SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
การนาเสนอความก้าวหน้าในการทา
วิทยานิพนธ์ ครั้งที่ 5
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูสอนวิชาชีพด้วยวิธีผสมผสาน
เพื่อพัฒนารูปแบบชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง
ผู้เสนอ
นางสาวสิริลักษณ์ ศรีธิธง
G-DVTM 53B
อาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. สบสันติ์ อุตกฤษฎ์
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
รองศาสตราจารย์ ดร. มนต์ชัย เทียนทอง
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
การดาเนินการที่ผ่านมา
วิธีดาเนินการวิจัย
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา / รวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นศึกษาสภาพและปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 4 Focus Group
ขั้นตอนที่ 5 พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 6 ทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม (Try Out)
ขั้นตอนที่ 7 นาหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้จริง (Implement)
ขั้นตอนที่ 8 ติดตามผล
1. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา / รวบรวมข้อมูล
2. การฝึกอบรมด้วยวิธีผสมผสาน
3. ครูสอนวิชาชีพ
5. ชุดการเรียนซ่อมเสริม
6. ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. ระบบ รูปแบบการเรียนการสอนในปัจจุบัน
แบบสอบถาม แบ่งออกเป็ น 3 ชุด ได้แก่
ชุดที่ 1 สอบถามผู้บริหาร / รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
ชุดที่ 2 สอบถามหัวหน้าแผนกวิชาช่างอุตสาหกรรม
ชุดที่ 3 สอบถามครูผู้สอนวิชาชีพช่างอุตสาหกรรม
การศึกษาสภาพ ปัญหา/ความต้องการจาเป็ น
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูสอนวิชาชีพด้วยวิธีผสมผสาน
เพื่อสร้างชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นศึกษาสภาพและปัญหา
เก็บข้อมูลจากผู้บริหาร / หัวหน้าสาขาวิชาช่าง
อุตสาหกรรมและครูผู้สอนรายวิชาชีพ
ในสถานศึกษาสังกัดคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในเขต
17 จังหวัดภาคเหนือ จานวน 64 แห่ง ประกอบด้วย
- วิทยาลัยเทคนิค = 20 แห่ง
- วิทยาลัยสารพัดช่าง = 11 แห่ง
- วิทยาลัยการอาชีพ = 30 แห่ง
- วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ = 3 แห่ง
5 เดือนผ่านไป ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา = 42 แห่ง
คิดเป็ น 72.48 %
เก็บข้อมูลจากผู้บริหาร / หัวหน้าสาขาวิชาช่าง
อุตสาหกรรมและครูผู้สอนรายวิชาชีพ
ในสถานศึกษาสังกัด สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1
(ลาพูน เชียงใหม่ ลาปาง และ แม่ฮ่องสอน) จานวน 16 แห่ง
ประกอบด้วย
- วิทยาลัยเทคนิค = 5 แห่ง
- วิทยาลัยสารพัดช่าง = 2 แห่ง
- วิทยาลัยการอาชีพ = 8 แห่ง
- วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ = 1 แห่ง
เก็บข้อมูลจากผู้บริหาร / หัวหน้าสาขาวิชาช่าง
อุตสาหกรรมและครูผู้สอนรายวิชาชีพ
ผู้บริหาร 16 คน เก็บได้
16 คน
หัวหน้าสาขาวิชา 78 คน เก็บได้
69 คน
ครู 532 คน เก็บได้
457 คน
รวมทั้งสิ้น 626 คน เก็บได้
คิดเป็ น 86.581 %
ต้องการฝึกอบรมด้วยวิธีผสมผสาน ร้อยละ 43.98
คือ เรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(CAI)
และการฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ
ความต้องการของครูสอนวิชาชีพ
ต่อการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูสอนวิชาชีพด้วยวิธีผสมผสาน
เพื่อพัฒนารูปแบบชุดการเรียนซ่อมเสริม ด้วยตนเอง
ต้องการพัฒนารูปแบบชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง ร้อยละ
32.38 คือ โดยใช้รูปแบบเอกสาร / ตารา / ข้อความ
ถ้ามีการจัดโครงการฝึกอบรม ร้อยละ 98.24
ต้องการฝึกอบรม
การจัดเรียงลาดับระดับความรู้/ทักษะที่มีอยู่ในปัจจุบันและระดับความรู้/ทักษะที่ต้องการ
ฝึกอบรมเพิ่มเติมของครูสอนวิชาชีพต่อการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูสอนวิชาชีพด้วยวิธี
ผสมผสานเพื่อพัฒนารูปแบบชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง
หัวหข้อการจัดฝึกอบรม
ระดับความรู้/
ทักษะที่มีอยู่ใน
ปัจจุบัน( D )
ความต้องการ
เพิ่มเติมความรู้/
ทักษะ (I)
I-D/D ลาดับ
ที่
1. การวิเคราะห์ชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง 1.98 3.95 0.99 4
2. การจัดทาชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง 1.76 3.84 1.18 7
3. หลักการวิเคราะห์หัวข้อเรื่องของชุดการเรียนซ่อมเสริม
ด้วยตนเอง
1.83 3.85 1.10 5
4. การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.76 3.86 1.19 8
5. การเตรียมเอกสารชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง เช่น
การสร้างใบเนื้อหา การสร้างใบลาดับขั้นการปฏิบัติงาน
1.72 3.83 1.25 9
