SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
~ 1 ~
~ 2 ~
สารบัญ
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 5
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11
วิสัยทัศน 12
คานิยมองคกร 12
พันธกิจ 13
วัตถุประสงค 13
เปาหมายหลัก 13
ยุทธศาสตร 14
ภารกิจ/บริการ 15
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 19
การปลูกยางพารา 19
การปลูก 20
การบํารุงรักษา 32
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45
การแปรรูปผลผลิต 47
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 53
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68
แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) 79
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 86
สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนง
หลักและทฤษฎีการสื่อสาร 93
ความเปนมาของการสื่อสาร 93
ความหมายของการสื่อสาร 94
หลักการสื่อสารที่สําคัญ 99
ความหมายของคําวา “มวลชน” 100
ความหมายของคําวา “การสื่อสาร” 101
กระบวนการสื่อสารมวลชน 103
กระบวนการสื่อสารมวลชน (Mass Communication Process) 107
ทฤษฎีการสื่อสารที่เกี่ยวของ 116
แนวคิดทฤษฎีผูกรองสาร (Gatekeeper Theory) 117
แนวคิดทฤษฎีการใชสื่อเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ 118
แนวคิดทฤษฎีการเลน 119
ระบบการสื่อสารมวลชน 120
ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีเสรีนิยม 122
ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีโซเวียตคอมมิวนิสต 123
ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีความรับผิดชอบตอสังคม 124
ความรูเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ มวลชนสัมพันธ 128
ความหมายของการประชาสัมพันธ 128
~ 3 ~
ลักษณะสําคัญของการประชาสัมพันธ 131
องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธ 134
กลุมมวลชน (Publics) 136
การเขียนขาวประชาสัมพันธ 139
เอกสารประชาสัมพันธ 140
การสื่อสารทางสื่อมวลชน 143
แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน 143
การสื่อสารทางสื่อสิ่งพิมพ 144
ระบบการพิมพ 146
การเขียนบรรยายภาพขาว 149
องคประกอบของเหตุการณที่มีคุณคาทางขาว 150
ประเภทและชนิดของขาว 151
คุณสมบัติของขาวที่ดี 153
นโยบายดานขาวของหนังสือพิมพ 153
การรวบรวมขอมูลขาว 154
เทคนิคการเขียน 165
การจัดทํารายการวิทยุ 168
หลักการเขียนขาววิทยุ 181
การพาสื่อมวลชน/กลุมเปาหมายเยี่ยมชมกิจการ 181
หลักสําคัญในการสรางภาพลักษณที่ดีใหแกหนวยงาน 182
การสรางภาพลักษณขององคกรเปนหนาที่ของสมาชิกทุกคน 182
การใหขาวแกสื่อมวลชน 183
การเขียนบทสัมภาษณและการสัมภาษณผูบริหาร 185
การรวบรวมขอมูลขาวจากการสัมภาษณ 185
การใชอุปกรณในการรวบรวมขอมูลขาว 186
การจัดนิทรรศการ 188
การจัดแผนปาย 188
ประเภทของแผนปาย 188
เทคนิคการจัดทําแผนปาย 190
การจัดปายนิเทศ 190
การจัดปายนิเทศใหสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค 193
การกําหนดบริเวณวางในนิทรรศการ 194
การกําหนดทางเดินชมนิทรรศการ 195
การวางแผนเพื่อปฏิบัติงานประชาสัมพันธ 196
หลักการประชาสัมพันธ 196
วัตถุประสงคของการประชาสัมพันธ 198
หัวใจของการวางแผนงานประชาสัมพันธ 200
การวางแผนใหบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง 201
โครงสรางการเขียนขาวทุกประเภท 201
นักประชาสัมพันธและคุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ 203
สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 207
แนวขอสอบ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 215
พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 224
แนวขอสอบ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 233
แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 238
แนวขอสอบ นักวิชาการเผยแพร 250
~ 4 ~
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย.
ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง
การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ
ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง
หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา
ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง
วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ
การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน
ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ
นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย
หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน
และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ
คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน
ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย
ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ
นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ
ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี
หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน
โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505
หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให
ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก
ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน
พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ
บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก
คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง
ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
~ 5 ~
วิสัยทัศน
"มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน”
พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป
เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู
ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน
หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่
ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง
ใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา
ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ
เกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได
และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
~ 6 ~
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ
ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค
เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน
ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให
ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา
สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย
ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม
และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ
ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา
ในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง
ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง
ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร
เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน
วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4
ยุทธศาสตร ดังนี้
~ 7 ~
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
การปลูกยางพารา
การเตรียมพื้นที่
การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก
ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช
พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่
ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได
เปนตน
การวางแนวปลูก
การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย
กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม
การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง
แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ
ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น
เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ
หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได
ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได
- ปองกันการพังทลายของหนาดิน
- ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง
- ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย
- ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน
- งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน
ระยะปลูก
เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ
ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง
การเตรียมหลุมปลูก
~ 8 ~
การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด
เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170
กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต
แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)
สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม
เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน
มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี
การปลูก
วัสดุปลูกและวิธีการปลูก
วัสดุปลูก
วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2
ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช
ตนตอตา
ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก
ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม
นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว
ตนยางชําถุง
ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา
ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป
ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3
แถว ๆ ละ 5-7 รู
พันธุยาง
กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม
1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251
สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600
2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
~ 9 ~
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา
โรคตายยอด ( Die Back )
สาเหตุการเกิดโรค
1. เกิดจากเชื้อรา
2. เกิดจากปลูกในพื้นที่ที่สภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโต เชน ความ
อุดมสมบูรณของธาตุอาหารมีนอย หรือมากเกินไป หรือมีสารพิษตกคางในดิน หรือปลูกใน
สภาพที่เหมาะสมแกการเกิดโรค
ลักษณะอาการของโรคที่เกิด
กิ่งกาน หรือยอดแหงตายจากปลายกิ่ง หรือยอดเขาหาสวนโคนทีละนอยแลวลุกลาม
ไปจนถึงโคนตน ในที่สุดตนยางจะยืนตนตาย ถาอาการรุนแรงตนยางจะแหงตายตลอดทั้งตน
เปลือกลอนออกจากเนื้อไม มีเสนใยและสปอรของเชื้อราสีดํา หรือเชื้อราสีขาว เกิดขึ้นบริเวณ
เปลือกดานใน นอกจากนี้มีแบคทีเรียและไสเดือนฝอยอาศัยอยูทั่วไป ถาอาการไมรุนแรงตน
ยางมักแหงหรือตายเฉพาะกิ่งยอด สวนของลําตนหรือกิ่งกานที่ยังไมตายจะแตกแขนงออกมา
ใหม
ชวงเวลาและพื้นที่ที่เชื้อแพรระบาด
การแพรระบาดของโรคเปนไดตลอดปหากสภาพเหมาะสมตอการเกิดโรค โรคนี้มัก
เกิดขึ้นมากหลังเกิดสภาวะแหงแลง หรือภายหลังเกิดโรคตาง ๆ ระบาดอยางรุนแรง หรือพบ
ในสวนยางที่ปลูกในพื้นที่ดินทราย หรือบนพื้นที่ตามไหลเขาที่เปนโรคมักเกิดกับตนยางเล็ก
จนถึงยางที่เปดกรีดแลว
การปองกันกําจัด
1. หากเกิดจากการระบาดของโรค ใหปฏิบัติตามคําแนะนําของโรคนั้น ๆ และหมั่น
บํารุงรักษาตนยางใหแข็งแรงสมบูรณอยูเสมอ
2. หากเกิดจากสภาพสิ่งแวดลอม เชน กรณีที่สภาพดินเลวและแลงจัด ใหรดน้ําตาม
ความจําเปนแลวใชวัสดุคลุมโคนตนเพื่อชวยรักษาความชุมชื้น
3. การใชปุยและสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช ควรปฏิบัติตามคําแนะนําอยาง
เครงครัด
4. กรณีที่กิ่งหรือยอดแหงตายลงมา ใหตัดกิ่งหรือยอดที่ตายออก โดยใหตัดต่ํากวา
รอยแผลลงมาประมาณ 1-2 นิ้ว แลวทาสารเคมีปองกันเชื้อราที่รอยแผล
อาการเปลือกแหง
สาเหตุ
~ 10 ~
เกิดจากการกรีดเอาน้ํายางมากเกินไป ทําใหเนื้อเยื่อบริเวณเปลือกที่ถูกกรีดมีธาตุ
อาหารมาหลอเลี้ยงไมเพียงพอ จนทําใหเปลือกยางบริเวณนั้นแหงตาย
ลักษณะอาการที่เกิด
อาการระยะแรก สังเกตไดจากการที่ความเขมขนของน้ํายางจางลงหลังการกรีด
เปลือกยางจะแหงเปนจุด ๆ อยูตามรอยกรีด ระยะตอมาเปลือกที่ยังไมไดกรีดจะแตกแยก
เปนรอยและลอนออก ถากรีดตอไปเปลือกยางจะแหงสนิทไมมีน้ํายางไหลออกมา
การปองกันรักษา
1. หยุดกรีดยางนั้นประมาณ 6-12 เดือน จึงทําการเปดกรีดหนาใหมทางดานตรงขาม
หรือเปดกรีดหนาสูง
2. อยากรีดยางหักโหม ควรกรีดยางตามคําแนะนํา
โรคใบรวงและฝกเนาจากเชื้อไฟทอปโทรา
( Phytophthora Leaf Fall and Pod Rot )
สาเหตุการเกิดโรค
เกิดจากเชื้อรา
ลักษณะอาการของโรคที่เกิด
ใบยางรวงพรอมกานทั้งที่ยังมีสีเขียวสด มีรอยช้ําดําขนาดและรูปรางไมแนนอน อยู
บริเวณกานใบกลางรอยช้ํามีหยดน้ํายางเกาะติดอยู เมื่อนําใบยางที่เปนโรคมาสะบัดเบา ๆ
ใบยอยจะหลุดจากกานใบทันที สวนใบที่ถูกเชื้อเขาทําลายที่ยังไมรวงจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง
แกมสม แลวแหงคาตนกอนที่จะรวง ฝกยางที่ถูกทําลายเปลือกเปนรอยช้ําฉ่ําน้ํา ตอมาจะเนา
ดําคางอยูบนตนไมแตกและไมรวงหลนตามธรรมชาติ กรณีที่เกิดกับตนยางออนเชื้อราจะเขา
ทําลายบริเวณยอดออนกอน ทําใหยอดเนา แลวจึงลุกลามเขาทําลายกานใบและแผนใบ ทํา
ใหตนยางยืนตนตาย
ชวงเวลาและพื้นที่ที่เชื้อแพรระบาด
สวนใหญการแพรระบาดของโรคอยูในชวงระหวางเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม
โรคนี้มักระบาดมากในสภาพอากาศเย็น ฝนตกชุกความชื้นสูง หรือพื้นที่ที่อยูภายใตอิทธิพล
ลมมรสุม พบในภาคใตฝงตะวันตกบางพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี พัทลุง
สงขลา นราธิวาส จันทบุรี และตราดโรคนี้แพรกระจายโดยลมฝน และน้ําฝน มักเกิดกับตน
ยางเล็กจนถึงยางใหญ
~ 11 ~
การแปรรูปผลผลิต
น้ํายางสดจากสวน สามารถนําไปแปรรูปไดหลากชนิดทั้งในรูปน้ํายางขนและยางแหง
ไดแก ยางแผนดิบ ยางแผนรมควัน ยางเครพ ฯลฯ คุณภาพยางที่แปรรูปขึ้นกับวิธีการผลิต
ราคายางในทองตลาดก็แตกตางกันไปตามคุณภาพยาง หากเกษตรกรเจาของสวนยางผลิต
ยางที่มีคุณภาพราคาที่เกษตรกรเจาของสวนยางไดรับจากการจําหนายยางก็จะดีตามไปดวย
การผลิตยางแผนคุณภาพดี
การผลิตยางแผนคุณภาพดีนั้น มีหลักการงาย ๆ คือ ทํายางใหสะอาดรีดแผนยางให
บาง ใชน้ําและน้ํากรดใหถูกสวน ซึ่งมีวิธีการและขั้นตอนการผลิต ดังนี้
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมน้ํายาง
เช็ดถวยยางใหสะอาดกอนรองรับน้ํายาง ทําความสะอาดถังเก็บน้ํายางกอนใชทุกครั้ง
ไมควรใสขี้ยางและเศษไมลงในถังเก็บน้ํายาง จะทําใหยางสกปรก จับตัวเปนกอนเร็ว กรอง
น้ํายางไดยาก
ขั้นตอนการทําความสะอาดเครื่องมือ
ตองทําความสะอาดเครื่องมือทํายางแผนทุกชนิดกอนและหลังการใชงานแลว
เนื่องจากความสะอาดเปนสิ่งสําคัญที่สุดในการผลิตยางแผนคุณภาพดี เครื่องมือทํายางแผน
ควรใหเปยกน้ําทุกครั้งกอนใชเพื่อความสะดวกในการทําความสะอาดหลังใชงานเสร็จ
เครื่องมือที่จําเปนในการทํายางแผน
- เครื่องกรองลวด เบอร40 และ 60
- ตะกง
- ถังสําหรับใสน้ําและน้ํายาง
- โตะนวดยาง
- เครื่องรีดชนิดเรียบและชนิดดอก
- โรงเรือนหรือเพิงอยางงาย ๆ
- กระปองตวงน้ํายางและน้ํา
- ใบพายสําหรับกวนน้ํายาง
- ภาชนะผสมน้ํากรด
ขั้นตอนการกรองน้ํายาง
กรองน้ํายางดวยเครื่องกรองลวด เบอร40 และ 60 เพื่อเอาสิ่งสกปรกออก โดยวาง
เครื่องกรองซอนกัน 2 ชั้น เบอร40 ไวขางบน และเบอร60 ไวขางลาง
ขั้นตอนการตวงน้ํายางใสตะกง
~ 12 ~
แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด
ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก
ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ
ตอบ ง. สวนขนาดใหญ
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป
6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด
ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป
ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป
ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป
ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป
ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป
ถัดไป
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30
กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด
ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม
ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม
ตอบ ค. 5 กิโลกรัม
สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา
กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา
ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
~ 13 ~
8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง
ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย
ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ
กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ
วาอะไร
ก. ก.ส.ย. ข. กสย.
ค. คสย. ง. ค.ส.ย.
ตอบ ก. ก.ส.ย.
