SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความขัดแย้ งระหว่ างชนกลุ่มน้ อยกับ
            รัฐบาลพม่ า
     Conflict of the Burmese
    Government and the Ethnic
         Minority Groups
สมาชิกในกลุ่ม
► มีดีงนี้
         นาย กรวิชญ์   ดอนชัย        ม.6/2   เลขที่ 1
         นาย ณัฎฐ์     รัตนรมย์      ม.6/2   เลขที่ 2
         นาย ณัฐภัทร   วุฒิการณ์     ม.6/2   เลขที่ 3
         นาย ธนาธิป     แสนวงค์      ม.6/2   เลขที่ 4
         นาย ศภฤกษ์      กันเขี่ย    ม.6/2   เลขที่ 5
ความหมายของชนกลุ่มน้อย
► “ชนกลุ่ มน้ อย” หมายถึง ชนเผ่า หรื อคนต่างเชื้อชาติ ต่างชาติพนธุ์ที่อาศัย
                                                                 ั
  รวมกันกับชนเผ่าอื่นที่มีจานวนมากกว่า หรื อมีจานวนน้อยเมื่อเทียบกับชน
  กลุ่มใหญ่ของประเทศ เป็ นชนกลุ่มที่มีความแตกต่างจากชนส่ วนใหญ่ใน
  ด้านต่างๆ กลุ่มชนที่ได้ชื่อว่าชนกลุ่มน้อยนั้น มักจะเป็ นกลุ่มชนที่อพยพมา
                                        ่ ั่
  จากประเทศอื่นและเข้ามาพักอาศัยอยูชวคราว
ปัญหาความขัดแย้งทางชาติพนธุ์
                                       ั
► ปั จจุ บนปั ญหากลุ่ มชาติ พนธุ์ชนกลุ่ มน้อยกาลังเป็ นปั ญหาของสังคมโลก
          ั                  ั
  โดยเฉพาะกระแสการเรี ยกร้องปกครองตนเองมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะชนกลุ่ม
  น้อยมีความเป็ นชาติพนธุ์ เชื้อชาติ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต ทัศนคติ
                       ั
  ความเชื่อ ลัทธิ ศาสนา ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และค่านิยมของตน
  แต่ตองอยู่ร่วมกับชนกลุ่มใหญ่หรื อกับชนกลุ่มน้อยชาติพนธุ์อื่น จึงมักเกิด
       ้                                                   ั
  ปั ญ หาความขัด แย้ง ในการอยู่ ร่ ว มกัน และน ามาซึ่ งปั ญ หาต่ า งๆ อย่ า ง
  หลีกเลี่ยงไม่ได้ และมักเป็ นปัญหาที่สะสมมาเป็ นระยะเวลายาวนาน
► สาเหตุประการหนึ่ ง  เป็ นผลมาจากการกระทาของชนกลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะ
  การเลือกปฏิบติและการกีดกัน (Prejudice and discrimination) ตลอดจน
               ั
  ความไม่ ส มดุ ล ทาง การเมื อ ง เศรษฐกิ จ และสั ง คม และขาดการพัฒ นา
  ทรัพยากรมนุษย์
ความเป็ นมาและภูมิหลังของความขัดแย้งทางชาติพนธุ์ในพม่า
                                            ั

