกอบด้วยประเทศตา่ง ๆ 2. ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มีลักษณะเปรียบเสมือนรูปพัด และมีแนวเกาะรูปโค้งเป็นแนวล้อมอยูโ่ดยรอบ พื้นที่จะแบง่ออกเป็นส่วนที่เป็นแผน่ดินใหญห่รือคาบสมุทรและส่วนที่เป็นเกาะตา่ง ๆ โดยพื้นที่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรจะมีลักษณะเป็นเทือกเขาสูงที่ตอ่เนื่องมาจากภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก ถัดลงมาเป็นที่ราบลุม่แมน่้าขนาดใหญ่ เชน่ ที่ราบลุม่แมน่้าเจ้าพระยาในไทย แมน่้าอิรวดีในเมียนมาร์ ที่ราบลุม่แมน่้าแดงของเวียดนาม ที่ราบลุม่แมน่้าโขงใน ประเทศกมัพูชาและเวียดนาม ส่วนที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน่้าที่สาคัญ เชน่ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน่้าโขง แมน่้าเจ้าพระยาและแมน่้าอิรวดี เป็นต้น ทางใต้และตะวนัออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นหมูเ่กาะภูเขาไฟที่ยังมีพลังอยูแ่ละที่ดับแล้ว มีที่ราบบ้างแตไ่มก่วา้งขวางนัก เกาะใหญที่่สาคัญ ได้แก่ เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา เกาะสุมาตรา เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว 3. ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น มีฝนตกชุกและมีอุณหภูมิค่อนข้างสูงเกือบตลอดทั้งปี ฤดูหนาวอากาศไมห่นาวจัด ประเทศที่อยูใ่กล้เส้นศูนย์สูตร เชน่ ประเทศเมียนมาร์ ลาว กมัพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ จะมีฤดูฝนสลับกบัฤดูแล้งซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากอิทธิพลของลมมรสุม แตอ่ยา่งไรก็ตาม ภูมิอากาศของภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ขึ้นอยู่กบัอิทธิพลทางธรรมชาติที่สาคัญ 4 ประกาศ คือ ทา เลที่ตั้ง ทิศทางลมประจา ที่พัดผา่น ลักษณะภูมิประเทศและความใกล้ไกลทะเล 4. ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้เป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพรรณธรรมชาตินานาชนิด โดยมีพื้นที่ป่าไมอ้ยู่ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่ภูมิภาค แมใ้นตอนนี้มีการทา ลายป่าไม้มากขึ้น ทา ให้เนื้อที่ป่าลดลง ป่าไมส้่วนใหญเ่ป็นป่าดงดิบ ซึ่งลักษณะของต้นไมจ้ะมีขนาดสูงใหญเ่ป็นไมไ้มผ่ลัดใบ ขึ้นปะปนกนัอยา่งหนาแน่น ใบสีเขียวตลอดปี ด้านลา่งมีเถาวลัย์เลื้อยปกคลุมเป็นจา นวนมาก เชน่ ป่าในคาบสมุทรภาคใต้ของไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกาะบอร์เนียว เป็นต้น ส่วนบนที่เป็นผืนแผน่ดินใหญ่
  • 12. 12 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 พืชพรรณธรรมชาติส่วนมาก เป็นป่าเบญจพรรณ ( ป่าไมผ้ลัดใบเมืองร้อน) โดยพื้นที่บางบริเวณจะมีทุง่หญ้าขึ้นแทรกปะปนอยู่ด้วย 5. ทรัพยากรธรรมชาติ เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาตินานาชนิด ไมว่า่จะเป็นป่าไม้ สัตว์น้า แหลง่น้า ดินที่เหมาะแกก่ารเพาะปลูก แร่ธาตุ ใบงานที่ 1 แผนที่ประเทศในกลุ่มอาเซียน คาชี้แจง นักเรียนลงชื่อประเทศเป็นภาษาไทย ให้ครบทั้ง 10 ประเทศและระบายสีให้สวยงาม
  • 13. 13 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ลงชื่อ...............................................................ผู้ประเมิน ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเทศในกลุ่มอาเซียน คาชี้แจง นักเรียนเขียนชื่อประเทศเป็นภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง และระบายสีแผนที่ให้สวยงาม