10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ
การยางมีจํานวนเทาใด
ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน
ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน
ตอบ ข. 4 คน / 2 คน
คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย
ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน
กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
~ 14 ~
สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม
ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น
อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน
เกี่ยวของกับการยางสองคน
12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละกี่ป
ก. 1 ป ข. 2 ป
ค. 3 ป ง. 4 ป
ตอบ ข. 2 ป
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป
13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ก. รอยละหา
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน
ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน
รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ง. รอยละสิบ
~ 15 ~
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ
เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป
ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม
ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ
ตอบ ง. วันที่สิบ
ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ
ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน
ถัดไป
7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายใน
กี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต
หรือการพักใชใบอนุญาต
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ค. สามสิบวัน
ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี
คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ
ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ
ตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไม
อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแต
กรณี
8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
~ 16 ~
ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอ
พนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบ
ถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว
9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาต
ทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ง. หกสิบวัน
ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมสิ้น
อายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะ
ประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แตตอง
แจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย
10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย
สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย
11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่
ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก
กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวา
ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
~ 17 ~
12.ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตน
ยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู
อนุญาต หากไมปฎิบัติตาม ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตา
ของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู
อนุญาต ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
13. ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ
ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตาม ตองระวางโทษปรับไม
เกินเทาใด
ก. หาพันบาท ข. หนึ่งหมื่นบาท
ค. สองหมื่นบาท ง. หาหมื่นบาท
ตอบ ข. หนึ่งหมื่นบาท
ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ
ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตามตองระวางโทษปรับไม
เกินหนึ่งหมื่นบาท
14.ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปนผูนํา
ยางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
~ 18 ~
หลักและทฤษฎีการสื่อสาร
ตนกําเนิดของภาษา (The Origins of Language)
มนุษยในสมัยกอน เชน Australopithecus, Homo Habilis และ Homo Erectus นั้น ยังไม
สามารถพูดไดหรือยังไมมีการพูดเพื่อสื่อสารกัน ที่เปนเชนนั้นเพราะลักษณะโครงสรางทางกายภาพ อัน
ไดแกโครงสรางของกลองเสียงยังเหมือนกับพวกลิงที่สงเสียงไดเทานั้น จึงทําใหไมสามารถควบคุมเสียงให
เปลงออกมาเปนคําพูดได
ในยุคของมนุษยพวก Neanderthal (Homo Sapiens Neanderthalensis) ที่อาศัยอยูตั้งแตสมัย
โบราณ ประมาณ 150,000 – 125,000 ปมาแลว จะสามารถสื่อสารกันไดโดยใชภาษาทาทาง ดวยวิธีการ
เคลื่อนไหวรางกาย และเสียงเทาที่สามารถเปลงออกมาได
ตอมาในชวง 90,000 ถึง 35,000 ปที่ผานมา มีมนุษยเกิดขึ้นมากมายหลายจําพวกเขามาแทนพวก
Neanderthal มนุษยพวกนี้มีชื่อเรียกวา Cro–Magnon (Homo Sapiens Sapiens) ซึ่งถือไดวาเปนบรรพ
บุรุษของพวกมนุษยในปจจุบัน
ถาใหพวก Cro–Magnon แตงตัวดวยเสื้อผาที่ทันสมัย ก็จะไมมีอะไรที่แตกตางจากมนุษยในปจจุบัน
เลย เพราะพวกนี้มีกลองเสียง ลิ้น และโครงสรางของริมฝปากที่เหมือนกับมนุษยปจจุบัน สามารถควบคุม
เสียงที่เปลงออกมาได จึงมีความเปนไปไดที่พวก Cro–Magnon อาจพูดได และเกิดการพัฒนาจนเปน
ภาษาในเวลาตอมา
การใชภาษาจึงเริ่มตนขึ้นเมื่อประมาณ 40,000 ปมาแลว และการสื่อสารก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้นเปน
ครั้งแรกเชนกัน จึงกลาวไดวาภาษาคือจุดเริ่มตนของกระบวนการสื่อสารของมนุษย ที่พัฒนาตอมาจนถึง
การสื่อสารมวลชน และการสื่อสารของมนุษยก็คือพื้นฐานของการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน
ความเปนมาของการสื่อสาร
การสื่อสารเกิดขึ้นมาพรอม ๆ กับการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยไดตอสูกับธรรมชาติและดิ้นรน
เพื่อการมีชีวิต อยูรอด โดยใชการสื่อสารเปนเครื่องมือ เพื่อชวยใหบรรลุผลในการทํางานตางๆ มนุษยอยู
รวมกันไดเปนชนเผา เปนสังคม เปนประเทศชาติ โดยใชการสื่อสารระหวางกัน เพื่อการเขาใจรวมกัน สราง
จุดมุงหมายรวมกัน การสื่อสารจึงเปนเครื่องมือที่มนุษยใชเพื่อสรางและพัฒนาความสัมพันธระหวางกัน
มนุษยจึงเล็งเห็นความสําคัญและใหความสนใจศึกษาคนควาเกี่ยวกับการสื่อสารมาเปนเวลานานแลว
~ 19 ~
การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารไดเริ่มมีมาเปนเวลานับพันปแลว ตั้งแตยุคที่อารยธรรมกรีกและโรมัน
ยังเจริญรุงเรืองอยูในยุโรปโบราณ นักปราชญชาวกรีก คือ อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งเปนปรมาจารยที่ได
ศึกษาในเรื่องของศาสตรเกี่ยวกับการ สื่อสาร และเปนผูที่มองเห็นความสําคัญของการสื่อสารวาเปน
ชองทางใหมนุษยบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการได
กําเนิดของการสื่อสาร
คนเราจําเปนตองเกี่ยวของกับการสื่อสารตลอดทั้งชีวิตของเราโดยไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตเรา
มักจะไมมี ประสิทธิภาพเพียงพอที่จะพัฒนาใหมีความเขาใจในการสื่อสารได ดังนั้นการที่เรารูเรื่องของการ
สื่อสารวามันคืออะไร จะเปนโอกาสดีที่ทําใหเราเขาไปเกี่ยวของกับการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ
ความหมายของการสื่อสาร
“การสื่อสาร” (Communication) หมายถึง การผลิตสารอยางตั้งใจ และไดถายทอดสารนั้นโดย
บุคคลหนึ่งไปยังบุคคลอื่น หรือหลาย ๆ คน เมื่อผูรับสารไดรับสารแลว จะทําการแปลสารใหเขาใจตรง
ตามที่ผูสงสารตองการ ก็ถือไดวาการ สื่อสารนั้นประสบผลสําเร็จ
แตถาหากผูรับสารไดรับสารแลว แปลสารไมตรงตามความหมายที่ผูสงสารตองการ การสื่อสารนั้นก็
เกิดความ ลมเหลวไมประสบผลสําเร็จ สิ่งนี้เราเรียกไดวา การสื่อสารเกิดความลมเหลว
(Communication Breakdown) หรือเกิดความผิดพลาดในการสื่อสาร (Miscommunication)