► ความขัดแย้งระหว่างทหารรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ
  เป็ นสงครามที่ยึดเยื้อกินเวลาช้านาน นับตั้งแต่สมัยที่พม่าได้รับเอกราชจาก
  อัง กฤษในปี ค.ศ.1948 ความขัด แย้ง ระหว่ า งเชื้ อ ชาติ ภ ายในพม่ า ซึ่ ง
  วิวฒนาการมาเป็ นสงครามกลางเมืองนี้ อาจนับถอยหลังไปได้จนถึงสมัย
      ั
  พม่าตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษตั้งแต่ปี ค.ศ.1824 เป็ นต้นมา
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น
► ประเด็นแรก:     ก่อนพม่าจะตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษอย่างสมบูรณ์ ในปี
  ค.ศ.1886 อังกฤษได้ผนวกพม่าและดินแดนของชนกลุ่มน้อยต่างๆ เข้าเป็ น
  มณฑลหนึ่ งของอินเดี ย ซึ่ งอังกฤษเป็ นเจ้าอาณานิ คมในขณะนั้น รั ฐบาล
  อัง กฤษซึ่ งเข้า มาปกครองพม่ าโดยใช้น โยบาย “แบ่ ง แยกและปกครอง”
  (divide and rule) เพราะอังกฤษได้แบ่งแยกรัฐของกลุ่มน้อยออกจากรัฐของ
  ชาวพม่า และใช้ระบบการปกครองที่ต่างกันออกเป็ น 2 ส่ วนคือ “พม่าแท้”
  (Burma proper) กับ “เขตชายแดน” (Frontier Areas)
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► อังกฤษถอนตัวออกจากพม่าอย่างกะทันหัน พร้อมกับทิ้งปั ญหาความขัดแย้ง
  ของกลุ่มชาติพนธุ์ไว้ให้รัฐบาลกลางของพม่าซึ่ งเข้ามารับภาระหน้าที่แทน
                ั
  ผูนารัฐบาลพม่าในช่วงที่ได้รับอิสรภาพแล้ว
    ้
► นับตั้งแต่นายพลออง ซาน อู นุ และนายพลเนวิน ต่างก็มีทศนคติต่อการ
                                                           ั
  รวมชาติและความเป็ นเอกภาพในบริ บทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพนธุ์ต่างๆ
                                                              ั
  ในพม่าที่แตกต่างกันออกไป
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► สงครามกลางเมืองที่ได้เริ่ มก่ อตัวตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948   จนถึงช่วงวิกฤตใน
  ทศวรรษที่ 1960
► นับแต่น้ นมา พม่าก็ได้กลายเป็ นดินแดนแห่ งการสู รบระหว่างรัฐบาลกลาง
           ั                                      ้
  กับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ จนถึงปัจจุบนั
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► ประเด็นต่ อมา      จากสภาพภูมิประเทศซึ่งแยกชุมชนของกลุ่มชาติพนธุ์ออก
                                                               ั
  จากกัน ด้วยเทือกเขาสูง ป่ าทึบและแม่น้ า
► อีกทั้งยังส่ งเสริ มให้เกิดความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและภาษาของกลุ่ม
  ชาติพนธุ์โดยการคงเอกลักษณ์เด่นของตนไว้ ไม่มีการผสมผสานเพื่อ
         ั
  ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และการยอมรับซึ่งกันและกัน
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► ปั ญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อย ได้กลาย
  สภาพเป็ นปัญหาที่บนทอนความมันคงและเอกภาพของรัฐ
                     ั่          ่
► ดังนั้นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นเอกภาพ
  ของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เหล่านี้
  และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิงยวดในเชิงนโยบายเป็ นสาคัญ
                                       ่
  อันดับแรกของประเทศ
กลุ่มประชากรหรื อชาติพนธุ์ในพม่า
                                      ั
                                                                ่
