SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
ในศตวรรษที่ 21
.....................................................................
.....................................................................
.....................................................................
.....................................................................
การปฏิรูปการศกษาไทยในศตวรรษที่ 21
	
ตอนที่ : หลักการปฏิรูปการศึกษา
ึ
5
การปฏิรูปประเทศไทยก�าลังมาแรง...จนกลายเป็นระเบียบวาระแห่งชาติ
(National Agenda). ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาก็จะเป็นเรื่องที่มีความส�าคัญมากขึ้น
เพราะการศึกษาเป็นการปฏิรูปคน...เพื่อให้คนไปปฏิรูปประเทศต่อไป.
แ ต่ . . . ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า จะต้องมีจุดมุ่งหมาย, หลักการ และวิธีการ
คือ 1. จุดมุ่งหมายของการศึกษา
2. หลักการในการจัดการศึกษา
และ 3. วิธีการจัดการศึกษา
โดยมีรายละเอียดดังนี้ :-
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายของการศึกษาอยู่ที่ผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้เรียน (Student Outcomes)
ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนจะต้องถือว่าผู้เรียนมีความส�าคัญที่สุด.
การศึกษาจะต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งในด้านร่างกาย (Body)...
สติปัญญา (Mind)... และจิตวิญญาณ (Soul)
ให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior Change) ไปในทางที่ดี
ทั้งในด้านกาย, วาจา และใจ
หรือเป็นคนเก่ง, ดี และมีความสุข กล่าวคือ
มี ร่ า ง ก า ย แ ข็ ง แ ร ง , มี สุ ข พ ล า น า มั ย , มี ค ว า ม คิ ด , มี ค ว า ม รู้ ,
มี ทั ก ษ ะ ข อ ง ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 , มี ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ,
มี คุ ณ ธ ร ร ม , มี จิ ต ต่ อ ส า ธ า ร ณ ะ , มี วิ นั ย ,
มี ค ว า ม ศ รั ท ธ า ต่ อ ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
อั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ท ร ง เ ป็ น ป ร ะ มุ ข ฯ ล ฯ
กล่าวโดยย่อคือ
มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม มีสมรรถนะส�าคัญของศตวรรษที่ 21
และสามารถด�ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข.
จุดมุ่งหมายของการศึกษาดังกล่าวนี้...จ�าเป็นต้องได้รับการบรรจุไว้ใน
หลักสูตรของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21st
Century Education) !
”
“
1
6
¤ÃÙ ...¤×ͨشà»ÅÕè¹
เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาในเรื่องจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประสบความส�าเร็จ จึงต้องมียุทธศาสตร์ในด้านต่างๆ ที่ส�าคัญ คือ
ด้านครูและผู้เรียน ดังนี้ :-
1) การพัฒนาครูเพื่อให้ครูปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนแบบ Teach Less,
Learn More อันจะน�าไปสู่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(21st
Century Learning) ประกอบด้วยโครงการต่างๆ เช่น
ครูพันธุ์ใหม่, Teacher Channel ฯลฯ
2) การเพิ่มผลตอบแทนให้กับอาชีพครู เพื่อ
จูงใจคนดีมีความสามารถมาเป็นครู.
3) การกระจายอ�านาจการบริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาให้โรงเรียน
ก�ากับดูแลให้อาชีพครูมีความก้าวหน้าด้วยระบบคุณธรรมและ
ความสามารถอย่างแท้จริง.
4) การส่งเสริมความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ICT
เพื่อให้ครูและนักเรียนก้าวทันและก้าวน�าโลกปัจจุบัน.
5) การส่งเสริมและให้ความส�าคัญในด้านการอาชีวศึกษา.
6) การส่งเสริมกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียน
มีประสบการณ์จริง คิดเป็นและท�าเป็น,
สร้างจิตวิญญาณ
และคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม.
7) การส่งเสริมรักการอ่าน
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต.
7
หลักการในการจัดการศึกษา
หลักการในการจัดการศึกษาจะต้องให้ความส�าคัญในเรื่อง
“การก�าหนดนโยบายให้มีเอกภาพ
และให้มีความหลากหลายในการปฏิบัติ”
โดยใช้ยุทธศาสตร์ส�าคัญคือ
การกระจายอ�านาจการบริหาร
และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน.
เพื่อให้การกระจายอ�านาจการบริหาร และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ของทุกภาคส่วนประสบความส�าเร็จจึงจ�าเป็นต้องมี
การก�าหนดมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
การสนับสนุนเรื่องทรัพยากรและการลงทุน
การผลิตและพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ทั้งนี้ก็เพื่อท�าให้...การศึกษามีคุณภาพ,
สถานศึกษามีคุณภาพใกล้เคียงกัน และ
บุคคลได้รับ สิทธิและโอกาสเสมอกันในการเข้าถึงการศึกษาที่รัฐจัดให้
...และที่ส�าคัญที่สุด คือ
การศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education).
2
8
เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาในเรื่อง หลักการในการจัดการศึกษาประสบความ
ส�าเร็จ จึงต้องมียุทธศาสตร์ที่ส�าคัญซึ่งอาจจัดท�าเป็นโครงการต่างๆ ได้ดังนี้ :-
1) โรงเรียนนิติบุคคล (School-based Management) เพื่อกระจาย
อ�านาจการบริหารงานวิชาการ, บุคคล, งบประมาณ, ทรัพย์สิน และการ
บริหารทั่วไปให้กับสถานศึกษา.
2) โรงเรียนขนาดเล็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของหมู่บ้าน โดยให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแล
ปรับเปลี่ยนโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็น...
“โรงเรียนของหมู่บ้านที่มีคุณภาพเทียบได้กับโรงเรียนใน
เมือง และเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ของหมู่บ้านทั้งในด้าน
เศรษฐกิจ, การเมือง, สังคมและวัฒนธรรม”.
3) การสนับสนุนผู้ด้อยโอกาสให้เข้าถึงสิทธิที่จะได้รับการ
ศึกษาที่รัฐจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย.
4) การส่งเสริมหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่แตกต่างในสังคม.
5) การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
9
วิธีการจัดการศึกษา
ในระบบการศึกษา (Education System)
มีวิธีการจัดการศึกษาที่ส�าคัญ 2 ระบบ คือ :-
1. ระบบการศึกษาในรูปแบบ (Formal Education System)
ซึ่งมีหลักสูตรที่มีแบบแผน (Form) แน่นอน.
2. ระบบการศึกษานอกรูปแบบ (Non-formal Education System)
ซึ่งมีหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น (Non-form).
สถานศึกษาทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน,การอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษา
อาจจัดการศึกษาในระบบใดระบบหนึ่ง หรือทั้งสองระบบก็ได้ โดยให้มีการ
... เ ที ย บ โ อ น ผ ล ก า ร เ รี ย น กันได้.
แ บ บ ก า ร เ รี ย น รู้ ( L e a r n i n g M o d e l s )
สถานศึกษา นอกจากจะจัดการศึกษาทั้งในรูปแบบและนอกรูปแบบได้แล้ว
ยังสามารถจะจัดแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายได้ ได้แก่
1) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ห้ อ ง เ รี ย น (Classroom-based Learning)
2) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ บ้ า น เ รี ย น (Home-based Learning)
3) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ท า ง ไ ก ล (Distance Learning)
4) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ อั ธ ย า ศั ย (Informal Learning)
5) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ท า ง เ ลื อ ก (Alternative Learning)(Alternative Learning)
3
10
การปฏิรูปการศึกษาในเรื่อง วิธีการจัดการศึกษานี้ จะต้องให้ความส�าคัญ
ต่อการบูรณาการการจัดการศึกษาทั้ง 2 ระบบ
เพื่อ... เ พิ่ ม โ อ ก า ส ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
และเพื่อให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education)
อ ย่ า ง มี คุ ณ ภ า พ .
ยุทธศาสตร์ในเรื่อง วิธีการจัดการศึกษาอาจจัดอยู่ในรูปโครงการ ดังนี้ :-
1) การศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษาต่อเนื่อง (Adult Education/Continuing
Education) เพื่อให้ความส�าคัญต่อการอาชีวศึกษาและการศึกษาของผู้ใหญ่
ของผู้ที่อยู่ในวัยท�างานซึ่งมีอยู่มากกว่า 30 ล้านคนในประเทศ!
2) กศน. ต�าบล เพื่อกระจายการจัดการศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษาต่อเนื่อง
โดยใช้แบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้มีความทั่วถึงในระดับต�าบลและใน
ระดับหมู่บ้าน.
3) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่น พิพิธภัณฑ์, ห้องสมุด, หอศิลป์,
สวนสัตว์ ฯลฯ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต.
4) การพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนรูปแบบการเรียนรู้
แบบทางไกล เช่น ETV, Teacher Channel ฯลฯ.