Communication มาจากภาษาลาตินวา Communis, Common เมื่อคนเราทําการสื่อสารนั่นหมายถึง
การที่เรากําลังสรางความคุนเคยกับคน ๆ หนึ่ง โดยที่เราพยายามจะแลกเปลี่ยน (Share) ขาวสาร
(Information) ความคิด (Idea) และทัศนคติ (Attitude)
ดังนั้นการสื่อสารจึงหมายถึงการที่คนเราทําการสื่อสารความคิด โดยมีความพยายามใหผูสงสาร
(Sender) และ ผูรับสาร (Receiver) ปรับความคิดเขาหากัน เพื่อจะไดเขาใจสารไดตรงกัน
องคประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสารโดยทั่ว ๆ ไป มีองคประกอบที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ
~ 20 ~
ระดับของการสื่อสาร (Levels of Communication)
การสื่อสารของมนุษย คือ การปฏิบัติการสงความคิดและทัศนคติ จากคน ๆ หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง
การเขียน จดหมายถึงกัน และการพูดคุยกัน คือ 2 วิธีการที่ใชสําหรับการสื่อสารของมนุษย นอกจากนี้เรา
ยังสื่อสารกันดวยกิริยาทาทาง การเคลื่อนไหวรางกาย หรือแมกระทั่งการกะพริบตา การขมวดคิ้ว ก็เปน
การสื่อสารของมนุษยทั้งสิ้น
ระดับของการสื่อสารสามารถจําแนกออกเปนระดับ ดังนี้คือ
1.การสื่อสารสวนบุคคล (Intrapersonal Communication)
เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นภายในรางกายหรือในตัวของเราเอง ไดแก การที่เราพูดกับตัวเอง เมื่อเรา
คิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เราก็อาจพูดเบา ๆ กับตัวเองหรือพูดออกมาลอย ๆ
โดยเรื่องราวหรือเนื้อหาของการสื่อสารสวนบุคคล จะประกอบดวยความคิด (Thought) ซึ่งสื่อกลาง
หรือชองทางของการสื่อสารสวนบุคคลนี้คือระบบประสาทที่ผานความคิดและผานกระบวนการในสมองอีก
ทีหนึ่ง
2.การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication)
เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลหนึ่งกับอีกบุคคลหนึ่งหรือกับคนอื่นที่มีจํานวนไมมากนัก ซึ่ง
บางครั้งผูสงสารจะมีความคุนเคยกัน เชน ในงานเลี้ยงสังสรรค ฯลฯ แตบางครั้งก็ไมคุนเคยกัน เชน เมื่อ
คนแปลกหนาพูดอยูบนถนน บนรถโดยสารหรือในหางสรรพสินคา
สื่อกลางในกรณีนี้คือคลื่นอากาศ และเนื้อหาก็คือสิ่งที่ไดพูด สวนสิ่งสําคัญในการสื่อสารคือ การ
ใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ผานทางภาษาทาทาง การแสดงสีหนา เสื้อผา และสิ่งอื่น ๆ
3.การสื่อสารกลุมยอย (Small Group Communication)
เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับคนจํานวนหนึ่งที่ทําการสื่อสาร เชน การบรรยายในหองเรียน การ
ประชุมสัมมนาทางวิชาการ หรือการแสดงสุนทรพจนในการรวมตัวเปนกลุมของประชาชน โดยใชภาษาและ
การพูด เชนเดียวกับการใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ในการสื่อสาร
การสื่อสารกลุมยอยจะเกิดขึ้นเมื่อมีคนกลุมยอยมารวมตัวกันเพื่อที่จะแกปญหา ในเรื่องตาง ๆ
รวมกัน สมาชิกของกลุมยอยนี้ควรมีจํานวนไมมากนัก เพื่อทุกคนจะไดมีโอกาสพูดคุยกันไดถวนหนา
4.การสื่อสารในที่สาธารณะ (Public Communication)
เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับการพูดในที่สาธารณะ (Public Speaking) โดยผูที่พูดจะตองมีการ
เตรียมตัวมาอยางดีที่สุด และการพูดก็ตองมีรูปแบบเปนทางการมากกวาการพูดแบบ 2 คนหรือแบบ
กลุมยอย ซึ่งลักษณะสําคัญของการพูดชนิดนี้ คือ
~ 21 ~
แนวขอสอบ นักวิชาการเผยแพร
1.ขอใดเกี่ยวพันกับการสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจอันดี
ก. เผยแพรความเชื่อถือศรัทธาความนิยมในบุคคล
ข. ใหขอเท็จจริงดวยลัทธินิยม
ค. เพื่อปริมาณขายสินคาดวยการโฆษณาสงเสริม
ง. ติดตามประเมินผลดวยการประชาสัมพันธ
ตอบ ง. ติดตามประเมินผลดวยการประชาสัมพันธ
การประชาสัมพันธ เปนกระบวนการที่เชื่อมโยง ถายทอดความคิดเห็น และ
ตีความหมาย เพื่อกอใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางสถาบันและมวลชนที่เกี่ยวของ โดยมี
ลักษณะการดําเนินงานอยางมีแผนและกระทําตอเนื่องกันไป เริ่มตั้งแตสํารวจขอเท็จจริง ตั้ง
วัตถุประสงค การประชาสัมพันธ วางแผนการใชสื่อ ดําเนินการ และติดตามวัดผลเพื่อ
ดัดแปลงแกไขในโอกาสตอไป
2.ขอใดไมใชคําขวัญประชาสัมพันธเพื่อสังคม
ก.ระวังคนสูบบุหรี่ สมาคมนักวิทยุสมัครเลน
ข.ประหยัดน้ําวันละนิดชวยเศรษฐกิจ
ค.คลอสเตอร เบียร สงเสริมการอนุรักษเตาทะเล .....จากเบียรรสชาดแบบไทย ๆ
ง.ไมมีปา ไมมีเรา จากสมาคมสถาปนิกสยาม
ตอบ ค.คลอสเตอร เบียร สงเสริมการอนุรักษเตาทะเล ....จากเบียรรสชาด
แบบไทยๆ
คําขวัญประชาสัมพันธเพื่อสังคมหรือการกําหนดหัวขอประชาสัมพันธ (Themes) คือ
คําขวัญที่มีเนื้อหาชวยเหลือสังคม และจะตองไมเกี่ยวของกับสินคาหรือบริการขององคกร
โดยอาจจะใชคําพูดสั้น ๆ งาย ๆ ที่กินใจ หรืออาจเปนภาพสัญลักษณก็ได เพื่อเตือนใจให
ผูรับสารจดจําไดและติดตามกลุมเปาหมาย เชน จงรักษาความสะอาด ดวยความปรารถนาดี
จากธนาคารกรุงเทพ ฯลฯ
~ 22 ~
3.ขอใดหมายถึงการสารนิเทศ
ก. การใหขาวสาร ข. การโฆษณา
ค. การปาวประกาศ ง. สรางความลอใจ
ตอบ ก. การใหขาวสาร
การสารนิเทศ คือ การใหขาวสารขอเท็จจริงตาง ๆ เชน นโยบายของรัฐบาล
ศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งการใหความสะดวก ชวยเหลือ ปรับความเขาใจ แกความเขาใจผิด
การแสดงอัธยาศัย ฯลฯ
4.ขอบเขตการดําเนินงานการสารนิเทศของรัฐบาลไทยที่เมืองนิวยอรก ขึ้นกับหนวยงานใด
ก. กรมพาณิชสัมพันธ ข. การสื่อสารมวลชนแหงชาติ
ค. กรมประชาสัมพันธ ง. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย
ตอบ ค. กรมประชาสัมพันธ
ประเทศไทยทําการสารนิเทศในตางประเทศมานานแลวโดยกรมประชาสัมพันธ คือ มี
สํานักงานแถลงขาวไทย ซึ่งตั้งอยูในตางประเทศหลายเมือง เชน กรุงวอชิงตัน นิวยอรก
ลอสแองเจลิส ลอนดอน ฯลฯ
5.การสงเสริมการจําหนายในรูปแบบงานประชาสัมพันธคือขอใด
ก. อุปถัมภรายการขาวสารคดี
ข. การโฆษณาสินคาทางสื่อกระจายเสียง
ค. การจัดแสดง ณ แหลงขาย
ง. การโฆษณาโดยตัวแทนนําเสนอรางวัลหลังการประชุม
ตอบ ค. การจัดแสดง ณ แหลงขาย
การสงเสริมการจําหนายไมใชวิธีการขายโดยพนักงานหรือการโฆษณา แตเปนวิธีการ
ขายในโอกาสพิเศษตาง ๆ เชน การจัดแสดงสินคา การจัดแสดง ณ แหลงขาย การจัดแสดง
ภายในราน การจัดตูโชวสินคา การจัดนิทรรศการ การสาธิตใหชม ฯลฯ
6.องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธมีกี่ประการ
ก. สอง ข. สาม
ค. สี่ ง. หา
ตอบ ค. สี่
~ 23 ~
องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธมี 4 ประการคือ
1. เปนปรัชญาการบริหารของสังคม
2. เปนการแสดงออกถึงการตัดสินใจอยางถูกตอง
3. เปนการกระทําที่ตอเนื่องมาจากการกําหนดนโยบายที่ดี
4. เปนการติดตอสื่อสาร
7.กระบวนการสื่อสารในขอใดเกี่ยวของกับ “...เนื้อแทของความเปนประชาธิปไตยนั้น
ประชาชนสามารถติดตามตรวจสอบองคกรหรือรัฐได....”
ก. การสื่อสารปองกันตนเอง ข. การสื่อสารในแนวนอน
ค. การสื่อสารประชาสัมพันธ ง. การโฆษณาสินคา
ตอบ ค. การสื่อสารประชาสัมพันธ
การสื่อสารประชาสัมพันธในประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น
ประชาชนจะตองไดรับการบอกกลาวในเรื่องเกี่ยวกับสถาบันของตน แตเมื่อเผยแพรขาวสาร
ออกไปแลว ก็มิไดหมายความวา ประชาชนจะเห็นดวยและคลอยตามไปเสียทุกอยาง โดย
ประชาชนอาจเห็นดวย ไมเห็นดวย อาจตอตาน หรืออาจแสดงปฏิกิริยาโตตอบออกมาก็ได
8.กลยุทธของหลักการประชาสัมพันธเพื่อสรางความสัมพันธอันดีคือสิ่งใด
ก. ระหวางบุคคลกับการสื่อสารระหวางกลุม
ข. บุคคลตอการสื่อสารระบบหมุนเวียน
ค. สถาบันกับการชวยสังคม
ง. สถาบันกับสังคมภายนอก
ตอบ ง. สถาบันกับสังคมภายนอก
กลยุทธในการศึกษาหลักการประชาสัมพันธนั้น เปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจถึง
รากฐานของการสรางความสัมพันธอันดีระหวางบุคคลตอบุคคล บุคคลตอหนวยงาน หรือ
ระหวางสถาบันกับสังคมภายนอก และระหวางสมาชิกภายในสถาบันนั้น ๆ เอง อันจะมีผลให
ประชาชนเกิดภาพลักษณที่ดีตอสถาบันและสถาบันสามารถดําเนินงานภายใตกรอบแหง
สังคมไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
~ 24 ~
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von บ.ชีทราม จก.

กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Mehr von บ.ชีทราม จก. (6)

กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่ม

  • 2. ~ 2 ~ สารบัญ สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 13 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 13 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 15 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 19 การปลูกยางพารา 19 การปลูก 20 การบํารุงรักษา 32 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45 การแปรรูปผลผลิต 47 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 53 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) 79 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 86 สวนที่ 3 ความรูความสามารถเฉพาะตําแหนง หลักและทฤษฎีการสื่อสาร 93 ความเปนมาของการสื่อสาร 93 ความหมายของการสื่อสาร 94 หลักการสื่อสารที่สําคัญ 99 ความหมายของคําวา “มวลชน” 100 ความหมายของคําวา “การสื่อสาร” 101 กระบวนการสื่อสารมวลชน 103 กระบวนการสื่อสารมวลชน (Mass Communication Process) 107 ทฤษฎีการสื่อสารที่เกี่ยวของ 116 แนวคิดทฤษฎีผูกรองสาร (Gatekeeper Theory) 117 แนวคิดทฤษฎีการใชสื่อเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ 118 แนวคิดทฤษฎีการเลน 119 ระบบการสื่อสารมวลชน 120 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีเสรีนิยม 122 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีโซเวียตคอมมิวนิสต 123 ระบบสื่อมวลชนตามทฤษฎีความรับผิดชอบตอสังคม 124 ความรูเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ มวลชนสัมพันธ 128 ความหมายของการประชาสัมพันธ 128
  • 3. ~ 3 ~ ลักษณะสําคัญของการประชาสัมพันธ 131 องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธ 134 กลุมมวลชน (Publics) 136 การเขียนขาวประชาสัมพันธ 139 เอกสารประชาสัมพันธ 140 การสื่อสารทางสื่อมวลชน 143 แนวคิดเกี่ยวกับสื่อมวลชน 143 การสื่อสารทางสื่อสิ่งพิมพ 144 ระบบการพิมพ 146 การเขียนบรรยายภาพขาว 149 องคประกอบของเหตุการณที่มีคุณคาทางขาว 150 ประเภทและชนิดของขาว 151 คุณสมบัติของขาวที่ดี 153 นโยบายดานขาวของหนังสือพิมพ 153 การรวบรวมขอมูลขาว 154 เทคนิคการเขียน 165 การจัดทํารายการวิทยุ 168 หลักการเขียนขาววิทยุ 181 การพาสื่อมวลชน/กลุมเปาหมายเยี่ยมชมกิจการ 181 หลักสําคัญในการสรางภาพลักษณที่ดีใหแกหนวยงาน 182 การสรางภาพลักษณขององคกรเปนหนาที่ของสมาชิกทุกคน 182 การใหขาวแกสื่อมวลชน 183 การเขียนบทสัมภาษณและการสัมภาษณผูบริหาร 185 การรวบรวมขอมูลขาวจากการสัมภาษณ 185 การใชอุปกรณในการรวบรวมขอมูลขาว 186 การจัดนิทรรศการ 188 การจัดแผนปาย 188 ประเภทของแผนปาย 188 เทคนิคการจัดทําแผนปาย 190 การจัดปายนิเทศ 190 การจัดปายนิเทศใหสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค 193 การกําหนดบริเวณวางในนิทรรศการ 194 การกําหนดทางเดินชมนิทรรศการ 195 การวางแผนเพื่อปฏิบัติงานประชาสัมพันธ 196 หลักการประชาสัมพันธ 196 วัตถุประสงคของการประชาสัมพันธ 198 หัวใจของการวางแผนงานประชาสัมพันธ 200 การวางแผนใหบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง 201 โครงสรางการเขียนขาวทุกประเภท 201 นักประชาสัมพันธและคุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ 203 สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 207 แนวขอสอบ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 215 พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 224 แนวขอสอบ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 233 แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 238 แนวขอสอบ นักวิชาการเผยแพร 250
  • 4. ~ 4 ~ ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
  • 5. ~ 5 ~ วิสัยทัศน "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน” พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ เกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
  • 6. ~ 6 ~ 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา ในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4 ยุทธศาสตร ดังนี้
  • 7. ~ 7 ~ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได เปนตน การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก
  • 8. ~ 8 ~ การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก) สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
  • 9. ~ 9 ~ โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา โรคตายยอด ( Die Back ) สาเหตุการเกิดโรค 1. เกิดจากเชื้อรา 2. เกิดจากปลูกในพื้นที่ที่สภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโต เชน ความ อุดมสมบูรณของธาตุอาหารมีนอย หรือมากเกินไป หรือมีสารพิษตกคางในดิน หรือปลูกใน สภาพที่เหมาะสมแกการเกิดโรค ลักษณะอาการของโรคที่เกิด กิ่งกาน หรือยอดแหงตายจากปลายกิ่ง หรือยอดเขาหาสวนโคนทีละนอยแลวลุกลาม ไปจนถึงโคนตน ในที่สุดตนยางจะยืนตนตาย ถาอาการรุนแรงตนยางจะแหงตายตลอดทั้งตน เปลือกลอนออกจากเนื้อไม มีเสนใยและสปอรของเชื้อราสีดํา หรือเชื้อราสีขาว เกิดขึ้นบริเวณ เปลือกดานใน นอกจากนี้มีแบคทีเรียและไสเดือนฝอยอาศัยอยูทั่วไป ถาอาการไมรุนแรงตน ยางมักแหงหรือตายเฉพาะกิ่งยอด สวนของลําตนหรือกิ่งกานที่ยังไมตายจะแตกแขนงออกมา ใหม ชวงเวลาและพื้นที่ที่เชื้อแพรระบาด การแพรระบาดของโรคเปนไดตลอดปหากสภาพเหมาะสมตอการเกิดโรค โรคนี้มัก เกิดขึ้นมากหลังเกิดสภาวะแหงแลง หรือภายหลังเกิดโรคตาง ๆ ระบาดอยางรุนแรง หรือพบ ในสวนยางที่ปลูกในพื้นที่ดินทราย หรือบนพื้นที่ตามไหลเขาที่เปนโรคมักเกิดกับตนยางเล็ก จนถึงยางที่เปดกรีดแลว การปองกันกําจัด 1. หากเกิดจากการระบาดของโรค ใหปฏิบัติตามคําแนะนําของโรคนั้น ๆ และหมั่น บํารุงรักษาตนยางใหแข็งแรงสมบูรณอยูเสมอ 2. หากเกิดจากสภาพสิ่งแวดลอม เชน กรณีที่สภาพดินเลวและแลงจัด ใหรดน้ําตาม ความจําเปนแลวใชวัสดุคลุมโคนตนเพื่อชวยรักษาความชุมชื้น 3. การใชปุยและสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช ควรปฏิบัติตามคําแนะนําอยาง เครงครัด 4. กรณีที่กิ่งหรือยอดแหงตายลงมา ใหตัดกิ่งหรือยอดที่ตายออก โดยใหตัดต่ํากวา รอยแผลลงมาประมาณ 1-2 นิ้ว แลวทาสารเคมีปองกันเชื้อราที่รอยแผล อาการเปลือกแหง สาเหตุ