  • 14. 14 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ลงชื่อ..........................................................................ผู้ประเมิน ใบงานที่ 3 แบบทดสอบ คาชี้แจง นักเรียนเลือกคา ตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดกลา่วถึงทา เลที่ตั้งและขนาดของภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ผิดจากความเป็นจริง ก. ตั้งอยูที่่ละติจูด 10 องศาใต้ถึง 28 องศาเหนือ ข. ดินแดนส่วนใหญอ่ยูเ่หนือเส้นศูนย์สูตร ค. เป็นภูมิภาคใหญที่่สุดของทวีปเอเชีย ง. อยูร่ะหวา่งประเทศจีนกบัฟิลิปปินส์ 2. กลุม่อาเซียนมีสมาชิกกี่ประเทศ ก. 8 ประเทศ ข. 9 ประเทศ ค. 10 ประเทศ ง. 11 ประเทศ 3. ประเทศใดไมไ่ด้เป็นสมาชิกของกลุ่มอาเซียน ก. ติมอร์ เลสเต ข. กมัพูชา ค. ลาว ง. เมียนมาร์ 4. กลุม่อาเซียน ตั้งอยูใ่นทวีปใด ก. ทวีปยุโรป ข. ทวีปอเมริกาเหนือ ค. ทวีปเอเชีย ง. ทวีปแอฟริกา 5. กลุม่ประเทศใดที่มีอาณาเขตติดกับมหาสมุทรอินเดีย ก. ไทย เมียนมาร์ อินโดนีเซีย ข. ไทย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ข. สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซีย ง. มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ กมัพูชา 6. ทะเลจีนใต้ เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรใด ก. อาร์กติก ข. อินเดีย ค. แอลแลนติก ง. แปซิฟิก
  • 15. 15 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 7. ประเทศที่มีพื้นที่เล็กที่สุดในกลุ่มอาเซียนตรงกับข้อใด ก. บรูไน ข. ลาว ค. สิงคโปร์ ง. ไทย 8. ประเทศมาเลเซียตะวนัออกตั้งอยูบ่ริเวณใด ก. เกาะสุมาตรา ข. เกาะบอเนียว ค. เกาะสุลาเวชี ง. เกาะอีเรียนจายา 9. ภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบใด ก. หนาวจัด ข. อบอุน่ ค. ร้อนชื้น ง. ป่าเขตร้อน 10. ประเทศบ้านพี่เมืองน้องกบัประเทศไทย หมายถึงประเทศใด ก. ประเทศเมียนมาร์ ข. ประเทศมาเลเซีย ค. ประเทศกมัพูชา ง. ประเทศลาว ************************ เฉลย 1 ค 2 ค 3 ก 4 ค 5 ก 6 ง 7 ค 8 ข 9 ค 10 ง
  • 16. 16 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน (เวลา 1 ชั่วโมง) 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.2 ตัวชี้วัด ป.5/2 ส 5.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 ตัวชี้วัด ป.5/2 ตัวชี้วัด ป. 5/3 ศ 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 ท 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/6 ท 2.1 ตัวชี้วัด ป.5/3 ค 3.1 ตัวชี้วัด ป.5/1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ - ยกตัวอยา่งความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ ทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะสาคัญ - เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางด้าน ภาษา วฒันธรรม และเชื้อชาติ ของประเทศอาเซียน คุณธรรม จริยธรรม /คุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ - ยอมรับความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 3. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมรวมชั้น ครูนาภาพของประเทศตา่งๆ มาให้นักเรียนศึกษา เชน่ ภาพการแตง่กาย ลักษณะภูมิประเทศ ภาพภัยธรรมชาติ หรือภาพอื่นๆ โดยให้นักเรียนร่วมกนัอภิปรายถึงความเหมือนและความตา่งของประเทศนั้นๆ กบัประเทศไทย
