SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
~ 1 ~
~ 2 ~
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 5
สัญลักษณ 6
การบริหารจัดการภาพลักษณ 7
ตราสัญลักษณประจําองคกร 8
สีประจําองคกร 9
ประวัติ/ภาระหนาที่ 9
ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 12
การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 13
ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 13
จริยธรรม 21
ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 23
แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 24
ธรรมภิบาล (Good Govermance) 25
พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 34
แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 48
สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องตน
ความหมายของการบัญชี 58
ประเภทของบัญชี 61
ขอสมมติฐานทางการบัญชี 62
งบการเงิน 64
สมการบัญชี 67
การวิเคราะหรายการคา 76
ผังบัญชี 80
สมุดรายวันชั้นตน 87
งบทดลอง 92
การปรับปรุงรายการบัญชี 108
~ 3 ~
กระดาษทําการ 113
สมุดรายวันเฉพาะ 123
การวิเคราะหงบการเงิน 138
สวนที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 168
ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง 2551 181
ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ 202
แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 273
แนวขอสอบ ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง 294
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพัสดุ 303
แนวขอสอบ การบัญชี 312
~ 4 ~
การประปานครหลวง
วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม
วิสัยทัศน
"เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับ
แนวหนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา"
พันธกิจ
"ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ
และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ"
คานิยม
"มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวย
ความรับผิดชอบ"
การจัดการองคกร
ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559)
ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced
Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้
1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic)
ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวน
เสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่
มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความ
คาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล
2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic)
สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโต
อยางยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน
3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic)
ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับ
การยอมรับในระดับสากล
~ 5 ~
4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic)
ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา
การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth
Strategic)
ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร
6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic)
ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การ
มีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency)
ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti –
Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหาร
จัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน
สัญลักษณ
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง
พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จเปดกิจการการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน
พ.ศ.2457 โดยมีพระราชดํารัสกลาวเปดตอนหนึ่งความวา
อนึ่ง ทานทั้งหลายที่ไดชวยเราทําการอันนี้ใหสําเร็จไปได ควรรูสึกปลื้มใจวาไดทําการ
อันประโยชนแลกุศลอยางยิ่งเพราะน้ําซึ่งใสสะอาด บริสุทธิ์ ใครๆยอมรูอยูแลวทั้งในโบราณ
~ 6 ~
แลบัดนี้วาเปนของจําเปนเพื่อประโยชนแล เพื่อความสุขสําหรับปองกันโรคอันตรายของ
มนุษย น้ําใสสะอาดยอมเปนเครื่องบําบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชชทั้งหลาย เพราะฉะนั้น
สิ่งไรที่นับวาเปนมลทินโทษ ทานโบราณาจารยจึงตองสอนใหใชน้ําเปนเครื่องชําระลาง ใน
ที่สุดถึงแมจะกลาวเปรียบเทียบสิ่งที่เปนของชั่วราย เพื่อจะบําราบสิ่งชั่วรายอันนั้นก็จะบําราบ
ใหพายแพไดโดยอาศัยอํานาจน้ํา เปนตนวาเมื่อครั้งสมเด็จพระมุนินทรชินสีหประทับอยูที่
ภายใตโพธิ บัลลังกพระยามาร ซึ่งสมมุติวาเปนผูคิดรายตอพระองคไดหวังผจญตอพระบรม
ศาสดา โดยเดชะอํานาจพระบารมีของพระองคบันดาลใหนางพระธรณีมาสยายผมบีบน้ํา
บําราบมาร ไดดวยอิทธิฤทธิ์แหงน้ํา อันไหลมาจากผมของนางดวยอํานาจสัจจะวาจาภาษิตนี้
ขอการประปาจงเปนผลสําเร็จสมตามพระราชประสงคของสมเด็จพระชนกนารถของเรา และ
สมความประสงคของเราแลสมความประสงคของทานทั้งหลายบรรดาที่ไดชวยทําการ อันนี้
สําเร็จ ขอน้ําใสอันจะหลั่งไหลจากประปานี้ จงเปนเครื่องประหารสรรพโรครายที่จะ
เบียดเบียฬใหรายแกประชาชนผูเปน พสกนิกรของเรา ขอน้ําอันนี้ไดรับพรแลว โดยพระสงฆ
ไดสวดมนตแลโดยเราไดตั้งใจใหพรจงบันดาลใหเปนน้ํามนตทําให ประชาชนมีความสุข
สวัสดิ์ผองแผวเจริญถวนทั่วทุกตัวคนตั้งแตวันนี้เปนตน ไป
ซึ่งพระราชดํารัสดังกลาว จึงเปนที่มาของตราสัญลักษณของการประปา
(หมายเหตุ พระราชดํารัสนี้เปนภาษาที่ใชเขียนในสมัยนั้น จึงมีบางคําที่ผิดจากที่ใชในปจจุบัน)
การบริหารจัดการภาพลักษณ
วิสัยทัศนของแบรนด
การประปานครหลวงเปนองคกรที่มุงมั่นชวยเหลือประชาชน เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ขึ้น
การวางตําแหนงแบรนด
เหนือกวา องคกรที่ใหบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่นๆในประเทศไทย สําหรับ
ประชาชน ที่อยูอาศัยและประกอบกิจการในเขตนครหลวงที่ตองการสินคาคุณภาพดี
ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการ ในราคาที่สามารถจายไดและยุติธรรม
รวมทั้งมีบริการที่รวดเร็ว เพราะกปน.มี เทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมทันสมัยในการผลิตสินคาที่มี
คุณภาพ อีกทั้งยังมีพนักงานที่ใหบริการอยางมืออาชีพ อบอุนและเขาถึงงาย ที่ลูกคา
ไววางใจ เพื่อใหทุกๆคนมีความมั่นใจวากปน.ทํางานอยางทุมเทเพื่อชวยใหประชาชนมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
บุคลิกภาพของแบรนด
~ 7 ~
• มีความเปนมืออาชีพ (ซื่อสัตย เปดเผย เปนผูนํา)
• มีแนวคิดเชิงรุก (มองการณไกลกระฉับกระเฉง รวดเร็ว)
• สรางสรรค (มีพลังสรางสรรค ชางคิด/เปนแหลงความรู)
• โอบออมอารี (มีมิตรไมตรี ชอบชวยเหลือผูคน เขาถึงงาย) (มีจิตสํานึกในการบริการ)
• ทันสมัย (เทห/สวยงามเขากับยุคสมัย ดูสมารท)
• นาเชื่อถือ (วางใจได พึ่งพาได)
จึงไดจัดทําตราสัญลักษณการประปานครหลวงโฉมใหม โดยมีความหมายดังนี้
• ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน
ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา
• สัญลักษณพระแมธรณี มีความหมายสื่อถึงความเอื้ออารีของ กปน. และใหความ
หมายถึงธุรกิจประปา
• เสน น้ํา ที่เริ่มจากสีเขียวธรรมชาติมาสูสีฟาใส มีความหมายถึงการนําน้ําจากแหลง
ธรรมชาติมาบําบัดใหสะอาดสูประชาชนในนครหลวง อันเปนภารกิจหลักของ กปน. และตอก
ย้ําความสะอาดของน้ํา (น้ําประปาดื่มได) อีกทั้งสะทอนถึงวิสัยทัศนของแบรนด กปน. ในการ
เสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหประชาชนในนครหลวง
• ลักษณะเสนน้ําที่เปนเสนโคง มีความหมายถึงการไมหยุดนิ่ง และการพัฒนาไม
หยุดยั้งของ กปน.