หลักการในการปฏิรูปการศึกษาทั้ง 3 เรื่องที่กล่าวมานี้
สามารถน�ามาเขียนเป็นผังภาพเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นได้ดังต่อไปนี้ :-
1111
1จุดมุ่งหมายของการศึกษา
ยุทธศาสตร์ ได้แก่
การพัฒนาครู (Teach Less, Learn More)  การส่งเสริมความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์,
Teacher Channel, ครูพันธุ์ใหม่ วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี และ ICT
การเพิ่มผลตอบแทนครู  การอาชีวศึกษา
กระจายอ�านาจการบริหารเรื่องครู  การส่งเสริมกิจกรรมเสริมเพื่อสร้างจิตวิญญาณ
 การส่งเสริมรักการอ่าน
ผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้เรียน
ร่างกาย
(Body)
สติปัญญา
(Mind)
จิตวิญญาณ
(Soul)
มีร่างกายแข็งแรง
มีสุขพลานามัย
มีความคิด
มีความรู้
มีทักษะ
มีคุณธรรม
มีจิตส�านึกต่อสาธารณะ
มีจิตประชาธิปไตย
มีวินัย
 มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม
 มีสมรรถนะที่ส�าคัญของศตวรรษที่ 21
 สามารถด�ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข
หลักการในการปฏิรูปการศึกษา
♥ ครู... คือจุดเปลี่ยน
1212
ยุทธศาสตร์ ได้แก่
 โรงเรียนนิติบุคคล
 โรงเรียนขนาดเล็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของหมู่บ้าน (ท้องถิ่นช่วยดูแล)
 การสนับสนุนผู้ด้อยโอกาส
 การส่งเสริมหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา
 การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
หลักการในการจัดการศึกษา
มีเอกภาพด้านนโยบาย
มีความหลากหลายในการปฏิบัติ
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
 สิทธิและโอกาสเสมอกัน
 คุณภาพสถานศึกษา
 การศึกษาตลอดชีวิต
2
การกระจายอ�านาจการบริหาร
 มาตรฐานและการประกันคุณภาพทางการศึกษา
 ทรัพยากรและการลงทุน
 สื่อและเทคโนโลยี
1 2
1313
3วิธีการจัดการศึกษา
ยุทธศาสตร์ ได้แก่
 การศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษาต่อเนื่อง (Adult Education /Continuing Education)
 กศน. ต�าบล และ กศน. หมู่บ้าน
 แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
 เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ETV, Teacher Channel)
แบบการเรียนรู้ (Learning Models) มีความหลากหลาย
1) แบบห้องเรียน (Classroom-based Learning)
2) แบบบ้านเรียน (Home-based Learning)
3) แบบทางไกล (Distance Learning)
4) แบบอัธยาศัย/ไม่เป็นทางการ (Informal Learning)
5) แบบทางเลือก (Alternative Learning)
 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
 การศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
1.
การศึกษาในรูปแบบ
(Formal Education)
2.
การศึกษานอกรูปแบบ
(Non-formal Education)
การปฏิรูปการศกษาไทยในศตวรรษที่ 21
	
ตอนที่ : การปฏิรูป 5 ด้าน
ึ
15
	 	 ความเป็นมา
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 ซึ่งส่งผลให้ต้องมีการปฏิรูป
การศึกษา. ตลอดระยะเวลา 15 ปี จนถึง พ.ศ. 2557 การปฏิรูปการศึกษาได้เปลี่ยน
ผ่านมาโดยมีรัฐบาลถึง 9 สมัย ได้แก่
รัฐบาลสมัยนายชวน หลีกภัย,
พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร (2 สมัย),
พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์,
นายสมัคร สุนทรเวช,
นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และ
	คสช.	ในปัจจุบัน	
โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการถึง 17 ท่าน ได้แก่
นายปัญจะ เกสรทอง,
นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล,
ศ. นพ.เกษม วัฒนชัย,
พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร,
นายสุวิทย์ คุณกิตติ (2 สมัย),
นายปองพล อดิเรกสาร,
ดร.อดิศัย โพธารามิก (4 สมัย),
นายจาตุรนต์ ฉายแสง,
ศ. ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน,
นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์,
นายศรีเมือง เจริญศิริ และ
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
นายสุชาติ ธาดาธ�ารงเวช
นายพงษ์เทพ เทพกาญจนา
นายจาตุรนต์ ฉายแสง
พ.ศ. 2557... เราก็มี คสช. มาดูแลเรื่องการศึกษา !
16
15	ปี	ผ่านมา...
	 สั	ง	ค	ม	ต	ร	ะ	ห	นั	ก	ว่	า		ก	า	ร	ศึ	ก	ษ	า	ไ	ด้	รั	บ	ก	า	ร	ป	ฏิ	รู	ป	น้	อ	ย	ม	า	ก
	 และมีการเรียกร้องให้มีการปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง.
	 แต่...ค�าถามส�าคัญของการปฏิรูปการศึกษา	ก็คือ	
“เราจะปฏิรูปการศึกษาแบบยกเครื่องใหม่
หรือจะปฏิรูปการศึกษาแบบสานต่อจากของเดิม?”.
	 	 การปฏิรูปการศึกษาต้องเริ่มต้นจากจุดมุ่งหมาย
“การศึกษา คือการพัฒนาคน”.
ปัจจุบันระบบการศึกษาของไทยครอบคลุมคนเพียงแค่ผู้ที่อยู่ในวัยเรียนอายุ 4-24 ปี
ตั้งแต่อนุบาลจนถึงปริญญาโท ประมาณ 15 ล้านคน, จากจ�านวนประชากรทั้งหมดใน
ประเทศซึ่งมีอยู่ประมาณ 60 กว่าล้านคน.
ร	ะ	บ	บ	ก	า	ร	ศึ	ก	ษ	า	จ	ะ	ต้	อ	ง	ค	ร	อ	บ	ค	ลุ	ม	ถึ	ง	ค	น	ใ	น	วั	ย	ท	ำ	ง	า	น	
อ	า	ยุ	2	5	-	6	0	ปี	
ที่มีจ�านวนประชากรมากกว่า 30 ล้านคนด้วย.
รัฐจะต้องจัดการศึกษาให้กับคนเหล่านี้
ทั้งการศึกษาในรูปแบบ (Formal Education)
และการศึกษานอกรูปแบบ (Non-formal Education)
โดยมีแบบการเรียนรู้ (Learning Models) ที่หลากหลาย
เพื่อให้คนเหล่านี้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
อย่างมีคุณภาพ.
15	ล้านคน
อายุ 4-24 ปี (ได้เรียน)
30	ล้านคน
อายุ 25-60 ปี (ระบบการ
ศึกษาไม่ได้ครอบคลุม)
5	ล้านคน
อายุ 4-24 ปี (ไม่ได้เรียน)
ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2555
17
การศึกษาจะต้องพัฒนาคนทั้งในด้าน
ร่างกาย (Body)
สติปัญญา (Mind)
และจิตวิญญาณ (Soul)
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม	(Behavior	Change)	ไปในทางที่ดี	ทั้งในด้าน
กาย, วาจา และใจ อย่างมีเจตนา.
ดังนั้นจุดมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องให้ความส�าคัญ
... ผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้เรียน	(Student	Outcomes)
กล่าวคือ... เป็นคนดี(มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม)
... มีปัญญา(มีความรู้และทักษะของศตวรรษที่ 21)
... มีความสุขในชีวิต(อยู่คนเดียวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข)
3.	มีความสุขในชีวิต
(อยู่คนเดียวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้)
2.	มีปัญญา
(ความรู้และทักษะของศตวรรษที่21)
1.	เป็นคนดี
(มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์)
ตัวผู้เรียน
 ร่างกาย
	สติปัญญา
	จิตวิญญาณ
18
การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่	21	
	 	 จะต้องปฏิรูปอะไร
การปฏิรูปการศึกษาต้องดูทั้งระบบหรือองค์รวม และจะต้องปฏิรูปทุกด้านไปพร้อมกัน
ในแบบ “ไปไหน ไปด้วยกัน” เพราะองค์ประกอบทางการศึกษาทุกด้าน
มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน (Interconnectedness) ได้แก่
1.	ด้านหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้
	 	 2.	ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
	 	 3.	ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา
	 	 4.	ด้านทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
และ		5.	ด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาทั้ง 5	ด้าน แบ่งออกเป็น 20	ยุทธศาสตร์ และ 40	เรื่อง
ที่ต้องท�า ดังต่อไปนี้
1. ด้านหลักสูตร
ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 4 เรื่อง คือ
ยุทธศาสตร์ที่	1	:	การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร	
ปัจจุบันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ.2551ได้เริ่มใช้กับโรงเรียนทั่วไป
ทั้งประเทศในปีการศึกษา 2553, หลักสูตรนี้เป็นผลจากการวิจัยและได้รับการ
พัฒนาจากปัญหาและข้อด้อยของหลักสูตรเดิม คือหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544. ดังนั้นเรื่องที่ต้องท�าในยุทธศาสตร์นี้ก็คือ
	 “ควรมีหน่วยงานวิจัยและพัฒนาหลักสูตร...อย่างต่อเนื่อง”.
การปรับหลักสูตรแต่ละครั้ง... ควรมีการวิจัยก่อน และควรมีการปรับเพื่อให้สอดคล้องกับ
การศึกษาในศตวรรษที่	21 (21st
Century Education)!
