SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 114
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โดย เรืองวิทยาคม                               ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                หนาที่ 1



สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม

ทําไมตองมีสามกกฉบับคนขายชาติ (ตอนที่ 1)

หลังจากประเทศไทยเกิดวิกฤติการณทางเศรษฐกิจครั้งใหญในป 2540 ประเทศไทยไดยอมตนเขาผูกพันและ
รับพันธะที่กําหนดโดยตางชาติหลายประการครอบคลุมทั้งดานนิติบัญญัติ ดานบริหาร และดานตุลาการ เปน
ผลใหมีการแกไขบทกฎหมายและตรากฎหมายขึ้นใหมเปนจํานวนมาก ครอบคลุมถึงดานตาง ๆ ดังกลาว
ขางตน จนมีการกลาวขานวากฎหมายหลายฉบับเปนกฎหมายขายชาติ แมกระทั่งมีการกลาวขานวาการยอมรับ
พันธะผูกพันในลักษณะเชนนี้เปนการกระทําทีขายชาติ
                                         ่

ในดานการฟนฟูกอบกูเศรษฐกิจของประเทศใหฟนคืนดี ก็ปรากฏวาแทนที่ประเทศไทยจะสามารถดําเนินการ
ไดโดยอิสระเปนตัวของตัวเอง กลับตองถูกบงการโดยทุนตางชาติ ใหกําหนดมาตรการมากหลาย ซึ่งสวนใหญ
ถูกกลาวขานวาเปนไปเพื่อผลประโยชนของตางชาติ เปนไปเพื่อเกื้อกูล อํานวยประโยชนและความสะดวก
ใหแกตางชาติในการยึดครองเศรษฐกิจของประเทศ
       

เพียงชั่วระยะเวลา 3 ป ปรากฏวาประเทศไทยมีหนีสินเพิ่มขึ้นจนตกอยูในสภาพทีมีหนีสินลนพนตัว เปนปญหา
                                             ้                           ่    ้
ที่กระทบตอระบบงบประมาณแผนดินอยางรุนแรงที่สดเปนประวัติการณ มีความเสียหายเกิดขึ้นในระบบธนาคาร
                                               ุ
และสถาบันการเงินมากที่สดเปนประวัติการณ
                          ุ                 และธนาคารตลอดจนสถาบันการเงินไดถูกตางชาติยดครอง   ึ
ครอบงําเกือบหมดสิ้น นักธุรกิจไทยลมละลาย ตองปดกิจการ และไมสามารถแขงขันไดอีกตอไป เงิน
หมุนเวียนหมดไปจากตลาดขยายตัวลุกลามไปจนถึงชนบท ประชาชน รัฐบาล และประเทศไทย มีรายไดลดลง
ยากจนลง และเกิดความรูสึกวากําลังตกเปนทาสของชาติอนชัดเจนยิ่งขึ้นทุกที
                                                    ื่

ในสภาพเชนนีปญหาการขายชาติ ปญหาการกอบกูฟนฟูชาติ ปญหาวีรชน และปญหาทรชนจึงเกิดขึน และ
                 ้                                                                                ้
กลายเปนเรื่องที่ทุกฝาย     ทุกพื้นที่ใหความสนใจ  จึงเกิดแรงบันดาลใจใหเขียนเรื่องยาวสักเรื่องหนึ่ง  ที่
สอดคลองกับสภาพการณที่เกิดขึ้น เพื่อเปนบรรณาการทานผูอานหนังสือพิมพผูจดการดังนั้น จึงเห็นวาเรื่อง
                                                                             ั
ยาวที่จะเขียนขึนควรจะตองเปนเรื่องสามกก ในมุมมองทีสอดคลองกับสภาพการณของประเทศไทย เหตุนี้จึง
                   ้                                   ่
ไดใหชื่อเรื่องยาวที่จะเขียนนี้วา "สามกกฉบับคนขายชาติ"
                                 

เหตุผลที่นําเอาเรื่องสามกกมาเขียนเปนเรื่องยาวอีกครั้งหนึ่งเนื่องเพราะเรื่องราวในสามกกนันเปนเรื่องราวใน
                                                                                           ้
ยุคสมัยที่บานเมืองเกิดจลาจลวุนวาย จึงแตกแยกเปนกก เปนเหลา มีการรบราฆาฟนกันรวมรอยป อาณา
ประชาราษฎรไดรับความเดือดรอนทุกหยอมหญา บานเมืองก็เสียหายยอยยับ วีรชนไดกาเนิดขึ้นเปนจํานวน
                                                                                         ํ
มาก ในขณะทีทรชนก็กําเนิดขึ้นเปนจํานวนมากเชนเดียวกัน
               ่