ตราสัญลักษณประจําองคกร
หมายเหตุ : สามารถเลือกใชได 2 แบบ ตามความเหมาะสม และไมควรดัดแปลง/แกไข
ตราสัญลักษณประจําองคกร
~ 8 ~
ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบื้องตน
ความหมายของการบัญชี
การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ
ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น”
นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ
เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท
รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่
เกิดขึ้น
“AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน
สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ
บัญชีวา “การบัญชีเปนศิลปะของการเก็บรวบรวมจดบันทึกรายการ หรือเหตุการณที่
เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล
พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว”
จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย
กระบวนการดังตอไปนี้
1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน (Recording Daily
Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ
คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว
เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง
การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง
รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน
ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน
ขั้นตน (Journatasin thongsean)
2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data)
เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ
ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ
ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS)
ตามหมวดหมูนั้น ๆ
~ 9 ~
3. การสรุปผลของขอมูล (Summarizing Recorded and Classified
Data) เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาหนึ่ง อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน หรือปกติก็ 1 ป
รายการที่จดบันทึกไวในสมุดรายวันขั้นตน และผานไปยังบัญชีแยกประเภทแลวนั้น ตองมี
การสรุปผลของรายการเหลานั้น แลวตีความหมายเพื่อใหเห็นวามีผลตอธุรกิจอยางไร โดย
แสดงใหเห็นในรูปของงบการเงิน (Financial Statement) ไดแก งบกําไรขาดทุน (Income
Statement) และ งบดุล (Balance Sheet)
งบกําไรขาดทุน เปนงบแสดงผลการดําเนินงานของงวดหนึ่ง ๆ
งบดุล เปนงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใด วันหนึ่ง
4. การวิเคราะหขอมูล (Interpreting the Summarized Facts) เปน
การนํางบการเงินที่เปนการสรุปผลการดําเนินงานมาวิเคราะหตีความ โดยการเปรียบเทียบ
รายการที่เกิดขึ้นกับผลที่ไดในรอบปที่ผานมา หรือเปรียบเทียบกับธุรกิจอื่นที่ดําเนินกิจการ
คลายกันในรอบระยะเวลาเดียวกัน เพื่อนําไปใชประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานใน
อนาคต
กลาวโดยสรุป องคประกอบของการบัญชี (Functions of Accounting)
ประกอบดวย
ประโยชนของการบัญชี
การบัญชีมีประโยชนตอบุคคล 2 ฝาย คือ
1. บุคคลภายใน เชน ผูบริหารภายในกิจการ ตองการทราบวากิจการ
มีสินทรัพย และหนี้สินอยูเทาใด และเปนประเภทไหนบาง เชน เงินสด , ลูกหนี้ , สินคา
ฯลฯ หรือ เจาหนี้การคา , เจาหนี้เงินกู ฯลฯ เปนตน
ขอมูล
องคประกอบของการบัญชี
คือ
1. การบันทึกรายการคา
2. การจัดหมวดหมูแยก
ประเภทรายการ
3. การสรุปผลเปนงบ
การเงิน
4. 4. การวิเคราะหตีความ
งบการเงิน
1. งบดุล
2. งบกําไรขาดทุน
3. งบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงฐานะ
การเงิน
ผูทําการตัดสินใจใช
งบการเงิน
1. บุคคลภายใน เชน ฝาย
บริหารภายใน
2. บุคคลภายนอก เชน
เจาหนี้ , หนวยงาน
ราชการ ฯลฯ
~ 10 ~
การวิเคราะหรายการคา
การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ
เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน
สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด
ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction)
เดบิต และ เครดิต หมายถึง
ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่
เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน
เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่
เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา
รายการเดบิต
เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่
ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา
รายการเครดิต
ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน
เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ
ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต
(Debit Balance)
ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต
(Credit Balance)
จากสมการบัญชี สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน
กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ
หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให
เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามที่อยู
ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สิน หรือทุน
~ 11 ~
เดบิต สินทรัพย เครดิต เดบิต หนี้สิน เครดิต เดบิต ทุน
เครดิต
เพิ่ม + ลด – ลด – เพิ่ม + ลด – เพิ่ม +
สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ :
สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ
สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได
เพิ่ม ลด
สินทรัพย ดานที่อยู เดบิต + เดบิต - เครดิต
หนี้สิน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต
ทุน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต
รายได “ เครดิต + เครดิต - เดบิต
คาใชจาย “ เดบิต + เดบิต - เครดิต
การวิเคราะหรายการคา
เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ
ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให
สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง
ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1
มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ :
1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท
2. ซื้อของใชสิ้นเปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท
3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน
15 ก.พ. 25xx
4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท
5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจายดังนี้
เงินเดือน 1,500 บาท
คาเชา 2,000 บาท
~ 12 ~
ผังบัญชี (Chart of Account)
เพื่อใหการจัดทําบัญชีสะดวกและงายขึ้น จึงมีการแบงหมวดหมูบัญชีออกเปน
5 หมวดใหญ ๆ คือ
1. หมวดสินทรัพย (Assets)
2. หมวดหนี้สิน (Liabilities)
3. หมวดทุน (Capital)
4. หมวดรายได (Revenues)
5. หมวดคาใชจาย (Expenses)
หมวดสินทรัพย เลขที่บัญชีขึ้นตนดวย เลข 1
หมวดหนี้สิน “ เลข 2
หมวดทุน “ เลข 3
หมวดรายได “ เลข 4
หมวดคาใชจาย “ เลข 5
จากการแบงหมวดหมูดังกลาว ยังมีการแบงยอยลงไปอีก ดังนี้
ผังบัญชีและรหัสบัญชี (เลขที่บัญชี)
เลขที่บัญชี ชื่อบัญชี
100 สินทรัพย
110 สินทรัพยหมุนเวียน
111 เงินสด
121 ลูกหนี้
131 สินคา
141 คาใชจายลวงหนา
160 สินทรัพยถาวร
161 ที่ดิน
162 อาคาร
163 อุปกรณ
164 เครื่องจักร
165 รถยนต
170 สินทรัพยอื่น ๆ
171 เงินมัดจํา
200 หนี้สิน
210 หนี้สินหมุนเวียน
211 เจาหนี้
~ 13 ~
221 คาใชจายคางจาย
260 หนี้สินระยะยาว
261 เงินกูระยะยาว
300 สวนของเจาของ (ทุน)
301 ทุนเรือนหุน
302 กําไรสะสม
303 เงินปนผล
400 รายได
401 ขาย
402 ดอกเบี้ยรับ
403 รายไดอื่น ๆ
500 คาใชจาย
501 ตนทุนขาย
502 เงินเดือน
503 คาเชา
504 คาน้ําประปา
505 คาไฟฟา
ตัวอยางการบันทึกรายการคาในบัญชีแยกประเภทของรานABCซักรีด
1. นายอวน นําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท
บัญชีที่เกี่ยวของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม
+ 25,000 บาท และ
บัญชีทุน–นายอวน Cr. เพิ่ม + 25,000 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีทุน–นายอวน Cr.