► ชาวพม่าซึ่ งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 68) จะอาศัยอยูในบริ เวณพม่าแท้
  หรื อบริ เวณราบริ มแม่น้ า
► นอกจากชาวพม่าแล้วยังประกอบด้วยชาวมอญและกะเหรี่ ยงที่อพยพลงมาจากภูเขาสู ง
  ในขณะที่ชนกลุ่มอื่นจะอาศัยอยูในบริ เวณที่ราบสู งหรื อเทือกเขาสู งบริ เวณชายแดน ซึ่ ง
                                 ่
  ประกอบด้วยกลุ่มชาติพนธุ์ต่างๆ อาทิ ไทยใหญ่ (Shan) กะเหรี่ ยง (Karen) คะฉิ่ น
                           ั
  (Kachin) ฉิ่ น (Chin) ว้า (Wa) ยะไข่ (Arakanist) และชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น มูเซอ
  อีกอ ลีซอ ปะหล่อง จีนโกกัง เป็ นต้น ชนกลุ่มน้อยชนต่างๆ เหล่านี้รวมกันประมาณ
      ้
  ร้อยละ 32 ของประชากรพม่า โดยมีกลุ่มไทยใหญ่ กลุ่มกะเหรี่ ยง กลุ่มมอญ และกลุ่ม
  คะฉิ่ น จะมีจานวนเป็ นรองลงมาจากชาติพนธุ์พม่าตามลาดับ
                                           ั
สัดส่ วนประชากรจาแนกตามกลุ่มชาติพนธุ์ในพม่า
                                 ั
              กลุ่มชาติพนธุ์
                        ั      จานวนประชากร (คน)
 พม่า (Burman)                       29,000,000
 กะเหรี่ ยง (Karen)             2,650,000 – 7,000,000
 ไทยใหญ่ (Shan)                 2,220,00 – 4,000,000
 ยะไข่ (Rakhine)                1,750,000 – 2,500,000
 มอญ (Mon)                      1,100,000 – 4,000,000
 ฉิ่ น (Chin)                    750,000 – 1,500,000
 คะฉิ่ น (Kachin)                500,000 – 1,500,000
 อินเดีย (Indai)                       800,000
 โรฮิงยา (Rohingya)              690,000 – 1,400,000
 ปะโอ (Pa-O)                      580,000 – 700,000
กลุ่มชาติพนธุ์
                    ั      จานวนประชากร (คน)
ทวาย (Tavoyan)                   500,000
จีน (Chinese)                    400,000
ปะหล่อง (Palaung)            300,000-400,000
มูเซอ (Lahu)                 170,000-250,000
คะเรนนี (Karenni)            100,000-200,000
ว้า (Wa)                     90,000 – 300,000
ดานุ (Danu)                  70,000 -100,000
โกกัง (Kokang)               70,000 – 100,000
คะยัน (Kayan)                60,000 – 100,000
อาข่า (Akha)                     100,000
สรุ ป
► เนื่ องจากในช่วงที่พม่าเป็ นเมืองขึ้นอังกฤษ อังกฤษแยกการปกครองระหว่าง
  ชนกลุ่มน้อย และ ชาวพม่า เมื่อพม่าได้เอกราชพม่า(ชาวพม่า) ซึ่ งเป็ นชน
  กลุ่มใหญ่ ได้ใช้กาลังเข้าปกครองชนกลุ่มน้อย ต่าง ๆ ในประเทศ ซึ่ งชน
  กลุ่มน้อยหลายกลุ่มไม่ยอมอยูใต้การปกครองของพม่า และทาการต่อสู ้และ
                              ่
  มีกองกาลังของตนเองเพื่อต้องการปกครองตนเองไม่รวมอยู่กบพม่า ทาง
                                                         ั
  ฝ่ ายพม่าภายใต้การนาของรัฐบาลทหาร ได้ใช้กาลังทหารและความรุ่ นแรง
  เข้าจัดการ จนทาให้เกิ ดการสู ้รบ โดยเฉพาะตามแนวชายแดนไทยซึ่ งเกิ ด
  ปัญหาที่ยดเยื้อมาจนถึงทุกวันนี้
            ึ
อ้างอิง
► พรพิมล   ตรี โชติ. ชนกลุ่มน้ อยกับรัฐบาลพม่ า. 2542. สานักงานกองทุน
             สนับสนุนการวิจย: กรุ งเทพฯ
                                ั
► สื บค้นจาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=. ออนไลน์
             [2-8-2011]
► สื บค้นจาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/1026282. ออนไลน์ [2-8-2011]
► สื บค้นจาก http://prachatai.com/journal/2008/04/16490. ออนไลน์ [2-8-
             2011]