  • 17. 17 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 กิจกรรมจับคู่ : ชั้นเดียวกัน จับคู่ข้ามชั้น ครูให้นักเรียนจับกลุม่ๆ ละ 3-4 คน ครูแจกใบความรู้ เรื่อง ความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน กิจกรรมกลุ่ม คัดเลือกตัวแทนของกลุ่ม นาเสนอ ความเหมือน และความตา่งของประเทศในกลุม่อาเซียน ตามความคิดเห็นของกลุ่มตนเองหน้าชั้น ครูให้คา แนะนาเพิ่มเติมส่วนที่บกพร่อง เพื่อนๆ ตา่งกลุม่ สรุปเรื่องราวคราวๆ ลงในสมุดบันทึก กิจกรรมเดี่ยว ครูแจกใบงานที่ 3 เรื่อง เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน นักเรียนบันทึกข้อมูล โดยมีครูคอยให้คา แนะนา กิจกรรมรวมชั้น/สรุปรวม ครูและนักเรียนร่วมกนัสรุป ความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 4.ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบความรู้ เรื่อง ความเหมือนและความตา่งระหวา่งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน - ใบงานที่ 3 เรื่อง เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน 5. แหล่งเรียนรู้/สื่อ - ห้องสมุด/ห้องอาเซียน - ภาพการแตง่กายของประเทศตา่งๆ 6. การวัดและประเมินผล วิธีวัด เครื่องมือ 1. สังเกตการทา งาน 2. ตรวจผลงาน 1. แบบสังเกตการทา งาน 2. ใบงานที่ 3 เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่งของประเทศในกลุ่มอาเซียน
  • 18. 18 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 7. บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการสอน.................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค........................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)........................................................ (...................................................) (ครูผู้สอน) ความคิดเห็นของผู้บริหาร .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)..................................................................... (....................................................) (ผู้บริหารสถานศึกษา)
  • 19. 19 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความเหมือนและความต่างระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพอื่นบ้าน ประเทศไทยกบัประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ มปีระเพณีและวฒันธรร มตา่ง ๆ ทั้งที่คล้ายคลึงและแตกตา่งกนัเป็นผลมาจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ รากฐานทางวฒันธรรมและการนับถื อศาสนา ซึ่งจะสรุปให้เห็นเป็นภาพรวมได้ ดังนี้ 1. ศาสนา ศาสนาสาคัญที่เผยแผเ่ข้ามาและได้รับการยอมรับนับถือจากชนชาติในภูมิภาคเอเชียตะวนัอ อกเฉียงใต้ ได้แก่พระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาที่ผู้คนส่วนใหญใ่นประเทศไทย พมา่ ลาวกมัพูชาล้วนนับถือ ดังนั้นประเพณีพิธีกรรมทางศาสนาลัทธิความเชื่อตา่ง ๆ ของพมา่ ลาว กมัพูชา ก็จะคล้ายคลึงกบัคนไทย เชน่ การทา บุญตักบาตร การสวดมนตร์ไหวพ้ระการให้ความเคารพพระสงฆ์การนิยมให้บุตรหลานเข้ารับการอุปสมบท เป็นต้น สาหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากรส่วนใหญนั่บถือศาสนาอิสลาม จึงมีวฒันธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากคริสต์ศาสนา ประเทศสิงคโปร์และเวียดนาม นับถือหลายศาสนา โดยนับถือลัทธิธรรมเนียมตามแบบจีนเป็นหลัก 2. ภาษา ประเทศเพื่อนบ้านที่มีการพูดเขียนคล้ายคลึงกับไทยก็คือ ลาวเพียงชาติเดียวเทา่นั้น ส่วนชาติอื่น ๆ ก็จะใช้ภาษาของตนไมว่า่จะเป็นพมา่ เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ โดยที่ภาษาอังกฤษและภาษาจีนจะเป็นภาษากลางที่ใช้ติดตอ่กนัได้ทั่วทั้งภูมิภาค 3. ประเพณี พิธีกรรม ประเทศใด นับถือศาสนาเป็นพระพุทธศาสนา ประเพณีพิธีกรรมตา่ง ๆ ก็จะคล้ายคลึงกบัของไทย เชน่ การทา บุญเลี้ยงพระ การเวียนเทียน ประเพณีเข้าพรรษา เป็นต้น ส่วนประเพณีอื่นๆ ที่ไมเ่กยี่วข้องกบัศาสนา พบวา่หากเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับไทย เชน่ พมา่ ลาว กมัพูชา ก็จะมีประเพณีหลายอยา่งคล้ายคลึงกับไทย เชน่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ขณะเดียวกนัวฒันธรรมไทยในการแสดงความเคารพ โดยการ
