SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 72
Downloaden Sie, um offline zu lesen
LOGO
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ครูชิตชัย โพธิ์ประภา
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างของโลก1
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา2
โครงสร้างของโลก
ชั้นเปลือกโลก ( crust )1
ชั้นเนื้อโลก( mantle )2
ชั้นแก่นโลก ( core )3
ชั้นเปลือกโลก ( crust )1
ชั้นเปลือกโลก ( crust )1
เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
• ชั้นหินไซอัล ซิลิกา + อะลูมินา
• หินตะกอน
เปลือกโลกใต้มหาสมุทร
• ชั้นหินไซมา ซิลิกา + ออกไซด์ของเหล็ก + แมกนีเซียม
• หินบะซอลต์
ชั้นเนื้อโลก( mantle )2
คือชั้นที่อยู่ถัดจากเปลือกโลกลงไปมีความหนาประมาณ 2,900 km
ชั้นเนื้อโลกส่วนบนรวมกับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่า
ธรณีภาค
มีความหนาประมาณ 100 km
ชั้นถัดลงไปที่ความลึก 100 – 300 km เรียกว่า
ฐานธรณีภาค
ชั้นแก่นโลก ( core )3
แก่นโลกชั้นนอก
• ประกอบด้วย เหล็ก + นิกเกิล สภาพหลอมละลาย
• หนา 2,500 km อุณหภูมิสูงมาก
แก่นโลกชั้นใน
• ประกอบด้วย เหล็ก + นิกเกิล สภาพของแข็ง
• หนา 1,000 km อุณหภูมิ > 5,000 ความดันสูงมาก
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
แผ่นดินไหว (Earthquake)1
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)2
แผ่นดินไหว (Earthquake)
คือ การสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง
ของผิวโลกเพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะ
สมดุล ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายและ
ภัยพิบัติต่อบ้านเมือง ที่อยู่อาศัย และ
สิ่งมีชีวิต
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวหรือบริเวณ
ตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว จะอยู่ที่
บริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก 90 %
ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น จะเกิดรอบๆ
มหาสมุทรแปซิฟิกหรือที่รู้จักกันในชื่อ
วงแหวนไฟ (The Ring of Fire)
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว
เมื่อเกิดแผ่นดินไหวบริเวณจุดที่เกิดแผ่นดิน
ไหวลึกลงไปใต้ผิวโลกเรียกจุดนี้ว่า จุดศูนย์กลาง
แผ่นดินไหว (Focus หรือ Hypocenter)
ส่วนจุดที่อยู่บนผิวโลกที่อยู่ตรงกับจุดศูนย์กลาง
แผ่นดินไหวเรียกว่า ศูนย์กลางแผ่นดินไหว
(Epicenter) และจะเป็นบริเวณที่ได้รับ
ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว
จาแนกโดยใช้ความลึกจากผิวโลก (Focal Depth)
1)แผ่นดินไหวตื้น
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ที่ความลึก 0-70 km
2) แผ่นดินไหวปานกลาง
จุดศูนย์กลางอยู่ที่ความลึกประมาณ 70-300 km
3) แผ่นดินไหวลึก
จุดศูนย์กลางอยู่ที่ความลึกระหว่าง 300-700 km
จาแนกโดยใช้ระยะห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter)
1) แผ่นดินไหวท้องถิ่น (Local Earthquake)
ระยะทางน้อยกว่า 100 กิโลเมตร
2) แผ่นดินไหวห่าง(Distant earthquake )
ระยะทางระหว่าง 100-1,000 กิโลเมตร
3) แผ่นดินไหวไกล (Teleseism Earthquake )
ระยะทางมากกว่า 1,000 กิโลเมตร
จาแนกตามขนาด (Magnitude)
1) แผ่นดินไหวเบามาก(Micro Earthquake)
มีขนาดน้อยกว่า 2 ริคเตอร์
2) แผ่นดินไหวเบา (Small Earthquake)
มีขนาด 3-4 ริคเตอร์
3) แผ่นดินไหวปานกลาง(Ordinary Earthquake)
มีขนาด 4-5 ริคเตอร์
4) แผ่นดินไหวรุนแรง (LargeEarthquake)
มีขนาดมากว่า 6 ริคเตอร์
1) จากธรรมชาติ เกิดจากชั้นหินหลอม
ละลายใต้เปลือกโลก ที่ได้รับพลังงานจาก
แก่นโลก แล้วดันตัวขึ้นผลักดันเปลือกโลก
อยู่ตลอดเวลา ทาให้แผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่น
เคลื่อนที่ในทิศทางต่าง ๆ กัน เกิดการชน
เสียดสี หรือแยกจากกัน