การตอสูกชาติ และการขายชาติเปนของคูกัน และดําเนินไปตลอดในเรื่องราวของสามกก บนวิถีทางแหงการ
            ู
ตอสูของวีรชนกับทรชน ระหวางการตอสูฟนฟูชาติ กับการขายชาติเปนไปอยางดุเดือด สะทอนถึงศาสตรและ
ศิลปในแทบทุกสาขาทีมวลมนุษยพึงเรียนรู และถูกนํามาใชอยางแหลมคม สามกกฉบับคนขายชาติ ทีจะเขียน
                           ่                                                                      ่
ขึ้นนี้ไมไดตั้งใจที่จะเสียดสี กระทบกระเทียบเปรียบเปรยเอากับผูหนึ่งผูใดในบานเมืองขณะนี้ แตถาหากวา
                                                                                                
ตอนใดมีเรื่องราวทีคลายคลึงหรือใกลเคียงกับสถานการณในชวงตางๆ แลว ผูเขียนก็หาไดมีอํานาจสิทธิขาดที่
                       ่
จะไปกีดกั้นความนึกคิดของทานผูอานแตประการใดไม จะคิดอานประการใดก็สดแทแตความนึกคิดของแตละ
                                                                              ุ
ทานเถิด

อันเหตุการณทผานมาไมวาในยุคสามกกหรือในยุคใดลวนอาจหมุนเวียนเปลียนเขามาใหมไดเสมอ เหตุนี้คํา
                ี่                                                     ่
พังเพยที่วา "กงลอแหงประวัตศาสตรยอมหมุนกลับทับรอยเดิม" จึงเปนคําพังเพยที่ถูกนํามากลาวขานอยูเสมอ
                             ิ
ถาเปนเชนนั้นก็พึงพิจารณาแตเพียงวาเหตุการณเกิดขึ้นคลายคลึงกัน แตการที่จะปรับเปรียบมาเทียบเคียงให
เสมอกันยอมไมมีวันทีจะเปนไปได
                       ่

เหตุนี้ในการดําเนินเรื่องจักไมพยายามทีจะดัดแปลงเพื่อใหเรื่องราวกลับกลายเปนเชนปจจุบัน และจักไมเอา
                                       ่
ตัวบุคคลในปจจุบันไปปรับเปรียบเทียบเขากับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งในเรื่องสามกก เพราะหากทําเชนนันก็ไม
                                                                                                ้
ตางอะไรกับการตัดตีนใหเขากับเกือก เพราะนอกจากจะเขากันไมไดแลว มีแตจะเจ็บตัวเปลา

สามกกเปนวรรณคดีมีชื่อเสียงที่แปลจากภาษาจีน      ตั้งแตยุคสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราช และเปนตนแบบของการแปลเรื่องจีนมาเปนวรรณคดีไทยอีกหลายเรื่องในกาลตอมา ไมเพียงแตจะ
ถูกแปลเปนภาษาไทยเทานั้น สามกกยังจัดวาเปนหนังสือดีที่สดเลมหนึ่งของโลก ไดถูกแปลเปนภาษาตาง ๆ
                                                          ุ



                       All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
โดย เรืองวิทยาคม                                ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                     หนาที่ 2



มากมาย และมียอดพิมพมากที่สดเลมหนึ่งของโลก
                           ุ                                วากันวาจะเปนรองก็แตคัมภีรไบเบิล   และตําราพิชัย
สงครามของซุนหวูเทานั้น

การแปลของแตละภาษายอมเปนธรรมดาที่จะมีสํานวนและโวหารที่ตางกันไป                 โดยทีตนฉบับของจีนนั้นมี
                                                                                        ่
ทวงทํานองหนักหนวงลึกซึ้ง ในขณะทีฉบับแปลของบริวท เทเลอรคอนขางจะตะกุกตะกัก แบบฝรั่ง สวนของ
                                     ่                ิ
ญี่ปุนนั้นอาจจะเปนเพราะสํานวนภาษาคลายกับจีน      ดังนั้นจึงมีลีลาทํานองลึกซึ้งดุจกัน   สวนการแปลเปน
ภาษาไทย อํานวยการแปลโดยบุคคลสําคัญที่มความเชียวชาญอยางสูงทางภาษาในยุคนั้นคือเจาพระยาพระ
                                              ี         ่
คลัง (หน) ดังนั้นสํานวนแปลภาษาไทยจึงกระชับสั้นไดใจความ เปนภาษาความเรียงที่งดงามดวยอรรถะและ
พยัญชนะ มีอปมาอุปไมย ทีสอดคลองกับความรูสึกนึกคิดของคนไทย จนกระทรวงศึกษาธิการ สมัยหนึ่งได
               ุ             ่                  
นําเอาสามกกตอนโจโฉแตกทัพเรือไปเปน แบบเรียนภาษาไทยแตทวาการแปลภาษาไทยนั้น และในยุคสมัย
ที่การเมืองไทยยังไมสงบเรียบรอยดีนัก จึงมีหลายสิ่งหลายอยางที่ขาดหายไป ทั้ง ๆ ที่เปนเรื่องสําคัญ ทั้งนี้
อาจเปนเพราะหากนํามากลาวไวแลวก็อาจกระทบตอการเมืองในยุคนั้น