  • 20. 20 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ไหวข้องคนไทย ชาติเหลา่นี้ก็จะมีธรรมเนียมการไหวเ้ชน่เดียวกนั สาหรับชาติอื่นๆได้แก่มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรุไน จะมีประเพณีพิธีกรรมตามแบบอิสลาม เวียดนามกบัสิงคโปร์จะมีประเพณีพิธีกรรมตามแบบจีน และมีวฒันธรรมตะวนัตกเข้ามาผสมผสาน ส่วนชาติที่มีแบบแผนประเพณี พิธีกรรมเหมือนอยา่งตะวนั ตก คือ ฟิลิปปินส์ 4. อาหาร อาหารของประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ส่วนใหญจ่ะประกอบด้วยข้า ว พืชผัก และเนื้อสัตว์ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น การปรุงอาหารโดยมากจะใช้เครื่องเทศ กะทิ น้ามนัรสชาติจัดจ้าน โดยอาหารของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้จะมีอยู่อยา่งหลา กหลาย สีสันดูน่ารับประทาน รสชาติเผ็ดร้อน ประเทศที่รับประทานอาหารไมแ่ตกตา่งจากคนไทยก็ยั งคงเป็นพมา่ ลาว กมัพูชา ขณะเดียวกนัก็มีอาหารจากชาติอื่น ๆ เชน่ ยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลี เข้ามาเผยแพร่ด้วย 5. การแต่งกาย ผู้คนในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ สังคมเมืองในปัจจุบัน ผู้ชายสวมเสื้อ กางเกง ส่วนผู้หญิงสวมเสื้อ กางเกง หรือกระโปรง แตใ่นชนบทผู้หญิงจา นวนมากก็ยังคงสวมใส่ผ้าซิ่นกนัอยู่ ทั้งนี้ชุดประจา ชาติของประเทศในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ ล้วนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ไมเ่หมือนกนั ทา ให้เมื่อดูแล้วสามารถบอกได้ทันทีวา่ชุดแตง่กายนั้น ๆ เป็นของชนชาติใด กลา่วโดยสรุปวฒันธรรมไทย เป็นสิ่งดีงามที่บรรพบุรุษของเราได้สั่งสมและสืบทอดต่อกนัมาจ นเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชาติไทย อยา่งไรก็ตามประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิ ดและมีดินแดนติดตอ่กนั เชน่ ลาว พมา่ กมัพูชา และมาเลเซีย จะมีวฒันธรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกั นหรือมีมติความเชื่อและประเพณีที่เหมือนหรือคล้ายกนั โดยเฉพาะอยา่งยิ่งศาสนา เชน่ พระพุทธศาส นา เป็นปัจจัยที่ทา ให้เกิดประเพณีที่คล้ายคลึงกนั ส่วนศาสนาอิสลามในมาเลเซีย ก็จะพบวา่มีความคล้ ายคลึงกบัจังหวดัชายแดนทางภาคใต้แต่กลับประเทศเพื่อนบ้านที่อยูห่่างออกไป เชน่ สิงคโปร์ บรูไน ก็จะทา ให้มีวฒันธรรมบางอยา่งที่แตกตา่งกับของไทย ดังนั้นจึงอาจกลา่วได้วา่วฒันธรรม นอกจากจะเ ป็นสิ่งที่สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกนัของคนในชาติ ความเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชาติ แล้ว วฒันธรรมยังทา ให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี ความรู้สึกเป็นบ้านพี่เมืองน้องกบัประเทศเพื่อนบ้านอีก
  • 21. 21 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ด้วย ที่มาข้อมูล : http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2178 คาชี้แจง นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความตา่ง ระหวา่งประเทศไทยกบัประเทศในกลุ่มอาเซียน ประเทศ ความเหมือน ความต่าง บรูไน กมัพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร์ ใบงานที่ 3 เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของประเทศไทยกับเพื่อนในกลุ่มอาเซียน
  • 22. 22 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม เครื่องมือในการวัดและประเมินผล แบบประเมินผลงาน หน่วยการเรียนรู้ที่1 ชื่อหน่วย อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน เวลา 2 ชั่วโมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ ชื่อ- สกุล รายการประเมิน รวม ผล ใส่ชื่อประเทศ ถูกต้อง 4 ให้สีสวยงาม 4 ใส่ชื่อ ปท.เป็นภาษาอังกฤษได้ ทันเวลา 4 อธิบายได้ 4 คะแนน ผา่น ไมผ่า่น 1 2 3 4 5 6 7 8 9