19
ยุทธศาสตร์ที่	2	:	การส่งเสริมหลักสูตรท้องถิิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา	
เพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่แตกต่างในสังคม.
ยุทธศาสตร์ที่	3	:	การพัฒนาหนังสือเรียนและสื่อประกอบการเรียน
หนังสือเรียนจะต้องได้รับการพัฒนาเและผลิตให้ทัน
ต่อการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร...และต้องพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
ประกอบการเรียนซึ่งจะช่วยลดชั่วโมงการเรียนให้น้อยลงได้.
ยุทธศาสตร์นี้มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่องที่ขอเสนอ คือ
	 1)		รัฐพึงละเว้นการแข่งขันกับเอกชนโดยไม่จ�าเป็น โดยเปิดให้มีการแข่งขัน
โดยเสรีอย่างเป็นธรรมและเป็นไปตามกลไกตลาด เพื่อตัดผลประโยชน์ทับซ้อน
ในวงการหนังสือเรียนและสื่อประกอบการเรียน.
	 2)		ให้ความส�าคัญต่อนโยบายหนังสือเรียนเสรี
หนังสือเรียนควรได้รับการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต
ดีกว่าการตรวจต้นฉบับหนังสือเรียนในขั้นตอนสุดท้าย
และควรให้ความรู้แก่โรงเรียนในการเลือกใช้หนังสือเรียน
แทนการก�าหนดให้เลือกใช้หนังสือเรียนได้เฉพาะที่มีอยู่ในบัญชีรายชื่อ
ดังเช่นที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน.
ยุทธศาสตร์ที่	4	:	การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ	ได้แก่	ห้องสมุด,
	 พิพิธภัณฑ์,	สวนสัตว์,	อุทยานวิทยาศาสตร์	
แ	ห	ล่	ง	ก	า	ร	เ	รี	ย	น	รู้	ต	ล	อ	ด	ชี	วิ	ต	ที่ ส ำ คั ญ แ ล ะ
เ ท ค โ น โ ล ยี ร ว ม ทั้ ง ศู น ย์ กี ฬ า แ ล ะ นั น ท น า ก า ร .
ดังนั้นเรื่องที่ต้องท�าก็คือ “การจัดสรรงบประมาณเป็นงบลงทุน
เพื่อจัดตั้งและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เหล่านี้
โดยจัดให้มีอย่างเพียงพอทั้งในระดับจังหวัด, อ�าเภอ และต�าบล
และให้มีประสิทธิภาพ”.
20
2. ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 6 เรื่อง คือ
ยุทธศาสตร์ที่	1	:	การผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา
เรื่องที่ต้องท�า คือ
“รัฐจะต้องจัดให้มีกระบวนการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา”.
นโยบายการผลิตครู...ต้องมีความชัดเจน	!
ยุทธศาสตร์ที่	2	:	การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
เรื่องที่ต้องท�า คือ
“รัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ เพื่อเปนกองทุนพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา”... เพื่อพัฒนาครูให้ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนแบบ
Teach Less, Learn More อันจะน�าไปสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st
Century	
Learning).
ยุทธศาสตร์ที่	3	:	การตอบแทนครูและบุคลากรทางการศึกษา
เรื่องที่ต้องท�า คือ
1)	ก�าหนดให้อาชีพครูต้องได้รับผลตอบแทนสูง
ซึ่งรัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณให้อย่างเพียงพอ.
ก า ร ก ำ ห น ด ผ ล ต อ บ แ ท น สู ง จ ะ ท ำ ใ ห้ ค น เ ก่ ง แ ย่ ง กั น ม า
เ รี ย น ค รู
ซึ่งดีกว่าการจูงใจด้วยการให้ทุนการศึกษา.
21
	 2)		ให้หลักประกันเรื่องผลตอบแทนแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาของ
โรงเรียนเอกชนและของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น	(อปท.)
ซึ่งผลตอบแทนจะ ต้ อ ง ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า ของครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในโรงเรียนของรัฐที่ได้รับ ตาม พ.ร.บ.	เงินเดือน	เงินวิทยฐานะ	
	 	 และเงินประจ�าต�าแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา	(ฉบับที่	2)	
	 	 พ.ศ.	2554.
3)	ปรับปรุงกฎกระทรวงเรื่องกองทุนส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษา
เพื่อให้มีการส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษา
ใ ห้ จ ริ ง จั ง แ ล ะ ม า ก ขึ้ น .
ยุทธศาสตร์ที่	4	:	การกระจายอ�านาจการบริหารครูและบุคลากรทางการศึกษา		
กระทรวงศึกษาธิการต้องก ร ะ จ า ย อ� า น า จ การบริหารครูและบุคลากร
ทางการศึกษาให้กับโรงเรียนโดยตรง.
การรับครูและบุคลากรทางการศึกษาจะ ต้ อ ง ใ ห้ อ ำ น า จ โ ร ง เ รี ย น
รั บ เ อ ง ต า ม ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ อั ต ร า ก ำ ลั ง ที่ ไ ด้ รั บ
โดยมี อ.ก.ค.ศ. เป็นผู้ก�ากับดูแลเท่านั้น.
เรื่องที่ต้องท�าในยุทธศาสตร์นี้คือ “การแก้ไขกฎหมาย	2	ฉบับ”
ได้แก่ พ.ร.บ.	ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ	พ.ศ.	2546	
และ พ.ร.บ.	ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา	พ.ศ.	2547	
ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์การกระจายอ�านาจการบริหารการศึกษา
ที่ก�าหนดไว้ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.
22
3. ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา
ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 11 เรื่อง คือ
ก. ด้านการบริหาร
ยุทธศาสตร์ที่	1	:	การกระจายอ�านาจการบริหารให้กับสถานศึกษาโดยตรง
ได้แก่ เรื่อง...
	 ครูและบุคลากรทางการศึกษา,
วิชาการ,
งบประมาณ,
ทรัพย์สิน
และการบริหารทั่วไป...
...เพื่อสร้างความรับผิดชอบ (Accountability) โดยตรงให้กับ
สถานศึกษา!
ยุทธศาสตร์นี้ต้องอาศัยความจริงใจและจริงจังของผู้บริหารระดับสูงในส่วนกลาง โดย
มีเรื่องที่ต้องท�าที่ขอเสนอ คือ
	 1)		กระจายอ�านาจการบริหารโดยให้โรงเรียนเป็นฐาน/โรงเรียนนิติบุคคล	
	 	 (School-based	Management)	
โดยมีเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้ก�ากับดูแลเท่านั้น.
2)		กระจายงบประมาณ	โดยการรวมเงินเดือนครูและบุคลากรทางการศึกษา
ไปให้โรงเรียนบริหารภายใต้งบประมาณและอัตราก�าลัง
ที่ได้ก�าหนดไว้ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การกระจายอ�านาจ
การบริหารงานบุคคล ตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว
ซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน.
23
ยุทธศาสตร์ที่	2	:	มาตรฐานการศึกษาและการประเมินคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษามีเป้าหมายส�าคัญ คือ
เพื่อให้เกิด “มาตรฐานการศึกษา”.
ดังนั้นยุทธศาสตร์นี้จึงมีเรื่องส�าคัญที่ต้องท�า คือ
1)		“สถานศึกษาจะต้องปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
ของส�านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(สมศ.) ภายในระยะเวลาที่ก�าหนด.”
2)	“มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับมาตรฐานและตัวชี้วัด
ในการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สมศ.
ควรจะเป็นมาตรฐานและตัวชี้วัดที่ตรงกัน
โดยไม่ต้องน�ามาเทียบกัน.”
การประเมินสถานศึกษา... ควรใช้หลัก
“ประเมินเพื่อพัฒนา”โดยให้ความส�าคัญต่อ
ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ซึ่งเป็นกระบวนการ (Process) และ
ปัจจัยน�าเข้า (Input) ที่แตกต่างกันในแต่ละสถานศึกษา.
24
ข. ด้านการจัดการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่	3	:	การส่งเสริมเอกชนและท้องถิ่นในการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาเป็นสิทธิของเอกชนและขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)
รัฐต้องส่งเสริมสิทธิในการจัดการศึกษาของเอกชนและของ อปท. โดยขอเสนอ
เรื่องที่ต้องท�า 3 เรื่อง คือ
1) ก�าหนดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนเอกชนและของ อปท.
ต้องได้รับผลตอบแทนไม่น้อยกว่าของรัฐ	(ตามยุทธศาสตร์การกระจายอ�านาจ
การบริหารงานบุคคล).
2) จัดงบประมาณที่รวมเงินเดือนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้กับ
โรงเรียนเอกชนและ อปท. และโอนงบประมาณนั้นไปให้โรงเรียนบริหารเอง
(ตามยุทธศาสตร์การกระจายอ�านาจการบริหาร).
3)		เพิ่มแรงจูงใจให้โรงเรียนเอกชนทั้งในด้านเงินอุดหนุน, การลดหย่อนภาษีและ
สิทธิประโยชน์ (โปรดดูยุทธศาสตร์การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา-ด้านที่ 4).
