SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
เรื่อง สาย UTP
สาย UTP
สาย Unshielded Twisted-Pair หรือที่เรียก
ย่อๆ ว่า (UTP)
  เป็นสายคู่ตีเกลียว(Twisted-Pair
Cable)ชนิดไม่หุ้มฉนวน ทำาด้วยทองแดง เป็นที่
นิยมมากสำาหรับการสร้างเครือข่ายใหม่ๆ ที่มี
ระยะทางที่ไม่ไกลเกิน 100 เมตรเช่น ระบบ
Lan เป็นต้น
รูปที่1 ลักษณะ
ลักษณะของสาย UTP
ลักษณะของสายคู่ตีเกลียวคือ ภายในเป็นสาย
ทองแดง 2 เส้นหุ้มฉนวนไฟฟ้าหนา 1 ม.ม. สายทั้ง
สองถูกตีเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อลดผลกระทบจาก
การรบกวนทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นสายคู่อื่นที่อาจถูกนำา
มาวางไว้ติดกัน สามารถส่งสัญญาณได้ทั้งแบบ
อนาล็อกและดิจิตอล ความกว้างของช่องสัญญาณ
ขึ้นอยู่กับขนาดของสายและระยะทางในการส่ง
ระบบงานที่ใช้สายชนิดนี้คือ ระบบโทรศัพท์ ซึ่งใช้
ในการต่อเชื่อมระหว่างโทรศัพท์บ้านกับองค์การ
สาย UTP (ต่อ)
คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนนี้มี
ตั้งแต่ 2,4,6 หรือ 8 เส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมี
สีแตกต่างกันไปและตลอดทั้งสายนั้นจะถูก
หุ้มด้วยพลาสติก
รูปที่2 สาย UTP
สาย UTP (ต่อ)
สายทองแดงในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวน
จะเป็นคู่ของสายที่ตีเกลียวรอบซึ่งกันและกัน
ซึ่งการตีเกลียวกันในลักษณะนี้จะช่วยให้มันมี
คุณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนจาก
อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เช่น จากเครื่องถ่าย
เอกสารที่อยู่ใกล้ๆ เป็นต้น
รูปที่3 ลักษณะการตีเกลียว
มาตรฐานของสาย UTP
  จากระบบเครือข่ายแบบ Ethernet ที่กล่าว
มาทั้งหมด จะมีจุดสำาคัญอยู่ที่ ได้นำาเอาคุณสมบัติ
ดังที่กล่าวมา มาใช้ มาเชื่อมต่อให้อยู่ในรูป ที่
ต้องการใช้ตามมาตรฐานของ Ethernet ซึ่งจะมี
มาตรฐานการเชื่อมต่ออยู่ด้วยกันหลายแบบ
มาตรฐานในการเชื่อมต่อ อย่างเช่น 10base2,
10base5, 10baseT, 10baseFL, 10baseTX,
100baseT4, และ 100baseFX ซึ่งมาตรฐานรูป
มาตรฐานของสาย UTP (ต่อ)
อย่างเช่น 10base2 เป็นมาตรา
ฐานที่ใช้ความเร็ว 10 Mbps ใช้สาย
แบบ Coaxial แบบบางหรือเรียกว่า
thin Ethernet รูปแบบการเชื่อมต่อ
(Topology) เป็นแบบ BUS ระยะทางใน
การรับส่งข้อมูลประมาณ 185 – 200
 เมตร เป็นต้น
สาย UTP (ต่อ)
•มาตรฐานการเดินสายสัญญาณสื่อสารใน
อาคารแบบระบบเปิดได้รับการกำาหนด
มาตรฐานโดยองค์กรมาตรฐานที่สำาคัญ
ของสหรัฐอเมริกา มาตรฐานดังกล่าวคือ
ANSI / TIA – 568
•EIA 568 มาตรฐานของสี [ส้ม , –ขาว
เขียว, ขาว,ฟ้า-ขาว,นำ้าตาล-ขาว]
สาย UTP (ต่อ)
สาย UTP ที่ใช้กันอยู่ปัจจุบันจะเป็น 100
Ohm Unshielded Twisted-Pair (UTP) ซึ่ง
แต่เดิมระบบ Ethernet Network จะทำางานที่
ความเร็ว 10 Mbps ทำาให้การใช้งานสาย
UTP ไม่มีปัญหา แต่เมื่อระบบ Network
พัฒนาจากระบบ Ethernet เป็น Fast
Ethernet ทำางานที่ 100 Mbps เมื่อความเร็ว
ในการใช้งานสูงขึ้น ความถี่ที่ใช้งานภายใน
สาย UTP (ต่อ)
ทำาให้อัตราการลดทอนสัญญาณภายใน
สายมีมากขึ้นด้วย ด้วยเหตุนี้การใช้งานสาย
UTP และการเข้าหัว UTP จึงมีบทบาทมากขึ้น
สาย UTP แบ่งออกเป็นหลายชนิด
สายสัญญาณมีการแบ่งเป็นระดับรุ่นตาม
มาตรฐาน TIA/EIA ซึ่งสามารถแบ่งเป็น
Category (Cat) ต่าง ๆ เช่น Cat1,Cat 2 ,Cat
3, Cat 4, Cat 5, Cat 5e และ Cat 6 แต่ที่
ชนิดของสาย Category
สาย Category แบ่งตามลักษณะการนำาสัญญาณ
ความถี่ได้ดังนี้
สายCategory1 สำาหรับการสื่อสาร
แบบเสียง
สายCategory2 ใช้ได้ทั้งการสื่อสาร
แบบเสียงและข้อมูล ชนิดนี้ไม่นำามาใช้ใน
Network
สายCategory3 เป็นสาย UTP แบบ
100 โอห์มใช้ในระบบเชื่อมโยงฮาร์ดแวร์และ
Category 3
รูปที่4 สาย
CAT 3
CAT 3 ใช้ในระบบโทรศัพท์แบบเก่า BW :
10 Mbps Ethernet
ชนิดของสาย Category (ต่อ)
สายCategory4 เป็นสาย UTP แบบ 100
โอห์มใช้เชื่อมโยงฮาร์ดแวร์และระบบสื่อสารข้อมูล
โดยการส่งสัญญาณได้จนถึงและรองรับสัญญาณ
อนาลอกที่มีความถี่ได้ถึง 20 MHz
สายCategory5 เป็นสายที่มีการพัฒนามา
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารข้อมูลสายชนิด
นี้ใช้ส่งข้อมูลได้จนถึง 100 เมกะเฮิรตซ์ และรอง
รับสัญญาณอนาลอกที่มีความถี่ได้ถึง 100
ชนิดของสาย Category 5(ต่อ)
สายมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบันคือสายแบบ
CAT-5e ลักษณะของสาย หน้าที่ของสาย
แต่ละเส้นและรหัสสีดูได้จากตาราง
รูปที่5 ลักษณะของ
Category 6
สายCategory 6 เป็นสายสัญญาณที่
พัฒนาขึ้นเพื่อที่จะรองรับปริมาณข้อมูลที่สูง
ความถี่ที่สูง Bandwidth ที่กว้างขึ้น ได้ช่วง
ความถี่ 1-250 Mhz จึงเป็นที่มาของสาย
สัญญาณ category ใหม่นั่นคือ สาย CAT 6
