SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
2
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 4
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 10
วิสัยทัศน 11
คานิยมองคกร 11
พันธกิจ 11
วัตถุประสงค 12
เปาหมายหลัก 12
ยุทธศาสตร 13
ภารกิจ/บริการ 14
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 18
การปลูกยางพารา 18
การบํารุงรักษา 31
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 36
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44
การแปรรูปผลผลิต 46
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 49
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 67
สวนที่ 3 วิชาความรูความสามารถทั่วไป
คณิตศาสตร 79
อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ 79
เงื่อนไขภาษา 107
อุปมาอุปไมย 125
เงื่อนไขสัญลักษณ 133
ตาราง กราฟ และแผนภูมิ 138
ภาษาไทย 150
การใชคํา 150
การสรุปใจความ 163
สํานวน สุภาษิต คําพังเพย 169
ประโยค 175
ลักษณะภาษา 177
การใชภาษา 191
การสะกดคํา 209
การเขียนภาษาใหถูกตอง 214
การเรียงประโยค 238
การอานขอความ สรุปความและตีความ 245
สวนที่ 4 วิชาภาษาอังกฤษ
ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ 255
แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY 278
แนวขอสอบ VOCABULARY 282
แนวขอสอบ Reading Comprehension 286
3
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน
หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่
ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง
ใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา
ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ
เกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได
และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ
ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
4
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค
เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน
ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให
ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา
สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย
ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม
และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ
ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา
ในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง
ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง
ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร
เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน
วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4
ยุทธศาสตร ดังนี้
ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
5
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
การปลูกยางพารา
การเตรียมพื้นที่
การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก
ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช
พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่
ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได
เปนตน
การวางแนวปลูก
การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย
กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม
การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง
แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ
ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น
เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ
หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได
ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได
- ปองกันการพังทลายของหนาดิน
- ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง
- ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย
- ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน
- งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน
ระยะปลูก
เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ
ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง
การเตรียมหลุมปลูก
การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด
เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
6
ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170
กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต
แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)
สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม
เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน
มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี
การปลูก
วัสดุปลูกและวิธีการปลูก
วัสดุปลูก
วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2
ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช
ตนตอตา
ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก
ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม
นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว
ตนยางชําถุง
ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา
ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป
ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3
แถว ๆ ละ 5-7 รู
พันธุยาง
กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม
1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251
สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600
2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตร
เนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110
3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง
7
ปุยยางพาราหลังเปดกรีด
- ทุกเขตปลูกยางใชปุยสูตร 30 – 5 – 18
- ทั้งเขตปลูกยางเดิมและเขตปลูกยางใหมใหใสปุยครั้งละ 500 กรัม ตอตน ปละ 2
ครั้งครั้งแรกใสตนฤดูฝนประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม หลังจากยางผลัดใบใน
ขณะที่ใบยังเปนใบเพสลาด และครั้งที่2 ใสประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน กอนที่
ใบยางจะแก
วิธีการใสปุยยางพาราหลังเปดกรีด
- ในพื้นที่ราบ ใหหวานปุยหางจากบริเวณโคนตนยางประมาณ 3 เมตร หรือบริเวณ
กึ่งกลางระหวางแถว คราดกลบใหปุยอยูใตผิวดิน
- ในพื้นที่ลาดเทที่ไมตองทําขั้นบันไดหรือทองที่ที่มีฝนตกชุก ใหใสแบบหลุม 4 หลุม
รอบตนแลวฝงกลบ
- ในพื้นที่ลาดชันที่ทําขั้นบันได ใหหวานปุยลงบนขั้นบันไดตลอดแถวยาง
การผสมปุยเคมีใชเอง
นอกจากใชปุยสูตรสําเร็จแลว เกษตรกรสามารถผสมปุยเคมีใชเองเพื่อลดคาใชจายที่
เกิดจากการใชปุยเคมีสูตรสําเร็จ โดยการนําแมปุยเคมีที่ใหธาตุอาหารหลักมาผสมใชเองตาม
สูตรที่ตองการ สําหรับแมปุยที่แนะนําใหใชเปนแมปุยที่สะดวกในการจัดซื้อและราคาถูก
ไดแก
- ปุยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต ( 18-46-0)
- ปุยยูเรีย (46-0-0 )
- ปุยโพแทสเซียมคลอไรด( 0-0-60 )
ถาตองการผสมปุยสูตรตาง ๆ ใชเอง จํานวน 100 กิโลกรัม จากแมปุยทั้ง 3 ชนิด
ตองใชปริมาณแมปุยแตละชนิด ดังนี้
8
วิธีการผสมปุย
การผสมปุยใชเองเปนวิธีการงาย ๆ ที่เกษตรกรสามารถทําไดเอง เครื่องมือและ
อุปกรณในการผสมปุยมีเครื่องชั่ง ขันน้ําพลาสติก จอบ หรือ พลั่ว ลานพื้นซีเมนตหรือลาน
ดินที่แนนเรียบ โดยมีขั้นตอนการผสม ดังนี้
- ชั่งแมปุยที่มีขนาดสม่ําเสมอใกลเคียงกันตามน้ําหนักที่ตองการ แมปุยที่ใชใน
ปริมาณมากใหชั่งกอน เทลงบนลานผสมปุยเกลี่ยใหเปนกองแบน ๆ เสร็จแลวจึงเอาแมปุย
ชนิดอื่นที่มีจํานวนนอยกวาเททับใหทั่วกองตามลําดับ
- ใชพลั่วหรือจอบผสมคลุกเคลาปุยใหเขากัน โดยพลิกกลับไปมาจนปุยทุกสวนผสม
เขากันอยางสม่ําเสมอ
- ตักปุยผสมใสกระสอบปุยนําไปใชไดทันที
- ควรผสมปุยในจํานวนที่ตองการเทานั้น ไมควรเก็บปุยผสมไวนานเกิน 2 สัปดาห
เพราะปุยอาจชื้นและจับตัวเปนกอนแข็งทําใหปุยเสื่อมคุณภาพ
ขอดีของการผสมปุยเคมีใชเอง
1. หลีกเลี่ยงปญหาเรื่องปุยปลอมหรือปุยไมไดมาตรฐาน เนื่องจากแมปุยเคมีจัดหามา
จําหนายไดมีการตรวจสอบคุณภาพ
2. เกษตรกรมีปุยใชทันเวลา เพียงแตมีแมปุย 3 ชนิด ก็สามารถผสมปุยเคมีไดทุก
สูตร โดยไมตองไปจัดซื้อปุยเม็ดแตละครั้ง ทําใหเสียเวลาและคาใชจาย รวมทั้งประกันเรื่อง
การขาดแคลนปุยในเวลาที่ตองการใชแมปุยเคมีที่เหลือเก็บไวใชปลายปโดยไมเสื่อมคุณภาพ
3.มีอํานาจในการตอรองราคา เมื่อเกษตรกรผสมปุยเคมีใชเองจํานวนมากขึ้น ทําให
เกิดอํานาจในการตอรองราคาจากผูผลิตปุยเคมีชนิดเม็ด เพราะผูขายจําเปนตองลดกําไรและ
ปรับราคาใหถูกลงเพื่อดึงดูดลูกคากลับมา มีผลทําใหเกษตรกรซื้อปุยเคมีชนิดเม็ดถูกลงดวย
4. ทําใหเกษตรกรเกิดความรูความชํานาญ เมื่อเกษตรกรผสมปุยสูตรตาง ๆ แลว
นําไปใชกับพืชแตละชนิด เกิดความชํานาญและเกิดความคิดดัดแปลงในการปรับสูตรปุย โดย
การเพิ่ม – ลดปริมาณธาตุอาหารแตละชนิดในสวนผสมของปุย ทําใหผูใชปุยเคมีเกิดการ
พัฒนา เปนหนทางนําไปสูความเขาใจในหลักการและหนาที่ของแมปุยแตละชนิด เกิดผลดี
แกเกษตรกรของประเทศโดยสวนรวม
5. เกษตรกรไดใชปุยในราคายุติธรรม ราคาของปุยผสมใชเองสูตรตาง ๆ ถูกกวา
ปุยเคมีชนิดเม็ดที่จําหนาย เพราะลดขั้นตอนการผลิต
9
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
ในพระปรมาภิไธย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
สังวาลย
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค
ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503
เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน
โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อชวยเหลือ
เจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีขึ้น
พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะ
รัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการ
ทําสวนยาง พ.ศ. 2503”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.)
“ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ
กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละ
ไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน
“สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร
“สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึง
สองรอยหาสิบไร
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไร
ขึ้นไป
“เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผลจาก
ตนยางในสวนยางที่ทํานั้น
10
“ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือยาง
ในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐ
จากยาง
“การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มี
ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืนตนเกา
ทั้งหมดหรือบางสวน
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึง
วันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
“เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปน
เจาพนักงานสงเคราะห
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง
“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะหการ
ทําสวนยาง
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่งสง
สมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุนใชจาย
ในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดียิ่งขึ้น
ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนิน
กิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการใด ๆ ที่
จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและสวนไมยืน
ตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการสงเคราะห กับ
ใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นที่มี
ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย
ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญในกรุงเทพมหานคร
เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง”
มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตน
ชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
ตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
11
อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ
เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือ
สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับนั้นอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายชั้น หรือเชิงซอนก็ได
ในที่นี้พอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังนี้
วิธีบวก
จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ
สลับกันไปกับเรียงลําดับ
ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 10 15 20 ?
วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 5
นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 5
∴ ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25
ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ 2 4 6 8 10 ?
วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2
นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2
∴ ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12
5 10 15 20 ?
+5 +5 +5 +5
2 4 6 8 10 ?
+2 +2 +2 +2 +2
12
ตัวอยางที่ 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 4 7 10 ?
วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 3
นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 3
∴ ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13
ตัวอยางที่ 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 7 9 11 ?
วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2
นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2
∴ ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13
ตัวอยางที่ 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 2 4 7 11 ?
วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1
นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1(เพิ่มขึ้นเทากับ 5)
∴ ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16
1 4 7 10 ?
+3 +3 +3 +3
5 7 9 11 ?
+2 +2 +2 +2
1 2 4 7 11 ?
+1 +2 +3 +4 +5
13
อุปมาอุปไมย
อุปมาอุปไมย ทางดานภาษา เปนการวิเคราะหหาความสัมพันธของคูที่ไดมา และคู
ถัดไปซึ่งพอจะแยกยอยรูปแบบของความสัมพันธ ไดดังนี้
ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่งหรือเปนลักษณะสวนยอยของสวนใหญ
ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม
ความสัมพันธในลักษณะหนาที่
ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน
ความสัมพันธในลักษณะสถานที่
ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม
เปนตน
แบบที่ 1 ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเปนลักษณะ
สวนยอยของสวนใหญ
ตัวอยางที่ 1 ออกซิเจน : ไฮโดรเจน ? : ?
ก. ไนโตรเจน : ปุย ข. น้ํา : โปแตสเซียม
ค. ฟอสฟอรัส : อากาศ ง. โปรแตสเซียม : แมงกานีส
ตอบ ก. ไนโตรเจน : ปุย
แนวคิด ไนโตรเจน เปนสวนประกอบของปุย
ไฮโดรเจน เปนสวนประกอบของน้ํา
ตัวอยางที่ 2 อําเภอ : ตําบล ? : ?
ก. จังหวัด : อําเภอ ข. ภูมิภาค : ประเทศ
ค. จังหวัด : หมูบาน ง. หมูบาน : ประเทศ
ตอบ ก. จังหวัด : อําเภอ
แนวคิด ตําบลเปนสวนหนึ่งของอําเภอ
อําเภอเปนสวนหนึ่งของจังหวัด
ตัวอยางที่ 3 ดาย : ตะเกียง ? : ?
ก. หลอดไฟ : ไฟฉาย ข. เข็ม : ดาย
ค. แกรไฟ : ดินสอ ง. ดินสอ : ยางลบ
14
ตอบ ค. แกรไฟ : ดินสอ
แนวคิด ดายเปนสวนที่อยูภายในตะเกียง
แกรไฟ เปนสวนที่อยูภายในดินสอ
ตัวอยางที่ 4 เพนนี : ปอนด ? : ?
ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร ข. รูป : เหรียญ
ค. เยน : บาท ง. เซนต : ปอนด
ตอบ ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร
แนวคิด 10 เพนนี เทากับ 1 ปอนด
10 มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร
ตัวอยางที่ 5 ป : ศตวรรษ ? : ?
ก. อาจารย : มหาวิทยาลัย ข. ตัน : กิโลกรัม
ค. มิลลิเมตร : เมตร ง. ปอนด : กิโลกรัม
ตอบ ค. มิลลิเมตร : เมตร
แนวคิด 100 ป เทากับ 1 ศตวรรษ
100 มิลลิเมตร เทากับ 1 เมตร
ตัวอยางที่ 6 ครีม : ผงกาแฟ ? : ?
ก. โตะ : นักเรียน ข. กะเพรา : หมูสับ
ค. ขนมจีน : แปง ง. นักเรียน : ครู
ตอบ ข. กะเพรา : หมูสับ
แนวคิด ครีมกับผงกาแฟ เปนสวนผสมของเครื่องดื่มกาแฟ
กะเพรา กับ หมู สับ เปนสวนผสมของอาหารกะเพราหมูสับ
แบบที่ 2 ความสัมพันธในดานความหมายที่เหมือนกันหรือคลายคลึงกัน
หรือตรงขามกัน
ตัวอยางที่ 1 ดี : ชั่ว ? : ?
ก. อดทน : เขมแข็ง ข. ยากจน : แสนเข็ญ
ค. สบาย : ลําบาก ง. ลําบาก : ตรากตรํา
ตอบ ค. สบาย : ลําบาก
แนวคิด ดี กับ ชั่ว เปนคําที่มีความหมายตรงกันขามกัน
15
คําเชื่อม
คําเชื่อม หมายถึง คําที่ทําหนาที่เชื่อมคํา หรือเชื่อมประโยค หรือคําที่ทําหนาที่ขยายขอความให
ชัดเจน ยิ่งขึ้นสามารถแบงประเภทคําเชื่อมได 3 ประเภท
1. คําบุพบท คือ คําที่แสดงความสัมพันธระหวางคําหรือกลุมคํา เพื่อใหทราบหนาที่หรือทําให
ใจความสมบูรณ คําบุพบทที่ใชประจํา คือ เพื่อ ใน โดย ดวย สําหรับ ของ จาก
ตาม กับ แก แด ตอ บน เหนือ ได ลาง ริม แหง อยาง เมื่อ
2. คําสันธาน คือ คําที่ทําหนาที่เชื่อมประโยค หรือเชื่อมคําเขาดวยกัน เพื่อใหคําหรือ
ประโยคเหลานั้นมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง เชน คลอยตาม เปนเหตุและผล ขัดแยง
เลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง เปนตน
2.1 สันธานเชื่อมความคลอยตาม
และ แลว จน ก็ ทั้ง........และ ก็.......พอ นอกจาก.........แลวยัง ( ยังตอง )
2.2 สันธานเชื่อมความขัดแยง
แต ทั้งๆ ที่ อยางไรก็ตาม ( ก็ดี ) แม........แต ถึง.....แต ( ก็ ) ........ ทั้งๆ ที่
.......ก็ยัง......
2.3 สันธานที่เชื่อมเพื่อเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง
หรือ ไมเชนนั้น สวน แทนที่ ไม.......ก็
2.4 สันธานเพื่อใชสรุปความ
ดังนั้น เพราะฉะนั้น จึง ฉะนั้น ดังนั้น...........จึง.......
2.5 สันธานเพื่อการเปรียบเทียบ
ดุจ ดัง ราวกับ เสมือน เปรียบเสมือน เปรียบประดุจ ละมาย
2.6 สันธานบอกเหตุและผล
เพราะ เนื่องจาก ก็ดวย ก็เพราะ เนื่องมาจาก
2.7 สันธานคูที่ควรรู
เนื่องจาก.........จึง........ ถา ( หาก )..............ก็ ( แลว ).........
3. ประพันธสรรพนาม คือ คําที่ทําหนาที่แทนคํานามที่อยูขางหนา มีคําวา ที่ ซึ่ง อัน
- คุณนิดซึ่งเปนนองสาวของคุณนอย เปนพยาบาลมาหลายปแลว
- นมชนิกพรองมันเนยไมเหมาะกับเด็กซึ่งอยูในวัยเจริญเติบโต
16
ตารางสรุปวิธีใชคําเชื่อม
ลําดับ
คําหรือ
กลุมคํา
วิธีใช ตัวอยาง
1 ตอ
( บุพบท )
ก. เนนความเปนเฉพาะ และการกระทําตอ
หนา
ยื่นคํารองตอศาล ใหการตอเจาหนาที่
เปนกบฏตอรัฐบาล ขัดตอกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ ขัดตอจารีตประเพณี
ข. ใชรวมกับคํากริยาบางคํา ผลตอ ผลกระทบตอ สงผลตอ
เอื้ออํานวยตอ สําคัญตอ อิทธิผลตอ
ขึ้นตรงตอ จําเปนตอ ประโยชนตอ
( แก ) อุปสรรคตอ
คําที่อยูในกลุม ( ก ) และ ( ข ) หาม
ใชบุพบท “ กับ ”
2 แก ก. แก ใชนําหนาผูรับ ให มอบ แจก สง สงเคราะห คํา
เหลานี้ตอใช “ แก ” แลวตามดวยผูรับ
หรือสิ่งที่รับ
ระวัง ประโยชนแก ( ตอ )
แด
( บุพบท )
ข. แด ใชนําหนาผูรับที่มีศักดิ์หรือฐานะที่สูง
กวาผูพูด
ถวายพระพรแดองคพระประมุข ทําบุญ
อุทิศแดบรรพบุรุษ แตระวัง ประธาน
กลาวอวยพรแกคูบาวสาว
คําที่อยูในกลุม ( ก ) และ ( ข ) หาม
ใชบุพบท “ กับ ”
3 กับ
( บุพบท )
ก. ใชเมื่อประธานทํากริยาเดียวกันในเวลา
เดียวกันอยูในรูป ประธาน1 + กับ +
ประธาน2
เขากับฉันไปดูหนัง เขากับฉันไปเที่ยว
ดวยกัน นาย ก กับนางสาว ข ทํางาน
ดวยกัน
ข. ใชรวมกับคํากริยาบางคํา เกี่ยวของกับ สัมพันธกับ ผูกพันกับ
ประสานกับ ตกลงกับ ชี้แจงกับ
สนทนากับ เผชิญกับ ปราศรัยกับ
รวมมือกับ เห็นชอบกับ ขัดแยงกับ
สอดคลองกับ ระหวาง...กับ...