(1) 25,000 (1) 25,000
2. จายเงินสดซื้อของใชสิ้นเปลือง 3,000 บาท
บัญชีที่เกี่ยวของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 3,000 บาท และ
วัสดุสํานักงาน (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 3,000 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีวัสดุสํานักงาน Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (2) 3,000
~ 14 ~
สมุดรายวันเฉพาะ
สมุดรายวันเฉพาะ (Specialized Jounals)
การบันทึกบัญชีสําหรับธุรกิจที่มีรายการคาไมมาก สามารถทําไดโดยใชสมุด
รายวันทั่วไปเพียงเลมเดียว แลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ ซึ่งทําใหตอง
ใชเวลาในการบันทึกบัญชีคอนขางมาก
และสิ้นเปลืองคาใชจาย
ดังนั้น ธุรกิจขนาดใหญรายการคามีจํานวนมาก จําเปนตองหาวิธีที่จะบันทึก
บัญชีใหรวดเร็วและประหยัดคาใชจาย วิธีการที่นํามาใชประการหนึ่ง คือ การใชสมุด
รายวันเฉพาะควบคูกับสมุดรายวันทั่วไป
สมุดรายวันเฉพาะ ถือเปนสมุดบันทึกรายการเบื้องตนประเภทหนึ่ง ใช
บันทึกรายการคาประเภทหนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นเปนประจําและมีจํานวนมาก เชน
รายการซื้อสินคาจํานวนมาก ใช สมุดรายวันซื้อ
รายการขายสินคาจํานวนมาก ใช สมุดรายวันขาย
กิจการแตละแหงสามารถที่จะเลือกเปดสมุดรายวันเฉพาะมากนอยเทาใด
ขึ้นอยูกับความจําเปนหรือวัตถุประสงคของกิจการ
วิธีการเลือกเปดสมุดรายวันเฉพาะของกิจการ กระทําไดโดยการกําหนด
ประเภทรายการคาที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือประเภทเดียวกันไวเปนพวก ๆ รายการคา
ประเภทใดที่มีจํานวนมาก ก็จะเปดสมุดรายวันเฉพาะสําหรับรายการคานั้น ๆ สวนรายการ
คาประเภทที่มีจํานวนนอยก็บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปเหมือนเดิม
สมุดรายวันเฉพาะที่นิยมเปดใช มีดังนี้
1. สมุดเงินสด ใชบันทึกรายการ รับและจายเงินสด
2. สมุดรับเงิน ใชบันทึกรายการ รับเงินสด
3. สมุดจายเงิน ใชบันทึกรายการ จายเงินสด
4. สมุดซื้อ ใชบันทึกรายการ ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ
5. สมุดขาย ใชบันทึกรายการ ขายสินคาเปนเงินเชื่อ
สมุดเงินสด (Cash Book)
สมุดเงินสด เปนสมุดที่ใชบันทึกรายการรับและจายเงินสดของกิจการ ทําให
ทราบวากิจการมีการรับ-จายเงินเปนคาอะไรบาง เปนจํานวนเงินเทาใด อีกทั้งยังทราบถึง
เงินสดคงเหลือขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งเทากับวา สมุดเงินสดไดทําหนาที่คลายกับบัญชีแยก
ประเภทเงินสดอีกดวย
~ 15 ~
การวิเคราะหงบการเงิน
เงิน (Money)
เงิน คือ สิ่งซึ่งเปนที่ยอมรับทั่วไปในสังคมหนึ่ง ๆ ใหเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน โดยมี
การกําหนดคาขึ้นเปนหนวยเงินตรา และพยายามรักษาคาใหคงที่อยูเสมอ
สวนประกอบของเงิน แยกได 3 สวน คือ
1. เงินจะเปนอะไรก็ไดที่ทุกคนยอมรับใหเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เชน อาจเปน
โลหะหรือกระดาษก็ได
2. มีการกําหนดคาขึ้นเปนหนวยเงินตรา
3. มีคาคงที่เมื่อมองในระยะสั้น คือ เงินจํานวนหนึ่งควรจะสามารถแลกเปลี่ยนสินคา
และบริการไดในจํานวนเทาเดิม ไมควรเปลี่ยนแปลงรวดเร็วนัก
หนาที่ของเงิน มีดังนี้
1. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange)
2. เปนมาตราวัดมูลคา (Standard of Value)
3. เปนเครื่องรักษามูลคา (Store of Value)
4. เปนมาตรฐานชําระหนี้ภายหนา (Standard of Deferred Payment)
คุณสมบัติที่ดีของเงิน มีดังนี้
1. เปนที่ยอมรับและงายตอการจดจําเพื่อใชในการแลกเปลี่ยน
2. มีเสถียรภาพในมูลคา เงินที่ดีจะมีคาคอนขางคงที่
3. มีปริมาณยืดหยุนได ควรมีปริมาณเพียงพอกับความตองการใชเงินของประชาชน
4. พกติดตัวไดงาย
5. มีความคงทน ไมชํารุดเสียหายไดงาย
6. มีคาเทากัน เงินชนิดเดียวกันหรือหนวยเดียวกันควรมีคาหรืออํานาจซื้อเทากัน
7. สามารถแบงเปนหนวยยอย ๆ ได เพื่อความสะดวกในการแลกเปลี่ยนกับสินคา
และบริการที่มีมูลคาตาง ๆ กัน
ตลาดการเงิน คือ กลไก หรือวิธีการ หรือเทคนิคที่กอใหเกิดการโอนเปลี่ยนมือ
ระหวางผูมีเงินออม (ผูใหกู) กับผูตองการใชเงิน (ผูกู) โดยอาศัย เงิน เงินทุน เครื่องมือเครดิต
สถาบันการเงิน และวิธีการตาง ๆ เขามาชวย
องคประกอบของตลาดการเงิน มี 6 ขอ ดังนี้
1. ผูมีเงินออม (Saver)
หมายถึง บุคคลธรรมดา หนวยธุรกิจ และหนวยงานของรัฐที่ขณะใดขณะหนึ่งมีเงิน
เหลือจากการใชจายเพื่ออุปโภคบริโภค (มีรายรับมากกวารายจาย) เรียกเงินสวนนี้วา “เงิน
~ 16 ~
ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและ
การนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษา
เงินและการนําเงินสงคลัง ใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและสอดคลองกับการปฏิบัติงาน
ดานการเงินการคลังตามระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
(Government Fiscal Management Information System)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (2) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.
2502 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบ
การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังไว ดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการ
นําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน
ไป
ขอ 3 ใหยกเลิก
(1) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520
(2) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525
(3) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2526
(4) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2531
(5) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2536
(6) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2538
(7) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2548
(8) ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520
(9) ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2531
(10) ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543
บรรดาระเบียบหรือขอบังคับอื่นใดในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือ
แยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน
~ 17 ~
ขอ 4 ในระเบียบนี้
“หนวยงานผูเบิก” หมายความถึง สวนราชการ หนวยงานในกํากับของรัฐ องคการ
มหาชน รัฐวิสาหกิจ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หนวยงานขององคกรที่จัดตั้งขึ้นตาม
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ หรือหนวยงานอื่นใดในลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้ ตองไดรับจัดสรร
งบประมาณรายจายและเบิกเงินจากกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ
อยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา และใหหมายความรวมถึงสวนราชการประจําจังหวัดดวย
“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
“ผูวาราชการจังหวัด” ใหหมายความรวมถึงนายอําเภอในทองที่ซึ่งมีสํานักงานคลัง
จังหวัด ณ อําเภอ ตั้งอยูดวย
“สํานักงานคลังจังหวัด” ใหหมายความรวมถึงสํานักงานคลังจังหวัด ณ อําเภอดวย
“คลังจังหวัด” ใหหมายความรวมถึง คลังจังหวัด (อําเภอ) ดวย
“คลัง” หมายความวา บัญชีเงินฝากของกระทรวงการคลังที่ธนาคารแหงประเทศไทย
“กองคลัง” ใหหมายความรวมถึง ฝายการเงิน หรือหนวยงานผูเบิกอื่นใด ซึ่ง
ปฏิบัติงานในลักษณะเชนเดียวกันดวย
“ผูอํานวยการกองคลัง” ใหหมายความรวมถึง เลขานุการกรม หรือผูดํารงตําแหนง
อื่นใดซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะเชนเดียวกันดวย
“เจาหนาที่การเงิน” หมายความวา หัวหนาฝายการเงินหรือผูดํารงตําแหนงอื่น ซึ่ง
ปฏิบัติงานในลักษณะเชนเดียวกันกับหัวหนาฝายการเงิน และใหหมายความรวมถึงเจาหนาที่
รับจายเงินของสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาคดวย
“สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน” ใหหมายความรวมถึง สํานักงานการตรวจเงิน