เหตุนี้ในการดําเนินเรื่อง "สามกกฉบับคนขายชาติ" จักไดถอเอาฉบับแปลของเจาพระยาพระคลัง (หน) เปน
                                                       ื
หลัก แตสวนที่ยังขาดตกอยูก็จะไดนําเอาฉบับแปลอื่น ๆ มาประกอบเพื่อใหเกิดความครบถวนอยางหนึ่ง
                              
เพื่อใหเกิดประกายแหงความคิดและเปนทีตงแหงความเขาใจอันจะเปนประโยชนตอความรับรูและการนําไปใช
                                       ่ ั้
อีกอยางหนึ่ง

นอกจากฉบับแปลแลวยังมีสามกกฉบับพิเศษอีกหลายฉบับยาขอบบรมครูแหงวรรณกรรมไทยก็ไดเขียนสาม
กกขึ้นฉบับหนึ่งเรียกวาฉบับวณิพก หรือฉบับขอทาน    โดยยกเอาตัวบุคคลแตละคนขึ้นมาพรรณนาใน
รายละเอียดดวยภาษาที่งดงามและคมกลา

ในขณะที่บรมครูอีกทานหนึ่งซึงนับถือกันวาเปนปราชญแหงชาติไทย คือหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ก็ได
                              ่
เขียนสามกกขึนอีกฉบับหนึ่งชือวาสามกกฉบับนายทุน ซึ่งเปนการแสดงทัศนะความชอบธรรมและความไมชอบ
                ้           ่
ธรรม ความดีและความชั่วที่ตรงกันขามกับทัศนะของยาขอบ คือในขณะทียาขอบยกยองเชิดชูเลาปเปนผูทรง
                                                                    ่                         
คุณธรรม และกลาวหาประณามโจโฉเปนกบฏทรยศตอแผนดิน หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ก็ไดเชิดชูโจ
โฉเปนอัครมหาเสนาบดี ที่ภักดีตอแผนดิน ในขณะที่เลาปเปนนักหลอกลวง หลอกเอาขงเบง มาใชแลวสมคบ
กันใชเลหลิ้นลมลวงจนบานเมืองปนปวนไปทัว
                                           ่

สองทัศนะนี้ขัดแยงกันสิ้นเชิง แตก็เกิดอรรถรสและแงคดที่เปนประโยชน แกผูอานไมตางกัน หลังจากนั้นก็ยัง
                                                    ิ                              
มีผูแตงสามกกออกมาอีกหลายฉบับ เชนฉบับแปลของคุณวรรณไว พัทธโนทัย สามกกฉบับนักบริหาร และที่
กําลังออกอากาศทางวิทยุอยูในขณะนี้ก็ยังมีสามกกฉบับโหราศาสตร นอกจากนี้แลวก็ยงมีฉบับเล็กฉบับนอย
                                                                                     ั
อีกมากมาย ไมเพียงแตจะมีผแตงลักษณะเชนนี้ในประเทศไทยเทานั้น ในประเทศจีนเองหรือในประเทศอืนๆ ก็
                             ู                                                                    ่
ไดนําเอาสามกกไปแบงซอยยอยและแตงขึ้นในแงมุมตางๆ มากมาย

การทั้งนี้เนื่องจากเรื่องราวทีดาเนินไปในสามกกนั้น ไดครอบ คลุมการตางๆ ไวแทบทุกๆ ดาน ไมวาในเรื่อง
                                 ่ ํ                                                                 
คุณธรรม น้ํามิตร พิชยสงคราม การปกครอง การบริหาร การใชคน การทูต การเมือง การทหาร แมกระทั่ง
                         ั
โหราศาสตร นิมิต และลางตางๆ ตลอดจนธรรมเนียมการปกครองแผนดิน การที่สามกกมีเนื้อหาครอบคลุม
เรื่องราวดานตาง ๆ มากมาย เชนนี้ จึงมีผดดแปลงสามกกออกไปเขียนในแงมุมตาง ๆ และยิ่งเขียนในแงมุม
                                               ู ั
ตาง ๆ มากขึ้นเทาใดก็ยิ่งแสดงใหเห็นวาสามกกนั้น ไมวาในแงมุมใดมีความลึกซึ้ง และเปนประโยชนตอ
ผูเกี่ยวของไดทั้งสิ้น มีผูกลาววาใครอานสามกกครบสามครั้งจะเปนคนที่คบไมได คํากลาวนี้ไดสะทอนใหเห็น
อยูในตัวเองวาสามกกเปนเรื่องราวของการใชสติปญญาพลิกแพลงกอปรดวยอุบายเลหกลครบครัน