17
คําที่อยูในกลุม ( ก ) และ ( ข ) หาม
ใชบุพบท
“ ตอ แก แด ”
ค. ใชในการบอกระยะทาง ( ใกล + กับ )
( ใกลเคียง + กับ )
จังหวัดสมุทรปราการเปนจังหวัดที่อยู
ใกลกับ
กรุงเทพมหานคร มูลคาการสงออกปนี้
ใกลเคียงกับปที่ผานมา
4 จาก
( บุพบท )
ก. ใชบอกแหลงที่มา เขาเดินทางมาจากจังหวัดอุดรธานี น้ํา
ไหลมาจากดอยสูง จากผลการวิจัย
พบวา จากการสํารวจ จากการศึกษา
ข. ใชนําหนาวัสดุที่ประดิษฐ ผลิตจาก ทําจาก ทํามาจาก สรางจาก
ค. ใชรวมกับคํากริยาบางคํา ไดรับจาก รับจากขอจาก ถอนจาก
เบิกจาก เก็บจาก เรียกจาก คําเหลานี้
ตอตามดวยผูให
ง. ใชในการบอกระยะทาง ( ไกล + จาก )
( แตกตาง + จาก )
จังหวัดอุทัยธานีอยูไมไกลจาก
กรุงเทพมหานคร การแถลงนโยบายครั้ง
นี้ของรัฐบาลไมแตกตางจากครั้งที่ผานมา
5 ตาม
( บุพบท )
ก. ใชนําหนาสิ่งที่ถูกตอง ขอบังคับ
ขอกําหนด กฎหมาย
ตามกฎหมายวาดวย.. ตามกติกา ตาม
ขอบังคับ ตามระเบียบ ตาม
กฎกระทรวงกําหนดไววา..
ข. ใชบอกจํานวนที่แนชัด ตามสัดสวนการผสม
ค. ใชนําหนาสิ่งที่กําหนดไวลวงหนา ตามโครงการ ตามนโยบาย ตาม
แผนงาน ตามแผนการ ตามที่ได
วางแผนไว ตามเปาหมาย
หามใช ในกฎหมาย ดวยกฎหมาย
โดยกฎหมาย
ในสัดสวน ในเปาหมาย
6 เพื่อ ก. เพื่อใชบอกจุดประสงคหรือจุดมุงหมายทั่วๆ
ไป
นโยบายการผันเงินสูชนบทเพื่อความ
เปนอยูของชาวนา
สําหรับ
( บุพบท )
ข. สําหรับใชบอกจุดประสงคโดยเฉพาะเจาะจง ออมเงินไวสําหรับอนาคตลูก เลี้ยงมา
สําหรับแขง
หามใช สําหรับ ขึ้นตนประโยค
18
การเขียนภาษาใหถูกตอง
ขอบกพรองของประโยค มีดังนี้
1. ใชคําผิดความหมาย 2. ใชคําผิดหนาที่
3. ใชสํานวนตางประเทศ 4. ใชภาษาฟุมเฟอย
5. ใชภาษากํากวม 6. เรียงลําดับคําไมถูกตอง
7. ประโยคไมจบเพราะขาดสวนสรุป 8. ใชคําเชื่อมผิด
1. ใชคําผิดความหมาย
ประโยคบกพรอง : เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดรอนคนงานที่ไมจําเปนออก
ประโยคถูกตอง : เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดคนงานที่ไมจําเปนออก
เหตุผล : ตัดรอน = ตัดไมตรี
ประโยคบกพรอง : บานหลังนี้พังโยเยเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว
ประโยคถูกตอง : บานหลังนี้พังเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว
เหตุผล : โยเย = โยกคลอน ใชกับคําวา “ พัง ” ไมได
2. ใชคําผิดหนาที่
ประโยคบกพรอง : คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีมุมานะ
ประโยคถูกตอง : คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีความมุมานะ
เหตุผล : “ มุมานะ ” เปนคํากิริยา คําที่ใชถูกตองคือคํานาม “ ความมุมานะ ”
เปนคํานาม
ประโยคบกพรอง : อีรักถูกโดดเดี่ยวจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี
การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว
ประโยคถูกตอง : อีรักถูกทอดทิ้งจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี
การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว
เหตุผล : “โดดเดี่ยว” เปนคําวิเศษณ คําที่ใชถูกตองคือคํากิริยา “ ทอดทิ้ง ” เปน
คํากิริยา
ใชสํานวนตางประเทศ
ประโยคบกพรอง : มันเปนเวลาบายเมื่อขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหม
ประโยคถูกตอง : ขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหมเวลาบาย ( ก็เปนเวลาบาย )
เหตุผล : “ มันเปน... ” เปนสํานวนตางประเทศ
ประโยคบกพรอง : เธอเดินเขามาในหองพรอมดวยรอยยิ้ม
ประโยคถูกตอง : เธอเดินยิ้มมาในหอง
เหตุผล : “ พรอมดวยรอยยิ้ม... ” เปนสํานวนตางประเทศ
ประโยคบกพรอง : สมรักษซอนรางอยูในเสื้อคลุมสีน้ําเงิน
19
ประโยคถูกตอง : สมรักษสวมเสื้อคลุมสีน้ําเงิน
เหตุผล : “ ซอนราง... ” เปนสํานวนตางประเทศ
3. ใชภาษาฟุมเฟอย
ประโยคบกพรอง : ชาติไทยเปนชาติเกาแกมาแตดั้งเดิม
ประโยคถูกตอง : ชาติไทยเปนชาติเกาแก
เหตุผล : “ เกาแก ” กับ “ ดั้งเดิม ” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใดคํา
หนึ่ง
ประโยคบกพรอง : ผูตั้งเคหสถานบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสุทธิ์
ประโยคถูกตอง : ผูตั้งบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสุทธิ์
เหตุผล : “เคหสถาน” กับ “บานเรือน” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใด
คําหนึ่ง
4. ใชภาษากํากวม
ประโยคบกพรอง : มีแตคนชมวาแมเลี้ยงฉันดี
ประโยคถูกตอง : มีแตคนชมวาแมเลี้ยง+ฉันดี หรือมีแตคนชมวาแม+เลี้ยงฉันดี
เหตุผล : กํากวมตรงคําวา “ แมเลี้ยง ” ตีความหมายได 2 นัย
ประโยคบกพรอง : ใหพนักงานเชื่อฟงนายจางทุกคน
ประโยคถูกตอง : ใหพนักงานทุกคนเชื่อฟงนายจาง
เหตุผล : กํากวมตรงคําวา “ ทุกคน ” ตีความหมายได 2 นัยคือ พนักงานทุก
คน
นายจางทุกคน
5. เรียงลําดับคําไมถูกตอง
ประโยคบกพรอง : ฝนตกหนักจนทางขางหนามองไมเห็น
ประโยคถูกตอง : ฝนตกหนักจนมองไมเห็นทางขางหนา
ประโยคบกพรอง : เขาไมทราบสิ่งถูกตองวาเปนอยางไร
ประโยคถูกตอง : เขาไมทราบวาสิ่งถูกตองเปนอยางไร
ประโยคบกพรอง : เวียตกงบุกหมูบานโจมตีใกลกรุงพนมเปญ
ประโยคถูกตอง : เวียตกงบุกโจมตีหมูบานใกลกรุงพนมเปญ
ประโยคบกพรอง : ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันคือสอบเขารับราชการใหไดในขณะนี้
ประโยคถูกตอง : ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันในขณะนี้คือสอบเขารับราชการใหได
ประโยคบกพรอง : อยางจริงใจผมนับถือคุณตั้งแตพบกันครั้งแรก
20
การเรียงประโยค
1. หาขอขึ้นตนประโยค โดยยึดหลักดังนี้
1.1 คํานาม รวมทั้งคํา “การ+กริยา” และ “ความ+ วิเศษณ”
1.2 ชวงเวลา รวมทั้งคํา เมื่อ ใน (ชวงเวลาถาไมขึ้นตนก็จะอยูประโยคสุดทาย)
1.3 คําเชื่อมบางคํา เนื่องจาก แมวา ถา หาก คําเหลานี้จะขึ้นตนไดตองรวมกับคํานาม
1.4 หนังสือราชการ ขึ้นตนดวย ตาม ตามที่ ดวย
2. คําเชื่อมที่เปนคํามาตรฐานมี 11 คําคือ ที่ ซึ่ง อัน เพื่อ ใน โดย ดวย สําหรับ ของ จาก ตาม
คําเหลานี้ ขึ้นตนประโยคไมได ยกเวนคําวา ใน+นาม จาก+นาม ตาม+ขอบังคับ ตาม+
หนวยงาน
และคําเหลานี้อยูกลางประโยคถือเปนสวนขยายใหตัดสวนขยายเหลานั้นทิ้ง
3. คําปดประโยค อีกดวย ก็ตาม นั้นเอง ตอไป เทานั้น ถาคําเหลานี้ลงทายของขอแลวสวนมาก
ขอนั้นจะเปนขอสุดทาย ชวงเวลา ประโยคคําถาม
3. โครงสรางประโยคที่ใชบอย ทั้ง…และ….รวมทั้ง(ตลอดจน) นอกจาก……แลวยัง(ยังตอง)
ไม………แต แม…แต ดังนั้น+นาม+จึง ถา……แลว(ยัง)
5. คํานามที่เปนชื่อเฉพาะจะตองบวกคํากริยา เชน ประเทศสมาชิกอาเซียน กระทรวงมหาดไทย
6. หากมีขอใดขึ้นตนดวยคําวา และ หรือ ใหใชเทคนิคหาคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน
7. หากมีขอใดขึ้นดวยคําวา กับ ตอ ใหหาคํากริยาที่ใชคูกัน เชน ประสานกับ ชี้แจงกับ ผลตอ
8. ในการเรียงหากเหลือ 2 ขอ ใหพิจารณากริยาใดเกิดขึ้นกอน หรือเกิดทีหลัง
สรุปเปนขั้นตอนไดดังนี้
ขั้นที่ 1 หาประโยคแรกหรือประโยคที่ 1 ใหหาคําตอไปนี้
1. การ
2. นามเฉพาะ (ถามี 2 คํา ใหเอานามใหญขึ้นตน)
3. เครื่องหมายคําพูด “...................”