แผนดินภูมิภาคดวย
“งบรายจาย” หมายความวา งบรายจายตามระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ
“หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับ
หรือเจาหนี้ตามขอผูกพันโดยถูกตองแลว
“เงินยืม” หมายความวา เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปน
คาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือการปฏิบัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจาก
งบประมาณรายจายหรือเงินนอกงบประมาณ
~ 18 ~
แนวขอสอบ ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษา
เงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551
4. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินของทางราชการ
หมายความถึง
ก. ตูนิรภัย ข. หีบเหล็ก
ค. ตูเก็บของ ง. ตูเหล็ก
5. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ นอกจากเงินงบประมาณรายจาย เงิน
รายไดแผนดิน เงินเบิกเกินสงคืน และเงินเหลือจายปเกาสงคืน หมายความถึงเงินในขอใด
ก. เงินรายไดแผนดิน ข. เงินเบิกเกินสงคืน
ค. เงินเหลือจายปเกาสงคืน ง. เงินนอกงบประมาณ
6. ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐซึ่งปฏิบัติงานโดยผานเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง
หรือผานชองทางอื่นที่กระทรวงการคลังกําหนดกอนนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร คือขอ
ใด
ก. GFMIT ข. GFMIS
ค. GFMMT ง. GFMNT
7. ขอใดไมใชขอมูลหลักของผูขาย
ก. เลขที่สัญญา ข. เลขประจําตัวประชาชน
ค. เลขประจําตัวผูเสียภาษี ง. ไมมีขอใดไมใชขอมูลหลัก
8. ผูรักษาการในระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง
พ.ศ. 2551 คือผูใด
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ข. กรมบัญชีกลาง
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. นายกรัฐมนตรี
9. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการจายเงินสด
ก. เงินทดรองราชการ ข. เบี้ยหวัด
~ 19 ~
ค. การจายเงินที่มีวงเงินต่ํากวาหาพันบาท ง. ถูกทุกขอ
10. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเขียนจํานวนเงินในเช็ค
ก. ตัวอักษรใหเขียนหรือพิมพใหชิดเสน และชิดคําวา “บาท”
ข. ขีดเสนหนาจํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร
ค. ขีดเสนตรงหลังชื่อสกุล ชื่อบริษัท หรือหางหุนสวนจนชิดคําวา “หรือผูถือ”
ง. ถูกทุกขอ
11. สิ้นปงบประมาณ ใหหัวหนาหนวยงานซึ่งรับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการจัดเก็บเงิน
รายงานใหผูใดทราบ
ก. ผูอํานวยการกองคลัง ข. หัวหนาสวนราชการ
ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง
12.สิ้นปงบประมาณ หัวหนาหนวยงานตองรายงานใหผูอํานวยการกองคลังหรือหัวหนาสวน
ราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาคทราบไมเกินเมื่อใด
ก. อยางชาไมเกินวันที่ 31 ตุลาคมของปงบประมาณถัดไป
ข. อยางชาไมเกินวันที่ 31 สิงหาคมของปงบประมาณถัดไป
ค. อยางชาไมเกินวันที่ 31 ธันวาคมของปงบประมาณถัดไป
ง. อยางชาไมเกินวันที่ 31 มกราคมของปงบประมาณถัดไป
13. ตูนิรภัยใหมีลูกกุญแจอยางนอยกี่สํารับ กี่ดอก
ก. อยางนอยสองสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสองดอก
ข. อยางนอยสามสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสามดอก
ค. อยางนอยสี่สํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสี่ดอก
ง. อยางนอยหาสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาหาดอก
14. กุญแจตูนิรภัย มีการเก็บรักษาสํารับนึงไวที่กรรมการ อีกสํารับเก็บไวที่ใดสําหรับสวน
ราชการในราชการบริหารสวนกลาง
ก. สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง
ข. หองเก็บเงินคลังในของสํานักงานคลังจังหวัด
~ 20 ~
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. สํานักงบประมาณแผนดิน
15. กุญแจตูนิรภัย มีการเก็บรักษาสํารับนึงไวที่กรรมการ อีกสํารับเก็บไวที่ใดสําหรับสวน
ราชการในราชการบริหารสวนกลาง
ก. สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง
ข. หองเก็บเงินคลังในของสํานักงานคลังจังหวัด
ค. กรมบัญชีกลาง ง. สํานักงบประมาณแผนดิน
16. กรรมการเก็บรักษาเงิน ตองเปนขาราชการที่ไดรับการแตงตั้งซึ่งดํารงตําแหนงตั้งแต
ระดับใดขึ้นไป
ก. ระดับสอง ข. ระดับสาม
ค. ระดับสี่ ง. ระดับหา
17. เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสวนราชการผูเบิกนําสงคืนคลังภายใน
ระยะเวลากี่วัน
ก. เจ็ดวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง
ข. สิบหาวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง
ค. สามสิบวันนับจากวันรับเงินจากคลัง
ง. สี่สิบหาวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง
18. เช็ค ดราฟท หรือตั๋วแลกเงิน ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลาใด
ก. อยางชาภายในวันทําการถัดไป ข. อยางชาภายใน 3 วันทําการ
ค. อยางชาภายใน 7 วันทําการ ง. อยางชาภายใน 15 วันทําการ
19. เงินรายไดแผนดิน เกินกวาหนึ่งหมื่นบาท ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลา
ใด
ก. อยางชาภายในวันทําการถัดไป ข. อยางชาภายใน 3 วันทําการ
ค. อยางชาภายใน 7 วันทําการ ง. อยางชาภายใน 15 วันทําการ
~ 21 ~
แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุ
พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2552
7.ขอใดเปนความหมายของคําวา การพัสดุ
ก. การจัดทําเอง ข. การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษา
ค. การจางออกแบบและควบคุมงาน ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
"การพัสดุ" หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษา
การจางออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย
และการดําเนินการอื่นๆ (ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ (ขอ 5))
8.ขอใดหมายถึงพัสดุ
ก. วัสดุ ข. ครุภัณฑ
ค. ที่ดิน ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
"พัสดุ" หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวใน
หนังสือการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณของสํานักงบประมาณ หรือการ
จําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกูจากตางประเทศ (ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ
(ขอ 5))
9.ขอใดหมายถึง "เงินงบประมาณ"
ก. งบประมาณรายจายประจําป
ข. งบประมาณรายจายเพิ่มเติม
ค. เงินสวนราชการที่รับไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
"เงินงบประมาณ" หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ
รายจายเพิ่มเติม และเงินซึ่งสวนราชการไดรับไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ
~ 22 ~
แนวขอสอบ การเงินและบัญชี
1.สมการบัญชี คือขอใด
ก. สินทรัพย + หนี้สิน = สวนของเจาของ
ข. สินทรัพย = สวนของเจาของ + หนี้สิน
ค. สินทรัพย = หนี้สิน – สวนของเจาของ
ง. สินทรัพย + สวนของเจาของ = หนี้สิน
2.สวนไดเสียของเจาของในสินทรัพยของบริษัทหนึ่ง ๆ คือ
ก. สินทรัพยถาวร ข. สวนของผูถือหุน
ค. คาใชจายในการดําเนินงาน ง. ทุนหุนสามัญ
3.ณ วันสิ้นงวดบัญชีปจจุบัน ยอดคงเหลือของบัญชีตาง ๆเปนดังนี้ เงินสด 150,000 บาท ลูกหนี้
50,000 บาท หุนสามัญ 10,000 บาท กําไรสะสม 60,000 บาท หนี้สิน ณ วันสิ้นงวดเทากับเทาใด
ก. 80,000 บาท ข. 130,000 บาท
ค. 140,000 บาท ง. 190,000 บาท
4.บัญชีตาง ๆ ตอไปนี้ บัญชีใดมียอดคงเหลือดานเดบิต
1. สินคาคงเหลือ 2. คาเชา
3. ทุนเรือนหุน 4. คาเสื่อมราคาสะสม
5. ขาย 6. คาเชาจายลวงหนา 7. เจาหนี้
ก. สินคาคงเหลือ ทุนเรือนหุน ขาย คาเชาจายลวงหนา
ข. สินคาคงเหลือ คาเชา คาเชาจายลวงหนา
ค. ทุนเรือนหุน คาเสื่อมราคาสะสม ขาย เจาหนี้
ง. คาเชา คาเสื่อมราคาสะสม เจาหนี้
5.ขอความในขอใดเปนขอความที่ถูกตองสําหรับระบบบัญชีเดี่ยว