นอกจากนี้รอยร้าวหรือรอยเลื่อนของแผ่น
เปลือกโลก เกิดจากแรงอัดของพลังงานที่สะสม
อยู่ภายในเปลือกโลกมีมากขึ้น จนทาให้เกิดการ
เคลื่อนตัวอย่างฉับพลันซึ่งเป็นสาเหตุของการ
เกิดแผ่นดินไหว
2) จากการกระทาของมนุษย์
การสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่
การทาเหมืองในระดับลึก
การสูบน้าใต้ดิน
การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน
สถานีตรวจแผ่นดินไหวในจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ
ระบบอะนาล็อก จานวน 13 แห่ง ได้แก่ จังหวัด เชียงราย
เชียงใหม่ น่าน เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก เลย อุบลราชธานี
นครราชสีมา นครสวรรค์ เขื่อนเขาแหลม จังหวัดกาญจนบุรี
จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สงขลา และภูเก็ต
ระบบดิจิตอล จานวน 11 แห่งได้แก่ จังหวัด เชียงราย แพร่
แม่ฮ่องสอน เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก ขอนแก่น เลย ปากช่อง
จังหวัดนครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี และ สงขลา
ขนาดของแผ่นดินไหว (Magnitude) หมายถึง
จานวนหรือปริมาณของพลังงานซึ่งถูกปล่อยออกมา
ที่ ศูนย์กลางแผ่นดินไหวแต่ละครั้ง การหาค่าขนาด
ของแผ่นดินไหว นี้ทาได้โดยวัดความสูง ของคลื่น
แผ่นดินไหวที่บันทึกได้ด้วยเครื่องวัดแผ่นดินไหว
แล้วคานวณจากสูตรการหาขนาดซึ่งคิดค้นโดย
ซี.เอฟ.ริคเตอร์ (C.F.Richter) ดังนั้นเราจึงนิยมใช้
หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหวว่า ริคเตอร์
ขนาดของแผ่นดินไหวไม่มีค่าสูงสุดหรือต่าสุด
แต่เป็นตัวเลขที่บ่งชี้ความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่
เกิดขึ้นเปรียบเทียบกับแผ่นดินไหวที่มีระดับเป็นศูนย์
ทั้งนี้กาหนดให้แผ่นดินไหวที่ระดับศูนย์มีค่า
แน่นอนคือมีความสูง (Amplitude) ของคลื่นเท่ากับ
0.001 มิลลิเมตร ที่ระยะทาง 100 กิโลเมตรจากจุด
กาเนิดแผ่นดินไหว (Hypocenter)
กาหนดให้
M เป็นขนาดของแผ่นดินไหว
A เป็นความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่สูงที่สุด
A0 เป็นความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่ระดับศูนย์
สูตร M = LogA - LogA0
ตัวอย่างที่ 1 จงหาขนาดของแผ่นดินไหวที่มี
ความสูงของคลื่นที่สูงที่สุด 10 มิลลิเมตร
ระยะทาง 100 กิโลเมตรจากจุดศูนย์กลาง
วิธีทา M = logA - logA0
= log10 - log0.001
= 1 - (-3)
= 4 หน่วยริคเตอร์
ขนาด
ความสัมพันธ์ขนาดโดยประมาณกับความ
สั่นสะเทือนใกล้ศูนย์กลาง
1-2.9
เกิดการสั่นไหวเล็กน้อย ผู้คนรู้สึกถึงการสั่นไหว
บางครั้งรู้สึกเวียนศีรษะ
3-3.9
เกิดการสั่นไหวเล็กน้อย ผู้คนที่อยู่ในอาคารรู้สึก
เหมือนรถไฟวิ่งผ่าน
4-4.9
เกิดการสั่นไหวปานกลางผู้ที่อาศัยอยู่ ทั้งภายใน
อาคารและภายนอกอาคาร รู้สึกถึงการสั่นสะเทือน
วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว
ขนาด
ความสัมพันธ์ขนาดโดยประมาณกับความ
สั่นสะเทือนใกล้ศูนย์กลาง
5-5.9
เกิดการสั่นไหวรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง เครื่องเรือน
และวัตถุมีการเคลื่อนที่
6-6.9
เกิดการสั่นไหวรุนแรงมา อาคารเริ่มเสียหาย
พังทลาย
7.0 up
เกิดการสั่นไหวร้ายแรง อาคารสิ่งก่อสร้างมีความ
เสียหายอย่างมาก แผ่นดินแยกวัตถุที่อยู่บนพื้นถูก
เหวี่ยงกระเด็น
ลาดับ ลักษณะความรุนแรงโดยเปรียบเทียบ
I เป็นอันดับที่อ่อนมาก ตรวจวัดโดยเครื่องมือ
II พอรู้สึกได้สาหรับผู้ที่อยู่นิ่งๆ ในอาคารสูงๆ
III
พอรู้สึกได้สาหรับผู้อยู่ในบ้าน แต่คนส่วนใหญ่
ยังไม่รู้สึก
IV ผู้ที่อยู่ในบ้านรู้สึกว่าของในบ้านสั่นไหว
V รู้สึกเกือบทุกคน ของในบ้านเริ่มแกว่งไกว
VI รู้สึกได้กับทุกคน ของหนักในบ้านเริ่มเคลื่อนไหว
ลาดับ ลักษณะความรุนแรงโดยเปรียบเทียบ
VII ทุกคนต่างตกใจ สิ่งก่อสร้างเริ่มปรากฏความเสียหาย
VIII เสียหายค่อนข้างมาก ในอาคารธรรมดา