4. เพื่อ (ใชขึ้นตนประโยคกรณีที่ไมมีคําที่สามารถขึ้นตนได)
5. **** คําสันธานหรือคําเชื่อมหามนํามาขึ้นตนประโยคเด็ดขาด
ขั้นที่ 2 หาประโยคสุดทายหรือประโยคที่ 4 ใหหาคําตอไปนี้
1. ..........เปนตน
2. ..........ทั้งหมด, ..........ทั้งสิ้น
3. ..........ดวย, ..........อีกดวย
4. ..........มากที่สุด, ..........มากยิ่งขึ้น
5. ชวงเวลาถาขึ้นตนประโยคแรกไมไดใหนํามาไวที่ประโยคสุดทาย
21
บทความ
บทความสั้น
รูปแบบที่ 1 ประโยคสอดคลอง ตีความประโยค ไมสอดคลอง ตีความไมถูกตอง มีประมาณ 5 ขอ
รูปแบบนี้ไมจําเปนตองหาประธาน โดยสามารถตีความจากขอตาง ๆ ตามขางบนได
รูปแบบที่ 2 สรุปใจความสําคัญ หาประธาน ตัดตัวเลือกที่ไมมีประธาน เหลือไวเฉพาะที่มีประธาน 
เทานั้น อานและขีดเสนใตคําที่สําคัญขางตน ประธาน + คําที่สําคัญ คือคําตอบ
รูปแบบที่ 3 เรื่องยอย ๆ
1. ขอความขางตนกลาวถึงเรื่องใด ทําเชนเดียวกับรูปแบบที่ 2 (ออกครั้งละ 1 ขอ)
2. ขอความขางตนผูเขียนมีจุดประสงคอยางไร หรือจุดประสงคของบทความ ทําโดยใช
กลุมคํา ภาษาแสดงทรรศนะ สวนมากภาษาแสดงทรรศนะจะแสดงไวทายบทความ
3. ขอความขางตนกลาวไวกี่ประเด็น (ขอสอบจะตอบ 2 ประเด็นทุกครั้ง)
4. ขอสอบใหแยกความแตกตางของคําในพจนานุกรม เชน เรื่องเม็ด กับเมล็ด
5. ความแตกตางของคําศัพท
6. ขอสอบใหบริบทมาและศัพทที่ขีดเสนใต แลวถามความหมายของศัพทโดยการแปลจาก
บริบทขางเคียง
7. ขอสอบใหความหมายของศัพทแตใหหาคําจํากัดความ
8. การหาประโยคที่มีความหมายหรือโครงสรางประโยคที่เหมือนกัน
แนวขอสอบการอานขอความ – สรุปความ – ตีความ
1. นอกจากการเจรจาระหวางรัฐทั้งสองรัฐ ซึ่งเปนการติดตอระหวางรัฐเปนสวนใหญแลวการ
ติดตอกันแบบหลายฝายพรอมกันก็มีมากขึ้น ในรูปแบบของการประชุมนานาชาติเพื่อตกลงกัน
ในปญหาเฉพาะอยาง
ขอความนี้ตีความอยางไร
ก. ปจจุบันการติดตอระหวางรัฐมีมากขึ้น
ข. การเจรจาแบบหลายฝายนั้นปญหาตองเกี่ยวของกับทุกฝาย
ค. การแกปญหาโดยการเจรจาแบบหลายฝายไดรับความนิยมมากขึ้น
ง. วัตถุประสงคของการเจรจาแบบรับแบบหลายฝายตางกัน
2. ความสับสนหรือไมเขาใจความหมายของคํา ทําใหเลือกใชคําผิดความหมายสื่อกันไมเขาใจ
เชนคําวาประชากร ประชาชน ประชาคม แมจะมีความใกลเคียงกันแตหากใชผิดที่ก็ผิดความ
ขอความขางตนสรุปไดอยางไร
ก. คําวาประชากร ประชาชน ประชาคม มีความหมายเหมือนกัน
22
ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ
คํานาม (Noun) คือ คําที่เปนชื่อของคน สัตว สิ่งของ สถานที่หรือคุณสมบัติ
ประเภทของคํานาม
คํานามในภาษาอังกฤษมีดังนี้
1. สามานยนาม (Common Noun)
คือ คํานามที่เปนชื่อเรียกคน สัตว สิ่งของ หรือสถานที่ ซึ่งไมใชชื่อเฉพาะ เชน
book, snake, pencil ฯลฯ
2. วิสามานยนาม (Proper Noun)
คือคํานามที่เปนชื่อเรียกเฉพาะของคน สัตว สิ่งของหรือสถานที่ ซึ่งจะตองเขียน
ขึ้นตนดวยตัวพิมพใหญเสมอเชน Suchada, Bangkok ฯลฯ
คํานามที่เปนชื่อเฉพาะของเมือง ประเทศ หรือทวีปตาง ๆ เมื่อใชเปนคําคุณศัพท
จะหมายถึง “ประชากร / ภาษาของเมือง ประเทศ หรือทวีปนั้น ๆ โดยการเติมปจจัยตาง ๆ ทาย
คํานาม หรือบางคําก็มีการเปลี่ยนแปลงรูป ซึ่งจะเขียนขึ้นตนดวยตัวพิมพเล็กดังนี้”
1. เติมปจจัย –n.
Africa → African Asia → Asian Cambodia → Cambodian
Alaska → Alaskan Australia → Australian Indonesia → Indonesian
Algeria → Algerian Bolivia → Bolivian Nigeria → Nigerian
Cuba → Cuban Persia → Persian Venezuela → Venezuelan
India → Indian Russia → Russian Panama → Panaman / Panamanian
2. เติมปจจัย –ian
Brazil → Brazilian Ecuador → Ecuadorian Norway → Norwegian
Belgium → Belgian Egypt → Egyptian Peru → Peruvian
Canada → Canadian Iran → Iranian Ukraine → Ukrainian
3. เติมปจจัย –ish
Britain → British Finland → Finnish Spain → Spanish
Denmark → Danish Ireland → Irish Sweden → Swedish
England → English Scotland → Scottish Turkey → Turkish
4. เติมปจจัย –lese, –nese,–ese
Burma → Burmese Congo → Congolese Lebanon → Lebanese
Ceylon → Ceylonese Japan → Japanese Nepal → Nepalese
23
China → Chinese Java → Javanese Siam → Siamese
Vietnam → Vietnamese
5. เติมปจจัย –i
Bengal → Bengali Israel → Israeli Punjab → Punjabi
Iraq → Iraqi Pakistan → Pakistani Yemen → Yemeni
6. เติมปจจัย –o
The Philippines → Filipino
7. เติมปจจัย –ic
Iceland → Icelandic
8. เปลี่ยนรูปเปนอยางอื่น
fgha
nista
n
→ Afghan Germany → German Switzerland → Swiss
Argentina → Argentin Greece → Greek The Netherlands/Holland → Dutch
Denmark → Dane/Danish Thailand → Thai
แตคําที่เปนชื่อเฉพาะเหลานี้อาจใชในความหมายที่ไมชี้เฉพาะเจาะจง (สา
มานยคุณศัพท) โดยจะขึ้นตนดวยตัวพิมพเล็ก เชน
Rome → roman type (ตัวพิมพธรรมดา) China → chinaware (เครื่องเคลือบดินเผา)
Italy → italic type (ตัวพิมพที่เปนตัวเอน) Japan → japan tray (ถาดเครื่องเขิน)
Congo → congo snake (งูชนิดหนึ่ง) Titan → titanic person (ผูทรงพลัง, คนรางใหญ)
แตมีสามานยคุณศัพทบางคําที่เขียนขึ้นตนดวยตัวพิมพใหญ ไดแก
Manila → Manila paper (กระดาษสีน้ําตาล) India → India / Indian ink (หมึกชนิดหนึ่ง)
3. สมุหนาม (Collective Noun)
คือ คํานามที่มีความหมายแสดงกลุม หมู หรือพวก สมุหนามบางคําจะตองเลือกใช
คําใหถูกตองเหมาะสมกับความหมายแสดงความเฉพาะเจาะจงวาเปนกลุมของคนหรือสัตวหรือ
สิ่งของประเภทใด เชน
army bundle clump flock hive school string bunch
band brood cluster galaxy horde set swarm cloud
basket catch company gang pack sheaf team fleet
battalion chain constellation group pair shower tribe herd
bench range crowd grove regiment species troop staff
bevy class division heap stack squad tuft
สมุหนามเปนไดทั้งคํานามเอกพจนและพหูพจนซึ่งขึ้นอยูกับความหมายในแตและบริบท
24
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4tulibslideshare
 
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 
การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1Athita Vivatpinyo
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6ปริญญา สุโพธิ์
 
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศแนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศเดโช พระกาย
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พrootssk_123456
 
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551Nanthapong Sornkaew
 

Andere mochten auch (13)

คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
 
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 
การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
 
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศแนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่น ชุด แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้าก้าวที่ 1
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่น ชุด แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้าก้าวที่ 1แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่น ชุด แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้าก้าวที่ 1
แนวข้อสอบเตรียมสอบท้องถิ่น ชุด แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้าก้าวที่ 1
 
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 

Mehr von บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Mehr von บ.ชีทราม จก. (15)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK แนวข้อสอบ กสย แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอบ สกย คู่มือสอบ สกย ท