ก.คาใชจายคางจายจะหามาไดโดยการสอบถามเจาของ ตรวจดูใบเสร็จรับเงิน และบัญชีแยก
ประเภทเจาหนี้
ข.การเปรียบเทียบทุนจะทําใหทราบถึงฐานะการเงินของกิจการได แตไมสามารถทําใหทราบวา
กิจการมีรายไดและคาใชจายเทาใด
~ 23 ~
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Mehr von บ.ชีทราม จก. (10)

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือเตรียมสอบนักบัญชี แนวข้อสอบการประปานครหลวง การประปานครหลวง ปี 57 E-BOOK

  • 2. ~ 2 ~ ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม 5 สัญลักษณ 6 การบริหารจัดการภาพลักษณ 7 ตราสัญลักษณประจําองคกร 8 สีประจําองคกร 9 ประวัติ/ภาระหนาที่ 9 ทําเนียบผูวาการการประปานครหลวง 12 การดําเนินงานดานธรรมาภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคม 13 ความรับผิดชอบตอสังคม CSR 13 จริยธรรม 21 ประมวลจริยธรรมการประปานครหลวง 23 แนวทางการจัดทําประมวลจริยธรรมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 24 ธรรมภิบาล (Good Govermance) 25 พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2535 34 แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประปานครหลวง 48 สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องตน ความหมายของการบัญชี 58 ประเภทของบัญชี 61 ขอสมมติฐานทางการบัญชี 62 งบการเงิน 64 สมการบัญชี 67 การวิเคราะหรายการคา 76 ผังบัญชี 80 สมุดรายวันชั้นตน 87 งบทดลอง 92 การปรับปรุงรายการบัญชี 108
  • 3. ~ 3 ~ กระดาษทําการ 113 สมุดรายวันเฉพาะ 123 การวิเคราะหงบการเงิน 138 สวนที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวของ พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 168 ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง 2551 181 ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ 202 แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 273 แนวขอสอบ ระเบียบฯ การเบิกจายเงินจากคลัง 294 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยพัสดุ 303 แนวขอสอบ การบัญชี 312
  • 4. ~ 4 ~ การประปานครหลวง วิสัยทัศน / พันธกิจ / คานิยม วิสัยทัศน "เปนองคกรชั้นนําดานการบริหารจัดการที่ดี ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ในระดับ แนวหนาสุด ของกลุมประเทศอาเซียน ที่ใหบริการงานประปา" พันธกิจ "ใหบริการงานประปา อยางมั่นคง ทั่วถึง สะอาด และเพียงพอ ดวยมาตรฐานคุณภาพ และ บุคลากรมืออาชีพ เพื่อสรางความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นใหแกผูใชบริการ" คานิยม "มุงมั่น พัฒนาตน พัฒนาระบบงาน อยางยึดมั่นในประโยชนของผูใชบริการ ดวย ความรับผิดชอบ" การจัดการองคกร ยุทธศาสตรการบริหารการประปานครหลวง ฉบับที่ 3 (2555 - 2559) ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 6 ดาน จําแนกเปนมุมมองตามหลักการ Balanced Scorecard (BSC) และแนวทางบริหารจัดการสรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EVM) ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Strategic) ใหความสําคัญกับผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ Stakeholder ซึ่งคําวา"ผูมีสวนไดสวน เสีย ในที่นี้ จะหมายรวมถึงทุกภาคสวนทั้งที่เปนบุคคล หนวยงานภาครัฐ และองคกรธุรกิจ ที่ มีความสัมพันธเกี่ยวของกับการประปานครหลวง มุงเนนตอบสนองความตองการและความ คาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมดุล 2. ยุทธศาสตรดานการเงิน (Financial Strategic) สรางมูลคาเชิงเศรษฐศาสตร (EP : Economic Profit) โดยสรางรายไดใหเติบโต อยางยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน 3. ยุทธศาสตรดานลูกคา (Customer Strategic) ใหบริการน้ําประปาที่สะอาด อยางทั่วถึง เพียงพอ สรางความนาเชื่อถือ และไดรับ การยอมรับในระดับสากล
  • 5. ~ 5 ~ 4. ยุทธศาสตรดานกระบวนการภายใน (Internal Process Strategic) ผลิตและสงน้ําดวยมาตรฐานสูงอยางมั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน โดยมุงเนนลูกคา การตลาด และการบริการที่เปนเลิศ ดวยการบริหารจัดการกระบวนการอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 5. ยุทธศาสตรดานการเรียนรูและพัฒนาองคกร (Learning and Growth Strategic) ยกระดับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพิ่มประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสรางขีดความสามารถองคกร 6. ยุทธศาสตรดานธรรมาภิบาล (Corporate Governance Strategic) ยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ดวยหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ ประกอบดวย การ มีสวนรวม (Participation) หลักนิติธรรม (Rule of Law) ความโปรงใส (Transparency) ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน (Accountability) ตอตานการคอรรัปชั่น (Anti – Corruption) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency & Effectiveness) เปนฐานบริหาร จัดการทั้งองคกร สอดแทรกสูทุกกระบวนงาน สัญลักษณ พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง พระแมธรณี สัญลักษณของการประปานครหลวง เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จเปดกิจการการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2457 โดยมีพระราชดํารัสกลาวเปดตอนหนึ่งความวา อนึ่ง ทานทั้งหลายที่ไดชวยเราทําการอันนี้ใหสําเร็จไปได ควรรูสึกปลื้มใจวาไดทําการ อันประโยชนแลกุศลอยางยิ่งเพราะน้ําซึ่งใสสะอาด บริสุทธิ์ ใครๆยอมรูอยูแลวทั้งในโบราณ
  • 6. ~ 6 ~ แลบัดนี้วาเปนของจําเปนเพื่อประโยชนแล เพื่อความสุขสําหรับปองกันโรคอันตรายของ มนุษย น้ําใสสะอาดยอมเปนเครื่องบําบัดโรคไดดีกวาโอสถหรือเภสัชชทั้งหลาย เพราะฉะนั้น สิ่งไรที่นับวาเปนมลทินโทษ ทานโบราณาจารยจึงตองสอนใหใชน้ําเปนเครื่องชําระลาง ใน ที่สุดถึงแมจะกลาวเปรียบเทียบสิ่งที่เปนของชั่วราย เพื่อจะบําราบสิ่งชั่วรายอันนั้นก็จะบําราบ ใหพายแพไดโดยอาศัยอํานาจน้ํา เปนตนวาเมื่อครั้งสมเด็จพระมุนินทรชินสีหประทับอยูที่ ภายใตโพธิ บัลลังกพระยามาร ซึ่งสมมุติวาเปนผูคิดรายตอพระองคไดหวังผจญตอพระบรม ศาสดา โดยเดชะอํานาจพระบารมีของพระองคบันดาลใหนางพระธรณีมาสยายผมบีบน้ํา บําราบมาร ไดดวยอิทธิฤทธิ์แหงน้ํา อันไหลมาจากผมของนางดวยอํานาจสัจจะวาจาภาษิตนี้ ขอการประปาจงเปนผลสําเร็จสมตามพระราชประสงคของสมเด็จพระชนกนารถของเรา และ สมความประสงคของเราแลสมความประสงคของทานทั้งหลายบรรดาที่ไดชวยทําการ อันนี้ สําเร็จ ขอน้ําใสอันจะหลั่งไหลจากประปานี้ จงเปนเครื่องประหารสรรพโรครายที่จะ เบียดเบียฬใหรายแกประชาชนผูเปน พสกนิกรของเรา ขอน้ําอันนี้ไดรับพรแลว โดยพระสงฆ ไดสวดมนตแลโดยเราไดตั้งใจใหพรจงบันดาลใหเปนน้ํามนตทําให ประชาชนมีความสุข สวัสดิ์ผองแผวเจริญถวนทั่วทุกตัวคนตั้งแตวันนี้เปนตน ไป ซึ่งพระราชดํารัสดังกลาว จึงเปนที่มาของตราสัญลักษณของการประปา (หมายเหตุ พระราชดํารัสนี้เปนภาษาที่ใชเขียนในสมัยนั้น จึงมีบางคําที่ผิดจากที่ใชในปจจุบัน) การบริหารจัดการภาพลักษณ วิสัยทัศนของแบรนด การประปานครหลวงเปนองคกรที่มุงมั่นชวยเหลือประชาชน เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น การวางตําแหนงแบรนด เหนือกวา องคกรที่ใหบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่นๆในประเทศไทย สําหรับ ประชาชน ที่อยูอาศัยและประกอบกิจการในเขตนครหลวงที่ตองการสินคาคุณภาพดี ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการ ในราคาที่สามารถจายไดและยุติธรรม รวมทั้งมีบริการที่รวดเร็ว เพราะกปน.มี เทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมทันสมัยในการผลิตสินคาที่มี คุณภาพ อีกทั้งยังมีพนักงานที่ใหบริการอยางมืออาชีพ อบอุนและเขาถึงงาย ที่ลูกคา ไววางใจ เพื่อใหทุกๆคนมีความมั่นใจวากปน.ทํางานอยางทุมเทเพื่อชวยใหประชาชนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บุคลิกภาพของแบรนด