6. การออกแบบสื่อเพื่อสร้างชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง 1.80 3.87 1.15 6
7. การเตรียมเอกสารการวัดผลประเมินผล 1.93 3.77 0.95 3
8. การวางแผนการใช้ชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง 2.51 3.80 0.51 1
9. การออกแบบการจัดกิจกรรมชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วย
ตนเอง
1.67 4.06 1.43 10
10. การสร้างชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง 2.05 3.94 0.92 2
xx
ขั้นตอนที่ 3
วิเคราะห์(ร่าง)รูปแบบหลักสูตรฝึกอบรมด้วยวิธีผสมผสาน
เพื่อพัฒนารูปแบบชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง
แผนการดาเนินการต่อไป
ทาหนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินรูปแบบ
ดาเนินการ Focus Group
ปรับปรุงแก้ไขตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนา
ขั้นตอนที่ 4
Focus Group
จัดทาคู่มือประเมินรูปแบบ
1.ชุดฝึกอบรม เรื่อง รายละเอียดของชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนเอง
2.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การจัดทาชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนอง
3.ชุดฝึกอบรม เรื่อง คุณสมบัติของผู้เรียน (Target Population)
4.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การวิเคราะห์หัวข้อเรื่อง (Topic Analysis)
5.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การวิเคราะห์งาน (Job Analysis)
6.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral
Objective)
7.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบเนื้อหา (Information Sheet)
8.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ ( Test Sheet)
9.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบลาดับขั้นการปฏิบัติงาน ( Operation Sheet)
10.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบสั่งงาน (Job Sheet)
11.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบประเมินผลการปฏิบัติงาน (Evaluation
Sheet)
12.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การออกแบบและสร้างสื่อการสอน (Teaching Aids)
13.ชุดฝึกอบรม เรื่อง ทฤษฎีการเรียนรู้และวิธีการสอน (Teaching Method)
ปัจจุบันได้ศึกษา การสร้างชุดฝึกอบรม
จัดเตรียมข้อมูล ที่จะสร้างชุดฝึกอบรมแบบผสมผสาน
- สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
1.ชุดฝึกอบรม เรื่อง รายละเอียดของชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วย
ตนเอง
2.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การจัดทาชุดการเรียนซ่อมเสริมด้วยตนอง
3.ชุดฝึกอบรม เรื่อง คุณสมบัติของผู้เรียน
ปัจจุบันได้ศึกษา
จัดเตรียมข้อมูล ที่จะสร้างชุดฝึกอบรมแบบผสมผสาน
- ในห้องปฏิบัติการ
4.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การวิเคราะห์หัวข้อเรื่อง
5.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การวิเคราะห์งาน
6.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
7.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบเนื้อหา
8.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
9.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบลาดับขั้นการปฏิบัติงาน
10.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบสั่งงาน
11.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การสร้างใบประเมินผลการปฏิบัติงาน
12.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การออกแบบและสร้างสื่อการสอน
13.ชุดฝึกอบรม เรื่อง ทฤษฎีการเรียนรู้และวิธีการสอน
14.ชุดฝึกอบรม เรื่อง การวางแผนการการเรียนซ่อมเสริมด้วย
ขอขอบพระคุณค่ะ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie นำเสนอ Colloquium ครั้งที่ 5

นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น Drnine Nan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7fernfielook
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
การอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนาการอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนาKomkai Pawuttanon
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9parkpoom11z
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Naruephon
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9benty2443
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9wanneemayss
 

Ähnlich wie นำเสนอ Colloquium ครั้งที่ 5 (20)

นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
นำเสนอลส.อบรมครูวิทย์ ม.ต้น
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
การอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนาการอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

นำเสนอ Colloquium ครั้งที่ 5