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Andere mochten auch (17)

Pajaros
PajarosPajaros
Pajaros
 
Major persuasive speech
Major persuasive speechMajor persuasive speech
Major persuasive speech
 
TEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B VocabularioTEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B Vocabulario
 
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene PresentatieConsciousness Hacking - Algemene Presentatie
Consciousness Hacking - Algemene Presentatie
 
5 minppointshow
5 minppointshow5 minppointshow
5 minppointshow
 
Suzhou odyssey
Suzhou odysseySuzhou odyssey
Suzhou odyssey
 
Html
HtmlHtml
Html
 
דרך היווצרותה שלעזה
דרך היווצרותה שלעזהדרך היווצרותה שלעזה
דרך היווצרותה שלעזה
 
Log.wps
Log.wpsLog.wps
Log.wps
 
Madrid solar decathlon
Madrid solar decathlonMadrid solar decathlon
Madrid solar decathlon
 
TEMA 5B Vocabulario
TEMA 5B VocabularioTEMA 5B Vocabulario
TEMA 5B Vocabulario
 
เมียนม่าร์
เมียนม่าร์เมียนม่าร์
เมียนม่าร์
 
Amabelle Go vicencio's 20 year marketing plan
Amabelle Go vicencio's 20 year marketing planAmabelle Go vicencio's 20 year marketing plan
Amabelle Go vicencio's 20 year marketing plan
 
Igualdad ikea
Igualdad ikeaIgualdad ikea
Igualdad ikea
 
Raleigh chamber ypn presentation july 2010
Raleigh chamber ypn presentation   july 2010Raleigh chamber ypn presentation   july 2010
Raleigh chamber ypn presentation july 2010
 
Assertive Amabelle
Assertive AmabelleAssertive Amabelle
Assertive Amabelle
 
Droege Pupil Center Detection In Low Resolution Images
Droege Pupil Center Detection In Low Resolution ImagesDroege Pupil Center Detection In Low Resolution Images
Droege Pupil Center Detection In Low Resolution Images
 

Ähnlich wie เมียร์มาร์

โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 

Ähnlich wie เมียร์มาร์ (20)

โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
ประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทย
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
การล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวียการล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
 
เมียนมาร์
เมียนมาร์เมียนมาร์
เมียนมาร์
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
พม่า
พม่าพม่า
พม่า
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
ความขัดแย้งในเมียนม่าร์
ความขัดแย้งในเมียนม่าร์ความขัดแย้งในเมียนม่าร์
ความขัดแย้งในเมียนม่าร์
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 
ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 

Mehr von Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mehr von Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