  • 7. ~ 7 ~ • มีความเปนมืออาชีพ (ซื่อสัตย เปดเผย เปนผูนํา) • มีแนวคิดเชิงรุก (มองการณไกลกระฉับกระเฉง รวดเร็ว) • สรางสรรค (มีพลังสรางสรรค ชางคิด/เปนแหลงความรู) • โอบออมอารี (มีมิตรไมตรี ชอบชวยเหลือผูคน เขาถึงงาย) (มีจิตสํานึกในการบริการ) • ทันสมัย (เทห/สวยงามเขากับยุคสมัย ดูสมารท) • นาเชื่อถือ (วางใจได พึ่งพาได) จึงไดจัดทําตราสัญลักษณการประปานครหลวงโฉมใหม โดยมีความหมายดังนี้ • ตราสัญลักษณของการประปานครหลวง ประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวน ไดแก สัญลักษณพระแมธรณี ชื่อการประปานครหลวง และเสนน้ํา • สัญลักษณพระแมธรณี มีความหมายสื่อถึงความเอื้ออารีของ กปน. และใหความ หมายถึงธุรกิจประปา • เสน น้ํา ที่เริ่มจากสีเขียวธรรมชาติมาสูสีฟาใส มีความหมายถึงการนําน้ําจากแหลง ธรรมชาติมาบําบัดใหสะอาดสูประชาชนในนครหลวง อันเปนภารกิจหลักของ กปน. และตอก ย้ําความสะอาดของน้ํา (น้ําประปาดื่มได) อีกทั้งสะทอนถึงวิสัยทัศนของแบรนด กปน. ในการ เสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหประชาชนในนครหลวง • ลักษณะเสนน้ําที่เปนเสนโคง มีความหมายถึงการไมหยุดนิ่ง และการพัฒนาไม หยุดยั้งของ กปน. ตราสัญลักษณประจําองคกร หมายเหตุ : สามารถเลือกใชได 2 แบบ ตามความเหมาะสม และไมควรดัดแปลง/แกไข ตราสัญลักษณประจําองคกร
  • 8. ~ 8 ~ ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบื้องตน ความหมายของการบัญชี การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น” นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่ เกิดขึ้น “AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ บัญชีวา “การบัญชีเปนศิลปะของการเก็บรวบรวมจดบันทึกรายการ หรือเหตุการณที่ เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว” จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย กระบวนการดังตอไปนี้ 1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน (Recording Daily Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน ขั้นตน (Journatasin thongsean) 2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data) เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS) ตามหมวดหมูนั้น ๆ
  • 9. ~ 9 ~ 3. การสรุปผลของขอมูล (Summarizing Recorded and Classified Data) เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาหนึ่ง อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน หรือปกติก็ 1 ป รายการที่จดบันทึกไวในสมุดรายวันขั้นตน และผานไปยังบัญชีแยกประเภทแลวนั้น ตองมี การสรุปผลของรายการเหลานั้น แลวตีความหมายเพื่อใหเห็นวามีผลตอธุรกิจอยางไร โดย แสดงใหเห็นในรูปของงบการเงิน (Financial Statement) ไดแก งบกําไรขาดทุน (Income Statement) และ งบดุล (Balance Sheet) งบกําไรขาดทุน เปนงบแสดงผลการดําเนินงานของงวดหนึ่ง ๆ งบดุล เปนงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใด วันหนึ่ง 4. การวิเคราะหขอมูล (Interpreting the Summarized Facts) เปน การนํางบการเงินที่เปนการสรุปผลการดําเนินงานมาวิเคราะหตีความ โดยการเปรียบเทียบ รายการที่เกิดขึ้นกับผลที่ไดในรอบปที่ผานมา หรือเปรียบเทียบกับธุรกิจอื่นที่ดําเนินกิจการ คลายกันในรอบระยะเวลาเดียวกัน เพื่อนําไปใชประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานใน อนาคต กลาวโดยสรุป องคประกอบของการบัญชี (Functions of Accounting) ประกอบดวย ประโยชนของการบัญชี การบัญชีมีประโยชนตอบุคคล 2 ฝาย คือ 1. บุคคลภายใน เชน ผูบริหารภายในกิจการ ตองการทราบวากิจการ มีสินทรัพย และหนี้สินอยูเทาใด และเปนประเภทไหนบาง เชน เงินสด , ลูกหนี้ , สินคา ฯลฯ หรือ เจาหนี้การคา , เจาหนี้เงินกู ฯลฯ เปนตน ขอมูล องคประกอบของการบัญชี คือ 1. การบันทึกรายการคา 2. การจัดหมวดหมูแยก ประเภทรายการ 3. การสรุปผลเปนงบ การเงิน 4. 4. การวิเคราะหตีความ งบการเงิน 1. งบดุล 2. งบกําไรขาดทุน 3. งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงฐานะ การเงิน ผูทําการตัดสินใจใช งบการเงิน 1. บุคคลภายใน เชน ฝาย บริหารภายใน 2. บุคคลภายนอก เชน เจาหนี้ , หนวยงาน ราชการ ฯลฯ
  • 10. ~ 10 ~ การวิเคราะหรายการคา การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction) เดบิต และ เครดิต หมายถึง ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่ เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่ เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา รายการเดบิต เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่ ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา รายการเครดิต ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต (Debit Balance) ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต (Credit Balance) จากสมการบัญชี สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามที่อยู ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สิน หรือทุน
  • 11. ~ 11 ~ เดบิต สินทรัพย เครดิต เดบิต หนี้สิน เครดิต เดบิต ทุน เครดิต เพิ่ม + ลด – ลด – เพิ่ม + ลด – เพิ่ม + สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ : สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได เพิ่ม ลด สินทรัพย ดานที่อยู เดบิต + เดบิต - เครดิต หนี้สิน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต ทุน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต รายได “ เครดิต + เครดิต - เดบิต คาใชจาย “ เดบิต + เดบิต - เครดิต การวิเคราะหรายการคา เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1 มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ : 1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท 2. ซื้อของใชสิ้นเปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท 3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน 15 ก.พ. 25xx 4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท 5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจายดังนี้ เงินเดือน 1,500 บาท คาเชา 2,000 บาท
  • 12. ~ 12 ~ ผังบัญชี (Chart of Account) เพื่อใหการจัดทําบัญชีสะดวกและงายขึ้น จึงมีการแบงหมวดหมูบัญชีออกเปน 5 หมวดใหญ ๆ คือ 1. หมวดสินทรัพย (Assets) 2. หมวดหนี้สิน (Liabilities) 3. หมวดทุน (Capital) 4. หมวดรายได (Revenues) 5. หมวดคาใชจาย (Expenses) หมวดสินทรัพย เลขที่บัญชีขึ้นตนดวย เลข 1 หมวดหนี้สิน “ เลข 2 หมวดทุน “ เลข 3 หมวดรายได “ เลข 4 หมวดคาใชจาย “ เลข 5 จากการแบงหมวดหมูดังกลาว ยังมีการแบงยอยลงไปอีก ดังนี้ ผังบัญชีและรหัสบัญชี (เลขที่บัญชี) เลขที่บัญชี ชื่อบัญชี 100 สินทรัพย 110 สินทรัพยหมุนเวียน 111 เงินสด 121 ลูกหนี้ 131 สินคา 141 คาใชจายลวงหนา 160 สินทรัพยถาวร 161 ที่ดิน 162 อาคาร 163 อุปกรณ 164 เครื่องจักร 165 รถยนต 170 สินทรัพยอื่น ๆ 171 เงินมัดจํา 200 หนี้สิน 210 หนี้สินหมุนเวียน 211 เจาหนี้
  • 13. ~ 13 ~ 221 คาใชจายคางจาย 260 หนี้สินระยะยาว 261 เงินกูระยะยาว 300 สวนของเจาของ (ทุน) 301 ทุนเรือนหุน 302 กําไรสะสม 303 เงินปนผล 400 รายได 401 ขาย 402 ดอกเบี้ยรับ 403 รายไดอื่น ๆ 500 คาใชจาย 501 ตนทุนขาย 502 เงินเดือน 503 คาเชา 504 คาน้ําประปา 505 คาไฟฟา ตัวอยางการบันทึกรายการคาในบัญชีแยกประเภทของรานABCซักรีด 1. นายอวน นําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท บัญชีที่เกี่ยวของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 25,000 บาท และ บัญชีทุน–นายอวน Cr. เพิ่ม + 25,000 บาท Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีทุน–นายอวน Cr. (1) 25,000 (1) 25,000 2. จายเงินสดซื้อของใชสิ้นเปลือง 3,000 บาท บัญชีที่เกี่ยวของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 3,000 บาท และ วัสดุสํานักงาน (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 3,000 บาท Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีวัสดุสํานักงาน Cr. (1) 25,000 (2) 3,000 (2) 3,000
