SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
นิยาม / เครื่องมือการประเมิน

   ความสามารถด้านภาษา(Literacy)

         ความสามารถด้านภาษา (Literacy) หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์
สรุ ป สาระส าคั ญจากเรื่ อ งที่อ่ าน ประเมิน ค่ าสิ่ ง ที่อ่า นจากสื่ อประเภทต่า งๆ นาความรู้และข้อคิ ดไปใช้ใ น
ชีวิตประจาวัน สื่อสารเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
คาสาคัญ(Key characteristics)
           1. ความสามารถในการอ่าน หมายถึง พฤติกรรมการรู้ ความเข้าใจ การสรุปสาระสาคัญ
การวิเคราะห์ และการประเมินสิ่งที่ได้จากการอ่าน
           2. รู้ หมายถึง การบอกความหมาย เรื่องราว ข้อเท็จจริง และเหตุการณ์ต่างๆ
           3. เข้าใจ หมายถึง การแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปอ้างอิง
           4. สรุ ป สาระส าคัญ หมายถึง การสรุ ปใจความส าคั ญของเนื้อ เรื่ อ งได้อ ย่ างสั้ น ๆ กระชับ และ
ครอบคลุม
           5. วิเคราะห์ หมายถึง การแยกแยะเรื่องราว ข้อเท็จจริง เหตุผล ข้อคิดเห็น คุณค่า และส่วนประกอบ
อื่น ๆ
           6. ประเมินค่า หมายถึง การตัดสินความถูกต้ อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณค่า ตามเกณฑ์ที่
กาหนด
           7. สื่อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่งที่นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ทั้งที่
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อยกรอง
และสาระความรู้จากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
           8. น าความรู้ แ ละข้ อคิด ไปใช้ ใ นชีวิตประจาวัน หมายถึ ง การเลื อกนาความรู้ ความเข้าใจ
สาระสาคัญ ความคิด และข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และประเมินค่า ไปใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญ หา
การตัดสินใจ หรือตามจุดมุ่งหมายอันเป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิต
           9. ภาษาพูด หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ เป็นกันเองและสุภาพ เหมาะสมโดย
คานึงถึงฐานะของบุคคล
           10. ภาษาเขียน หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างเป็นทางการ โดยเลือกใช้คาที่เหมะสมกับบุคคล
สถานการณ์ และคานึงถึงความถูกต้องตามหลักภาษา
           11. สื่อสาร หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิด จากการอ่าน โดยการบอกเล่า
หรือเขียน อธิบาย วิเคราะห์ หรือประเมินค่า
           12. สร้างสรรค์ หมายถึง การใช้ภาษาพูดหรืกภาษาเขียนจากการอ่า แสดงความรู้และความคิด ใหม่
ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่สูงกว่าเดิม
           13. วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทาความเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล โดย
อาศัยประสบการณ์ พิจารณา ตัดสินเรื่องที่อ่านด้วยความรอบคอบ
ระดับความสามารถชั้นปี
     ระดับชั้น                        ความสามารถ                                          คาสาคัญ
ประถมศึกษาปีที่ ๓ สามารถอธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน                 1. อธิ บ ายความหมายจากเรื่ อ งที่ อ่ า น
                  ในสื่ อประเภทต่างๆ คาดคะเนเหตุการณ์                  หมายถึ ง ความสามารถในการขยาย
                  สรุ ป เรื่ องราว และข้อคิ ดจากการอ่ านเพื่ อ         เพิ่มเติมความรู้ หรือข้อคิดเห็นที่ได้จาก
                  นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ และ                 การอ่านเรื่องที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน
                  สื่ อ สารแสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ างถู ก ต้ อ ง   และตามความสนใจของนักเรียน โดย
                  เหมาะสม และสร้างสรรค์                                การตอบคาถามด้วยการเขียนหรื อด้วย
                  ตัวชี้วัด                                            วิธีการสื่อสารอื่นๆ ได้อย่างถูกต้องและ
                  ๑. อธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน                    ชัดเจน
                  ๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อาน                   2. สื่อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่ งที่
                  ๓. สรุปเรื่องราวและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน            นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบ
                  ๔. วิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้อง             เห็ น ในชี วิ ต ประจ าวั น ทั้ ง ที่ เ ป็ น สื่ อ
                  ๕. นาข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่านไปใช้ใน             สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง
                  ชีวิตประจาวัน                                        นาเสนอข่ าวและเหตุก ารณ์ ป ระจ าวั น
                  6. สื่อสารความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านอย่าง           นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อ ย
                  มีเหตุผลและสร้างสรรค์                                กรอง และสาระความรู้จากบทเรียนใน
                                                                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่ม
                                                                       สาระการเรียนรู้อื่นๆ
                                                                       3. คาดคะเนเหตุ ก ารณ์ หมายถึ ง
                                                                       ความสามารถในการคิดคาดเหตุการณ์
                                                                       เวลา ทิ ศทาง และผลที่ อาจจะเกิด ขึ้ น
                                                                       โดยใช้ ค วามรู้ ประสบการณ์ จ ากการ
                                                                       อ่านสนับสนุนได้อย่างสมเหตุสมผล
                                                                       4.           สรุ ป ใจความส าคั ญ หมายถึ ง
                                                                       ความสามารถในการจับใจความสาคัญ
                                                                       จากการอ่านที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน
                                                                       5. ข้อคิด หมายถึง ความสามารถในการ
                                                                       สรุปแนวคิดและแปลเจตนาของผู้เขียน
                                                                       เรื่ อ งที่ อ่ าน และเขีย นสรุ ป เรื่ อ งที่ อ่ า น
                                                                       ด้วยการใช้ถ้อยคาภาษาของตนเอง
                                                                       6. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน หมายถึง
                                                                       น าข้ อ มู ล เรื่ อ งราว ข้ อ คิ ด ต่ า งๆ ไป
                                                                       ประยุกต์ใช้ โดยเลือกให้เป็นประโยชน์
                                                                       ในการด าเนิ น ชี วิต ทั้ง ในการตั ดสิ น ใจ
                                                                       การแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับเหตุการณ์
                                                                       และระดับชั้นเรียน
                                                                       7. วิเคราะห์ หมายถึง แยกข้อเท็จจริง
                                                                       ความคิ ดเห็ น และส่ ว นประกอบต่ างๆ
ระดับชั้น   ความสามารถ                    คาสาคัญ
                         ในเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
                         8. สื่อสาร หมายถึง ความสามารถใน
                         การใช้ถ้อยคาภาษาอย่างถูกต้อง และ
                         เหมาะสมกับระดับชั้นเรียน เพื่อแสดง
                         ความรู้ในสิ่งได้อ่านให้คนอื่นเข้าใจตรง
                         ตามวัตถุประสงค์
                          9. ความคิดเห็น หมายถึง ความคิดที่
                         เกิ ด ขึ้ น จากข้ อ ความที่ อ่ า น โดยใช้
                         กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเหมาะสม
                         กั บ วั ย แ ล ะ พื้ น ฐ า น ค ว า ม รู้ แ ล ะ
                         ประสบการณ์ของนักเรียนแต่ละคน
                         10. สร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถ
                         ในการสื่อสารที่แสดงถึงความสามารถ
                         ด้านภาษาของนักเรียน สมเหตุสมผล
                         และเป็นความคิดที่แปลกใหม่ มีคุณค่า
ตัวอย่างเครื่องมือ
ความสามารถด้านภาษา             ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม
นาไปใช้                                             อึ่งอ่างตัวหนึ่งอาศัยอยู่ริมบึง มันนึกว่าตัวเองเก่งกว่าใคร ๆ
                                             วันหนึ่งอึ่งอ่างขึ้นมานอนหน้าบึ ง ผึ่งแดดอยู่ริมบึง มันได้ยินเสียงผึ้ง
ตัวชี้วัด 5. นาข้อคิดที่ได้จากเรื่อง         บินมา อึ่งอ่างอยากสู้กับผึ้งจึงดึงใบบัวมาบังตัว พอผึ้งมากินน้าที่ริม
ที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจาวัน                  บึ ง มั น ก็ แ ลบลิ้ น จะท าร้ า ยผึ้ ง ผึ้ ง รู้ ว่ า ถู ก อึ่ ง อ่ า งเล่ น งาน จึ ง ใช้
                                             เหล็ กในต่อย อึ่งอ่างรู้สึ กปวดลิ้นมาก มันส านึกผิ ดที่คิด ทาร้ายผึ้ ง
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร                        ผึ้งจึงช่วยดึงเหล็กในออกให้ อึ่งอ่างซาบซึ้งและไม่อวดเก่งอีกเลย
ภาษาไทยสาระที่ 1 การอ่าน
มฐ. ท 1.1 (ป. 3/5)
                                       คาถาม ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน สามารถนาไปใช้ในเรื่องใด
                                               1)    ถ้ามีภัยมาถึงตัวต้องยอมรับ
                                               2)    ถ้าจะสู้กับใครต้องมีความมั่นใจ
                                               3)    ถ้าถูกทาร้ายต้องป้องกันตัวเอง
                                               4)    ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข
                                       แนวการตอบ (เฉลย)
                                           4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข
                                       เกณฑ์ในการให้คะแนน
                                                     ตอบถูก ได้ 1 คะแนน
                                                     ตอบผิด ได้ 0 คะแนน
ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy)

          ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) หมายถึง ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคานวณ
ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
คาสาคัญ(Key characteristics)
          1. ทักษะการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่าง
ถูกต้อง คล่องแคล่ว
          2. ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ จานวนนับ เศษส่วน
ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิ ศ แผนผัง และขนาด
ของมุม ชนิดและสมบัติของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเนการ
เกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ
          3. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการนาความรู้ทางคณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิ ตประจาวัน ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย
วิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยง
ความรู้และการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ระดับความสามารถชั้นปี
     ระดับชั้น                      ความสามารถ                                      ตัวชี้วัด
ประถมศึกษาปีที่ 3 ความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการ                   1. สามารถนาการบวก การลบ การคูณ
                  ทางคณิตศาสตร์โดยเน้นการสื่อสาร การสื่อ             การหารและการบวก ลบ คูณ หาร
                  ความหมายทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา                  ระคน ของจานวนนับไปใช้ในการ
                  โดยวิธีการที่หลากหลาย และการให้เหตุผล              แก้ปัญหาโดยวิธีการที่หลากหลาย
                  ในเรื่องจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์            2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไป
                  การเปรียบเทียบและคาดคะเน (ความยาว                  ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้
                  น้ าหนั ก ปริ ม าตร หรื อ ความจุ ) เงิ น และ       ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
                  เวลา การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติ               ในการสื่อสาร การสื่อความหมายได้
                  ที่เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ             อย่างถูกต้อง มีการให้เหตุผล การ
                  แบบรู ป และความสั มพั นธ์ การอ่ านข้อ มู ล         เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม
                  จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง และนา               สอดคล้อง กับชีวิตประจาวัน
                  ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น
                  สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน

                      ขอบข่ายการสร้างข้อคาถาม
                      1. การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
                      100,000
                      2. การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน100,000
                      3. การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนไม่เกิน
                      สี่หลัก
                      4. การหารที่ตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมี
ระดับชั้น                 ความสามารถ                     ตัวชี้วัด
            หนึ่งหลัก
            5. การบวก ลบ คูณ หารระคน
            6. การเปรียบเทียบและคาดคะเนความยาว
            น้าหนัก ปริมาตร และความจุ เงิน และ
            เวลา
            7. การอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
            กิจกรรม หรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา
            8. การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่
            เป็น
            ส่วนประกอบของ รูปเรขาคณิตสามมิติ
            9. แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ
            4 ทีละ 25 ทีละ 50
            10. แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ
            4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50
            11. แบบรูปซ้า
            12. แบบรูปของรูปที่มีรูปร่างขนาด หรือสีที่
            สัมพันธ์กันสองลักษณะ
            13. การอ่านแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิ
            แท่ง
ตัวอย่างเครื่องมือ
                              ความสามารถด้านคานวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม/                    คาชี้แจง จากข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 3 – 4
ทักษะกระบวนการ                       คุณครูให้โหน่ง หม่า และ เท่ง เลือกจานวนเต็มคนละ 6 จานวน
- วิเคราะห์                          ได้ผลการเลือกดังนี้
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
– จานวนนับ การหาร                                                              จำนวนที่เลือกได้
ทักษะกระบวนการทาง                                                                12 16 4
คณิตศาสตร์
– ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง                                                      18 10 20
   คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน
   สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง               โหน่ง
   กับชีวิตประจาวัน
– ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ                                                    จำนวนที่เลือกได้
   แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์                                                          10 40 30
– ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
                                                                                  70 20 60
   คณิตศาสตร์ในการสื่อ
   ความหมายทางคณิตศาสตร์                        หม่า
– เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
   คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
   คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
                                                                                จำนวนที่เลือกได้
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร
ค 1.2 ป.3/1                                                                       35 10 25
ค 6.1 ป.3/1 - 5                                                                   50 45 40

                                               เท่ง
                                    1. จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดสรุปเกี่ยวกับจานวนที่โหน่งเลือก ได้ถูกต้อง
                                         1) เป็นจานวนที่ 2 และ 5 หารลงตัว
                                         2) เป็นจานวนที่หารด้วย 5 ลงตัว
                                         3) เป็นจานวนที่ 2 หารลงตัว
                                         4) เป็นจานวนที่ 3 หารไม่ลงตัว
                                 เฉลย 3)
                                 เกณฑ์การให้คะแนน
                                     ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน

                                 2. จานวนที่เลือกได้ทุกจานวนของใคร ที่หารด้วย 5 และ 10 ลงตัว
ระดับพฤติกรรม/                          1) หม่า
ทักษะกระบวนการ                          2) เท่ง
- วิเคราะห์                             3) หม่า กับ โหน่ง
คาอธิบายขยายความ                        4) เท่ง กับ โหน่ง
ทักษะทางการคิดคานวณ              เฉลย 1)
– การหาร
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เกณฑ์การให้คะแนน
– จานวนนับ การหาร                   ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน
ทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
– ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง
   คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน
   สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
   กับชีวิตประจาวัน
– ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
   แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
– ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
   คณิตศาสตร์ในการสื่อ
   ความหมายทางคณิตศาสตร์
– เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
   คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
   คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร
ค 1.2 ป.3/1
ค 6.1 ป.3/1 - 5
ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning ability)

         ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้
และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดาเนิน
ชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูล
สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม

ระดับความสามารถชั้นปี
     ระดับชั้น                        ความสามารถ                                          ตัวชี้วัด
ประถมศึกษาปีที่ ๓ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และ                   1. วิเคราะห์ด้วยการเปรียบเทียบข้อมูล
                  ประสบการณ์ และประสบการณ์ ด้ า น                       สถานการณ์ หรื อ สารสนเทศโดยใช้
                  วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า น   ค ว า ม รู้ ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
                  สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการ                  สิ่ ง แวดล้ อม ด้ า นสั ง คมและเศรษฐกิ จ
                  ดาเนิ น ชีวิ ต โดยการวิ เคราะห์ สั งเคราะห์           และด้านการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล
                  ประเมิ น ค่ า (การเปรี ย บเที ย บ จั ด กลุ่ ม         2. จั ด กลุ่ ม ข้ อ มู ล สถานการณ์ หรื อ
                  วางแผน เลื อ กแนวทาง) แก้ ปั ญ หาหรื อ                ส า ร ส น เ ท ศ โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น
                  ตั ด สิ น ใจอย่ า งมี ห ลั ก การและเหตุ ผ ล บน        วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม
                  พื้ น ฐ า น ข อ ง ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ   และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต
                  สารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรม                  อย่างมีเหตุผล
                  และจริยธรรม                                           3 . น า ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ
                  ขอบข่ายสิ่งเร้า/สาระการเรียนรู้                       สารสนเทศมาวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ใน
                  - การจัดการอารมณ์และความเครียดของ                     ก า ร ว า ง แ ผ น โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น
                     ตนเอง                                              วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม
                  - การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค                 และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต
                  - ความปลอดภัยในชีวิต                                  อย่างมีเหตุผล
                  - การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง                   4. วิ เ คราะห์ แ ละก าหนดปั ญ หาและ
                  - บุคลิกภาพ                                           สามารถหาแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างมี
                  - ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว                               ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เลือกใช้
                  - การสร้างสัมพันธภาพที่ดี                             ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศใน
                  - วิถีประชาธิปไตย                                     การตัดสินใจและ/หรือแก้ปัญหา โดยใช้
                  - ศาสนาที่ตนเองนับถือ                                 ค ว า ม รู้ ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
                  - การอยู่ร่วมกันในความหลากหลายของ                     สิ่ ง แวดล้ อม ด้ า นสั ง คมและเศรษฐกิ จ
                     ศาสนา                                              และด้านการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล
                  - มารยาทไทย ภาษา การแต่งกาย
                  - มรรยาทชาวพุทธและศาสนาที่ตนนับถือ
                  - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านภาษา
                     การแต่งกาย และทักษะทางสังคม
                  - ปัญหาสังคมที่ส่งผลต่อการอยู่ร่วมกัน
                  - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อร่างกาย อารมณ์
ระดับชั้น                 ความสามารถ                       ตัวชี้วัด
            - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคมชุมชน
              ประเทศชาติ
            - เศรษฐกิจพอเพียง (การใช้จ่าย การออม
               การเลือก การใช้สินค้า บริการ อย่าง
               เหมาะสม)
            - วิถีทางที่ทาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีด้านการ
               ใช้ทรัพยากร ด้านการปฏิบัติตน ด้าน
               การใช้จ่าย
            - ลาดับเหตุการณ์สาคัญที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต
               (การเลือกตั้งในท้องถิ่น)
            - ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดมีผลต่อ
              การผลิต การบริโภคและการบริการ
              ในครอบครัว
            - ความเหมือน ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
              ขนบธรรมเนียมประเพณี
            - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านสังคม
            - เห็นคุณค่าและยอมรับความหลากหลาย
              ทางวัฒนธรรม
            - ผลการแข่งขันทางการค้าเสรี
            - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
            - ลมฟ้าอากาศ
            - ธรณีพิบัติภัย
            - ทรัพยากรธรรมชาติ
            - สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
            - การขยายพันธุ์พืชและสัตว์
            - พันธุกรรม
            - วัสดุ แรง เสียง
            - ทิศ
            - ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
            - กลางวัน กลางคืน
            - การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ ในการ
            ดารงชีวิต
            - ความแตกต่างของเมืองและชนบท
            - มลพิษที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์
            - การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมจากอดีต
            ถึงปัจจุบัน
            - การดารงชีวิตในยุคเทคโนโลยี
            - การผลิตและการใช้ไฟฟ้า
ตัวอย่างเครื่องมือ
ความสามารถด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม/ทักษะ
กระบวนการ
การนาไปใช้                                   เกษตรกร กล่าวว่า การนาข้าวเปลือกมาตากไว้ริมคลอง
                                   ชลประทาน ก่อนส่งขายจะได้ราคาดี และถ้าไม่มีคนเฝ้า ข้าวเปลือก
ตัวชี้วัด                          อาจถูกฝน และขายไม่ได้ราคา พวกเขาและครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยน
3. นาข้อมูล สถานการณ์ หรือ         กันนอนเฝ้าข้าวที่ตากจนกว่าข้าวจะแห้ง
สารสนเทศมาวิเคราะห์
ประยุกต์ใช้ในการวางแผน โดย                                      ปรับมาจากผู้จัดการออนไลน์ 15 พฤศจิกายน 55
ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและ
เศรษฐกิจ และด้านการดาเนิน         1. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่สุดที่เกษตรกรครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยนกัน
ชีวิตอย่างมีเหตุผล                   นอนเฝ้าข้าวที่ตาก
                                               1) ต้องการขายข้าวได้เร็วขึ้น
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร                          2) ต้องการให้ทุกคนทาหน้าที่
ทักษะชีวิต                                     3) ต้องการขายข้าวให้ได้ราคาสูง
                                               4) ต้องการให้ได้ข้าวเปลือกที่มีคุณภาพ