ยุทธศาสตร์ที่	4	:	การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกรูปแบบ	
	 	 	 (Non-formal	Education)	
ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่อยู่ในตลาดแรงงาน มากกว่าร้อยละ 50 หรือมี
จ�านวนมากกว่า 20 ล้านคน... จบการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา.
ดังนั้นการจัดการศึกษาประเภท...
การอาชีวศึกษา (Vocational Education) และ...
การศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษาต่อเนื่อง (Adult Education/Continuing Education)
จึ ง เ ป็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที่ ส ำ คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ย ว ด ต่ อ ก า ร พั ฒ น า
ป ร ะ เ ท ศ ! ! !
20.3	ล้านคน
ไม่เกินระดับชั้นประถมศึกษา
รวม	38.5	ล้านคน
ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2555
6.1	ล้านคน
ระดับม.ต้น
0.3	ล้านคน
อื่นๆ
6.4	ล้านคน
ระดับอุดมศึกษา
5.4	ล้านคน
ระดับ ม.ปลาย
25
ยุทธศาสตร์นี้มีเรื่องที่ต้องท�าที่ขอเสนอ คือ
1) ก�าหนดให้ส�านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กับส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการประสานงานในเรื่อง
	 	 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน	และมีการบริหารงานกันอย่างใกล้ชิดเพื่อใช้อาคาร
สถานที่และทรัพย์สินต่างๆ,บุคลากร,ข้อมูลจ�านวนนักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่
บริการ ฯลฯ ร่วมกัน.
2) ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของวิทยาลัยชุมชนในการจัดการศึกษานอกรูปแบบ
	 	 ประเภทการอาชีวศึกษา.
3) ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาทุกระดับรวมทั้งในระดับอุดมศึกษาให้จัดการ
ศึกษานอกรูปแบบ ประเภท
การศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษาต่อเนื่อง และให้ความส�าคัญกับการอาชีวศึกษา
4) ส่งเสริมให้มีการจัดแบบการเรียนรู้	(Learning	Models)	ที่หลากหลาย ได้แก่
แบบห้องเรียน (Classroom-based Learning),
แบบบ้านเรียน (Home-based Learning),
แบบทางไกล (Distance Learning)
แบบอัธยาศัย/ไม่เป็นทางการ (Informal Learning)
แบบทางเลือก (Alternative Learning).
การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกรูปแบบ
จะเป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญอย่ำงหนึ่งที่น�ำไปสู่
การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning).
26
4. ด้านทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความส�าคัญสูงสุด
ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ จึงขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า
12 เรื่อง คือ
ยุทธศาสตร์ที่	1	:	การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา	
มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่อง คือ
1)		ออกกฎหมายภาษีเพื่อการศึกษา	เพื่อให้รัฐและท้องถิ่นสามารถ
ระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา.
2)		ปรับแก้กฎหมายลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี	ที่สามารถสร้างแรงจูงใจ
ให้มีการบริจาคทรัพยากรและวัสดุอุปกรณ์รวมทั้งการลงทุนเพื่อการศึกษาให้
มากกว่านี้ ได้แก่	“พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
	 	 ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร	(ฉบับที่	420)	พ.ศ.	2547”
ยุทธศาสตร์ที่	2	:	การหารายได้ของสถานศึกษา	
มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่อง คือ
1) สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
โดยรายได้ไม่ต้องส่งกระทรวงการคลัง.
2) สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา ได้แก่
การหารายได้จากผลผลิตจากนักศึกษาอาชีวศึกษา
และการรับท�างานวิจัยของมหาวิทยาลัย.
27
ยุทธศาสตร์ที่	3	:	การจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินอย่างพอเพียงให้กับการศึกษา โดยมีเรื่อง
ที่ต้องท�า 3 เรื่อง คือ
1) จัดสรรงบประมาณรายหัวโดยเท่าเทียมกัน ให้กับสถานศึกษาของรัฐ, องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และของเอกชน โดยงบประมาณที่จัดให้สถานศึกษา
ขอให้รวมเงินเดือนครูและบุคลากรทางการศึกษา.
2) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรอื่นเพิ่มเติมพิเศษให้กับผู้เรียน
ที่ด้อยโอกาสหรือทุพพลภาพ เพื่อให้ผู้ด้อยโอกาสหรือทุพพลภาพ
ได้รับโอกาสที่จะเข้าถึงสิทธิจากนโยบายเรียนฟรี...
อย่างมีคุณภาพเช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไป.
3) จัดสรรงบประมาณพิเศษที่เป็นงบลงทุนเพราะ... การศึกษาเป็นการ
ลงทุนเพื่อพัฒนาคนซึ่งมีความส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ
4) จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาให้กับโรงเรียนของรัฐ, อปท.
และเอกชน... โดยเฉพาะให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก.
การจัดสรรงบประมาณ...
ควรน�าความต้องการของสถานศึกษามาเป็นตัวตั้ง !!!
28
ยุทธศาสตร์ที่	4	:	การตรวจสอบ	ติดตาม	และประเมินผลการใช้งบประมาณ
มีเรื่องที่ต้องท�า 3 เรื่อง คือ
1) ก�าหนดหน่วยงานตรวจสอบภายใน และให้มีบทบาทการตรวจสอบ
ภายในที่จริงจัง.
2) ก�าหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสอบโดยออกเป็นกฎกระทรวง.
3) ให้มีการตรวจสอบ โดยหน่วยงานตรวจสอบจากภายนอก (สตง.).
5. ด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 8 เรื่อง คือ
ยุทธศาสตร์ที่	1	:	การจัดสรรคลื่นความถี่เพื่อการศึกษา	
คลื่นความถี่ต่างๆ อันได้แก่ คลื่นวิทยุ, โทรทัศน์, วิทยุโทรคมนาคม และ
อินเทอร์เน็ต รวมทั้งสื่อตัวน�า และโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จ�าเป็น จะต้อง
	 ได้รับการจัดสรรเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา เพราะสื่อสารมวลชน
เหล่านี้เป็นสื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการเรียนรู้
ของเยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป และจะเป็นการสนับสนุนเรื่องการเรียนรู้
ตลอดชีวิตด้วย.
เรื่องที่ต้องท�าคือ รัฐต้องด�าเนินการในเรื่องการจัดสรรคลื่นความถี่
	 เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ตามมาตรา 63 ที่ก�าหนดไว้
ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.
ยุทธศาสตร์ที่	2	:	การส่งเสริมสนับสนุนการผลิตและการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา	
สื่อเพื่อการศึกษาหรือสื่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย แบบเรียน ต�ารา วัสดุ
อุปกรณ์ และสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาหรือสื่อมัลติมีเดียต่างๆ.
ยุทธศาสตร์นี้มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่อง คือ
1)		จัดสรรเงินสนับสนุน เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการผลิตและการพัฒนาสื่อเพื่อการ
ศึกษา.
29
2)		เปดให้มีการแข่งขันโดยเสรีและเป็นธรรม
รัฐควรเน้นบทบาทเป็นผู้ก�าหนดนโยบายแล้วเป็นผู้ส่งเสริม
	 	 	 และสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยเปิดให้มี
การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม (ตามมาตรา 64 ที่ก�าหนดไว้
ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542) และควรท�าหน้าที่วิจัยและพัฒนา
สื่อต้นแบบและสื่อนวัตกรรม (ตามมาตรา 17 ที่ก�าหนดไว้ใน พ.ร.บ.
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546).
รัฐจึงควรลดบทบาทการเป็นผู้ผลิตแข่งขันกับเอกชน.	
ยุทธศาสตร์ที่	3	:	กองทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มีเรื่องที่ต้องท�า 4 เรื่อง คือ
1) จัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนจากรัฐ.
2) จัดเก็บค่าสัมปทานและจากผลก�าไรที่ได้จากการด�าเนินกิจการ
ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคม
เพื่อมาเป็นกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา.
3) ลดหย่อนค่าบริการเป็นพิเศษ ส�าหรับการใช้เทคโนโลยีต่างๆ
เพื่อการศึกษา.
4) ออกกฎกระทรวง เพื่อก�าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้การจัดสรรเงินกองทุน.
ยุทธศาสตร์ที่	4	:	การจัดตั้งหน่วยงานกลาง	โดยมีภารกิจคือ...
“ท�าหน้าที่ดูแลการปฏิรูปทางด้านสื่อและเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษาโดยเฉพาะ”.
ยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ดังกล่าว
ก�าหนดอยู่ในมาตรา	63	ถึง	69	ของ	พ.ร.บ.	การศึกษาแห่งชาติ	พ.ศ.	2542.
30
จำกยุทธศำสตร์และเรื่องที่ต้องท�ำทั้งหมดที่กล่ำวมำในการปฏิรูปการศึกษา 5 ด้าน
จึงเห็นได้ชัดเจนว่ำ
การปฏิรูปการศึกษาแต่ละด้านมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกัน
จึงจ�ำเป็นต้องได้รับกำร
ปฏิรูปไปพร้อมๆ กันทุกด้ำน.
31
	 	 บทสรุป
การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21...
ควรจะมีแนวคิดอย่างไร และจะต้องปฏิรูปอะไรบ้างนั้น...