  • 10. ~ 10 ~ เกิดจากการกรีดเอาน้ํายางมากเกินไป ทําใหเนื้อเยื่อบริเวณเปลือกที่ถูกกรีดมีธาตุ อาหารมาหลอเลี้ยงไมเพียงพอ จนทําใหเปลือกยางบริเวณนั้นแหงตาย ลักษณะอาการที่เกิด อาการระยะแรก สังเกตไดจากการที่ความเขมขนของน้ํายางจางลงหลังการกรีด เปลือกยางจะแหงเปนจุด ๆ อยูตามรอยกรีด ระยะตอมาเปลือกที่ยังไมไดกรีดจะแตกแยก เปนรอยและลอนออก ถากรีดตอไปเปลือกยางจะแหงสนิทไมมีน้ํายางไหลออกมา การปองกันรักษา 1. หยุดกรีดยางนั้นประมาณ 6-12 เดือน จึงทําการเปดกรีดหนาใหมทางดานตรงขาม หรือเปดกรีดหนาสูง 2. อยากรีดยางหักโหม ควรกรีดยางตามคําแนะนํา โรคใบรวงและฝกเนาจากเชื้อไฟทอปโทรา ( Phytophthora Leaf Fall and Pod Rot ) สาเหตุการเกิดโรค เกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการของโรคที่เกิด ใบยางรวงพรอมกานทั้งที่ยังมีสีเขียวสด มีรอยช้ําดําขนาดและรูปรางไมแนนอน อยู บริเวณกานใบกลางรอยช้ํามีหยดน้ํายางเกาะติดอยู เมื่อนําใบยางที่เปนโรคมาสะบัดเบา ๆ ใบยอยจะหลุดจากกานใบทันที สวนใบที่ถูกเชื้อเขาทําลายที่ยังไมรวงจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง แกมสม แลวแหงคาตนกอนที่จะรวง ฝกยางที่ถูกทําลายเปลือกเปนรอยช้ําฉ่ําน้ํา ตอมาจะเนา ดําคางอยูบนตนไมแตกและไมรวงหลนตามธรรมชาติ กรณีที่เกิดกับตนยางออนเชื้อราจะเขา ทําลายบริเวณยอดออนกอน ทําใหยอดเนา แลวจึงลุกลามเขาทําลายกานใบและแผนใบ ทํา ใหตนยางยืนตนตาย ชวงเวลาและพื้นที่ที่เชื้อแพรระบาด สวนใหญการแพรระบาดของโรคอยูในชวงระหวางเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม โรคนี้มักระบาดมากในสภาพอากาศเย็น ฝนตกชุกความชื้นสูง หรือพื้นที่ที่อยูภายใตอิทธิพล ลมมรสุม พบในภาคใตฝงตะวันตกบางพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี พัทลุง สงขลา นราธิวาส จันทบุรี และตราดโรคนี้แพรกระจายโดยลมฝน และน้ําฝน มักเกิดกับตน ยางเล็กจนถึงยางใหญ
  • 11. ~ 11 ~ การแปรรูปผลผลิต น้ํายางสดจากสวน สามารถนําไปแปรรูปไดหลากชนิดทั้งในรูปน้ํายางขนและยางแหง ไดแก ยางแผนดิบ ยางแผนรมควัน ยางเครพ ฯลฯ คุณภาพยางที่แปรรูปขึ้นกับวิธีการผลิต ราคายางในทองตลาดก็แตกตางกันไปตามคุณภาพยาง หากเกษตรกรเจาของสวนยางผลิต ยางที่มีคุณภาพราคาที่เกษตรกรเจาของสวนยางไดรับจากการจําหนายยางก็จะดีตามไปดวย การผลิตยางแผนคุณภาพดี การผลิตยางแผนคุณภาพดีนั้น มีหลักการงาย ๆ คือ ทํายางใหสะอาดรีดแผนยางให บาง ใชน้ําและน้ํากรดใหถูกสวน ซึ่งมีวิธีการและขั้นตอนการผลิต ดังนี้ ขั้นตอนการเก็บรวบรวมน้ํายาง เช็ดถวยยางใหสะอาดกอนรองรับน้ํายาง ทําความสะอาดถังเก็บน้ํายางกอนใชทุกครั้ง ไมควรใสขี้ยางและเศษไมลงในถังเก็บน้ํายาง จะทําใหยางสกปรก จับตัวเปนกอนเร็ว กรอง น้ํายางไดยาก ขั้นตอนการทําความสะอาดเครื่องมือ ตองทําความสะอาดเครื่องมือทํายางแผนทุกชนิดกอนและหลังการใชงานแลว เนื่องจากความสะอาดเปนสิ่งสําคัญที่สุดในการผลิตยางแผนคุณภาพดี เครื่องมือทํายางแผน ควรใหเปยกน้ําทุกครั้งกอนใชเพื่อความสะดวกในการทําความสะอาดหลังใชงานเสร็จ เครื่องมือที่จําเปนในการทํายางแผน - เครื่องกรองลวด เบอร40 และ 60 - ตะกง - ถังสําหรับใสน้ําและน้ํายาง - โตะนวดยาง - เครื่องรีดชนิดเรียบและชนิดดอก - โรงเรือนหรือเพิงอยางงาย ๆ - กระปองตวงน้ํายางและน้ํา - ใบพายสําหรับกวนน้ํายาง - ภาชนะผสมน้ํากรด ขั้นตอนการกรองน้ํายาง กรองน้ํายางดวยเครื่องกรองลวด เบอร40 และ 60 เพื่อเอาสิ่งสกปรกออก โดยวาง เครื่องกรองซอนกัน 2 ชั้น เบอร40 ไวขางบน และเบอร60 ไวขางลาง ขั้นตอนการตวงน้ํายางใสตะกง
  • 12. ~ 12 ~ แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ง. สวนขนาดใหญ “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป ถัดไป “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
  • 13. ~ 13 ~ 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ วาอะไร ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย. 10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ การยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
  • 14. ~ 14 ~ สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน เกี่ยวของกับการยางสองคน 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง คราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป 13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ
  • 15. ~ 15 ~ แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ ตอบ ง. วันที่สิบ ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน ถัดไป 7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายใน กี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือการพักใชใบอนุญาต ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ ตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไม อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแต กรณี 8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน
  • 16. ~ 16 ~ ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอ พนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบ ถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว 9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาต ทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมสิ้น อายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะ ประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แตตอง แจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย 10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย 11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวา ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