แตขอที่วาอานสามกกครบสามครั้งแลวจะเปนคนทีคบไมไดนั้น ออกจะเปนการมองปญหาดานเดียว เพราะการ
                                                 ่
คบไดหรือคบไมได ไมไดขึ้นอยูกับการอานสามกกหรือไม หรือวาจะอานสักกี่ครั้ง หากขึ้นอยูกับคนผูนนเอง
                                                                                                     ั้
คนจํานวนหนึ่งแมไมเคยอานสามกกก็ยังปรากฏวาเปนคนที่คบไมไดก็มีใหเห็นอยูถมไป บางคนอานสามกกนับ
สิบครั้งก็ยังคงเปนคนดีมศีลธรรม ก็มีใหเห็นอยูถมไปเหมือนกัน
                        ี

คนเราจะคบกันไดหรือคบกันไมไดขึ้นอยูกับอุปนิสัยใจคอของคนผูนั้นเองวาเปนคนดี เปนมิตรแท หรือเปน
สหายน้ํามิตรทีตายแทนกันไดหรือไม หากเปนคนเลว คนเห็นแกได หรือคนทรยศตอมิตร แมไมไดอานสามกก
              ่
เลย คนเชนนี้กหาควรคบดวยไม
                ็




                        All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
โดย เรืองวิทยาคม                                ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                 หนาที่ 3



ในมงคล 38 บทแรกสุด พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสสอนวาการไมคบคนพาลเปนมงคลสูงสุด ซึ่งสามกกมี
                                     
ตัวอยางและเรืองราวมากมายที่แสดงใหเห็นวาคนพาลเปนอยางไร ทีสําคัญไดแสดงใหเห็นถึงลักษณะและการ
               ่                                                    ่
กระทําของคนขายชาติวาทํากันอยางไร เกิดผลอยางไร ทั้งผลที่เกิดขึ้นแกตนเอง แกครอบครัว แกสังคมและ
บานเมือง เรืองวิทยาคมพรอมแลวที่จะบรรณาการทานผูอานหนังสือพิมพผูจัดการดวย "สามกกฉบับคนขาย
                                                          
ชาติ" ซึ่งแมวาจะตระหนักดีวามีภูมิความรูยังไมถึงขนาดนัก แตดวยใจภักดีที่มุงตอบแทนคุณทานผูอานก็จะใช
                                          
ความพยายามอยางเต็มความสามารถ คงมีปญหาขอวิตกอยูประการเดียวที่เรื่องสามกกเปน เรื่องยาว ยอมยาก
                                                           
ที่จะทําใหเกิดความเราใจ ตรึงใจไปไดตลอด ทั้งตองใชเวลานานนับปกวาจะจบ จึงวิตกวาทานผูอานจะเบื่อ
หนายเสียกอน       จึงไดแตหวังวาดวยใจภักดีที่จะสนองคุณทานผูอานอยางหนึ่งดวยวิรยะอุตสาหะแหงตนอีก
                                                                                       ิ
อยางหนึ่ง       จักเปนเครื่องคุมกันและกอใหเกิดความเมตตาจากทานผูอานติดตามและสนับสนุนงานชิ้นนี้ไป
จนกวาจะสําเร็จดังประสงค

สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม

เคาลางกลียค (ตอนที่ 2)
           ุ

ยุคสมัยของสามกกเกิดขึ้นตั้งแตปพทธศักราช 722 เปนตนมา เปนเวลารวมรอยป เบื้องหนาแตจะเกิดยุคสาม
                                   ุ
กก แผนดินจีนไดเกิดกลียุครบราฆาฟนกันจนแตกออกเปน 7 หัวเมือง ทั้ง 7 หัวเมืองนี้บางครั้งก็ผูกมิตรกัน
บางครั้งก็ทําสงครามกัน สงครามและสันติภาพเกิดขึ้นสลับกันไป ประวัตศาสตรจีนไดเรียกขานยุคนี้วาเปนยุค
                                                                      ิ
"เลียดกก" รายละเอียดมีปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องเลียดกกซึ่งแปลมาจากพงศาวดารเลียดกกของจีนนันแลว  ้
จนถึงสมัยหนึ่งแควนจิ๋นมีเจาผูปกครองชื่อวา "จิ๋นออง" ไดรวบรวมหัวเมืองทั้ง 7 เขาเปนแผนดินเดียวกัน
                               