เมียร์มาร์

  • 1. ความขัดแย้ งระหว่ างชนกลุ่มน้ อยกับ รัฐบาลพม่ า Conflict of the Burmese Government and the Ethnic Minority Groups
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม ► มีดีงนี้ นาย กรวิชญ์ ดอนชัย ม.6/2 เลขที่ 1 นาย ณัฎฐ์ รัตนรมย์ ม.6/2 เลขที่ 2 นาย ณัฐภัทร วุฒิการณ์ ม.6/2 เลขที่ 3 นาย ธนาธิป แสนวงค์ ม.6/2 เลขที่ 4 นาย ศภฤกษ์ กันเขี่ย ม.6/2 เลขที่ 5
  • 3. ความหมายของชนกลุ่มน้อย ► “ชนกลุ่ มน้ อย” หมายถึง ชนเผ่า หรื อคนต่างเชื้อชาติ ต่างชาติพนธุ์ที่อาศัย ั รวมกันกับชนเผ่าอื่นที่มีจานวนมากกว่า หรื อมีจานวนน้อยเมื่อเทียบกับชน กลุ่มใหญ่ของประเทศ เป็ นชนกลุ่มที่มีความแตกต่างจากชนส่ วนใหญ่ใน ด้านต่างๆ กลุ่มชนที่ได้ชื่อว่าชนกลุ่มน้อยนั้น มักจะเป็ นกลุ่มชนที่อพยพมา ่ ั่ จากประเทศอื่นและเข้ามาพักอาศัยอยูชวคราว
  • 4. ปัญหาความขัดแย้งทางชาติพนธุ์ ั ► ปั จจุ บนปั ญหากลุ่ มชาติ พนธุ์ชนกลุ่ มน้อยกาลังเป็ นปั ญหาของสังคมโลก ั ั โดยเฉพาะกระแสการเรี ยกร้องปกครองตนเองมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะชนกลุ่ม น้อยมีความเป็ นชาติพนธุ์ เชื้อชาติ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต ทัศนคติ ั ความเชื่อ ลัทธิ ศาสนา ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และค่านิยมของตน แต่ตองอยู่ร่วมกับชนกลุ่มใหญ่หรื อกับชนกลุ่มน้อยชาติพนธุ์อื่น จึงมักเกิด ้ ั ปั ญ หาความขัด แย้ง ในการอยู่ ร่ ว มกัน และน ามาซึ่ งปั ญ หาต่ า งๆ อย่ า ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ และมักเป็ นปัญหาที่สะสมมาเป็ นระยะเวลายาวนาน
  • 5. ► สาเหตุประการหนึ่ ง เป็ นผลมาจากการกระทาของชนกลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะ การเลือกปฏิบติและการกีดกัน (Prejudice and discrimination) ตลอดจน ั ความไม่ ส มดุ ล ทาง การเมื อ ง เศรษฐกิ จ และสั ง คม และขาดการพัฒ นา ทรัพยากรมนุษย์
  • 6. ความเป็ นมาและภูมิหลังของความขัดแย้งทางชาติพนธุ์ในพม่า ั ► ความขัดแย้งระหว่างทหารรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เป็ นสงครามที่ยึดเยื้อกินเวลาช้านาน นับตั้งแต่สมัยที่พม่าได้รับเอกราชจาก อัง กฤษในปี ค.ศ.1948 ความขัด แย้ง ระหว่ า งเชื้ อ ชาติ ภ ายในพม่ า ซึ่ ง วิวฒนาการมาเป็ นสงครามกลางเมืองนี้ อาจนับถอยหลังไปได้จนถึงสมัย ั พม่าตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษตั้งแต่ปี ค.ศ.1824 เป็ นต้นมา
  • 7. สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น ► ประเด็นแรก: ก่อนพม่าจะตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษอย่างสมบูรณ์ ในปี ค.ศ.1886 อังกฤษได้ผนวกพม่าและดินแดนของชนกลุ่มน้อยต่างๆ เข้าเป็ น มณฑลหนึ่ งของอินเดี ย ซึ่ งอังกฤษเป็ นเจ้าอาณานิ คมในขณะนั้น รั ฐบาล อัง กฤษซึ่ งเข้า มาปกครองพม่ าโดยใช้น โยบาย “แบ่ ง แยกและปกครอง” (divide and rule) เพราะอังกฤษได้แบ่งแยกรัฐของกลุ่มน้อยออกจากรัฐของ ชาวพม่า และใช้ระบบการปกครองที่ต่างกันออกเป็ น 2 ส่ วนคือ “พม่าแท้” (Burma proper) กับ “เขตชายแดน” (Frontier Areas)
  • 8. สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ) ► อังกฤษถอนตัวออกจากพม่าอย่างกะทันหัน พร้อมกับทิ้งปั ญหาความขัดแย้ง ของกลุ่มชาติพนธุ์ไว้ให้รัฐบาลกลางของพม่าซึ่ งเข้ามารับภาระหน้าที่แทน ั ผูนารัฐบาลพม่าในช่วงที่ได้รับอิสรภาพแล้ว ้ ► นับตั้งแต่นายพลออง ซาน อู นุ และนายพลเนวิน ต่างก็มีทศนคติต่อการ ั รวมชาติและความเป็ นเอกภาพในบริ บทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพนธุ์ต่างๆ ั ในพม่าที่แตกต่างกันออกไป
  • 9. สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ) ► สงครามกลางเมืองที่ได้เริ่ มก่ อตัวตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 จนถึงช่วงวิกฤตใน ทศวรรษที่ 1960 ► นับแต่น้ นมา พม่าก็ได้กลายเป็ นดินแดนแห่ งการสู รบระหว่างรัฐบาลกลาง ั ้ กับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ จนถึงปัจจุบนั