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 4 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 10 วิสัยทัศน 11 คานิยมองคกร 11 พันธกิจ 11 วัตถุประสงค 12 เปาหมายหลัก 12 ยุทธศาสตร 13 ภารกิจ/บริการ 14 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 18 การปลูกยางพารา 18 การบํารุงรักษา 31 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 36 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44 การแปรรูปผลผลิต 46 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 49 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 67 สวนที่ 3 วิชาความรูความสามารถทั่วไป คณิตศาสตร 79 อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ 79 เงื่อนไขภาษา 107 อุปมาอุปไมย 125 เงื่อนไขสัญลักษณ 133 ตาราง กราฟ และแผนภูมิ 138 ภาษาไทย 150 การใชคํา 150 การสรุปใจความ 163 สํานวน สุภาษิต คําพังเพย 169 ประโยค 175 ลักษณะภาษา 177 การใชภาษา 191 การสะกดคํา 209 การเขียนภาษาใหถูกตอง 214 การเรียงประโยค 238 การอานขอความ สรุปความและตีความ 245 สวนที่ 4 วิชาภาษาอังกฤษ ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ 255 แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY 278 แนวขอสอบ VOCABULARY 282 แนวขอสอบ Reading Comprehension 286
  • 3. 3 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ เกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
  • 4. 4 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา ในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค และเปาหมาย ในชวงแผน วิสาหกิจ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4 ยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
  • 5. 5 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได เปนตน การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
  • 6. 6 ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก) สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตร เนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110 3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง
  • 7. 7 ปุยยางพาราหลังเปดกรีด - ทุกเขตปลูกยางใชปุยสูตร 30 – 5 – 18 - ทั้งเขตปลูกยางเดิมและเขตปลูกยางใหมใหใสปุยครั้งละ 500 กรัม ตอตน ปละ 2 ครั้งครั้งแรกใสตนฤดูฝนประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม หลังจากยางผลัดใบใน ขณะที่ใบยังเปนใบเพสลาด และครั้งที่2 ใสประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน กอนที่ ใบยางจะแก วิธีการใสปุยยางพาราหลังเปดกรีด - ในพื้นที่ราบ ใหหวานปุยหางจากบริเวณโคนตนยางประมาณ 3 เมตร หรือบริเวณ กึ่งกลางระหวางแถว คราดกลบใหปุยอยูใตผิวดิน - ในพื้นที่ลาดเทที่ไมตองทําขั้นบันไดหรือทองที่ที่มีฝนตกชุก ใหใสแบบหลุม 4 หลุม รอบตนแลวฝงกลบ - ในพื้นที่ลาดชันที่ทําขั้นบันได ใหหวานปุยลงบนขั้นบันไดตลอดแถวยาง การผสมปุยเคมีใชเอง นอกจากใชปุยสูตรสําเร็จแลว เกษตรกรสามารถผสมปุยเคมีใชเองเพื่อลดคาใชจายที่ เกิดจากการใชปุยเคมีสูตรสําเร็จ โดยการนําแมปุยเคมีที่ใหธาตุอาหารหลักมาผสมใชเองตาม สูตรที่ตองการ สําหรับแมปุยที่แนะนําใหใชเปนแมปุยที่สะดวกในการจัดซื้อและราคาถูก ไดแก - ปุยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต ( 18-46-0) - ปุยยูเรีย (46-0-0 ) - ปุยโพแทสเซียมคลอไรด( 0-0-60 ) ถาตองการผสมปุยสูตรตาง ๆ ใชเอง จํานวน 100 กิโลกรัม จากแมปุยทั้ง 3 ชนิด ตองใชปริมาณแมปุยแตละชนิด ดังนี้
  • 8. 8 วิธีการผสมปุย การผสมปุยใชเองเปนวิธีการงาย ๆ ที่เกษตรกรสามารถทําไดเอง เครื่องมือและ อุปกรณในการผสมปุยมีเครื่องชั่ง ขันน้ําพลาสติก จอบ หรือ พลั่ว ลานพื้นซีเมนตหรือลาน ดินที่แนนเรียบ โดยมีขั้นตอนการผสม ดังนี้ - ชั่งแมปุยที่มีขนาดสม่ําเสมอใกลเคียงกันตามน้ําหนักที่ตองการ แมปุยที่ใชใน ปริมาณมากใหชั่งกอน เทลงบนลานผสมปุยเกลี่ยใหเปนกองแบน ๆ เสร็จแลวจึงเอาแมปุย ชนิดอื่นที่มีจํานวนนอยกวาเททับใหทั่วกองตามลําดับ - ใชพลั่วหรือจอบผสมคลุกเคลาปุยใหเขากัน โดยพลิกกลับไปมาจนปุยทุกสวนผสม เขากันอยางสม่ําเสมอ - ตักปุยผสมใสกระสอบปุยนําไปใชไดทันที - ควรผสมปุยในจํานวนที่ตองการเทานั้น ไมควรเก็บปุยผสมไวนานเกิน 2 สัปดาห เพราะปุยอาจชื้นและจับตัวเปนกอนแข็งทําใหปุยเสื่อมคุณภาพ ขอดีของการผสมปุยเคมีใชเอง 1. หลีกเลี่ยงปญหาเรื่องปุยปลอมหรือปุยไมไดมาตรฐาน เนื่องจากแมปุยเคมีจัดหามา จําหนายไดมีการตรวจสอบคุณภาพ 2. เกษตรกรมีปุยใชทันเวลา เพียงแตมีแมปุย 3 ชนิด ก็สามารถผสมปุยเคมีไดทุก สูตร โดยไมตองไปจัดซื้อปุยเม็ดแตละครั้ง ทําใหเสียเวลาและคาใชจาย รวมทั้งประกันเรื่อง การขาดแคลนปุยในเวลาที่ตองการใชแมปุยเคมีที่เหลือเก็บไวใชปลายปโดยไมเสื่อมคุณภาพ 3.มีอํานาจในการตอรองราคา เมื่อเกษตรกรผสมปุยเคมีใชเองจํานวนมากขึ้น ทําให เกิดอํานาจในการตอรองราคาจากผูผลิตปุยเคมีชนิดเม็ด เพราะผูขายจําเปนตองลดกําไรและ ปรับราคาใหถูกลงเพื่อดึงดูดลูกคากลับมา มีผลทําใหเกษตรกรซื้อปุยเคมีชนิดเม็ดถูกลงดวย 4. ทําใหเกษตรกรเกิดความรูความชํานาญ เมื่อเกษตรกรผสมปุยสูตรตาง ๆ แลว นําไปใชกับพืชแตละชนิด เกิดความชํานาญและเกิดความคิดดัดแปลงในการปรับสูตรปุย โดย การเพิ่ม – ลดปริมาณธาตุอาหารแตละชนิดในสวนผสมของปุย ทําใหผูใชปุยเคมีเกิดการ พัฒนา เปนหนทางนําไปสูความเขาใจในหลักการและหนาที่ของแมปุยแตละชนิด เกิดผลดี แกเกษตรกรของประเทศโดยสวนรวม 5. เกษตรกรไดใชปุยในราคายุติธรรม ราคาของปุยผสมใชเองสูตรตาง ๆ ถูกกวา ปุยเคมีชนิดเม็ดที่จําหนาย เพราะลดขั้นตอนการผลิต
  • 9. 9 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สังวาลย ผูสําเร็จราชการแทนพระองค ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503 เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อชวยเหลือ เจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีขึ้น พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะ รัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการ ทําสวนยาง พ.ศ. 2503” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.) “ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แตละ ไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน “สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร “สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไมถึง สองรอยหาสิบไร “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไร ขึ้นไป “เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผลจาก ตนยางในสวนยางที่ทํานั้น
  • 10. 10 “ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือยาง ในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐ จากยาง “การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มี ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืนตนเกา ทั้งหมดหรือบางสวน “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึง วันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น “เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปน เจาพนักงานสงเคราะห “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะหการ ทําสวนยาง “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่งสง สมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุนใชจาย ในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดียิ่งขึ้น ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนิน กิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการใด ๆ ที่ จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและสวนไมยืน ตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการสงเคราะห กับ ใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นที่มี ความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญในกรุงเทพมหานคร เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตน ชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกร ตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