เป็นเรื่องที่ผู้ก�าหนดนโยบาย (Policy Maker)
ตลอดจนผู้ปฏิบัติการ (Operator) ต้องศึกษาและเข้าใจถึงเจตนารมณ์
และโครงสร้างของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติเสียก่อน.
หากจุดมุ่งหมายของการปฏิรูปการศึกษาคือการพัฒนาคนในชาติให้เป็น
“ ค น ดี . . . มี ปั ญ ญ า . . . มี ค ว า ม สุ ข ใ น ชี วิ ต ”
“นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจะต้องให้ความร่วมมือ
และให้ความส�าคัญต่อการปฏิรูปการศึกษา
จึงจะท�าให้การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ครั้งนี้
ประสบความส�าเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ได้ก�าหนดไว้.”
การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะเป็นการสานต่อจากของเดิม
หรือจะเป็นการยกเครื่องใหม่ ก็เป็นเรื่องที่เลือกท�าได้ทั้งนั้น.
การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะต้องดูทั้งระบบหรือองค์รวม
โดยต้องปฏิรูปทั้ง 5 ด้านไปพร้อมกัน
เพราะการปฏิรูปการศึกษาแต่ละด้านมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน,
	 ล	ำ	พั	ง	ก	ร	ะ	ท	ร	ว	ง	ศึ	ก	ษ	า	ธิ	ก	า	ร	ก	ร	ะ	ท	ร	ว	ง	เ	ดี	ย	ว
	 ย่	อ	ม	ไ	ม่	ส	า	ม	า	ร	ถ	ป	ฏิ	รู	ป	ก	า	ร	ศึ	ก	ษ	า	ใ	ห้	ส	ำ	เ	ร็	จ	ไ	ด้.
32
สงวนลิขสิทธิ์ : 22 กรกฎาคม 2557
(สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามลอกเลียน ไมวาจะเปนสวนใดของหนังสือเลมนี้
นอกจากจะไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร)
e-mail : thaiedu.reformclub@gmail.com

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 

Andere mochten auch (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 

Ähnlich wie ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย

รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
20130814 library-buu
20130814 library-buu20130814 library-buu
20130814 library-buuInvest Ment
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Ähnlich wie ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย (20)

รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
20130814 library-buu
20130814 library-buu20130814 library-buu
20130814 library-buu
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 

Mehr von สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Mehr von สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครูเอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
 
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
 
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
 

ปฏิรูปการศึกษาไทยภายใต้ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เรื่องยากที่เข้าใจง่าย

  • 3. 5 การปฏิรูปประเทศไทยก�าลังมาแรง...จนกลายเป็นระเบียบวาระแห่งชาติ (National Agenda). ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาก็จะเป็นเรื่องที่มีความส�าคัญมากขึ้น เพราะการศึกษาเป็นการปฏิรูปคน...เพื่อให้คนไปปฏิรูปประเทศต่อไป. แ ต่ . . . ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า จะต้องมีจุดมุ่งหมาย, หลักการ และวิธีการ คือ 1. จุดมุ่งหมายของการศึกษา 2. หลักการในการจัดการศึกษา และ 3. วิธีการจัดการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ :- จุดมุ่งหมายของการศึกษา จุดมุ่งหมายของการศึกษาอยู่ที่ผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้เรียน (Student Outcomes) ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนจะต้องถือว่าผู้เรียนมีความส�าคัญที่สุด. การศึกษาจะต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งในด้านร่างกาย (Body)... สติปัญญา (Mind)... และจิตวิญญาณ (Soul) ให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior Change) ไปในทางที่ดี ทั้งในด้านกาย, วาจา และใจ หรือเป็นคนเก่ง, ดี และมีความสุข กล่าวคือ มี ร่ า ง ก า ย แ ข็ ง แ ร ง , มี สุ ข พ ล า น า มั ย , มี ค ว า ม คิ ด , มี ค ว า ม รู้ , มี ทั ก ษ ะ ข อ ง ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 , มี ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต , มี คุ ณ ธ ร ร ม , มี จิ ต ต่ อ ส า ธ า ร ณ ะ , มี วิ นั ย , มี ค ว า ม ศ รั ท ธ า ต่ อ ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ท ร ง เ ป็ น ป ร ะ มุ ข ฯ ล ฯ กล่าวโดยย่อคือ มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม มีสมรรถนะส�าคัญของศตวรรษที่ 21 และสามารถด�ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข. จุดมุ่งหมายของการศึกษาดังกล่าวนี้...จ�าเป็นต้องได้รับการบรรจุไว้ใน หลักสูตรของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21st Century Education) ! ” “ 1
  • 4. 6 ¤ÃÙ ...¤×ͨشà»ÅÕè¹ เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาในเรื่องจุดมุ่งหมายของการศึกษา ประสบความส�าเร็จ จึงต้องมียุทธศาสตร์ในด้านต่างๆ ที่ส�าคัญ คือ ด้านครูและผู้เรียน ดังนี้ :- 1) การพัฒนาครูเพื่อให้ครูปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนแบบ Teach Less, Learn More อันจะน�าไปสู่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning) ประกอบด้วยโครงการต่างๆ เช่น ครูพันธุ์ใหม่, Teacher Channel ฯลฯ 2) การเพิ่มผลตอบแทนให้กับอาชีพครู เพื่อ จูงใจคนดีมีความสามารถมาเป็นครู. 3) การกระจายอ�านาจการบริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาให้โรงเรียน ก�ากับดูแลให้อาชีพครูมีความก้าวหน้าด้วยระบบคุณธรรมและ ความสามารถอย่างแท้จริง. 4) การส่งเสริมความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ICT เพื่อให้ครูและนักเรียนก้าวทันและก้าวน�าโลกปัจจุบัน. 5) การส่งเสริมและให้ความส�าคัญในด้านการอาชีวศึกษา. 6) การส่งเสริมกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียน มีประสบการณ์จริง คิดเป็นและท�าเป็น, สร้างจิตวิญญาณ และคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม. 7) การส่งเสริมรักการอ่าน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต.
  • 5. 7 หลักการในการจัดการศึกษา หลักการในการจัดการศึกษาจะต้องให้ความส�าคัญในเรื่อง “การก�าหนดนโยบายให้มีเอกภาพ และให้มีความหลากหลายในการปฏิบัติ” โดยใช้ยุทธศาสตร์ส�าคัญคือ การกระจายอ�านาจการบริหาร และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน. เพื่อให้การกระจายอ�านาจการบริหาร และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ของทุกภาคส่วนประสบความส�าเร็จจึงจ�าเป็นต้องมี การก�าหนดมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา การสนับสนุนเรื่องทรัพยากรและการลงทุน การผลิตและพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ก็เพื่อท�าให้...การศึกษามีคุณภาพ, สถานศึกษามีคุณภาพใกล้เคียงกัน และ บุคคลได้รับ สิทธิและโอกาสเสมอกันในการเข้าถึงการศึกษาที่รัฐจัดให้ ...และที่ส�าคัญที่สุด คือ การศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education). 2
  • 6. 8 เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาในเรื่อง หลักการในการจัดการศึกษาประสบความ ส�าเร็จ จึงต้องมียุทธศาสตร์ที่ส�าคัญซึ่งอาจจัดท�าเป็นโครงการต่างๆ ได้ดังนี้ :- 1) โรงเรียนนิติบุคคล (School-based Management) เพื่อกระจาย อ�านาจการบริหารงานวิชาการ, บุคคล, งบประมาณ, ทรัพย์สิน และการ บริหารทั่วไปให้กับสถานศึกษา. 2) โรงเรียนขนาดเล็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของหมู่บ้าน โดยให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแล ปรับเปลี่ยนโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็น... “โรงเรียนของหมู่บ้านที่มีคุณภาพเทียบได้กับโรงเรียนใน เมือง และเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ของหมู่บ้านทั้งในด้าน เศรษฐกิจ, การเมือง, สังคมและวัฒนธรรม”. 3) การสนับสนุนผู้ด้อยโอกาสให้เข้าถึงสิทธิที่จะได้รับการ ศึกษาที่รัฐจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย. 4) การส่งเสริมหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่แตกต่างในสังคม. 5) การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
  • 7. 9 วิธีการจัดการศึกษา ในระบบการศึกษา (Education System) มีวิธีการจัดการศึกษาที่ส�าคัญ 2 ระบบ คือ :- 1. ระบบการศึกษาในรูปแบบ (Formal Education System) ซึ่งมีหลักสูตรที่มีแบบแผน (Form) แน่นอน. 2. ระบบการศึกษานอกรูปแบบ (Non-formal Education System) ซึ่งมีหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น (Non-form). สถานศึกษาทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน,การอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษา อาจจัดการศึกษาในระบบใดระบบหนึ่ง หรือทั้งสองระบบก็ได้ โดยให้มีการ ... เ ที ย บ โ อ น ผ ล ก า ร เ รี ย น กันได้. แ บ บ ก า ร เ รี ย น รู้ ( L e a r n i n g M o d e l s ) สถานศึกษา นอกจากจะจัดการศึกษาทั้งในรูปแบบและนอกรูปแบบได้แล้ว ยังสามารถจะจัดแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายได้ ได้แก่ 1) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ห้ อ ง เ รี ย น (Classroom-based Learning) 2) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ บ้ า น เ รี ย น (Home-based Learning) 3) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ท า ง ไ ก ล (Distance Learning) 4) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ อั ธ ย า ศั ย (Informal Learning) 5) ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ท า ง เ ลื อ ก (Alternative Learning)(Alternative Learning) 3