                                  เฉลย 3)

                                  เกณฑ์การให้คะแนน
                                     ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน




                     *******************************************************************

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทานThanit Lawyer
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์เล็ก เล็ก
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจSomboon Srihawong
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 

Was ist angesagt? (19)

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 

Andere mochten auch (6)

O-NET _55
O-NET _55O-NET _55
O-NET _55
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
ข้อสอบPre nt ภาษาไทย
ข้อสอบPre nt ภาษาไทยข้อสอบPre nt ภาษาไทย
ข้อสอบPre nt ภาษาไทย
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
ป.3
ป.3ป.3
ป.3
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 

Ähnlich wie NT'55 Nationnal Test

เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้โรงเรียน วัดวังเย็น
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 

Ähnlich wie NT'55 Nationnal Test (20)

เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
กระบวนการค ด
กระบวนการค ดกระบวนการค ด
กระบวนการค ด
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 

Mehr von เมืองชุมพรบ้านเขาถล่ม ชุมพร

Mehr von เมืองชุมพรบ้านเขาถล่ม ชุมพร (10)

แบบประเมินเฟส 2
แบบประเมินเฟส 2แบบประเมินเฟส 2
แบบประเมินเฟส 2
 
แบบประเมินเฟส 2
แบบประเมินเฟส 2แบบประเมินเฟส 2
แบบประเมินเฟส 2
 
แนวปฏิบัติการเลื่อนเงินเดือนของ ก.ค.ศ.
แนวปฏิบัติการเลื่อนเงินเดือนของ ก.ค.ศ.แนวปฏิบัติการเลื่อนเงินเดือนของ ก.ค.ศ.
แนวปฏิบัติการเลื่อนเงินเดือนของ ก.ค.ศ.
 
แบบพิมพ์ปพ
แบบพิมพ์ปพแบบพิมพ์ปพ
แบบพิมพ์ปพ
 
คำอธิบายการกรอกปพ.
คำอธิบายการกรอกปพ.คำอธิบายการกรอกปพ.
คำอธิบายการกรอกปพ.
 
คำสั่งปพ.
คำสั่งปพ.คำสั่งปพ.
คำสั่งปพ.
 
หนังสือนำประถมมัธยม
หนังสือนำประถมมัธยมหนังสือนำประถมมัธยม
หนังสือนำประถมมัธยม
 
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษาราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา
 
ประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล
ประเมินโรงเรียนดีศรีตำบลประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล
ประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล
 