  • 10. สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ) ► ประเด็นต่ อมา จากสภาพภูมิประเทศซึ่งแยกชุมชนของกลุ่มชาติพนธุ์ออก ั จากกัน ด้วยเทือกเขาสูง ป่ าทึบและแม่น้ า ► อีกทั้งยังส่ งเสริ มให้เกิดความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและภาษาของกลุ่ม ชาติพนธุ์โดยการคงเอกลักษณ์เด่นของตนไว้ ไม่มีการผสมผสานเพื่อ ั ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และการยอมรับซึ่งกันและกัน
  • 11. สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ) ► ปั ญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อย ได้กลาย สภาพเป็ นปัญหาที่บนทอนความมันคงและเอกภาพของรัฐ ั่ ่ ► ดังนั้นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นเอกภาพ ของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เหล่านี้ และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิงยวดในเชิงนโยบายเป็ นสาคัญ ่ อันดับแรกของประเทศ
  • 12. กลุ่มประชากรหรื อชาติพนธุ์ในพม่า ั ่ ► ชาวพม่าซึ่ งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 68) จะอาศัยอยูในบริ เวณพม่าแท้ หรื อบริ เวณราบริ มแม่น้ า ► นอกจากชาวพม่าแล้วยังประกอบด้วยชาวมอญและกะเหรี่ ยงที่อพยพลงมาจากภูเขาสู ง ในขณะที่ชนกลุ่มอื่นจะอาศัยอยูในบริ เวณที่ราบสู งหรื อเทือกเขาสู งบริ เวณชายแดน ซึ่ ง ่ ประกอบด้วยกลุ่มชาติพนธุ์ต่างๆ อาทิ ไทยใหญ่ (Shan) กะเหรี่ ยง (Karen) คะฉิ่ น ั (Kachin) ฉิ่ น (Chin) ว้า (Wa) ยะไข่ (Arakanist) และชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น มูเซอ อีกอ ลีซอ ปะหล่อง จีนโกกัง เป็ นต้น ชนกลุ่มน้อยชนต่างๆ เหล่านี้รวมกันประมาณ ้ ร้อยละ 32 ของประชากรพม่า โดยมีกลุ่มไทยใหญ่ กลุ่มกะเหรี่ ยง กลุ่มมอญ และกลุ่ม คะฉิ่ น จะมีจานวนเป็ นรองลงมาจากชาติพนธุ์พม่าตามลาดับ ั
  • 13. สัดส่ วนประชากรจาแนกตามกลุ่มชาติพนธุ์ในพม่า ั กลุ่มชาติพนธุ์ ั จานวนประชากร (คน) พม่า (Burman) 29,000,000 กะเหรี่ ยง (Karen) 2,650,000 – 7,000,000 ไทยใหญ่ (Shan) 2,220,00 – 4,000,000 ยะไข่ (Rakhine) 1,750,000 – 2,500,000 มอญ (Mon) 1,100,000 – 4,000,000 ฉิ่ น (Chin) 750,000 – 1,500,000 คะฉิ่ น (Kachin) 500,000 – 1,500,000 อินเดีย (Indai) 800,000 โรฮิงยา (Rohingya) 690,000 – 1,400,000 ปะโอ (Pa-O) 580,000 – 700,000
  • 14. กลุ่มชาติพนธุ์ ั จานวนประชากร (คน) ทวาย (Tavoyan) 500,000 จีน (Chinese) 400,000 ปะหล่อง (Palaung) 300,000-400,000 มูเซอ (Lahu) 170,000-250,000 คะเรนนี (Karenni) 100,000-200,000 ว้า (Wa) 90,000 – 300,000 ดานุ (Danu) 70,000 -100,000 โกกัง (Kokang) 70,000 – 100,000 คะยัน (Kayan) 60,000 – 100,000 อาข่า (Akha) 100,000
  • 15.
  • 16. สรุ ป ► เนื่ องจากในช่วงที่พม่าเป็ นเมืองขึ้นอังกฤษ อังกฤษแยกการปกครองระหว่าง ชนกลุ่มน้อย และ ชาวพม่า เมื่อพม่าได้เอกราชพม่า(ชาวพม่า) ซึ่ งเป็ นชน กลุ่มใหญ่ ได้ใช้กาลังเข้าปกครองชนกลุ่มน้อย ต่าง ๆ ในประเทศ ซึ่ งชน กลุ่มน้อยหลายกลุ่มไม่ยอมอยูใต้การปกครองของพม่า และทาการต่อสู ้และ ่ มีกองกาลังของตนเองเพื่อต้องการปกครองตนเองไม่รวมอยู่กบพม่า ทาง ั ฝ่ ายพม่าภายใต้การนาของรัฐบาลทหาร ได้ใช้กาลังทหารและความรุ่ นแรง เข้าจัดการ จนทาให้เกิ ดการสู ้รบ โดยเฉพาะตามแนวชายแดนไทยซึ่ งเกิ ด ปัญหาที่ยดเยื้อมาจนถึงทุกวันนี้ ึ
  • 17. อ้างอิง ► พรพิมล ตรี โชติ. ชนกลุ่มน้ อยกับรัฐบาลพม่ า. 2542. สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจย: กรุ งเทพฯ ั ► สื บค้นจาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=. ออนไลน์ [2-8-2011] ► สื บค้นจาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/1026282. ออนไลน์ [2-8-2011] ► สื บค้นจาก http://prachatai.com/journal/2008/04/16490. ออนไลน์ [2-8- 2011]