  • 8. 10 การปฏิรูปการศึกษาในเรื่อง วิธีการจัดการศึกษานี้ จะต้องให้ความส�าคัญ ต่อการบูรณาการการจัดการศึกษาทั้ง 2 ระบบ เพื่อ... เ พิ่ ม โ อ ก า ส ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า และเพื่อให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education) อ ย่ า ง มี คุ ณ ภ า พ . ยุทธศาสตร์ในเรื่อง วิธีการจัดการศึกษาอาจจัดอยู่ในรูปโครงการ ดังนี้ :- 1) การศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษาต่อเนื่อง (Adult Education/Continuing Education) เพื่อให้ความส�าคัญต่อการอาชีวศึกษาและการศึกษาของผู้ใหญ่ ของผู้ที่อยู่ในวัยท�างานซึ่งมีอยู่มากกว่า 30 ล้านคนในประเทศ! 2) กศน. ต�าบล เพื่อกระจายการจัดการศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษาต่อเนื่อง โดยใช้แบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้มีความทั่วถึงในระดับต�าบลและใน ระดับหมู่บ้าน. 3) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่น พิพิธภัณฑ์, ห้องสมุด, หอศิลป์, สวนสัตว์ ฯลฯ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต. 4) การพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนรูปแบบการเรียนรู้ แบบทางไกล เช่น ETV, Teacher Channel ฯลฯ. หลักการในการปฏิรูปการศึกษาทั้ง 3 เรื่องที่กล่าวมานี้ สามารถน�ามาเขียนเป็นผังภาพเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นได้ดังต่อไปนี้ :-
  • 9. 1111 1จุดมุ่งหมายของการศึกษา ยุทธศาสตร์ ได้แก่ การพัฒนาครู (Teach Less, Learn More)  การส่งเสริมความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์, Teacher Channel, ครูพันธุ์ใหม่ วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี และ ICT การเพิ่มผลตอบแทนครู  การอาชีวศึกษา กระจายอ�านาจการบริหารเรื่องครู  การส่งเสริมกิจกรรมเสริมเพื่อสร้างจิตวิญญาณ  การส่งเสริมรักการอ่าน ผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้เรียน ร่างกาย (Body) สติปัญญา (Mind) จิตวิญญาณ (Soul) มีร่างกายแข็งแรง มีสุขพลานามัย มีความคิด มีความรู้ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตส�านึกต่อสาธารณะ มีจิตประชาธิปไตย มีวินัย  มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม  มีสมรรถนะที่ส�าคัญของศตวรรษที่ 21  สามารถด�ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข หลักการในการปฏิรูปการศึกษา ♥ ครู... คือจุดเปลี่ยน
  • 10. 1212 ยุทธศาสตร์ ได้แก่  โรงเรียนนิติบุคคล  โรงเรียนขนาดเล็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของหมู่บ้าน (ท้องถิ่นช่วยดูแล)  การสนับสนุนผู้ด้อยโอกาส  การส่งเสริมหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา  การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา หลักการในการจัดการศึกษา มีเอกภาพด้านนโยบาย มีความหลากหลายในการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน  สิทธิและโอกาสเสมอกัน  คุณภาพสถานศึกษา  การศึกษาตลอดชีวิต 2 การกระจายอ�านาจการบริหาร  มาตรฐานและการประกันคุณภาพทางการศึกษา  ทรัพยากรและการลงทุน  สื่อและเทคโนโลยี 1 2
  • 11. 1313 3วิธีการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ ได้แก่  การศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษาต่อเนื่อง (Adult Education /Continuing Education)  กศน. ต�าบล และ กศน. หมู่บ้าน  แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต  เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ETV, Teacher Channel) แบบการเรียนรู้ (Learning Models) มีความหลากหลาย 1) แบบห้องเรียน (Classroom-based Learning) 2) แบบบ้านเรียน (Home-based Learning) 3) แบบทางไกล (Distance Learning) 4) แบบอัธยาศัย/ไม่เป็นทางการ (Informal Learning) 5) แบบทางเลือก (Alternative Learning)  การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา  การศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ 1. การศึกษาในรูปแบบ (Formal Education) 2. การศึกษานอกรูปแบบ (Non-formal Education)
  • 13. 15 ความเป็นมา พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 ซึ่งส่งผลให้ต้องมีการปฏิรูป การศึกษา. ตลอดระยะเวลา 15 ปี จนถึง พ.ศ. 2557 การปฏิรูปการศึกษาได้เปลี่ยน ผ่านมาโดยมีรัฐบาลถึง 9 สมัย ได้แก่ รัฐบาลสมัยนายชวน หลีกภัย, พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร (2 สมัย), พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์, นายสมัคร สุนทรเวช, นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และ คสช. ในปัจจุบัน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการถึง 17 ท่าน ได้แก่ นายปัญจะ เกสรทอง, นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล, ศ. นพ.เกษม วัฒนชัย, พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร, นายสุวิทย์ คุณกิตติ (2 สมัย), นายปองพล อดิเรกสาร, ดร.อดิศัย โพธารามิก (4 สมัย), นายจาตุรนต์ ฉายแสง, ศ. ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน, นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์, นายศรีเมือง เจริญศิริ และ นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล นายสุชาติ ธาดาธ�ารงเวช นายพงษ์เทพ เทพกาญจนา นายจาตุรนต์ ฉายแสง พ.ศ. 2557... เราก็มี คสช. มาดูแลเรื่องการศึกษา !
  • 14. 16 15 ปี ผ่านมา... สั ง ค ม ต ร ะ ห นั ก ว่ า ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ รั บ ก า ร ป ฏิ รู ป น้ อ ย ม า ก และมีการเรียกร้องให้มีการปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง. แต่...ค�าถามส�าคัญของการปฏิรูปการศึกษา ก็คือ “เราจะปฏิรูปการศึกษาแบบยกเครื่องใหม่ หรือจะปฏิรูปการศึกษาแบบสานต่อจากของเดิม?”. การปฏิรูปการศึกษาต้องเริ่มต้นจากจุดมุ่งหมาย “การศึกษา คือการพัฒนาคน”. ปัจจุบันระบบการศึกษาของไทยครอบคลุมคนเพียงแค่ผู้ที่อยู่ในวัยเรียนอายุ 4-24 ปี ตั้งแต่อนุบาลจนถึงปริญญาโท ประมาณ 15 ล้านคน, จากจ�านวนประชากรทั้งหมดใน ประเทศซึ่งมีอยู่ประมาณ 60 กว่าล้านคน. ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า จ ะ ต้ อ ง ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ค น ใ น วั ย ท ำ ง า น อ า ยุ 2 5 - 6 0 ปี ที่มีจ�านวนประชากรมากกว่า 30 ล้านคนด้วย. รัฐจะต้องจัดการศึกษาให้กับคนเหล่านี้ ทั้งการศึกษาในรูปแบบ (Formal Education) และการศึกษานอกรูปแบบ (Non-formal Education) โดยมีแบบการเรียนรู้ (Learning Models) ที่หลากหลาย เพื่อให้คนเหล่านี้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) อย่างมีคุณภาพ. 15 ล้านคน อายุ 4-24 ปี (ได้เรียน) 30 ล้านคน อายุ 25-60 ปี (ระบบการ ศึกษาไม่ได้ครอบคลุม) 5 ล้านคน อายุ 4-24 ปี (ไม่ได้เรียน) ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2555
  • 15. 17 การศึกษาจะต้องพัฒนาคนทั้งในด้าน ร่างกาย (Body) สติปัญญา (Mind) และจิตวิญญาณ (Soul) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior Change) ไปในทางที่ดี ทั้งในด้าน กาย, วาจา และใจ อย่างมีเจตนา. ดังนั้นจุดมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องให้ความส�าคัญ ... ผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้เรียน (Student Outcomes) กล่าวคือ... เป็นคนดี(มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของสังคม) ... มีปัญญา(มีความรู้และทักษะของศตวรรษที่ 21) ... มีความสุขในชีวิต(อยู่คนเดียวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข) 3. มีความสุขในชีวิต (อยู่คนเดียวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้) 2. มีปัญญา (ความรู้และทักษะของศตวรรษที่21) 1. เป็นคนดี (มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์) ตัวผู้เรียน  ร่างกาย  สติปัญญา  จิตวิญญาณ
  • 16. 18 การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะต้องปฏิรูปอะไร การปฏิรูปการศึกษาต้องดูทั้งระบบหรือองค์รวม และจะต้องปฏิรูปทุกด้านไปพร้อมกัน ในแบบ “ไปไหน ไปด้วยกัน” เพราะองค์ประกอบทางการศึกษาทุกด้าน มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน (Interconnectedness) ได้แก่ 1. ด้านหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ 2. ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา 4. ด้านทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา และ 5. ด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาทั้ง 5 ด้าน แบ่งออกเป็น 20 ยุทธศาสตร์ และ 40 เรื่อง ที่ต้องท�า ดังต่อไปนี้ 1. ด้านหลักสูตร ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 4 เรื่อง คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ปัจจุบันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ.2551ได้เริ่มใช้กับโรงเรียนทั่วไป ทั้งประเทศในปีการศึกษา 2553, หลักสูตรนี้เป็นผลจากการวิจัยและได้รับการ พัฒนาจากปัญหาและข้อด้อยของหลักสูตรเดิม คือหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544. ดังนั้นเรื่องที่ต้องท�าในยุทธศาสตร์นี้ก็คือ “ควรมีหน่วยงานวิจัยและพัฒนาหลักสูตร...อย่างต่อเนื่อง”. การปรับหลักสูตรแต่ละครั้ง... ควรมีการวิจัยก่อน และควรมีการปรับเพื่อให้สอดคล้องกับ การศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21st Century Education)!