สถาปนาราชวงศจิ๋นขึ้นปกครองแผนดินจีนแตนั้นมา

ชื่อประเทศที่ถกรวมเขาเปนหนึ่ง จึงถูกเรียกตามชื่อของแควนจิ๋นวาเปน"ประเทศจีน" ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จิ๋
               ู
นอองเปนผูใฝอํานาจ เห็นวาคําวา "ออง" ยังเปนคําต่ําเสมอเจาเมืองธรรมดา ไมสมกับความชอบของพระองค
ที่สามารถรวบ รวมแควนทั้งปวงเขาเปนแผนดินเดียวกันได จึงใหขุนนางทังปวงคิดสรรหาสมญานามใหสมกับ
                                                                           ้
ความชอบของพระองค

เปนธรรมเนียมของขุนนางทุกยุค ทุกสมัยทีมักประจบผูมีอานาจบรรดาขุนนางในยุคนั้นจึงไดคิดคนสมญานาม
                                              ่          ํ
สําหรับจิ๋น อองวา "ฮองเต" ซึ่งหมายถึงความเปนใหญใน 5 ทวีป หรือความยิ่งใหญเหนือแผนดิน ภูเขา แมน้ํา
ความดี และความชั่ว ซึ่งสมญานามนี้เปนที่ตองพระทัยยิ่งนัก ดังนั้น จิ๋นอองจึงไดสถาปนาพระนามาภิไธย ของ
                                            
พระองควา "จินซีฮองเต" ความใฝในอํานาจ และความคิดที่จะเปนใหญในจักรวาลเปนแรงวิรยานุภาพภายใน
                ๋                                                                       ิ
ตัวของจิ๋นซีฮองเต ประกอบกับเปนคนรูจักใชคน ดังนั้น คนดีมีฝมือในแผนดินจํานวนมากจึงอาสาเขามารับใช
ชาติ แผนดินจีนยุคนั้นจึงยิ่งใหญเกรียงไกร

แตกระนั้นความยิ่งใหญที่มีอยูก็ไมสามารถยับยังความแกเอาไวได เมื่ออายุลวงวัยมากเขา จิ๋นซีฮองเตก็เกิด
                                               ้
ความคิดกลัวตาย แตไมอยากตาย ดังนั้น จึงไดพยายามแสวงหายาอายุวฒนะ เมื่อความอยากเกิดขึ้น ความโง
                                                                       ั
ก็ไดเขาครอบงํา พวกแพทยหลวงและแพทยบานตลอดจนนักพรต ตางไดอาสาทํายาอายุวัฒนะ แตในทีสุดก็           ่
ไมประสบผลสําเร็จ ความแกยงคงเขาครอบงําจักรพรรดิผูยิ่งใหญอยางไมหยุดยั้ง ทําใหพระองครสึกวาวันเวลา
                               ั                                                             ู
แหงความตายไดเยื้องกรายเขามาเยือน พระองคใกลเขามาทุกที ในที่สดทรงตั้งรางวัลเปนจํานวนมหาศาล
                                                                         ุ
ใหแกใครก็ตามที่สามารถแสวงหายาอายุวฒนะมาถวายได
                                          ั