IX สิ่งก่อสร้างที่ออกแบบไว้อย่างเสียหายมาก
X อาคารพัง รางรถไฟบิดงอ
XI
อาคารสิ่งก่อสร้างพังทลายเกือบทั้งหมด ผิวโลก
ปูดนูนและเลื่อนเป็นคลื่นบนพื้นดินอ่อน
XII ทาลายหมดทุกอย่าง มองเห็นเป็นคลื่นบนแผ่นดิน
1) ลักษณะทางกายภาพของเปลือกโลก ที่เปลี่ยนแปลงจากสภาพปกติ
ก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น
1. แรงเครียดในเปลือกโลกเพิ่มขึ้น นั่นคือใต้ผิวโลกมีความร้อน
สูงกว่าบริเวณผิวโลก จึงทาให้เปลือกโลกมีการขยายตัว และหดตัวไม่
สม่าเสมอ โดยส่วนล่างมีการขยายตัวมากกว่า
2. การเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้ า แม่เหล็ก แรงโน้มถ่วง
3. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก ทาให้เกิดการสั่นสะเทือน
ของพื้นดินบางบริเวณ
4. น้าใต้ดินมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากมีการเคลื่อนไหวและ
การขยายตัวของเปลือกโลกและใต้ชั้นหิน
2) การสังเกตพฤติกรรมของสัตว์ สัตว์หลาย
ชนิดมีการรับรู้ถึงภัยก่อนเกิดแผ่นดินไหว
1. แมลงสาบจานวนมากวิ่งเพ่งพ่าน
2. สุนัข เป็ด ไก่ หมู หมี ตื่นตกใจ
3. หนู งู วิ่งออกมาจากที่อาศัย
4. ปลากระโดดขึ้นจากผิวน้า
3)บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหว
ถ้าบริเวณใดเกิดแผ่นดินไหวบ่อยครั้งโอกาสที่
จะเกิดแผ่นดินไหวก็มีตามมาอีก และถ้าสถานที่นั้น
เคยเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง ก็มีโอกาสเกิด
แผ่นดินไหวซ้าขึ้นอีกเช่นกัน นอกจากนี้บริเวณที่มี
การเกิดภูเขาไฟระเบิดมักจะเกิดเหตุการณ์
แผ่นดินไหวขึ้นก่อนหรือหลังเกิดภูเขาไฟระเบิดได้
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
1) กาเนิดภูเขาไฟ
มักพบบริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก
เมื่อเปลือกโลกเกิดการเคลื่อนที่ จาทาให้เกิด
ภูเขาไฟขึ้นตามลักษณะรอยต่อของแผ่นเปลือก
โลก และมักจะอยู่ในบริเวณเดียวกัน หรือใกล้
กัน โดยภูเขาไฟจะเกิดอยู่รอบ ๆ มหาสมุทร
แปซิฟิก เรียกว่า
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
กรวยสูง (Steep Cone)
แบบโล่ (Shield Volcano)
แบบกรวย (Ash and Cinder Cone)
แบบสลับชั้น (Composite)
ภูเขาไฟ (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟ (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
ประโยชน์ของภูเขาไฟ
1.ช่วยปรับระดับของเปลือกโลกให้สมดุล
2.ช่วยทาให้หินถูกแปรสภาพ แกร่งขึ้น เปลี่ยนสี
3.เกิดแร่ที่สาคัย ๆ เช่น เพชร เหล็ก
4.ดินที่เกิดจากภูเขาไฟมักจะเป็นดี
เหมาะแก่การเพาะปลูก
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
โทษของภูเขาไฟ
1.ทาลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
2.ทาลายทรัพย์สินของมนุษย์ ทั้งทางตรง
และทางอ้อม
แบบจาลองภูเขาไฟระเบิด
แบบจาลองภูเขาไฟระเบิด
ผงฟู 6 ช้อนเบอร์2 กับ น้าส้มสายชู 20 ม.ล.
น้าส้มสายชู + ผงฟู + สีผสมอาหารสีแดง
ผงฟู สีผสมอาหาร(แดง) โซดา
ใส่เบคกิ้งโซดา นาส้มสายชู
LOGO

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 

Was ist angesagt? (20)

ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
หิน
หินหิน
หิน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 

Ähnlich wie โลกและการเปลี่ยนแปลง

โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวMoukung'z Cazino
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6Pongsathorn Suksri
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์Som Kamonwan
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04Chay Kung
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2GanKotchawet
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 

Ähnlich wie โลกและการเปลี่ยนแปลง (20)

โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 

โลกและการเปลี่ยนแปลง