ความจริงแห่งชีวิต
ความจริงแห่งชีวิตความจริงแห่งชีวิต
ความจริงแห่งชีวิต
 

NT'55 Nationnal Test

  • 1. นิยาม / เครื่องมือการประเมิน ความสามารถด้านภาษา(Literacy) ความสามารถด้านภาษา (Literacy) หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุ ป สาระส าคั ญจากเรื่ อ งที่อ่ าน ประเมิน ค่ าสิ่ ง ที่อ่า นจากสื่ อประเภทต่า งๆ นาความรู้และข้อคิ ดไปใช้ใ น ชีวิตประจาวัน สื่อสารเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ คาสาคัญ(Key characteristics) 1. ความสามารถในการอ่าน หมายถึง พฤติกรรมการรู้ ความเข้าใจ การสรุปสาระสาคัญ การวิเคราะห์ และการประเมินสิ่งที่ได้จากการอ่าน 2. รู้ หมายถึง การบอกความหมาย เรื่องราว ข้อเท็จจริง และเหตุการณ์ต่างๆ 3. เข้าใจ หมายถึง การแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปอ้างอิง 4. สรุ ป สาระส าคัญ หมายถึง การสรุ ปใจความส าคั ญของเนื้อ เรื่ อ งได้อ ย่ างสั้ น ๆ กระชับ และ ครอบคลุม 5. วิเคราะห์ หมายถึง การแยกแยะเรื่องราว ข้อเท็จจริง เหตุผล ข้อคิดเห็น คุณค่า และส่วนประกอบ อื่น ๆ 6. ประเมินค่า หมายถึง การตัดสินความถูกต้ อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณค่า ตามเกณฑ์ที่ กาหนด 7. สื่อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่งที่นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ทั้งที่ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อยกรอง และสาระความรู้จากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ 8. น าความรู้ แ ละข้ อคิด ไปใช้ ใ นชีวิตประจาวัน หมายถึ ง การเลื อกนาความรู้ ความเข้าใจ สาระสาคัญ ความคิด และข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และประเมินค่า ไปใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญ หา การตัดสินใจ หรือตามจุดมุ่งหมายอันเป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิต 9. ภาษาพูด หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ เป็นกันเองและสุภาพ เหมาะสมโดย คานึงถึงฐานะของบุคคล 10. ภาษาเขียน หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างเป็นทางการ โดยเลือกใช้คาที่เหมะสมกับบุคคล สถานการณ์ และคานึงถึงความถูกต้องตามหลักภาษา 11. สื่อสาร หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิด จากการอ่าน โดยการบอกเล่า หรือเขียน อธิบาย วิเคราะห์ หรือประเมินค่า 12. สร้างสรรค์ หมายถึง การใช้ภาษาพูดหรืกภาษาเขียนจากการอ่า แสดงความรู้และความคิด ใหม่ ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่สูงกว่าเดิม 13. วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทาความเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล โดย อาศัยประสบการณ์ พิจารณา ตัดสินเรื่องที่อ่านด้วยความรอบคอบ
  • 2. ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถ คาสาคัญ ประถมศึกษาปีที่ ๓ สามารถอธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน 1. อธิ บ ายความหมายจากเรื่ อ งที่ อ่ า น ในสื่ อประเภทต่างๆ คาดคะเนเหตุการณ์ หมายถึ ง ความสามารถในการขยาย สรุ ป เรื่ องราว และข้อคิ ดจากการอ่ านเพื่ อ เพิ่มเติมความรู้ หรือข้อคิดเห็นที่ได้จาก นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ และ การอ่านเรื่องที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน สื่ อ สารแสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ างถู ก ต้ อ ง และตามความสนใจของนักเรียน โดย เหมาะสม และสร้างสรรค์ การตอบคาถามด้วยการเขียนหรื อด้วย ตัวชี้วัด วิธีการสื่อสารอื่นๆ ได้อย่างถูกต้องและ ๑. อธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน ชัดเจน ๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อาน 2. สื่อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่ งที่ ๓. สรุปเรื่องราวและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบ ๔. วิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้อง เห็ น ในชี วิ ต ประจ าวั น ทั้ ง ที่ เ ป็ น สื่ อ ๕. นาข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่านไปใช้ใน สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง ชีวิตประจาวัน นาเสนอข่ าวและเหตุก ารณ์ ป ระจ าวั น 6. สื่อสารความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านอย่าง นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อ ย มีเหตุผลและสร้างสรรค์ กรอง และสาระความรู้จากบทเรียนใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่นๆ 3. คาดคะเนเหตุ ก ารณ์ หมายถึ ง ความสามารถในการคิดคาดเหตุการณ์ เวลา ทิ ศทาง และผลที่ อาจจะเกิด ขึ้ น โดยใช้ ค วามรู้ ประสบการณ์ จ ากการ อ่านสนับสนุนได้อย่างสมเหตุสมผล 4. สรุ ป ใจความส าคั ญ หมายถึ ง ความสามารถในการจับใจความสาคัญ จากการอ่านที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน 5. ข้อคิด หมายถึง ความสามารถในการ สรุปแนวคิดและแปลเจตนาของผู้เขียน เรื่ อ งที่ อ่ าน และเขีย นสรุ ป เรื่ อ งที่ อ่ า น ด้วยการใช้ถ้อยคาภาษาของตนเอง 6. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน หมายถึง น าข้ อ มู ล เรื่ อ งราว ข้ อ คิ ด ต่ า งๆ ไป ประยุกต์ใช้ โดยเลือกให้เป็นประโยชน์ ในการด าเนิ น ชี วิต ทั้ง ในการตั ดสิ น ใจ การแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับเหตุการณ์ และระดับชั้นเรียน 7. วิเคราะห์ หมายถึง แยกข้อเท็จจริง ความคิ ดเห็ น และส่ ว นประกอบต่ างๆ
  • 3. ระดับชั้น ความสามารถ คาสาคัญ ในเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง 8. สื่อสาร หมายถึง ความสามารถใน การใช้ถ้อยคาภาษาอย่างถูกต้อง และ เหมาะสมกับระดับชั้นเรียน เพื่อแสดง ความรู้ในสิ่งได้อ่านให้คนอื่นเข้าใจตรง ตามวัตถุประสงค์ 9. ความคิดเห็น หมายถึง ความคิดที่ เกิ ด ขึ้ น จากข้ อ ความที่ อ่ า น โดยใช้ กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเหมาะสม กั บ วั ย แ ล ะ พื้ น ฐ า น ค ว า ม รู้ แ ล ะ ประสบการณ์ของนักเรียนแต่ละคน 10. สร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถ ในการสื่อสารที่แสดงถึงความสามารถ ด้านภาษาของนักเรียน สมเหตุสมผล และเป็นความคิดที่แปลกใหม่ มีคุณค่า