รางวัลจํานวนมหาศาลยอมจูงใจคน ยอมสามารถทําใหคนแกรง กลาไมกลัวผี ไมกลัวฟา ไมกลัวดิน ไมกลัว
บาป และไมกลัวตาย ดังนั้น จึงมีพวกหมอกลุมหนึ่งเห็นวา ขืนอยูไปก็อาจเสี่ยงภัยตอการถูกประหาร จึงอาสา
เดินทางทางเรือไปทางดานตะวันออก เพื่อแสวงหายาอายุวัฒนะ หลังจากเดินทางไปแลวก็ไมกลับมาอีกเลย
กลาวกันวาคณะเดินทางแสวงหายาอายุวฒนะกลุมนี้คือกลุมบรรพบุรุษกลุมแรกของชนชาติญี่ปุน
                                         ั                                                       เหตุที่ไม
ยอมรับวาความตายจะมาถึง จินซีฮองเตจึงไมได
                              ๋                  เตรียมการใด ๆ เพื่อรับมือกับเหตุการณหลังการตายของ
พระองค ดังนันเมื่อความตายมาถึงกลียคจึงเกิดขึ้นในบานเมือง หลี่ซือ ขุนนางผูมีความชอบตอแผนดินและ
                 ้                     ุ
ดํารงตําแหนงอัครมหาเสนาบดีถูกขันทีใชอํานาจของยุวกษัตริยประหารอยางโหด ราย นอกจากนั้นขุนนางผู
ภักดีตอแผนดินก็ถูกบีบคั้นและสังหารอยางโหดรายทารุณ ในที่สดยุวกษัตริยผูเปนรัชทายาทของจิ๋นซีฮองเตก็
                                                              ุ
ถูกขันทีสังหารแผนดินอันยิ่งใหญก็ไมสามารถรักษาไวได แมเลือดเนื้อเชื้อไขก็ตองถูกสังหารอยางโหดราย นี่
เปนเพียงตัวอยางหนึ่งของความประมาทที่อยาวาแตปถุชนคนธรรมดาสามัญเลย ตอใหเปนฮองเต มีอํานาจ
                                                  ุ
วาสนาทรัพยสงศฤงคารสักเพียงไหน หากตกอยูในความประมาทแลว ทุกสิงก็จะสูญสิ้นไป
              ิ่                                                         ่




                        All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
โดย เรืองวิทยาคม                               ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                 หนาที่ 4



หลังจากสังหารยุวกษัตริยแลว ขันทีก็ตั้งตนเปนใหญ ใชอํานาจ หยาบชาตออาณาประชาราษฎร จนบานเมือง
เกิดจลาจลขึ้น สมัยนั้นขุนศึกตางๆ ไดยกกองทัพเขาเมืองหลวง ดานหนึ่งอางวาเพื่อฟนฟูพระราชวงศ ชูธง
แหงความจงรักภักดีขึ้นเปนทีรวมใจของขุน นางและอาณาประชาราษฎร ในขณะที่อีกดานหนึ่งมีวาระซอนเรน
                            ่
อยูในใจที่จะยึดอํานาจแผนดินเสียเอง

การรบราฆาฟนเกิดขึ้นอยางกวางขวาง การจลาจลขยายตัวลุกลามไปทั้งแผนดิน กลายเปนสงครามกลางเมือง
ขึ้นมาอีก ครั้งหนึ่งสมัยนั้นมีผตั้งตนเปนผูกชาติหลายกลุม หลายเหลา แตหลังจากสงครามผานไปนานวันเขา
                               ู            ู
บางกลุมก็สูญสลายไป         บางกลุมก็ไปรวมกับอีกกลุมหนึ่ง   ในทีสุดเหลืออยูเพียงสองกลุม
                                                                   ่                            กลุมแรกนํา
โดยฌอปาออง กลุมที่สองนําโดยเลาปง หรือที่เรียกวาฮั่นออง ทั้งสองกลุมนี้ทําสงครามแยงชิงเมืองหลวงกัน
เปนเวลายาวนาน เปดสงครามตอกันถึง 7 ครั้ง และทั้ง 7 ครังนี้ฮั่นอองหรือ เลาปงเปนฝายพายแพ
                                                             ้

แตเนื่องดวยเลาปงเปนคนมีความเพียรพยายาม มีจิตใจตอสูและทรหดอดทน ทั้งพยายามแสวงหาคนดีมฝมือ
                                                                                                  ี
มารวมงาน ในที่สด เลาปงก็ไดขุนนางสองคนมาทําการดวย นั่นคือ "ฮั่นสิน" ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญจัดจานทาง
                   ุ
การทหาร และ "เตียวเหลียง" ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญ จัดจานทางพิชัยสงครามและการปกครอง

ในสงครามครั้งสุดทาย ฮั่นอองเปนฝายไดรับชัยชนะ โดยฌอปาอองแตกทัพไปติดอยูริมน้า และฆาตัวตายใน
                                                                                ํ
ที่สด
    ุ       กอนพายแพฌอปาอองไดเผาเมืองหลวงทีใหญโตอัครฐานจนหมดสิ้น
                                                   ่                           กลาวกันวาเพลิงไหม
พระบรมมหาราชวัง ติดตอกันเปนเวลาถึง 7 วัน 7 คืน ฮันอองหรือเลาปงไดรับชัยชนะแลว จึงไดสถาปนา
                                                      ่
ราชวงศฮั่นขึ้น เหลาขุนนางไดถวายพระสมัญญาแกพระองคทานวา "พระเจาฮั่นโกโจ" จัดเปนปฐมกษัตริย
แหงราชวงศฮั่น