  • 17. 19 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การส่งเสริมหลักสูตรท้องถิิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่แตกต่างในสังคม. ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาหนังสือเรียนและสื่อประกอบการเรียน หนังสือเรียนจะต้องได้รับการพัฒนาเและผลิตให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร...และต้องพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย ประกอบการเรียนซึ่งจะช่วยลดชั่วโมงการเรียนให้น้อยลงได้. ยุทธศาสตร์นี้มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่องที่ขอเสนอ คือ 1) รัฐพึงละเว้นการแข่งขันกับเอกชนโดยไม่จ�าเป็น โดยเปิดให้มีการแข่งขัน โดยเสรีอย่างเป็นธรรมและเป็นไปตามกลไกตลาด เพื่อตัดผลประโยชน์ทับซ้อน ในวงการหนังสือเรียนและสื่อประกอบการเรียน. 2) ให้ความส�าคัญต่อนโยบายหนังสือเรียนเสรี หนังสือเรียนควรได้รับการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต ดีกว่าการตรวจต้นฉบับหนังสือเรียนในขั้นตอนสุดท้าย และควรให้ความรู้แก่โรงเรียนในการเลือกใช้หนังสือเรียน แทนการก�าหนดให้เลือกใช้หนังสือเรียนได้เฉพาะที่มีอยู่ในบัญชีรายชื่อ ดังเช่นที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน. ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุด, พิพิธภัณฑ์, สวนสัตว์, อุทยานวิทยาศาสตร์ แ ห ล่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ที่ ส ำ คั ญ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ร ว ม ทั้ ง ศู น ย์ กี ฬ า แ ล ะ นั น ท น า ก า ร . ดังนั้นเรื่องที่ต้องท�าก็คือ “การจัดสรรงบประมาณเป็นงบลงทุน เพื่อจัดตั้งและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เหล่านี้ โดยจัดให้มีอย่างเพียงพอทั้งในระดับจังหวัด, อ�าเภอ และต�าบล และให้มีประสิทธิภาพ”.
  • 18. 20 2. ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 6 เรื่อง คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่องที่ต้องท�า คือ “รัฐจะต้องจัดให้มีกระบวนการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา”. นโยบายการผลิตครู...ต้องมีความชัดเจน ! ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่องที่ต้องท�า คือ “รัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ เพื่อเปนกองทุนพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา”... เพื่อพัฒนาครูให้ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนแบบ Teach Less, Learn More อันจะน�าไปสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning). ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การตอบแทนครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่องที่ต้องท�า คือ 1) ก�าหนดให้อาชีพครูต้องได้รับผลตอบแทนสูง ซึ่งรัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณให้อย่างเพียงพอ. ก า ร ก ำ ห น ด ผ ล ต อ บ แ ท น สู ง จ ะ ท ำ ใ ห้ ค น เ ก่ ง แ ย่ ง กั น ม า เ รี ย น ค รู ซึ่งดีกว่าการจูงใจด้วยการให้ทุนการศึกษา.
  • 19. 21 2) ให้หลักประกันเรื่องผลตอบแทนแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาของ โรงเรียนเอกชนและของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งผลตอบแทนจะ ต้ อ ง ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า ของครูและบุคลากร ทางการศึกษาในโรงเรียนของรัฐที่ได้รับ ตาม พ.ร.บ. เงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจ�าต�าแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554. 3) ปรับปรุงกฎกระทรวงเรื่องกองทุนส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีการส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษา ใ ห้ จ ริ ง จั ง แ ล ะ ม า ก ขึ้ น . ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การกระจายอ�านาจการบริหารครูและบุคลากรทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการต้องก ร ะ จ า ย อ� า น า จ การบริหารครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้กับโรงเรียนโดยตรง. การรับครูและบุคลากรทางการศึกษาจะ ต้ อ ง ใ ห้ อ ำ น า จ โ ร ง เ รี ย น รั บ เ อ ง ต า ม ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ อั ต ร า ก ำ ลั ง ที่ ไ ด้ รั บ โดยมี อ.ก.ค.ศ. เป็นผู้ก�ากับดูแลเท่านั้น. เรื่องที่ต้องท�าในยุทธศาสตร์นี้คือ “การแก้ไขกฎหมาย 2 ฉบับ” ได้แก่ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์การกระจายอ�านาจการบริหารการศึกษา ที่ก�าหนดไว้ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.
  • 20. 22 3. ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 11 เรื่อง คือ ก. ด้านการบริหาร ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การกระจายอ�านาจการบริหารให้กับสถานศึกษาโดยตรง ได้แก่ เรื่อง... ครูและบุคลากรทางการศึกษา, วิชาการ, งบประมาณ, ทรัพย์สิน และการบริหารทั่วไป... ...เพื่อสร้างความรับผิดชอบ (Accountability) โดยตรงให้กับ สถานศึกษา! ยุทธศาสตร์นี้ต้องอาศัยความจริงใจและจริงจังของผู้บริหารระดับสูงในส่วนกลาง โดย มีเรื่องที่ต้องท�าที่ขอเสนอ คือ 1) กระจายอ�านาจการบริหารโดยให้โรงเรียนเป็นฐาน/โรงเรียนนิติบุคคล (School-based Management) โดยมีเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้ก�ากับดูแลเท่านั้น. 2) กระจายงบประมาณ โดยการรวมเงินเดือนครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปให้โรงเรียนบริหารภายใต้งบประมาณและอัตราก�าลัง ที่ได้ก�าหนดไว้ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การกระจายอ�านาจ การบริหารงานบุคคล ตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว ซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน.
  • 21. 23 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : มาตรฐานการศึกษาและการประเมินคุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษามีเป้าหมายส�าคัญ คือ เพื่อให้เกิด “มาตรฐานการศึกษา”. ดังนั้นยุทธศาสตร์นี้จึงมีเรื่องส�าคัญที่ต้องท�า คือ 1) “สถานศึกษาจะต้องปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ของส�านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ภายในระยะเวลาที่ก�าหนด.” 2) “มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับมาตรฐานและตัวชี้วัด ในการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สมศ. ควรจะเป็นมาตรฐานและตัวชี้วัดที่ตรงกัน โดยไม่ต้องน�ามาเทียบกัน.” การประเมินสถานศึกษา... ควรใช้หลัก “ประเมินเพื่อพัฒนา”โดยให้ความส�าคัญต่อ ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการ (Process) และ ปัจจัยน�าเข้า (Input) ที่แตกต่างกันในแต่ละสถานศึกษา.