  • 4. ตัวอย่างเครื่องมือ ความสามารถด้านภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม นาไปใช้ อึ่งอ่างตัวหนึ่งอาศัยอยู่ริมบึง มันนึกว่าตัวเองเก่งกว่าใคร ๆ วันหนึ่งอึ่งอ่างขึ้นมานอนหน้าบึ ง ผึ่งแดดอยู่ริมบึง มันได้ยินเสียงผึ้ง ตัวชี้วัด 5. นาข้อคิดที่ได้จากเรื่อง บินมา อึ่งอ่างอยากสู้กับผึ้งจึงดึงใบบัวมาบังตัว พอผึ้งมากินน้าที่ริม ที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจาวัน บึ ง มั น ก็ แ ลบลิ้ น จะท าร้ า ยผึ้ ง ผึ้ ง รู้ ว่ า ถู ก อึ่ ง อ่ า งเล่ น งาน จึ ง ใช้ เหล็ กในต่อย อึ่งอ่างรู้สึ กปวดลิ้นมาก มันส านึกผิ ดที่คิด ทาร้ายผึ้ ง อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ผึ้งจึงช่วยดึงเหล็กในออกให้ อึ่งอ่างซาบซึ้งและไม่อวดเก่งอีกเลย ภาษาไทยสาระที่ 1 การอ่าน มฐ. ท 1.1 (ป. 3/5) คาถาม ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน สามารถนาไปใช้ในเรื่องใด 1) ถ้ามีภัยมาถึงตัวต้องยอมรับ 2) ถ้าจะสู้กับใครต้องมีความมั่นใจ 3) ถ้าถูกทาร้ายต้องป้องกันตัวเอง 4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข แนวการตอบ (เฉลย) 4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข เกณฑ์ในการให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิด ได้ 0 คะแนน
  • 5. ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) หมายถึง ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคานวณ ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน คาสาคัญ(Key characteristics) 1. ทักษะการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่าง ถูกต้อง คล่องแคล่ว 2. ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ จานวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิ ศ แผนผัง และขนาด ของมุม ชนิดและสมบัติของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเนการ เกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ 3. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิ ตประจาวัน ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย วิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้และการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด ประถมศึกษาปีที่ 3 ความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการ 1. สามารถนาการบวก การลบ การคูณ ทางคณิตศาสตร์โดยเน้นการสื่อสาร การสื่อ การหารและการบวก ลบ คูณ หาร ความหมายทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา ระคน ของจานวนนับไปใช้ในการ โดยวิธีการที่หลากหลาย และการให้เหตุผล แก้ปัญหาโดยวิธีการที่หลากหลาย ในเรื่องจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ 2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไป การเปรียบเทียบและคาดคะเน (ความยาว ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ น้ าหนั ก ปริ ม าตร หรื อ ความจุ ) เงิ น และ ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เวลา การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติ ในการสื่อสาร การสื่อความหมายได้ ที่เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ อย่างถูกต้อง มีการให้เหตุผล การ แบบรู ป และความสั มพั นธ์ การอ่ านข้อ มู ล เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง และนา สอดคล้อง กับชีวิตประจาวัน ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ขอบข่ายการสร้างข้อคาถาม 1. การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 2. การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน100,000 3. การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนไม่เกิน สี่หลัก 4. การหารที่ตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมี
  • 6. ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด หนึ่งหลัก 5. การบวก ลบ คูณ หารระคน 6. การเปรียบเทียบและคาดคะเนความยาว น้าหนัก ปริมาตร และความจุ เงิน และ เวลา 7. การอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย กิจกรรม หรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา 8. การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่ เป็น ส่วนประกอบของ รูปเรขาคณิตสามมิติ 9. แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 10. แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50 11. แบบรูปซ้า 12. แบบรูปของรูปที่มีรูปร่างขนาด หรือสีที่ สัมพันธ์กันสองลักษณะ 13. การอ่านแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิ แท่ง
  • 7. ตัวอย่างเครื่องมือ ความสามารถด้านคานวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม/ คาชี้แจง จากข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 3 – 4 ทักษะกระบวนการ คุณครูให้โหน่ง หม่า และ เท่ง เลือกจานวนเต็มคนละ 6 จานวน - วิเคราะห์ ได้ผลการเลือกดังนี้ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ – จานวนนับ การหาร จำนวนที่เลือกได้ ทักษะกระบวนการทาง 12 16 4 คณิตศาสตร์ – ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง 18 10 20 คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โหน่ง กับชีวิตประจาวัน – ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ จำนวนที่เลือกได้ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 10 40 30 – ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง 70 20 60 คณิตศาสตร์ในการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ หม่า – เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ จำนวนที่เลือกได้ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ค 1.2 ป.3/1 35 10 25 ค 6.1 ป.3/1 - 5 50 45 40 เท่ง 1. จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดสรุปเกี่ยวกับจานวนที่โหน่งเลือก ได้ถูกต้อง 1) เป็นจานวนที่ 2 และ 5 หารลงตัว 2) เป็นจานวนที่หารด้วย 5 ลงตัว 3) เป็นจานวนที่ 2 หารลงตัว 4) เป็นจานวนที่ 3 หารไม่ลงตัว เฉลย 3) เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน 2. จานวนที่เลือกได้ทุกจานวนของใคร ที่หารด้วย 5 และ 10 ลงตัว ระดับพฤติกรรม/ 1) หม่า ทักษะกระบวนการ 2) เท่ง - วิเคราะห์ 3) หม่า กับ โหน่ง คาอธิบายขยายความ 4) เท่ง กับ โหน่ง