  • 11. 11 อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือ สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับนั้นอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายชั้น หรือเชิงซอนก็ได ในที่นี้พอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังนี้ วิธีบวก จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ สลับกันไปกับเรียงลําดับ ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 10 15 20 ? วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 5 นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 5 ∴ ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25 ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ 2 4 6 8 10 ? วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2 นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2 ∴ ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12 5 10 15 20 ? +5 +5 +5 +5 2 4 6 8 10 ? +2 +2 +2 +2 +2
  • 12. 12 ตัวอยางที่ 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 4 7 10 ? วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 3 นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 3 ∴ ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13 ตัวอยางที่ 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 7 9 11 ? วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2 นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2 ∴ ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13 ตัวอยางที่ 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 2 4 7 11 ? วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู พบวา ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1 นั่นคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1(เพิ่มขึ้นเทากับ 5) ∴ ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16 1 4 7 10 ? +3 +3 +3 +3 5 7 9 11 ? +2 +2 +2 +2 1 2 4 7 11 ? +1 +2 +3 +4 +5
  • 13. 13 อุปมาอุปไมย อุปมาอุปไมย ทางดานภาษา เปนการวิเคราะหหาความสัมพันธของคูที่ไดมา และคู ถัดไปซึ่งพอจะแยกยอยรูปแบบของความสัมพันธ ไดดังนี้ ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่งหรือเปนลักษณะสวนยอยของสวนใหญ ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม ความสัมพันธในลักษณะหนาที่ ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน ความสัมพันธในลักษณะสถานที่ ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม เปนตน แบบที่ 1 ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเปนลักษณะ สวนยอยของสวนใหญ ตัวอยางที่ 1 ออกซิเจน : ไฮโดรเจน ? : ? ก. ไนโตรเจน : ปุย ข. น้ํา : โปแตสเซียม ค. ฟอสฟอรัส : อากาศ ง. โปรแตสเซียม : แมงกานีส ตอบ ก. ไนโตรเจน : ปุย แนวคิด ไนโตรเจน เปนสวนประกอบของปุย ไฮโดรเจน เปนสวนประกอบของน้ํา ตัวอยางที่ 2 อําเภอ : ตําบล ? : ? ก. จังหวัด : อําเภอ ข. ภูมิภาค : ประเทศ ค. จังหวัด : หมูบาน ง. หมูบาน : ประเทศ ตอบ ก. จังหวัด : อําเภอ แนวคิด ตําบลเปนสวนหนึ่งของอําเภอ อําเภอเปนสวนหนึ่งของจังหวัด ตัวอยางที่ 3 ดาย : ตะเกียง ? : ? ก. หลอดไฟ : ไฟฉาย ข. เข็ม : ดาย ค. แกรไฟ : ดินสอ ง. ดินสอ : ยางลบ
  • 14. 14 ตอบ ค. แกรไฟ : ดินสอ แนวคิด ดายเปนสวนที่อยูภายในตะเกียง แกรไฟ เปนสวนที่อยูภายในดินสอ ตัวอยางที่ 4 เพนนี : ปอนด ? : ? ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร ข. รูป : เหรียญ ค. เยน : บาท ง. เซนต : ปอนด ตอบ ก. มิลลิเมตร : เซนติเมตร แนวคิด 10 เพนนี เทากับ 1 ปอนด 10 มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร ตัวอยางที่ 5 ป : ศตวรรษ ? : ? ก. อาจารย : มหาวิทยาลัย ข. ตัน : กิโลกรัม ค. มิลลิเมตร : เมตร ง. ปอนด : กิโลกรัม ตอบ ค. มิลลิเมตร : เมตร แนวคิด 100 ป เทากับ 1 ศตวรรษ 100 มิลลิเมตร เทากับ 1 เมตร ตัวอยางที่ 6 ครีม : ผงกาแฟ ? : ? ก. โตะ : นักเรียน ข. กะเพรา : หมูสับ ค. ขนมจีน : แปง ง. นักเรียน : ครู ตอบ ข. กะเพรา : หมูสับ แนวคิด ครีมกับผงกาแฟ เปนสวนผสมของเครื่องดื่มกาแฟ กะเพรา กับ หมู สับ เปนสวนผสมของอาหารกะเพราหมูสับ แบบที่ 2 ความสัมพันธในดานความหมายที่เหมือนกันหรือคลายคลึงกัน หรือตรงขามกัน ตัวอยางที่ 1 ดี : ชั่ว ? : ? ก. อดทน : เขมแข็ง ข. ยากจน : แสนเข็ญ ค. สบาย : ลําบาก ง. ลําบาก : ตรากตรํา ตอบ ค. สบาย : ลําบาก แนวคิด ดี กับ ชั่ว เปนคําที่มีความหมายตรงกันขามกัน
  • 15. 15 คําเชื่อม คําเชื่อม หมายถึง คําที่ทําหนาที่เชื่อมคํา หรือเชื่อมประโยค หรือคําที่ทําหนาที่ขยายขอความให ชัดเจน ยิ่งขึ้นสามารถแบงประเภทคําเชื่อมได 3 ประเภท 1. คําบุพบท คือ คําที่แสดงความสัมพันธระหวางคําหรือกลุมคํา เพื่อใหทราบหนาที่หรือทําให ใจความสมบูรณ คําบุพบทที่ใชประจํา คือ เพื่อ ใน โดย ดวย สําหรับ ของ จาก ตาม กับ แก แด ตอ บน เหนือ ได ลาง ริม แหง อยาง เมื่อ 2. คําสันธาน คือ คําที่ทําหนาที่เชื่อมประโยค หรือเชื่อมคําเขาดวยกัน เพื่อใหคําหรือ ประโยคเหลานั้นมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง เชน คลอยตาม เปนเหตุและผล ขัดแยง เลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง เปนตน 2.1 สันธานเชื่อมความคลอยตาม และ แลว จน ก็ ทั้ง........และ ก็.......พอ นอกจาก.........แลวยัง ( ยังตอง ) 2.2 สันธานเชื่อมความขัดแยง แต ทั้งๆ ที่ อยางไรก็ตาม ( ก็ดี ) แม........แต ถึง.....แต ( ก็ ) ........ ทั้งๆ ที่ .......ก็ยัง...... 2.3 สันธานที่เชื่อมเพื่อเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง หรือ ไมเชนนั้น สวน แทนที่ ไม.......ก็ 2.4 สันธานเพื่อใชสรุปความ ดังนั้น เพราะฉะนั้น จึง ฉะนั้น ดังนั้น...........จึง....... 2.5 สันธานเพื่อการเปรียบเทียบ ดุจ ดัง ราวกับ เสมือน เปรียบเสมือน เปรียบประดุจ ละมาย 2.6 สันธานบอกเหตุและผล เพราะ เนื่องจาก ก็ดวย ก็เพราะ เนื่องมาจาก 2.7 สันธานคูที่ควรรู เนื่องจาก.........จึง........ ถา ( หาก )..............ก็ ( แลว )......... 3. ประพันธสรรพนาม คือ คําที่ทําหนาที่แทนคํานามที่อยูขางหนา มีคําวา ที่ ซึ่ง อัน - คุณนิดซึ่งเปนนองสาวของคุณนอย เปนพยาบาลมาหลายปแลว - นมชนิกพรองมันเนยไมเหมาะกับเด็กซึ่งอยูในวัยเจริญเติบโต
  • 16. 16 ตารางสรุปวิธีใชคําเชื่อม ลําดับ คําหรือ กลุมคํา วิธีใช ตัวอยาง 1 ตอ ( บุพบท ) ก. เนนความเปนเฉพาะ และการกระทําตอ หนา ยื่นคํารองตอศาล ใหการตอเจาหนาที่ เปนกบฏตอรัฐบาล ขัดตอกฎหมาย รัฐธรรมนูญ ขัดตอจารีตประเพณี ข. ใชรวมกับคํากริยาบางคํา ผลตอ ผลกระทบตอ สงผลตอ เอื้ออํานวยตอ สําคัญตอ อิทธิผลตอ ขึ้นตรงตอ จําเปนตอ ประโยชนตอ ( แก ) อุปสรรคตอ คําที่อยูในกลุม ( ก ) และ ( ข ) หาม ใชบุพบท “ กับ ” 2 แก ก. แก ใชนําหนาผูรับ ให มอบ แจก สง สงเคราะห คํา เหลานี้ตอใช “ แก ” แลวตามดวยผูรับ หรือสิ่งที่รับ ระวัง ประโยชนแก ( ตอ ) แด ( บุพบท ) ข. แด ใชนําหนาผูรับที่มีศักดิ์หรือฐานะที่สูง กวาผูพูด ถวายพระพรแดองคพระประมุข ทําบุญ อุทิศแดบรรพบุรุษ แตระวัง ประธาน กลาวอวยพรแกคูบาวสาว คําที่อยูในกลุม ( ก ) และ ( ข ) หาม ใชบุพบท “ กับ ” 3 กับ ( บุพบท ) ก. ใชเมื่อประธานทํากริยาเดียวกันในเวลา เดียวกันอยูในรูป ประธาน1 + กับ + ประธาน2 เขากับฉันไปดูหนัง เขากับฉันไปเที่ยว ดวยกัน นาย ก กับนางสาว ข ทํางาน ดวยกัน ข. ใชรวมกับคํากริยาบางคํา เกี่ยวของกับ สัมพันธกับ ผูกพันกับ ประสานกับ ตกลงกับ ชี้แจงกับ สนทนากับ เผชิญกับ ปราศรัยกับ รวมมือกับ เห็นชอบกับ ขัดแยงกับ สอดคลองกับ ระหวาง...กับ...