  • 14. ~ 14 ~ สมุดรายวันเฉพาะ สมุดรายวันเฉพาะ (Specialized Jounals) การบันทึกบัญชีสําหรับธุรกิจที่มีรายการคาไมมาก สามารถทําไดโดยใชสมุด รายวันทั่วไปเพียงเลมเดียว แลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ ซึ่งทําใหตอง ใชเวลาในการบันทึกบัญชีคอนขางมาก และสิ้นเปลืองคาใชจาย ดังนั้น ธุรกิจขนาดใหญรายการคามีจํานวนมาก จําเปนตองหาวิธีที่จะบันทึก บัญชีใหรวดเร็วและประหยัดคาใชจาย วิธีการที่นํามาใชประการหนึ่ง คือ การใชสมุด รายวันเฉพาะควบคูกับสมุดรายวันทั่วไป สมุดรายวันเฉพาะ ถือเปนสมุดบันทึกรายการเบื้องตนประเภทหนึ่ง ใช บันทึกรายการคาประเภทหนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นเปนประจําและมีจํานวนมาก เชน รายการซื้อสินคาจํานวนมาก ใช สมุดรายวันซื้อ รายการขายสินคาจํานวนมาก ใช สมุดรายวันขาย กิจการแตละแหงสามารถที่จะเลือกเปดสมุดรายวันเฉพาะมากนอยเทาใด ขึ้นอยูกับความจําเปนหรือวัตถุประสงคของกิจการ วิธีการเลือกเปดสมุดรายวันเฉพาะของกิจการ กระทําไดโดยการกําหนด ประเภทรายการคาที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือประเภทเดียวกันไวเปนพวก ๆ รายการคา ประเภทใดที่มีจํานวนมาก ก็จะเปดสมุดรายวันเฉพาะสําหรับรายการคานั้น ๆ สวนรายการ คาประเภทที่มีจํานวนนอยก็บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปเหมือนเดิม สมุดรายวันเฉพาะที่นิยมเปดใช มีดังนี้ 1. สมุดเงินสด ใชบันทึกรายการ รับและจายเงินสด 2. สมุดรับเงิน ใชบันทึกรายการ รับเงินสด 3. สมุดจายเงิน ใชบันทึกรายการ จายเงินสด 4. สมุดซื้อ ใชบันทึกรายการ ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ 5. สมุดขาย ใชบันทึกรายการ ขายสินคาเปนเงินเชื่อ สมุดเงินสด (Cash Book) สมุดเงินสด เปนสมุดที่ใชบันทึกรายการรับและจายเงินสดของกิจการ ทําให ทราบวากิจการมีการรับ-จายเงินเปนคาอะไรบาง เปนจํานวนเงินเทาใด อีกทั้งยังทราบถึง เงินสดคงเหลือขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งเทากับวา สมุดเงินสดไดทําหนาที่คลายกับบัญชีแยก ประเภทเงินสดอีกดวย
  • 15. ~ 15 ~ การวิเคราะหงบการเงิน เงิน (Money) เงิน คือ สิ่งซึ่งเปนที่ยอมรับทั่วไปในสังคมหนึ่ง ๆ ใหเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน โดยมี การกําหนดคาขึ้นเปนหนวยเงินตรา และพยายามรักษาคาใหคงที่อยูเสมอ สวนประกอบของเงิน แยกได 3 สวน คือ 1. เงินจะเปนอะไรก็ไดที่ทุกคนยอมรับใหเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เชน อาจเปน โลหะหรือกระดาษก็ได 2. มีการกําหนดคาขึ้นเปนหนวยเงินตรา 3. มีคาคงที่เมื่อมองในระยะสั้น คือ เงินจํานวนหนึ่งควรจะสามารถแลกเปลี่ยนสินคา และบริการไดในจํานวนเทาเดิม ไมควรเปลี่ยนแปลงรวดเร็วนัก หนาที่ของเงิน มีดังนี้ 1. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange) 2. เปนมาตราวัดมูลคา (Standard of Value) 3. เปนเครื่องรักษามูลคา (Store of Value) 4. เปนมาตรฐานชําระหนี้ภายหนา (Standard of Deferred Payment) คุณสมบัติที่ดีของเงิน มีดังนี้ 1. เปนที่ยอมรับและงายตอการจดจําเพื่อใชในการแลกเปลี่ยน 2. มีเสถียรภาพในมูลคา เงินที่ดีจะมีคาคอนขางคงที่ 3. มีปริมาณยืดหยุนได ควรมีปริมาณเพียงพอกับความตองการใชเงินของประชาชน 4. พกติดตัวไดงาย 5. มีความคงทน ไมชํารุดเสียหายไดงาย 6. มีคาเทากัน เงินชนิดเดียวกันหรือหนวยเดียวกันควรมีคาหรืออํานาจซื้อเทากัน 7. สามารถแบงเปนหนวยยอย ๆ ได เพื่อความสะดวกในการแลกเปลี่ยนกับสินคา และบริการที่มีมูลคาตาง ๆ กัน ตลาดการเงิน คือ กลไก หรือวิธีการ หรือเทคนิคที่กอใหเกิดการโอนเปลี่ยนมือ ระหวางผูมีเงินออม (ผูใหกู) กับผูตองการใชเงิน (ผูกู) โดยอาศัย เงิน เงินทุน เครื่องมือเครดิต สถาบันการเงิน และวิธีการตาง ๆ เขามาชวย องคประกอบของตลาดการเงิน มี 6 ขอ ดังนี้ 1. ผูมีเงินออม (Saver) หมายถึง บุคคลธรรมดา หนวยธุรกิจ และหนวยงานของรัฐที่ขณะใดขณะหนึ่งมีเงิน เหลือจากการใชจายเพื่ออุปโภคบริโภค (มีรายรับมากกวารายจาย) เรียกเงินสวนนี้วา “เงิน
  • 16. ~ 16 ~ ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและ การนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษา เงินและการนําเงินสงคลัง ใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและสอดคลองกับการปฏิบัติงาน ดานการเงินการคลังตามระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (Government Fiscal Management Information System) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (2) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบ การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการ นําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป ขอ 3 ใหยกเลิก (1) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (2) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2525 (3) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2526 (4) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2531 (5) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2536 (6) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2538 (7) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2548 (8) ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520 (9) ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2531 (10) ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 บรรดาระเบียบหรือขอบังคับอื่นใดในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือ แยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน
  • 17. ~ 17 ~ ขอ 4 ในระเบียบนี้ “หนวยงานผูเบิก” หมายความถึง สวนราชการ หนวยงานในกํากับของรัฐ องคการ มหาชน รัฐวิสาหกิจ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หนวยงานขององคกรที่จัดตั้งขึ้นตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ หรือหนวยงานอื่นใดในลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้ ตองไดรับจัดสรร งบประมาณรายจายและเบิกเงินจากกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ อยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา และใหหมายความรวมถึงสวนราชการประจําจังหวัดดวย “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ “ผูวาราชการจังหวัด” ใหหมายความรวมถึงนายอําเภอในทองที่ซึ่งมีสํานักงานคลัง จังหวัด ณ อําเภอ ตั้งอยูดวย “สํานักงานคลังจังหวัด” ใหหมายความรวมถึงสํานักงานคลังจังหวัด ณ อําเภอดวย “คลังจังหวัด” ใหหมายความรวมถึง คลังจังหวัด (อําเภอ) ดวย “คลัง” หมายความวา บัญชีเงินฝากของกระทรวงการคลังที่ธนาคารแหงประเทศไทย “กองคลัง” ใหหมายความรวมถึง ฝายการเงิน หรือหนวยงานผูเบิกอื่นใด ซึ่ง ปฏิบัติงานในลักษณะเชนเดียวกันดวย “ผูอํานวยการกองคลัง” ใหหมายความรวมถึง เลขานุการกรม หรือผูดํารงตําแหนง อื่นใดซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะเชนเดียวกันดวย “เจาหนาที่การเงิน” หมายความวา หัวหนาฝายการเงินหรือผูดํารงตําแหนงอื่น ซึ่ง ปฏิบัติงานในลักษณะเชนเดียวกันกับหัวหนาฝายการเงิน และใหหมายความรวมถึงเจาหนาที่ รับจายเงินของสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาคดวย “สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน” ใหหมายความรวมถึง สํานักงานการตรวจเงิน แผนดินภูมิภาคดวย “งบรายจาย” หมายความวา งบรายจายตามระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ “หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับ หรือเจาหนี้ตามขอผูกพันโดยถูกตองแลว “เงินยืม” หมายความวา เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปน คาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือการปฏิบัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจาก งบประมาณรายจายหรือเงินนอกงบประมาณ