  • 8. ทักษะทางการคิดคานวณ เฉลย 1) – การหาร ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เกณฑ์การให้คะแนน – จานวนนับ การหาร ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ – ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับชีวิตประจาวัน – ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ – ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ – เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ค 1.2 ป.3/1 ค 6.1 ป.3/1 - 5
  • 9. ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning ability) ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดาเนิน ชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด ประถมศึกษาปีที่ ๓ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และ 1. วิเคราะห์ด้วยการเปรียบเทียบข้อมูล ประสบการณ์ และประสบการณ์ ด้ า น สถานการณ์ หรื อ สารสนเทศโดยใช้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า น ค ว า ม รู้ ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการ สิ่ ง แวดล้ อม ด้ า นสั ง คมและเศรษฐกิ จ ดาเนิ น ชีวิ ต โดยการวิ เคราะห์ สั งเคราะห์ และด้านการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล ประเมิ น ค่ า (การเปรี ย บเที ย บ จั ด กลุ่ ม 2. จั ด กลุ่ ม ข้ อ มู ล สถานการณ์ หรื อ วางแผน เลื อ กแนวทาง) แก้ ปั ญ หาหรื อ ส า ร ส น เ ท ศ โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น ตั ด สิ น ใจอย่ า งมี ห ลั ก การและเหตุ ผ ล บน วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม พื้ น ฐ า น ข อ ง ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต สารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรม อย่างมีเหตุผล และจริยธรรม 3 . น า ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ ขอบข่ายสิ่งเร้า/สาระการเรียนรู้ สารสนเทศมาวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ใน - การจัดการอารมณ์และความเครียดของ ก า ร ว า ง แ ผ น โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น ตนเอง วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม - การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต - ความปลอดภัยในชีวิต อย่างมีเหตุผล - การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง 4. วิ เ คราะห์ แ ละก าหนดปั ญ หาและ - บุคลิกภาพ สามารถหาแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างมี - ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เลือกใช้ - การสร้างสัมพันธภาพที่ดี ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศใน - วิถีประชาธิปไตย การตัดสินใจและ/หรือแก้ปัญหา โดยใช้ - ศาสนาที่ตนเองนับถือ ค ว า ม รู้ ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ - การอยู่ร่วมกันในความหลากหลายของ สิ่ ง แวดล้ อม ด้ า นสั ง คมและเศรษฐกิ จ ศาสนา และด้านการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล - มารยาทไทย ภาษา การแต่งกาย - มรรยาทชาวพุทธและศาสนาที่ตนนับถือ - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านภาษา การแต่งกาย และทักษะทางสังคม - ปัญหาสังคมที่ส่งผลต่อการอยู่ร่วมกัน - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อร่างกาย อารมณ์
  • 10. ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคมชุมชน ประเทศชาติ - เศรษฐกิจพอเพียง (การใช้จ่าย การออม การเลือก การใช้สินค้า บริการ อย่าง เหมาะสม) - วิถีทางที่ทาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีด้านการ ใช้ทรัพยากร ด้านการปฏิบัติตน ด้าน การใช้จ่าย - ลาดับเหตุการณ์สาคัญที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต (การเลือกตั้งในท้องถิ่น) - ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดมีผลต่อ การผลิต การบริโภคและการบริการ ในครอบครัว - ความเหมือน ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านสังคม - เห็นคุณค่าและยอมรับความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม - ผลการแข่งขันทางการค้าเสรี - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ลมฟ้าอากาศ - ธรณีพิบัติภัย - ทรัพยากรธรรมชาติ - สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต - การขยายพันธุ์พืชและสัตว์ - พันธุกรรม - วัสดุ แรง เสียง - ทิศ - ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ - กลางวัน กลางคืน - การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ ในการ ดารงชีวิต - ความแตกต่างของเมืองและชนบท - มลพิษที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมจากอดีต ถึงปัจจุบัน - การดารงชีวิตในยุคเทคโนโลยี - การผลิตและการใช้ไฟฟ้า
  • 11. ตัวอย่างเครื่องมือ ความสามารถด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม/ทักษะ กระบวนการ การนาไปใช้ เกษตรกร กล่าวว่า การนาข้าวเปลือกมาตากไว้ริมคลอง ชลประทาน ก่อนส่งขายจะได้ราคาดี และถ้าไม่มีคนเฝ้า ข้าวเปลือก ตัวชี้วัด อาจถูกฝน และขายไม่ได้ราคา พวกเขาและครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยน 3. นาข้อมูล สถานการณ์ หรือ กันนอนเฝ้าข้าวที่ตากจนกว่าข้าวจะแห้ง สารสนเทศมาวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ในการวางแผน โดย ปรับมาจากผู้จัดการออนไลน์ 15 พฤศจิกายน 55 ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ และด้านการดาเนิน 1. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่สุดที่เกษตรกรครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยนกัน ชีวิตอย่างมีเหตุผล นอนเฝ้าข้าวที่ตาก 1) ต้องการขายข้าวได้เร็วขึ้น อิงมาตรฐานตามหลักสูตร 2) ต้องการให้ทุกคนทาหน้าที่ ทักษะชีวิต 3) ต้องการขายข้าวให้ได้ราคาสูง 4) ต้องการให้ได้ข้าวเปลือกที่มีคุณภาพ เฉลย 3) เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน *******************************************************************