  • 22. 24 ข. ด้านการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การส่งเสริมเอกชนและท้องถิ่นในการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาเป็นสิทธิของเอกชนและขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) รัฐต้องส่งเสริมสิทธิในการจัดการศึกษาของเอกชนและของ อปท. โดยขอเสนอ เรื่องที่ต้องท�า 3 เรื่อง คือ 1) ก�าหนดให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนเอกชนและของ อปท. ต้องได้รับผลตอบแทนไม่น้อยกว่าของรัฐ (ตามยุทธศาสตร์การกระจายอ�านาจ การบริหารงานบุคคล). 2) จัดงบประมาณที่รวมเงินเดือนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้กับ โรงเรียนเอกชนและ อปท. และโอนงบประมาณนั้นไปให้โรงเรียนบริหารเอง (ตามยุทธศาสตร์การกระจายอ�านาจการบริหาร). 3) เพิ่มแรงจูงใจให้โรงเรียนเอกชนทั้งในด้านเงินอุดหนุน, การลดหย่อนภาษีและ สิทธิประโยชน์ (โปรดดูยุทธศาสตร์การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา-ด้านที่ 4). ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกรูปแบบ (Non-formal Education) ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่อยู่ในตลาดแรงงาน มากกว่าร้อยละ 50 หรือมี จ�านวนมากกว่า 20 ล้านคน... จบการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา. ดังนั้นการจัดการศึกษาประเภท... การอาชีวศึกษา (Vocational Education) และ... การศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษาต่อเนื่อง (Adult Education/Continuing Education) จึ ง เ ป็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที่ ส ำ คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ย ว ด ต่ อ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ! ! ! 20.3 ล้านคน ไม่เกินระดับชั้นประถมศึกษา รวม 38.5 ล้านคน ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2555 6.1 ล้านคน ระดับม.ต้น 0.3 ล้านคน อื่นๆ 6.4 ล้านคน ระดับอุดมศึกษา 5.4 ล้านคน ระดับ ม.ปลาย
  • 23. 25 ยุทธศาสตร์นี้มีเรื่องที่ต้องท�าที่ขอเสนอ คือ 1) ก�าหนดให้ส�านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กับส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการประสานงานในเรื่อง การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการบริหารงานกันอย่างใกล้ชิดเพื่อใช้อาคาร สถานที่และทรัพย์สินต่างๆ,บุคลากร,ข้อมูลจ�านวนนักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่ บริการ ฯลฯ ร่วมกัน. 2) ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของวิทยาลัยชุมชนในการจัดการศึกษานอกรูปแบบ ประเภทการอาชีวศึกษา. 3) ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาทุกระดับรวมทั้งในระดับอุดมศึกษาให้จัดการ ศึกษานอกรูปแบบ ประเภท การศึกษาผู้ใหญ่/การศึกษาต่อเนื่อง และให้ความส�าคัญกับการอาชีวศึกษา 4) ส่งเสริมให้มีการจัดแบบการเรียนรู้ (Learning Models) ที่หลากหลาย ได้แก่ แบบห้องเรียน (Classroom-based Learning), แบบบ้านเรียน (Home-based Learning), แบบทางไกล (Distance Learning) แบบอัธยาศัย/ไม่เป็นทางการ (Informal Learning) แบบทางเลือก (Alternative Learning). การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกรูปแบบ จะเป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญอย่ำงหนึ่งที่น�ำไปสู่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning).
  • 24. 26 4. ด้านทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความส�าคัญสูงสุด ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ จึงขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 12 เรื่อง คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่อง คือ 1) ออกกฎหมายภาษีเพื่อการศึกษา เพื่อให้รัฐและท้องถิ่นสามารถ ระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา. 2) ปรับแก้กฎหมายลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี ที่สามารถสร้างแรงจูงใจ ให้มีการบริจาคทรัพยากรและวัสดุอุปกรณ์รวมทั้งการลงทุนเพื่อการศึกษาให้ มากกว่านี้ ได้แก่ “พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2547” ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การหารายได้ของสถานศึกษา มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่อง คือ 1) สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา โดยรายได้ไม่ต้องส่งกระทรวงการคลัง. 2) สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา ได้แก่ การหารายได้จากผลผลิตจากนักศึกษาอาชีวศึกษา และการรับท�างานวิจัยของมหาวิทยาลัย.
  • 25. 27 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินอย่างพอเพียงให้กับการศึกษา โดยมีเรื่อง ที่ต้องท�า 3 เรื่อง คือ 1) จัดสรรงบประมาณรายหัวโดยเท่าเทียมกัน ให้กับสถานศึกษาของรัฐ, องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และของเอกชน โดยงบประมาณที่จัดให้สถานศึกษา ขอให้รวมเงินเดือนครูและบุคลากรทางการศึกษา. 2) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรอื่นเพิ่มเติมพิเศษให้กับผู้เรียน ที่ด้อยโอกาสหรือทุพพลภาพ เพื่อให้ผู้ด้อยโอกาสหรือทุพพลภาพ ได้รับโอกาสที่จะเข้าถึงสิทธิจากนโยบายเรียนฟรี... อย่างมีคุณภาพเช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไป. 3) จัดสรรงบประมาณพิเศษที่เป็นงบลงทุนเพราะ... การศึกษาเป็นการ ลงทุนเพื่อพัฒนาคนซึ่งมีความส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ 4) จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาให้กับโรงเรียนของรัฐ, อปท. และเอกชน... โดยเฉพาะให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก. การจัดสรรงบประมาณ... ควรน�าความต้องการของสถานศึกษามาเป็นตัวตั้ง !!!
  • 26. 28 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการใช้งบประมาณ มีเรื่องที่ต้องท�า 3 เรื่อง คือ 1) ก�าหนดหน่วยงานตรวจสอบภายใน และให้มีบทบาทการตรวจสอบ ภายในที่จริงจัง. 2) ก�าหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสอบโดยออกเป็นกฎกระทรวง. 3) ให้มีการตรวจสอบ โดยหน่วยงานตรวจสอบจากภายนอก (สตง.). 5. ด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ขอเสนอ 4 ยุทธศาสตร์ส�าคัญ และเรื่องที่ต้องท�า 8 เรื่อง คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การจัดสรรคลื่นความถี่เพื่อการศึกษา คลื่นความถี่ต่างๆ อันได้แก่ คลื่นวิทยุ, โทรทัศน์, วิทยุโทรคมนาคม และ อินเทอร์เน็ต รวมทั้งสื่อตัวน�า และโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จ�าเป็น จะต้อง ได้รับการจัดสรรเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา เพราะสื่อสารมวลชน เหล่านี้เป็นสื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการเรียนรู้ ของเยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป และจะเป็นการสนับสนุนเรื่องการเรียนรู้ ตลอดชีวิตด้วย. เรื่องที่ต้องท�าคือ รัฐต้องด�าเนินการในเรื่องการจัดสรรคลื่นความถี่ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ตามมาตรา 63 ที่ก�าหนดไว้ ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การส่งเสริมสนับสนุนการผลิตและการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา สื่อเพื่อการศึกษาหรือสื่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย แบบเรียน ต�ารา วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาหรือสื่อมัลติมีเดียต่างๆ. ยุทธศาสตร์นี้มีเรื่องที่ต้องท�า 2 เรื่อง คือ 1) จัดสรรเงินสนับสนุน เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการผลิตและการพัฒนาสื่อเพื่อการ ศึกษา.
  • 27. 29 2) เปดให้มีการแข่งขันโดยเสรีและเป็นธรรม รัฐควรเน้นบทบาทเป็นผู้ก�าหนดนโยบายแล้วเป็นผู้ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยเปิดให้มี การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม (ตามมาตรา 64 ที่ก�าหนดไว้ ใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542) และควรท�าหน้าที่วิจัยและพัฒนา สื่อต้นแบบและสื่อนวัตกรรม (ตามมาตรา 17 ที่ก�าหนดไว้ใน พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546). รัฐจึงควรลดบทบาทการเป็นผู้ผลิตแข่งขันกับเอกชน. ยุทธศาสตร์ที่ 3 : กองทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีเรื่องที่ต้องท�า 4 เรื่อง คือ 1) จัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนจากรัฐ. 2) จัดเก็บค่าสัมปทานและจากผลก�าไรที่ได้จากการด�าเนินกิจการ ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคม เพื่อมาเป็นกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา. 3) ลดหย่อนค่าบริการเป็นพิเศษ ส�าหรับการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อการศึกษา. 4) ออกกฎกระทรวง เพื่อก�าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้การจัดสรรเงินกองทุน. ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การจัดตั้งหน่วยงานกลาง โดยมีภารกิจคือ... “ท�าหน้าที่ดูแลการปฏิรูปทางด้านสื่อและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาโดยเฉพาะ”. ยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ดังกล่าว ก�าหนดอยู่ในมาตรา 63 ถึง 69 ของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.
  • 29. 31 บทสรุป การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21... ควรจะมีแนวคิดอย่างไร และจะต้องปฏิรูปอะไรบ้างนั้น... เป็นเรื่องที่ผู้ก�าหนดนโยบาย (Policy Maker) ตลอดจนผู้ปฏิบัติการ (Operator) ต้องศึกษาและเข้าใจถึงเจตนารมณ์ และโครงสร้างของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติเสียก่อน. หากจุดมุ่งหมายของการปฏิรูปการศึกษาคือการพัฒนาคนในชาติให้เป็น “ ค น ดี . . . มี ปั ญ ญ า . . . มี ค ว า ม สุ ข ใ น ชี วิ ต ” “นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจะต้องให้ความร่วมมือ และให้ความส�าคัญต่อการปฏิรูปการศึกษา จึงจะท�าให้การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ครั้งนี้ ประสบความส�าเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ได้ก�าหนดไว้.” การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะเป็นการสานต่อจากของเดิม หรือจะเป็นการยกเครื่องใหม่ ก็เป็นเรื่องที่เลือกท�าได้ทั้งนั้น. การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะต้องดูทั้งระบบหรือองค์รวม โดยต้องปฏิรูปทั้ง 5 ด้านไปพร้อมกัน เพราะการปฏิรูปการศึกษาแต่ละด้านมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน, ล ำ พั ง ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง เ ดี ย ว ย่ อ ม ไ ม่ ส า ม า ร ถ ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ ส ำ เ ร็ จ ไ ด้.
  • 30. 32 สงวนลิขสิทธิ์ : 22 กรกฎาคม 2557 (สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามลอกเลียน ไมวาจะเปนสวนใดของหนังสือเลมนี้ นอกจากจะไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษร) e-mail : thaiedu.reformclub@gmail.com