  • 17. ~ 17 ~ 12.ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตาของตน ยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู อนุญาต หากไมปฎิบัติตาม ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูใดจะนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งตนยาง ดอก เมล็ด หรือตา ของตนยาง หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนยางที่อาจใชเพาะพันธุไดตองไดรับใบอนุญาตจากผู อนุญาต ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 13. ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตาม ตองระวางโทษปรับไม เกินเทาใด ก. หาพันบาท ข. หนึ่งหมื่นบาท ค. สองหมื่นบาท ง. หาหมื่นบาท ตอบ ข. หนึ่งหมื่นบาท ผูใดจะขยายพันธุตนยางเพื่อการคา ตองไดรับใบอนุญาตจากผูอนุญาต และผูรับ ใบอนุญาตตองขยายพันธุตนยางจากตนยางพันธุดี หากไมปฏิบัติตามตองระวางโทษปรับไม เกินหนึ่งหมื่นบาท 14.ผูใดนํายางเขามาในหรือสงยางออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไมไดรับใบอนุญาตเปนผูนํา ยางเขาหรือผูสงยางออก ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ง. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 18. ~ 18 ~ หลักและทฤษฎีการสื่อสาร ตนกําเนิดของภาษา (The Origins of Language) มนุษยในสมัยกอน เชน Australopithecus, Homo Habilis และ Homo Erectus นั้น ยังไม สามารถพูดไดหรือยังไมมีการพูดเพื่อสื่อสารกัน ที่เปนเชนนั้นเพราะลักษณะโครงสรางทางกายภาพ อัน ไดแกโครงสรางของกลองเสียงยังเหมือนกับพวกลิงที่สงเสียงไดเทานั้น จึงทําใหไมสามารถควบคุมเสียงให เปลงออกมาเปนคําพูดได ในยุคของมนุษยพวก Neanderthal (Homo Sapiens Neanderthalensis) ที่อาศัยอยูตั้งแตสมัย โบราณ ประมาณ 150,000 – 125,000 ปมาแลว จะสามารถสื่อสารกันไดโดยใชภาษาทาทาง ดวยวิธีการ เคลื่อนไหวรางกาย และเสียงเทาที่สามารถเปลงออกมาได ตอมาในชวง 90,000 ถึง 35,000 ปที่ผานมา มีมนุษยเกิดขึ้นมากมายหลายจําพวกเขามาแทนพวก Neanderthal มนุษยพวกนี้มีชื่อเรียกวา Cro–Magnon (Homo Sapiens Sapiens) ซึ่งถือไดวาเปนบรรพ บุรุษของพวกมนุษยในปจจุบัน ถาใหพวก Cro–Magnon แตงตัวดวยเสื้อผาที่ทันสมัย ก็จะไมมีอะไรที่แตกตางจากมนุษยในปจจุบัน เลย เพราะพวกนี้มีกลองเสียง ลิ้น และโครงสรางของริมฝปากที่เหมือนกับมนุษยปจจุบัน สามารถควบคุม เสียงที่เปลงออกมาได จึงมีความเปนไปไดที่พวก Cro–Magnon อาจพูดได และเกิดการพัฒนาจนเปน ภาษาในเวลาตอมา การใชภาษาจึงเริ่มตนขึ้นเมื่อประมาณ 40,000 ปมาแลว และการสื่อสารก็เริ่มมีการพัฒนาขึ้นเปน ครั้งแรกเชนกัน จึงกลาวไดวาภาษาคือจุดเริ่มตนของกระบวนการสื่อสารของมนุษย ที่พัฒนาตอมาจนถึง การสื่อสารมวลชน และการสื่อสารของมนุษยก็คือพื้นฐานของการสื่อสารแบบเผชิญหนากัน ความเปนมาของการสื่อสาร การสื่อสารเกิดขึ้นมาพรอม ๆ กับการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยไดตอสูกับธรรมชาติและดิ้นรน เพื่อการมีชีวิต อยูรอด โดยใชการสื่อสารเปนเครื่องมือ เพื่อชวยใหบรรลุผลในการทํางานตางๆ มนุษยอยู รวมกันไดเปนชนเผา เปนสังคม เปนประเทศชาติ โดยใชการสื่อสารระหวางกัน เพื่อการเขาใจรวมกัน สราง จุดมุงหมายรวมกัน การสื่อสารจึงเปนเครื่องมือที่มนุษยใชเพื่อสรางและพัฒนาความสัมพันธระหวางกัน มนุษยจึงเล็งเห็นความสําคัญและใหความสนใจศึกษาคนควาเกี่ยวกับการสื่อสารมาเปนเวลานานแลว
  • 19. ~ 19 ~ การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารไดเริ่มมีมาเปนเวลานับพันปแลว ตั้งแตยุคที่อารยธรรมกรีกและโรมัน ยังเจริญรุงเรืองอยูในยุโรปโบราณ นักปราชญชาวกรีก คือ อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งเปนปรมาจารยที่ได ศึกษาในเรื่องของศาสตรเกี่ยวกับการ สื่อสาร และเปนผูที่มองเห็นความสําคัญของการสื่อสารวาเปน ชองทางใหมนุษยบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการได กําเนิดของการสื่อสาร คนเราจําเปนตองเกี่ยวของกับการสื่อสารตลอดทั้งชีวิตของเราโดยไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตเรา มักจะไมมี ประสิทธิภาพเพียงพอที่จะพัฒนาใหมีความเขาใจในการสื่อสารได ดังนั้นการที่เรารูเรื่องของการ สื่อสารวามันคืออะไร จะเปนโอกาสดีที่ทําใหเราเขาไปเกี่ยวของกับการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ความหมายของการสื่อสาร “การสื่อสาร” (Communication) หมายถึง การผลิตสารอยางตั้งใจ และไดถายทอดสารนั้นโดย บุคคลหนึ่งไปยังบุคคลอื่น หรือหลาย ๆ คน เมื่อผูรับสารไดรับสารแลว จะทําการแปลสารใหเขาใจตรง ตามที่ผูสงสารตองการ ก็ถือไดวาการ สื่อสารนั้นประสบผลสําเร็จ แตถาหากผูรับสารไดรับสารแลว แปลสารไมตรงตามความหมายที่ผูสงสารตองการ การสื่อสารนั้นก็ เกิดความ ลมเหลวไมประสบผลสําเร็จ สิ่งนี้เราเรียกไดวา การสื่อสารเกิดความลมเหลว (Communication Breakdown) หรือเกิดความผิดพลาดในการสื่อสาร (Miscommunication) Communication มาจากภาษาลาตินวา Communis, Common เมื่อคนเราทําการสื่อสารนั่นหมายถึง การที่เรากําลังสรางความคุนเคยกับคน ๆ หนึ่ง โดยที่เราพยายามจะแลกเปลี่ยน (Share) ขาวสาร (Information) ความคิด (Idea) และทัศนคติ (Attitude) ดังนั้นการสื่อสารจึงหมายถึงการที่คนเราทําการสื่อสารความคิด โดยมีความพยายามใหผูสงสาร (Sender) และ ผูรับสาร (Receiver) ปรับความคิดเขาหากัน เพื่อจะไดเขาใจสารไดตรงกัน องคประกอบของการสื่อสาร การสื่อสารโดยทั่ว ๆ ไป มีองคประกอบที่สําคัญอยู 3 ประการ คือ
  • 20. ~ 20 ~ ระดับของการสื่อสาร (Levels of Communication) การสื่อสารของมนุษย คือ การปฏิบัติการสงความคิดและทัศนคติ จากคน ๆ หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง การเขียน จดหมายถึงกัน และการพูดคุยกัน คือ 2 วิธีการที่ใชสําหรับการสื่อสารของมนุษย นอกจากนี้เรา ยังสื่อสารกันดวยกิริยาทาทาง การเคลื่อนไหวรางกาย หรือแมกระทั่งการกะพริบตา การขมวดคิ้ว ก็เปน การสื่อสารของมนุษยทั้งสิ้น ระดับของการสื่อสารสามารถจําแนกออกเปนระดับ ดังนี้คือ 1.การสื่อสารสวนบุคคล (Intrapersonal Communication) เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นภายในรางกายหรือในตัวของเราเอง ไดแก การที่เราพูดกับตัวเอง เมื่อเรา คิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เราก็อาจพูดเบา ๆ กับตัวเองหรือพูดออกมาลอย ๆ โดยเรื่องราวหรือเนื้อหาของการสื่อสารสวนบุคคล จะประกอบดวยความคิด (Thought) ซึ่งสื่อกลาง หรือชองทางของการสื่อสารสวนบุคคลนี้คือระบบประสาทที่ผานความคิดและผานกระบวนการในสมองอีก ทีหนึ่ง 2.การสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication) เปนการสื่อสารที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลหนึ่งกับอีกบุคคลหนึ่งหรือกับคนอื่นที่มีจํานวนไมมากนัก ซึ่ง บางครั้งผูสงสารจะมีความคุนเคยกัน เชน ในงานเลี้ยงสังสรรค ฯลฯ แตบางครั้งก็ไมคุนเคยกัน เชน เมื่อ คนแปลกหนาพูดอยูบนถนน บนรถโดยสารหรือในหางสรรพสินคา สื่อกลางในกรณีนี้คือคลื่นอากาศ และเนื้อหาก็คือสิ่งที่ไดพูด สวนสิ่งสําคัญในการสื่อสารคือ การ ใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ผานทางภาษาทาทาง การแสดงสีหนา เสื้อผา และสิ่งอื่น ๆ 3.การสื่อสารกลุมยอย (Small Group Communication) เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับคนจํานวนหนึ่งที่ทําการสื่อสาร เชน การบรรยายในหองเรียน การ ประชุมสัมมนาทางวิชาการ หรือการแสดงสุนทรพจนในการรวมตัวเปนกลุมของประชาชน โดยใชภาษาและ การพูด เชนเดียวกับการใชอวัจนภาษา (Nonverbal) ในการสื่อสาร การสื่อสารกลุมยอยจะเกิดขึ้นเมื่อมีคนกลุมยอยมารวมตัวกันเพื่อที่จะแกปญหา ในเรื่องตาง ๆ รวมกัน สมาชิกของกลุมยอยนี้ควรมีจํานวนไมมากนัก เพื่อทุกคนจะไดมีโอกาสพูดคุยกันไดถวนหนา 4.การสื่อสารในที่สาธารณะ (Public Communication) เปนการสื่อสารที่เกี่ยวของกับการพูดในที่สาธารณะ (Public Speaking) โดยผูที่พูดจะตองมีการ เตรียมตัวมาอยางดีที่สุด และการพูดก็ตองมีรูปแบบเปนทางการมากกวาการพูดแบบ 2 คนหรือแบบ กลุมยอย ซึ่งลักษณะสําคัญของการพูดชนิดนี้ คือ
  • 21. ~ 21 ~ แนวขอสอบ นักวิชาการเผยแพร 1.ขอใดเกี่ยวพันกับการสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจอันดี ก. เผยแพรความเชื่อถือศรัทธาความนิยมในบุคคล ข. ใหขอเท็จจริงดวยลัทธินิยม ค. เพื่อปริมาณขายสินคาดวยการโฆษณาสงเสริม ง. ติดตามประเมินผลดวยการประชาสัมพันธ ตอบ ง. ติดตามประเมินผลดวยการประชาสัมพันธ การประชาสัมพันธ เปนกระบวนการที่เชื่อมโยง ถายทอดความคิดเห็น และ ตีความหมาย เพื่อกอใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางสถาบันและมวลชนที่เกี่ยวของ โดยมี ลักษณะการดําเนินงานอยางมีแผนและกระทําตอเนื่องกันไป เริ่มตั้งแตสํารวจขอเท็จจริง ตั้ง วัตถุประสงค การประชาสัมพันธ วางแผนการใชสื่อ ดําเนินการ และติดตามวัดผลเพื่อ ดัดแปลงแกไขในโอกาสตอไป 2.ขอใดไมใชคําขวัญประชาสัมพันธเพื่อสังคม ก.ระวังคนสูบบุหรี่ สมาคมนักวิทยุสมัครเลน ข.ประหยัดน้ําวันละนิดชวยเศรษฐกิจ ค.คลอสเตอร เบียร สงเสริมการอนุรักษเตาทะเล .....จากเบียรรสชาดแบบไทย ๆ ง.ไมมีปา ไมมีเรา จากสมาคมสถาปนิกสยาม ตอบ ค.คลอสเตอร เบียร สงเสริมการอนุรักษเตาทะเล ....จากเบียรรสชาด แบบไทยๆ คําขวัญประชาสัมพันธเพื่อสังคมหรือการกําหนดหัวขอประชาสัมพันธ (Themes) คือ คําขวัญที่มีเนื้อหาชวยเหลือสังคม และจะตองไมเกี่ยวของกับสินคาหรือบริการขององคกร โดยอาจจะใชคําพูดสั้น ๆ งาย ๆ ที่กินใจ หรืออาจเปนภาพสัญลักษณก็ได เพื่อเตือนใจให ผูรับสารจดจําไดและติดตามกลุมเปาหมาย เชน จงรักษาความสะอาด ดวยความปรารถนาดี จากธนาคารกรุงเทพ ฯลฯ
  • 22. ~ 22 ~ 3.ขอใดหมายถึงการสารนิเทศ ก. การใหขาวสาร ข. การโฆษณา ค. การปาวประกาศ ง. สรางความลอใจ ตอบ ก. การใหขาวสาร การสารนิเทศ คือ การใหขาวสารขอเท็จจริงตาง ๆ เชน นโยบายของรัฐบาล ศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งการใหความสะดวก ชวยเหลือ ปรับความเขาใจ แกความเขาใจผิด การแสดงอัธยาศัย ฯลฯ 4.ขอบเขตการดําเนินงานการสารนิเทศของรัฐบาลไทยที่เมืองนิวยอรก ขึ้นกับหนวยงานใด ก. กรมพาณิชสัมพันธ ข. การสื่อสารมวลชนแหงชาติ ค. กรมประชาสัมพันธ ง. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ตอบ ค. กรมประชาสัมพันธ ประเทศไทยทําการสารนิเทศในตางประเทศมานานแลวโดยกรมประชาสัมพันธ คือ มี สํานักงานแถลงขาวไทย ซึ่งตั้งอยูในตางประเทศหลายเมือง เชน กรุงวอชิงตัน นิวยอรก ลอสแองเจลิส ลอนดอน ฯลฯ 5.การสงเสริมการจําหนายในรูปแบบงานประชาสัมพันธคือขอใด ก. อุปถัมภรายการขาวสารคดี ข. การโฆษณาสินคาทางสื่อกระจายเสียง ค. การจัดแสดง ณ แหลงขาย ง. การโฆษณาโดยตัวแทนนําเสนอรางวัลหลังการประชุม ตอบ ค. การจัดแสดง ณ แหลงขาย การสงเสริมการจําหนายไมใชวิธีการขายโดยพนักงานหรือการโฆษณา แตเปนวิธีการ ขายในโอกาสพิเศษตาง ๆ เชน การจัดแสดงสินคา การจัดแสดง ณ แหลงขาย การจัดแสดง ภายในราน การจัดตูโชวสินคา การจัดนิทรรศการ การสาธิตใหชม ฯลฯ 6.องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธมีกี่ประการ ก. สอง ข. สาม ค. สี่ ง. หา ตอบ ค. สี่
  • 23. ~ 23 ~ องคประกอบพื้นฐานของการประชาสัมพันธมี 4 ประการคือ 1. เปนปรัชญาการบริหารของสังคม 2. เปนการแสดงออกถึงการตัดสินใจอยางถูกตอง 3. เปนการกระทําที่ตอเนื่องมาจากการกําหนดนโยบายที่ดี 4. เปนการติดตอสื่อสาร 7.กระบวนการสื่อสารในขอใดเกี่ยวของกับ “...เนื้อแทของความเปนประชาธิปไตยนั้น ประชาชนสามารถติดตามตรวจสอบองคกรหรือรัฐได....” ก. การสื่อสารปองกันตนเอง ข. การสื่อสารในแนวนอน ค. การสื่อสารประชาสัมพันธ ง. การโฆษณาสินคา ตอบ ค. การสื่อสารประชาสัมพันธ การสื่อสารประชาสัมพันธในประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น ประชาชนจะตองไดรับการบอกกลาวในเรื่องเกี่ยวกับสถาบันของตน แตเมื่อเผยแพรขาวสาร ออกไปแลว ก็มิไดหมายความวา ประชาชนจะเห็นดวยและคลอยตามไปเสียทุกอยาง โดย ประชาชนอาจเห็นดวย ไมเห็นดวย อาจตอตาน หรืออาจแสดงปฏิกิริยาโตตอบออกมาก็ได 8.กลยุทธของหลักการประชาสัมพันธเพื่อสรางความสัมพันธอันดีคือสิ่งใด ก. ระหวางบุคคลกับการสื่อสารระหวางกลุม ข. บุคคลตอการสื่อสารระบบหมุนเวียน ค. สถาบันกับการชวยสังคม ง. สถาบันกับสังคมภายนอก ตอบ ง. สถาบันกับสังคมภายนอก กลยุทธในการศึกษาหลักการประชาสัมพันธนั้น เปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจถึง รากฐานของการสรางความสัมพันธอันดีระหวางบุคคลตอบุคคล บุคคลตอหนวยงาน หรือ ระหวางสถาบันกับสังคมภายนอก และระหวางสมาชิกภายในสถาบันนั้น ๆ เอง อันจะมีผลให ประชาชนเกิดภาพลักษณที่ดีตอสถาบันและสถาบันสามารถดําเนินงานภายใตกรอบแหง สังคมไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
  • 24. ~ 24 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740