  • 23. 23 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 10 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การตัดสิน 4 หมายถึง ดีมาก ผา่น หมายถึง ทา ได้ 12 คะแนนขึ้นไป 3 หมายถึง ทา ได้ดี ไมผ่า่น หมายถึง ทา ได้ 11 คะแนนลงมา 2 หมายถึง ทา ได้พอใช้ 1 หมายถึง ทา ได้ปรับปรุง แบบสังเกตพฤติกรรมการทา งาน เรื่อง..................................................................................... ชื่อ.........................................................................ชั้น............................... งานเดี่ยว งานกลุม่ พฤติกรรม เกณฑ์ พฤติกรรม เกณฑ์ 1 2 3 1 2 3 1. ทันเวลา 2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. มีความรับผิดชอบ 1. มีลักษณะการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ ดี 2. ทา งานร่วมกบัคนอื่นได้ 3. กล้าแสดงความคิดเห็น ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน เรื่อง..................................................................................... ชื่อ.........................................................................ชั้น............................... เกณฑ์การประมาณ ระดับ 4 (10 คะแนน) ระดับ 3 (8 คะแนน) ระดับ 2 (6 คะแนน) ระดับ 1 (น้อยกวา่ 6 คะแนน) ความเหมือนและความตา่งของประเทศ เปรียบเทียบด้า เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ
  • 24. 24 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ในกลุม่อาเซียน น ขนาดของพื้นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้องทุกป ระเทศ ด้าน ขนาดของพื้ นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้อง 8 ประเทศ ด้าน ขนาดของพื้ นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้อง 6 ประเทศ ด้าน ขนาดของพื้ นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้อง น้อยกวา่ 6 ประเทศ ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน เครื่องมือทใี่ช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมินการตรวจผลงาน เกณฑ์การประมาณ ระดับ 4 (10 คะแนน) ระดับ 3 (8 คะแนน) ระดับ 2 (6 คะแนน) ระดับ 1 (น้อยกวา่ 6 คะแนน) ความเหมือนและความตา่งของประเทศ ในกลุม่อาเซียน เปรียบเทียบด้า น ขนาดของพื้นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้องทุกป ระเทศ เปรียบเทียบ ด้าน ขนาดของพื้ นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้อง 8 ประเทศ เปรียบเทียบ ด้าน ขนาดของพื้ นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้อง 6 ประเทศ เปรียบเทียบ ด้าน ขนาดของพื้ นที่ วฒันธรรม การแตง่กาย อาหาร ภาษา ได้ถูกต้อง น้อยกวา่ 6 ประเทศ
  • 25. 25 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยการเรียนรู้ที่10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่ 1 รู้จักอาเซียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 2 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ส 4.2 ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจา กอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความ สัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการ ตัวชี้วัด ป.5/2 อธิบายอิทธิพลของวฒันธรรมตา่ งชาติที่มีตอ่สังคมไทยปัจจุบันโด ยสังเขป - การเข้ามาของวฒันธรรมตา่งช าติในสังคมไทย เชน่ อาหาร ภาษา การ แตง่กาย ดนตรี