  • 17. 17 คําที่อยูในกลุม ( ก ) และ ( ข ) หาม ใชบุพบท “ ตอ แก แด ” ค. ใชในการบอกระยะทาง ( ใกล + กับ ) ( ใกลเคียง + กับ ) จังหวัดสมุทรปราการเปนจังหวัดที่อยู ใกลกับ กรุงเทพมหานคร มูลคาการสงออกปนี้ ใกลเคียงกับปที่ผานมา 4 จาก ( บุพบท ) ก. ใชบอกแหลงที่มา เขาเดินทางมาจากจังหวัดอุดรธานี น้ํา ไหลมาจากดอยสูง จากผลการวิจัย พบวา จากการสํารวจ จากการศึกษา ข. ใชนําหนาวัสดุที่ประดิษฐ ผลิตจาก ทําจาก ทํามาจาก สรางจาก ค. ใชรวมกับคํากริยาบางคํา ไดรับจาก รับจากขอจาก ถอนจาก เบิกจาก เก็บจาก เรียกจาก คําเหลานี้ ตอตามดวยผูให ง. ใชในการบอกระยะทาง ( ไกล + จาก ) ( แตกตาง + จาก ) จังหวัดอุทัยธานีอยูไมไกลจาก กรุงเทพมหานคร การแถลงนโยบายครั้ง นี้ของรัฐบาลไมแตกตางจากครั้งที่ผานมา 5 ตาม ( บุพบท ) ก. ใชนําหนาสิ่งที่ถูกตอง ขอบังคับ ขอกําหนด กฎหมาย ตามกฎหมายวาดวย.. ตามกติกา ตาม ขอบังคับ ตามระเบียบ ตาม กฎกระทรวงกําหนดไววา.. ข. ใชบอกจํานวนที่แนชัด ตามสัดสวนการผสม ค. ใชนําหนาสิ่งที่กําหนดไวลวงหนา ตามโครงการ ตามนโยบาย ตาม แผนงาน ตามแผนการ ตามที่ได วางแผนไว ตามเปาหมาย หามใช ในกฎหมาย ดวยกฎหมาย โดยกฎหมาย ในสัดสวน ในเปาหมาย 6 เพื่อ ก. เพื่อใชบอกจุดประสงคหรือจุดมุงหมายทั่วๆ ไป นโยบายการผันเงินสูชนบทเพื่อความ เปนอยูของชาวนา สําหรับ ( บุพบท ) ข. สําหรับใชบอกจุดประสงคโดยเฉพาะเจาะจง ออมเงินไวสําหรับอนาคตลูก เลี้ยงมา สําหรับแขง หามใช สําหรับ ขึ้นตนประโยค
  • 18. 18 การเขียนภาษาใหถูกตอง ขอบกพรองของประโยค มีดังนี้ 1. ใชคําผิดความหมาย 2. ใชคําผิดหนาที่ 3. ใชสํานวนตางประเทศ 4. ใชภาษาฟุมเฟอย 5. ใชภาษากํากวม 6. เรียงลําดับคําไมถูกตอง 7. ประโยคไมจบเพราะขาดสวนสรุป 8. ใชคําเชื่อมผิด 1. ใชคําผิดความหมาย ประโยคบกพรอง : เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดรอนคนงานที่ไมจําเปนออก ประโยคถูกตอง : เมื่องบประมาณดําเนินการมีนอยเขาจึงตัดคนงานที่ไมจําเปนออก เหตุผล : ตัดรอน = ตัดไมตรี ประโยคบกพรอง : บานหลังนี้พังโยเยเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว ประโยคถูกตอง : บานหลังนี้พังเนื่องจากถูกพายุใหญพัดเมื่อสัปดาหที่แลว เหตุผล : โยเย = โยกคลอน ใชกับคําวา “ พัง ” ไมได 2. ใชคําผิดหนาที่ ประโยคบกพรอง : คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีมุมานะ ประโยคถูกตอง : คนเราเลือกเกิดไมได แตเลือกอนาคตไดถามีความมุมานะ เหตุผล : “ มุมานะ ” เปนคํากิริยา คําที่ใชถูกตองคือคํานาม “ ความมุมานะ ” เปนคํานาม ประโยคบกพรอง : อีรักถูกโดดเดี่ยวจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว ประโยคถูกตอง : อีรักถูกทอดทิ้งจากโลกภายนอก องคการกาชาดจึงไดเรียกรองใหมี การชวยเหลือผูเดือดรอนในบริเวณดังกลาว เหตุผล : “โดดเดี่ยว” เปนคําวิเศษณ คําที่ใชถูกตองคือคํากิริยา “ ทอดทิ้ง ” เปน คํากิริยา ใชสํานวนตางประเทศ ประโยคบกพรอง : มันเปนเวลาบายเมื่อขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหม ประโยคถูกตอง : ขาพเจาเดินทางมาถึงจังหวัดเชียงใหมเวลาบาย ( ก็เปนเวลาบาย ) เหตุผล : “ มันเปน... ” เปนสํานวนตางประเทศ ประโยคบกพรอง : เธอเดินเขามาในหองพรอมดวยรอยยิ้ม ประโยคถูกตอง : เธอเดินยิ้มมาในหอง เหตุผล : “ พรอมดวยรอยยิ้ม... ” เปนสํานวนตางประเทศ ประโยคบกพรอง : สมรักษซอนรางอยูในเสื้อคลุมสีน้ําเงิน
  • 19. 19 ประโยคถูกตอง : สมรักษสวมเสื้อคลุมสีน้ําเงิน เหตุผล : “ ซอนราง... ” เปนสํานวนตางประเทศ 3. ใชภาษาฟุมเฟอย ประโยคบกพรอง : ชาติไทยเปนชาติเกาแกมาแตดั้งเดิม ประโยคถูกตอง : ชาติไทยเปนชาติเกาแก เหตุผล : “ เกาแก ” กับ “ ดั้งเดิม ” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใดคํา หนึ่ง ประโยคบกพรอง : ผูตั้งเคหสถานบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสุทธิ์ ประโยคถูกตอง : ผูตั้งบานเรือนอยูในเมืองยอมไดรับอากาศที่ไมบริสุทธิ์ เหตุผล : “เคหสถาน” กับ “บานเรือน” มีความหมายเหมือนกัน ควรเลือกคําใด คําหนึ่ง 4. ใชภาษากํากวม ประโยคบกพรอง : มีแตคนชมวาแมเลี้ยงฉันดี ประโยคถูกตอง : มีแตคนชมวาแมเลี้ยง+ฉันดี หรือมีแตคนชมวาแม+เลี้ยงฉันดี เหตุผล : กํากวมตรงคําวา “ แมเลี้ยง ” ตีความหมายได 2 นัย ประโยคบกพรอง : ใหพนักงานเชื่อฟงนายจางทุกคน ประโยคถูกตอง : ใหพนักงานทุกคนเชื่อฟงนายจาง เหตุผล : กํากวมตรงคําวา “ ทุกคน ” ตีความหมายได 2 นัยคือ พนักงานทุก คน นายจางทุกคน 5. เรียงลําดับคําไมถูกตอง ประโยคบกพรอง : ฝนตกหนักจนทางขางหนามองไมเห็น ประโยคถูกตอง : ฝนตกหนักจนมองไมเห็นทางขางหนา ประโยคบกพรอง : เขาไมทราบสิ่งถูกตองวาเปนอยางไร ประโยคถูกตอง : เขาไมทราบวาสิ่งถูกตองเปนอยางไร ประโยคบกพรอง : เวียตกงบุกหมูบานโจมตีใกลกรุงพนมเปญ ประโยคถูกตอง : เวียตกงบุกโจมตีหมูบานใกลกรุงพนมเปญ ประโยคบกพรอง : ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันคือสอบเขารับราชการใหไดในขณะนี้ ประโยคถูกตอง : ความปรารถนาสูงสุดของดิฉันในขณะนี้คือสอบเขารับราชการใหได ประโยคบกพรอง : อยางจริงใจผมนับถือคุณตั้งแตพบกันครั้งแรก
  • 20. 20 การเรียงประโยค 1. หาขอขึ้นตนประโยค โดยยึดหลักดังนี้ 1.1 คํานาม รวมทั้งคํา “การ+กริยา” และ “ความ+ วิเศษณ” 1.2 ชวงเวลา รวมทั้งคํา เมื่อ ใน (ชวงเวลาถาไมขึ้นตนก็จะอยูประโยคสุดทาย) 1.3 คําเชื่อมบางคํา เนื่องจาก แมวา ถา หาก คําเหลานี้จะขึ้นตนไดตองรวมกับคํานาม 1.4 หนังสือราชการ ขึ้นตนดวย ตาม ตามที่ ดวย 2. คําเชื่อมที่เปนคํามาตรฐานมี 11 คําคือ ที่ ซึ่ง อัน เพื่อ ใน โดย ดวย สําหรับ ของ จาก ตาม คําเหลานี้ ขึ้นตนประโยคไมได ยกเวนคําวา ใน+นาม จาก+นาม ตาม+ขอบังคับ ตาม+ หนวยงาน และคําเหลานี้อยูกลางประโยคถือเปนสวนขยายใหตัดสวนขยายเหลานั้นทิ้ง 3. คําปดประโยค อีกดวย ก็ตาม นั้นเอง ตอไป เทานั้น ถาคําเหลานี้ลงทายของขอแลวสวนมาก ขอนั้นจะเปนขอสุดทาย ชวงเวลา ประโยคคําถาม 3. โครงสรางประโยคที่ใชบอย ทั้ง…และ….รวมทั้ง(ตลอดจน) นอกจาก……แลวยัง(ยังตอง) ไม………แต แม…แต ดังนั้น+นาม+จึง ถา……แลว(ยัง) 5. คํานามที่เปนชื่อเฉพาะจะตองบวกคํากริยา เชน ประเทศสมาชิกอาเซียน กระทรวงมหาดไทย 6. หากมีขอใดขึ้นตนดวยคําวา และ หรือ ใหใชเทคนิคหาคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน 7. หากมีขอใดขึ้นดวยคําวา กับ ตอ ใหหาคํากริยาที่ใชคูกัน เชน ประสานกับ ชี้แจงกับ ผลตอ 8. ในการเรียงหากเหลือ 2 ขอ ใหพิจารณากริยาใดเกิดขึ้นกอน หรือเกิดทีหลัง สรุปเปนขั้นตอนไดดังนี้ ขั้นที่ 1 หาประโยคแรกหรือประโยคที่ 1 ใหหาคําตอไปนี้ 1. การ 2. นามเฉพาะ (ถามี 2 คํา ใหเอานามใหญขึ้นตน) 3. เครื่องหมายคําพูด “...................” 4. เพื่อ (ใชขึ้นตนประโยคกรณีที่ไมมีคําที่สามารถขึ้นตนได) 5. **** คําสันธานหรือคําเชื่อมหามนํามาขึ้นตนประโยคเด็ดขาด ขั้นที่ 2 หาประโยคสุดทายหรือประโยคที่ 4 ใหหาคําตอไปนี้ 1. ..........เปนตน 2. ..........ทั้งหมด, ..........ทั้งสิ้น 3. ..........ดวย, ..........อีกดวย 4. ..........มากที่สุด, ..........มากยิ่งขึ้น 5. ชวงเวลาถาขึ้นตนประโยคแรกไมไดใหนํามาไวที่ประโยคสุดทาย