สงครามและสันติภาพเกิดขึ้นสลับกันไปเชนนี้ เจาพระยา พระคลัง (หน) จึงกลาวไวในสามกกดวยโวหารวา
"เดิมแผนดินเมืองจีน ทั้งปวงนันเปนสุขมาชานานแลวก็เปนศึก ครั้นศึกสงบแลวก็เปนสุข"
                              ้

พระเจาฮั่นโกโจและพระราชวงศไดครองราชยสมบัติตอ ๆ มา ถึง 12 องค ขุนนางชื่อ "อองมัง" จึงชิงราช
สมบัตตั้งตนขึ้นเปนเจาครองแผนดินอยูถึง 18 ป ก็มีเชื้อพระวงศของพระเจาฮั่นโกโจชื่อ "ฮั่นกองบู" ชิงราช
      ิ
สมบัติกลับคืนได เสวยราชยสบเชื้อพระวงศตอมาอีก 12 องค จึงเปนอันสิ้นสุดราชวงศฮั่น
                            ื              

ฮองเตองคที่สามกอนสิ้นราชวงศฮั่นทรงพระนามวา "ฮั่นเต" คงจะเปนหมัน จึงไมมีพระราชบุตรสืบสันตติวงศ
แตแทนที่จะยกเอาเชื้อพระวงศผูมสติปญญาคนหนึ่งคนใดขึนเปนมหาอุปราช
                                 ี                       ้                  เพื่อเตรียมสืบราชวงศตอไป
กลับไป ขอลูกชาวบานมาเลียง ตั้งเปนพระราชบุตร แลวโปรดใหขันทีเลี้ยงดูมาแตนอย ตอมาทรงสถาปนาเปน
                            ้
ที่รชทายาท ดังนั้นเลนเต จึงไมใชเชื้อพระราชวงศฮั่น เปนลูกกาฝาก หาก จะกลาวถึงทีสุดแลวก็ยอมกลาวได
    ั                                                                               ่
วา ราชวงศฮนไดหมดสิ้นไปตั้งแตยุคสมัยของพระเจาฮั่นเตแลว ราชบัลลังกหลังจากนั้นตกไดแกคนแซอื่น
               ั่
การกระทําผิดธรรมเนียมประเพณีในการปกครองแผนดินของ ฮั่นเต คือเหตุสําคัญทีทําใหราชวงศฮั่นดับสูญ
                                                                                  ่
และราชบัลลังกตกเปนสิทธิแกคนอื่น นี่คือทัณฑจากสวรรคของการทีทําผิดธรรมเนียม ประเพณี ถาจะกลาว
                                                                   ่
โดยสํานวนไทยก็กลาวไดวาเปนความผิดของ "คนที่เอาลูกเขามาเลี้ยง เอาเมี่ยงเขามาอม"

เลนเตลูกชาวบาน เมื่อไดดิบไดดีเปนรัชทายาทก็ถือตัววาเปนเชื้อพระวงศฮั่นไปดวย ครั้นไดเสวยราชยทรง
พระนามวา "พระเจาเลนเต"แตสันดานชาติเชื้อที่มิใชเผาวงศกษัตริย และอัธยาศัยทีถูกสรางสม มาจากการ
                                                                                  ่
เลี้ยงดูของขันทียังคงติดตัวมาจึงกําเริบขึ้น สามกกไดกลาวความประพฤติของพระเจาเลนเตวา "มิไดตงอยูใน
                                                                                                 ั้
โบราณราชประเพณี แลมิไดคบหาคนสัตยธรรม เชื่อถือแตคนอันเปนอาสัตย ประพฤติแตตามอําเภอใจแหง
พระองค เสียราชประเพณีไป"

เมื่อ เลนเต เสวยราชยแลว ไดอาศัยขุนนางผูใหญสองคนคอย ค้ําจุนราชบัลลังก คนหนึ่งชื่อเตาบูเปนแมทัพ
ใหญ อีกคนหนึงชื่อ ตันผวน เปนราชครู สองขุนนางเฒารับราชการในราชวงศฮั่นมาถึงสองแผนดิน เห็นความ
               ่
วิปริตผันแปรในบานเมืองที่ทําใหขุนนางขาราชการแลราษฎรตองเดือดรอนหนักวา เกิดจากขันทีเปนเหตุ จึง
วางแผนรวมกันเพื่อจะสังหารกลุมขันทีชั่วเสีย แตแผนการรัวไหล เสียกอน ดังนั้น ทั้งแมทัพใหญเตาบูและ
                                                        ่
ราชครูตันผวนพรอมดวยครอบครัวและบริวารจึงกลับเปนฝายถูกกลุมขันทีชว สังหารอยางโหดรายและทารุณ
                                                                     ั่
แตนั้นมากลุมขันทียิ่งกําเริบเสิบสานมากขึ้น เหลาขุนนางขาราชการมีความเกรงกลัวอิทธิพลของกลุมขันทีชั่ว
            