  • 26. 26 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ณ์อยา่งตอ่เนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบ ที่เกิดขึ้น โดยระบุลักษณะสาเหตุ และผลโดยสังเขป - อิทธิพลที่หลากหลายของกระ แสวฒันธรรมตา่งชาติที่มีต่อสั งคมไทย ในปัจจุบัน โดยสังเขป ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภา พ และความสาคัญของสรรพสิ่งซึ่ง มีผลตอ่กนัและกนัในระบบของธ รรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศา สตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอยา่ง มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป.5/1 รู้ตา แหน่ง(พิกดัภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ตัวชี้วัด ป.5/2 ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สาคัญใ นภูมิภาคของตนเองในแผนที่ ตัวชี้วัด ป. 5/3 อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณ ะทางกายภาพกบัลักษณะทางสัง คม ในภูมิภาคของตนเอง - ตา แหน่ง(พิกดัภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง - ภูมิลักษณะที่สาคัญในภูมิภาค ของตนเอง เชน่ แมน่้า ภูเขา ป่าไม้ - ความสัมพันธ์ของลักษณะทาง กายภาพ (ภูมิลักษณะ ภูมิอากาศ) และลักษณะทางสังคม (ภูมิสังคม) ในภูมิภาคของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนากา ร และความคิดสร้างสรรค์วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารย์คุณคา่งานทัศนศิลป์ ตัวชี้วัด ป.5/3 วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี - แสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี
  • 27. 27 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 ถา่ยทอดความรู้สึก ความคิดตอ่งานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา วนั ค 3.1 ใช้ภาษาตา่งประเทศในการเชื่อมโยงควา มรู้กบักลุม่สาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด ป.5/1 ค้นควา้ รวบรวมคา ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกั บกลุม่สาระการเรียนรู้อื่น และนาเสนอด้วนการพูด/การเ ขียน - การค้นควา้ การรวบรวม และการนาเสนอคา ศัพท์ ที่เกยี่วข้องกบักลุม่สาระกา รเรียนรู้อื่น ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่น สร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แกปั้ญหาในการดา เนินชีวิต และมีนิสัยรักการอา่น ตัวชี้วัด ป.5/6 อา่นงานเขียนเชิงอธิบาย คา สั่ง ข้อแนะนา และ ปฏิบัติตาม - อา่นงานเขียนเชิงอธิบาย คา สั่ง ข้อแนะนา และ ปฏิบัติตาม เชน่ - การใช้พจนานุกรม - การใช้วสัดุอุปกรณ์ - การอา่นฉลากยา - คูมื่อและเอกสารของโรงเรี ยนที่เกยี่วกบันักเรียน - ขา่วสารทางราชการ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนากา ร และความคิดสร้างสรรค์วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารย์คุณคา่งานทัศนศิลป์ ถา่ยทอดความรู้สึก ความคิดตอ่งานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา วนั ตัวชี้วัด ป.5/3 วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี - แสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน ตัวชี้วัด ป.5/3 -
  • 28. 28 หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ หน่วยที่ 10 อาเซียนศึกษา หน่วยย่อยที่1 รู้จักอาเซียน ช้นัประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่1 เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตา่งๆ เขียนรายงานสารสนเทศ และรายงานการศึกษา ค้นควา้อยา่งมีประสิทธิภาพ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพื่อใช้พัฒนางานเขียน การนาแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด ไปพัฒนางานเขียน