  • 21. 21 บทความ บทความสั้น รูปแบบที่ 1 ประโยคสอดคลอง ตีความประโยค ไมสอดคลอง ตีความไมถูกตอง มีประมาณ 5 ขอ รูปแบบนี้ไมจําเปนตองหาประธาน โดยสามารถตีความจากขอตาง ๆ ตามขางบนได รูปแบบที่ 2 สรุปใจความสําคัญ หาประธาน ตัดตัวเลือกที่ไมมีประธาน เหลือไวเฉพาะที่มีประธาน เทานั้น อานและขีดเสนใตคําที่สําคัญขางตน ประธาน + คําที่สําคัญ คือคําตอบ รูปแบบที่ 3 เรื่องยอย ๆ 1. ขอความขางตนกลาวถึงเรื่องใด ทําเชนเดียวกับรูปแบบที่ 2 (ออกครั้งละ 1 ขอ) 2. ขอความขางตนผูเขียนมีจุดประสงคอยางไร หรือจุดประสงคของบทความ ทําโดยใช กลุมคํา ภาษาแสดงทรรศนะ สวนมากภาษาแสดงทรรศนะจะแสดงไวทายบทความ 3. ขอความขางตนกลาวไวกี่ประเด็น (ขอสอบจะตอบ 2 ประเด็นทุกครั้ง) 4. ขอสอบใหแยกความแตกตางของคําในพจนานุกรม เชน เรื่องเม็ด กับเมล็ด 5. ความแตกตางของคําศัพท 6. ขอสอบใหบริบทมาและศัพทที่ขีดเสนใต แลวถามความหมายของศัพทโดยการแปลจาก บริบทขางเคียง 7. ขอสอบใหความหมายของศัพทแตใหหาคําจํากัดความ 8. การหาประโยคที่มีความหมายหรือโครงสรางประโยคที่เหมือนกัน แนวขอสอบการอานขอความ – สรุปความ – ตีความ 1. นอกจากการเจรจาระหวางรัฐทั้งสองรัฐ ซึ่งเปนการติดตอระหวางรัฐเปนสวนใหญแลวการ ติดตอกันแบบหลายฝายพรอมกันก็มีมากขึ้น ในรูปแบบของการประชุมนานาชาติเพื่อตกลงกัน ในปญหาเฉพาะอยาง ขอความนี้ตีความอยางไร ก. ปจจุบันการติดตอระหวางรัฐมีมากขึ้น ข. การเจรจาแบบหลายฝายนั้นปญหาตองเกี่ยวของกับทุกฝาย ค. การแกปญหาโดยการเจรจาแบบหลายฝายไดรับความนิยมมากขึ้น ง. วัตถุประสงคของการเจรจาแบบรับแบบหลายฝายตางกัน 2. ความสับสนหรือไมเขาใจความหมายของคํา ทําใหเลือกใชคําผิดความหมายสื่อกันไมเขาใจ เชนคําวาประชากร ประชาชน ประชาคม แมจะมีความใกลเคียงกันแตหากใชผิดที่ก็ผิดความ ขอความขางตนสรุปไดอยางไร ก. คําวาประชากร ประชาชน ประชาคม มีความหมายเหมือนกัน
  • 22. 22 ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ คํานาม (Noun) คือ คําที่เปนชื่อของคน สัตว สิ่งของ สถานที่หรือคุณสมบัติ ประเภทของคํานาม คํานามในภาษาอังกฤษมีดังนี้ 1. สามานยนาม (Common Noun) คือ คํานามที่เปนชื่อเรียกคน สัตว สิ่งของ หรือสถานที่ ซึ่งไมใชชื่อเฉพาะ เชน book, snake, pencil ฯลฯ 2. วิสามานยนาม (Proper Noun) คือคํานามที่เปนชื่อเรียกเฉพาะของคน สัตว สิ่งของหรือสถานที่ ซึ่งจะตองเขียน ขึ้นตนดวยตัวพิมพใหญเสมอเชน Suchada, Bangkok ฯลฯ คํานามที่เปนชื่อเฉพาะของเมือง ประเทศ หรือทวีปตาง ๆ เมื่อใชเปนคําคุณศัพท จะหมายถึง “ประชากร / ภาษาของเมือง ประเทศ หรือทวีปนั้น ๆ โดยการเติมปจจัยตาง ๆ ทาย คํานาม หรือบางคําก็มีการเปลี่ยนแปลงรูป ซึ่งจะเขียนขึ้นตนดวยตัวพิมพเล็กดังนี้” 1. เติมปจจัย –n. Africa → African Asia → Asian Cambodia → Cambodian Alaska → Alaskan Australia → Australian Indonesia → Indonesian Algeria → Algerian Bolivia → Bolivian Nigeria → Nigerian Cuba → Cuban Persia → Persian Venezuela → Venezuelan India → Indian Russia → Russian Panama → Panaman / Panamanian 2. เติมปจจัย –ian Brazil → Brazilian Ecuador → Ecuadorian Norway → Norwegian Belgium → Belgian Egypt → Egyptian Peru → Peruvian Canada → Canadian Iran → Iranian Ukraine → Ukrainian 3. เติมปจจัย –ish Britain → British Finland → Finnish Spain → Spanish Denmark → Danish Ireland → Irish Sweden → Swedish England → English Scotland → Scottish Turkey → Turkish 4. เติมปจจัย –lese, –nese,–ese Burma → Burmese Congo → Congolese Lebanon → Lebanese Ceylon → Ceylonese Japan → Japanese Nepal → Nepalese
  • 23. 23 China → Chinese Java → Javanese Siam → Siamese Vietnam → Vietnamese 5. เติมปจจัย –i Bengal → Bengali Israel → Israeli Punjab → Punjabi Iraq → Iraqi Pakistan → Pakistani Yemen → Yemeni 6. เติมปจจัย –o The Philippines → Filipino 7. เติมปจจัย –ic Iceland → Icelandic 8. เปลี่ยนรูปเปนอยางอื่น fgha nista n → Afghan Germany → German Switzerland → Swiss Argentina → Argentin Greece → Greek The Netherlands/Holland → Dutch Denmark → Dane/Danish Thailand → Thai แตคําที่เปนชื่อเฉพาะเหลานี้อาจใชในความหมายที่ไมชี้เฉพาะเจาะจง (สา มานยคุณศัพท) โดยจะขึ้นตนดวยตัวพิมพเล็ก เชน Rome → roman type (ตัวพิมพธรรมดา) China → chinaware (เครื่องเคลือบดินเผา) Italy → italic type (ตัวพิมพที่เปนตัวเอน) Japan → japan tray (ถาดเครื่องเขิน) Congo → congo snake (งูชนิดหนึ่ง) Titan → titanic person (ผูทรงพลัง, คนรางใหญ) แตมีสามานยคุณศัพทบางคําที่เขียนขึ้นตนดวยตัวพิมพใหญ ไดแก Manila → Manila paper (กระดาษสีน้ําตาล) India → India / Indian ink (หมึกชนิดหนึ่ง) 3. สมุหนาม (Collective Noun) คือ คํานามที่มีความหมายแสดงกลุม หมู หรือพวก สมุหนามบางคําจะตองเลือกใช คําใหถูกตองเหมาะสมกับความหมายแสดงความเฉพาะเจาะจงวาเปนกลุมของคนหรือสัตวหรือ สิ่งของประเภทใด เชน army bundle clump flock hive school string bunch band brood cluster galaxy horde set swarm cloud basket catch company gang pack sheaf team fleet battalion chain constellation group pair shower tribe herd bench range crowd grove regiment species troop staff bevy class division heap stack squad tuft สมุหนามเปนไดทั้งคํานามเอกพจนและพหูพจนซึ่งขึ้นอยูกับความหมายในแตและบริบท
  • 24. 24 สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740