รูปที่6 สาย
มาตรฐาน Category 6 (ต่อ)
TIA ได้ประกาศใช้มาตรฐาน Category
6 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยเป็นเนื้อหาภายใน
TIA/EIA-568-B.2-1
โดยมาตรฐานใหม่นี้ต้องการสาย UTP
100 Ohms อุปกรณ์ Connecting hardwa
re , Patch Cord ต้องได้รับการทดสอบ
ทั้งทางด้านห้องทดลองและการทดสอบใน
ภาคสนามให้ได้ช่วงความถี่ 1-250 Mhz
มาตรฐาน Category 6 (ต่อ)
TIA ให้เหตุผลว่า CAT6 สามารถรองรับ
ในช่วง Positive PSACR (Power sum
Attenuation to Crosstalk) ได้ถึง 200
Mhz
สิ่งนี้เป็น Bandwidth ที่เพิ่มขึ้นถึงสอง
เท่าเหนือกว่า CAT5e ในการออกแบบติดตั้ง
ระบบในปัจจุบันและรองรับถึงในอนาคต
รูปที่7
ชนิดของสาย Category
การเปรียบเทียบมาตรฐานของสาย
Category
รูปที่8 ตารางเปรียบเทียบคำาย่อ
ของสองมาตรฐาน
ระยะทางและค่าลดทอนสูงสุดที่สามารถมี
ได้ตามมาตรฐาน TIA/EIA
ตารางแสดงระยะทางและค่าลดทอนสูงสุดที่สามารถมี
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45
ตารางการเข้าหัวแบบสายตรง ( Straight-
through cable EIA/TIA 568B )
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45 (ต่อ)
การเข้าหัวแบบสายไขว้ ( Crossover cable EIA/TIA
568A & 568B )
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45 (ต่อ)
ขั้น
ที่1
ขั้น
ที่2
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45 (ต่อ)
ขั้น
ที่3
ขั้น
ที่4
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45 (ต่อ)
ขั้น
ที่5
ขั้น
ที่6
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45 (ต่อ)
ขั้น
ที่7
ขั้น
ที่8
การต่อสาย Category กับ หัวต่อRJ-
45 (ต่อ)
ขั้น
ที่9
ขั้น
ที่10
ข้อดีและข้อเสียของสายคู่ตีเกลียว
ข้อดีและข้อเสียของสายคู่ตีเกลียว
ข้อดี
1. ราคาถูก
2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
3. ติดตั้งง่าย และมีนำ้าหนักเบา
ข้อเสีย
1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
2. ระยะทางจำากัด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401Mink Chonnikan
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายssrithai
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารPeerapat Thungsuk
 
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลPor Oraya
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Berlilng Cherbet
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405คทาณัฐ เมธชนัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)Worawut Thongchan
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายThanapong Wasanasati
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555BeeHand Behide
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mo Taengmo
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์dechathon
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนกรูทนง กรงธนู
 

Was ist angesagt? (18)

สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
สายคู่บิดเกลียว(Chonnikarn+mutita)401
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทาาาอร์เน็ต.Pdf555555
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
 

Ähnlich wie Utp

สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETAdisak Kammungkun
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405Te Mu Su
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 Kru Jhair
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanjana
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic networkkruniid
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407Paksupa Pleehajinda
 
Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)strang
 

Ähnlich wie Utp (20)

สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
สายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียวสายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียว
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 
มาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieeeมาตรฐาน Ieee
มาตรฐาน Ieee
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
Chapter5 3
Chapter5 3Chapter5 3
Chapter5 3
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic network
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
สายคู่บิดเกลียว(ชญานิศ ภัคสุภา-ณัฐณิชา)407
 
Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)
 

Utp