  • 18. ~ 18 ~ แนวขอสอบ ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษา เงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 4. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินของทางราชการ หมายความถึง ก. ตูนิรภัย ข. หีบเหล็ก ค. ตูเก็บของ ง. ตูเหล็ก 5. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ นอกจากเงินงบประมาณรายจาย เงิน รายไดแผนดิน เงินเบิกเกินสงคืน และเงินเหลือจายปเกาสงคืน หมายความถึงเงินในขอใด ก. เงินรายไดแผนดิน ข. เงินเบิกเกินสงคืน ค. เงินเหลือจายปเกาสงคืน ง. เงินนอกงบประมาณ 6. ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐซึ่งปฏิบัติงานโดยผานเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง หรือผานชองทางอื่นที่กระทรวงการคลังกําหนดกอนนําขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร คือขอ ใด ก. GFMIT ข. GFMIS ค. GFMMT ง. GFMNT 7. ขอใดไมใชขอมูลหลักของผูขาย ก. เลขที่สัญญา ข. เลขประจําตัวประชาชน ค. เลขประจําตัวผูเสียภาษี ง. ไมมีขอใดไมใชขอมูลหลัก 8. ผูรักษาการในระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 คือผูใด ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ข. กรมบัญชีกลาง ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. นายกรัฐมนตรี 9. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการจายเงินสด ก. เงินทดรองราชการ ข. เบี้ยหวัด
  • 19. ~ 19 ~ ค. การจายเงินที่มีวงเงินต่ํากวาหาพันบาท ง. ถูกทุกขอ 10. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเขียนจํานวนเงินในเช็ค ก. ตัวอักษรใหเขียนหรือพิมพใหชิดเสน และชิดคําวา “บาท” ข. ขีดเสนหนาจํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร ค. ขีดเสนตรงหลังชื่อสกุล ชื่อบริษัท หรือหางหุนสวนจนชิดคําวา “หรือผูถือ” ง. ถูกทุกขอ 11. สิ้นปงบประมาณ ใหหัวหนาหนวยงานซึ่งรับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการจัดเก็บเงิน รายงานใหผูใดทราบ ก. ผูอํานวยการกองคลัง ข. หัวหนาสวนราชการ ค. ถูกทั้ง ขอ ก. และ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง 12.สิ้นปงบประมาณ หัวหนาหนวยงานตองรายงานใหผูอํานวยการกองคลังหรือหัวหนาสวน ราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาคทราบไมเกินเมื่อใด ก. อยางชาไมเกินวันที่ 31 ตุลาคมของปงบประมาณถัดไป ข. อยางชาไมเกินวันที่ 31 สิงหาคมของปงบประมาณถัดไป ค. อยางชาไมเกินวันที่ 31 ธันวาคมของปงบประมาณถัดไป ง. อยางชาไมเกินวันที่ 31 มกราคมของปงบประมาณถัดไป 13. ตูนิรภัยใหมีลูกกุญแจอยางนอยกี่สํารับ กี่ดอก ก. อยางนอยสองสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสองดอก ข. อยางนอยสามสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสามดอก ค. อยางนอยสี่สํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสี่ดอก ง. อยางนอยหาสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาหาดอก 14. กุญแจตูนิรภัย มีการเก็บรักษาสํารับนึงไวที่กรรมการ อีกสํารับเก็บไวที่ใดสําหรับสวน ราชการในราชการบริหารสวนกลาง ก. สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง ข. หองเก็บเงินคลังในของสํานักงานคลังจังหวัด
  • 20. ~ 20 ~ ค. กรมบัญชีกลาง ง. สํานักงบประมาณแผนดิน 15. กุญแจตูนิรภัย มีการเก็บรักษาสํารับนึงไวที่กรรมการ อีกสํารับเก็บไวที่ใดสําหรับสวน ราชการในราชการบริหารสวนกลาง ก. สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง ข. หองเก็บเงินคลังในของสํานักงานคลังจังหวัด ค. กรมบัญชีกลาง ง. สํานักงบประมาณแผนดิน 16. กรรมการเก็บรักษาเงิน ตองเปนขาราชการที่ไดรับการแตงตั้งซึ่งดํารงตําแหนงตั้งแต ระดับใดขึ้นไป ก. ระดับสอง ข. ระดับสาม ค. ระดับสี่ ง. ระดับหา 17. เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสวนราชการผูเบิกนําสงคืนคลังภายใน ระยะเวลากี่วัน ก. เจ็ดวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง ข. สิบหาวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง ค. สามสิบวันนับจากวันรับเงินจากคลัง ง. สี่สิบหาวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง 18. เช็ค ดราฟท หรือตั๋วแลกเงิน ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลาใด ก. อยางชาภายในวันทําการถัดไป ข. อยางชาภายใน 3 วันทําการ ค. อยางชาภายใน 7 วันทําการ ง. อยางชาภายใน 15 วันทําการ 19. เงินรายไดแผนดิน เกินกวาหนึ่งหมื่นบาท ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลา ใด ก. อยางชาภายในวันทําการถัดไป ข. อยางชาภายใน 3 วันทําการ ค. อยางชาภายใน 7 วันทําการ ง. อยางชาภายใน 15 วันทําการ
  • 21. ~ 21 ~ แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2552 7.ขอใดเปนความหมายของคําวา การพัสดุ ก. การจัดทําเอง ข. การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษา ค. การจางออกแบบและควบคุมงาน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "การพัสดุ" หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษา การจางออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการดําเนินการอื่นๆ (ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ (ขอ 5)) 8.ขอใดหมายถึงพัสดุ ก. วัสดุ ข. ครุภัณฑ ค. ที่ดิน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "พัสดุ" หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวใน หนังสือการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณของสํานักงบประมาณ หรือการ จําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกูจากตางประเทศ (ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุ (ขอ 5)) 9.ขอใดหมายถึง "เงินงบประมาณ" ก. งบประมาณรายจายประจําป ข. งบประมาณรายจายเพิ่มเติม ค. เงินสวนราชการที่รับไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ "เงินงบประมาณ" หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ รายจายเพิ่มเติม และเงินซึ่งสวนราชการไดรับไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ
  • 22. ~ 22 ~ แนวขอสอบ การเงินและบัญชี 1.สมการบัญชี คือขอใด ก. สินทรัพย + หนี้สิน = สวนของเจาของ ข. สินทรัพย = สวนของเจาของ + หนี้สิน ค. สินทรัพย = หนี้สิน – สวนของเจาของ ง. สินทรัพย + สวนของเจาของ = หนี้สิน 2.สวนไดเสียของเจาของในสินทรัพยของบริษัทหนึ่ง ๆ คือ ก. สินทรัพยถาวร ข. สวนของผูถือหุน ค. คาใชจายในการดําเนินงาน ง. ทุนหุนสามัญ 3.ณ วันสิ้นงวดบัญชีปจจุบัน ยอดคงเหลือของบัญชีตาง ๆเปนดังนี้ เงินสด 150,000 บาท ลูกหนี้ 50,000 บาท หุนสามัญ 10,000 บาท กําไรสะสม 60,000 บาท หนี้สิน ณ วันสิ้นงวดเทากับเทาใด ก. 80,000 บาท ข. 130,000 บาท ค. 140,000 บาท ง. 190,000 บาท 4.บัญชีตาง ๆ ตอไปนี้ บัญชีใดมียอดคงเหลือดานเดบิต 1. สินคาคงเหลือ 2. คาเชา 3. ทุนเรือนหุน 4. คาเสื่อมราคาสะสม 5. ขาย 6. คาเชาจายลวงหนา 7. เจาหนี้ ก. สินคาคงเหลือ ทุนเรือนหุน ขาย คาเชาจายลวงหนา ข. สินคาคงเหลือ คาเชา คาเชาจายลวงหนา ค. ทุนเรือนหุน คาเสื่อมราคาสะสม ขาย เจาหนี้ ง. คาเชา คาเสื่อมราคาสะสม เจาหนี้ 5.ขอความในขอใดเปนขอความที่ถูกตองสําหรับระบบบัญชีเดี่ยว ก.คาใชจายคางจายจะหามาไดโดยการสอบถามเจาของ ตรวจดูใบเสร็จรับเงิน และบัญชีแยก ประเภทเจาหนี้ ข.การเปรียบเทียบทุนจะทําใหทราบถึงฐานะการเงินของกิจการได แตไมสามารถทําใหทราบวา กิจการมีรายไดและคาใชจายเทาใด
  • 23. ~ 23 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740