เปนอันมาก

ครั้นพระเจาเลนเตเสวยราชยไดสิบสองป ตรงกับพุทธศักราช 722 เดือนสี่ขึ้นสิบหาค่ํา แตสามกกฉบับสมบูรณ
ระบุวาเปนป พุทธศักราช 710 พระเจาเลนเตประทับ ณ พระที่นั่งอุนตกเตี้ยน เวลาเที่ยงเกิดอาเพศใหญขน ใน
                                                                                                   ึ้



                       All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
โดย เรืองวิทยาคม                                ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                    หนาที่ 5



บานเมือง เปนสัญญาณจากสวรรค ที่บงบอกวา แผนดินเกิดกลียุค ณ เวลานั้นเพลาเที่ยงเกิดลมพายุหนัก มีงูสี
เขียวตัวใหญตกลง มาพันอยูที่เทาพระเกาอี้ พระเจาเลนเตตกพระทัย กระทั่งสิ้นพระสติ พักหนึ่งงูใหญ ก็
หายไปแลวเกิดฟารองฝนตกหาใหญ ลูกเห็บขนาดใหญตกบานเรือนราษฎรพังทลาย พระตําหนักถูกพายุ
ลูกเห็บพัดพังหลายตําหนัก จนถึงเที่ยงคืนฝนจึงหยุด หลังจากนั้นอีก 4 ป ณ เดือนยี่ เมืองลกเอี๋ยง ซึ่งเปน
เมืองหลวงเกิดแผนดินไหว น้าทะเลเกิดคลื่นใหญทวมบานเมือง และบานเรือนราษฎรถูกน้าพัดพา หายไปเปน
                           ํ                                                      ํ
จํานวนมาก ไกตัวเมียขันไดกลายเปนไกตัวผู

ถัดมาในเดือน 6 ขึ้นค่ําหนึ่งเกิดควันเพลิงพุงขึ้นไปสูง 20 วา แลวพุงเขาไปในพระที่นั่งอุนตกเตี้ยน รุงเดือน 7
                                                                                         
เกิดรัศมีรุงตกในพระบรมมหาราชวัง ภูเขารันซัวแตกทลายลงนิมิตเหลานี้ ถาวาตามหลักนิมิตลางของไทย ก็
กลาวไดวา เปน ทั้งอุบาทวพระอินทรและอุบาทวพระยมเกิดขึ้นตอเนื่องกันไป เปนลางรายของแผนดินวาจะ
เกิดกลียุค นิมตและลางรายนีเคยปรากฏใหเห็น กอนสิ้นแผนดินกรุงศรีอยุธยาหลายประการ เชนมีฟาผาลงตรง
                ิ              ้                                                                   
ระเบียงพระบรมมหาราชวัง และไฟไหมลุกลามไปหลายแหง, ฝูงอีกาจับกลุมกันจิกตีจนบาดเจ็บลมตาย, หลวง
พอมงคลบพิตรมีน้ําพระเนตรไหล, อีกาใหญบินเอาอกเขาเสียบกับตรีศลพระบรมมหาราชวัง, น้ําในแมน้ําเปนสี
                                                                      ู
แดงดังเลือด, เสียงใบไมเหมือนเสียงคนร่ําไหระงมเมือง, ไกตัวเมียขันไดกลายเปนตัวผู ดาวจระเขดวงที่เปน
ตําแหนงของพระมหากษัตริยสีแดงเศราหมอง และริบหรีคลายกับจะดับสูญ
                                                       ่

นิมิตและลางลักษณะนี้ถือวา เปนนิมิตและลางรายที่จะเกิดกลียุคขึ้นในบานเมืองนับเปนอาเพศที่มผลกระทบ
                                                                                            ี
ตอบานเมือง กระทบตอผูมีอานาจปกครองบานเมืองและราษฎรเปนสวนรวม อาเพศอันเกิดจากนิมิตและลาง
                              ํ
แมเปนสิ่งที่ไรศาสตรใดไป พิสจนวาเกิดขึ้นไดอยางไร แตความเชื่อของคนหลายชาติ หลายภาษาสืบทอดมา
                                ู
นับพันป ยังคงเหนียวแนนแมกระทั่งในบานเมืองของเราในทุกวันนี้อา! เคาลางแหงกลียุคไดปกคลุมเหนือ
แผนดินจีนอีกครั้งหนึ่งแลว

สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม

ยุคขันทีกินเมือง (ตอนที่ 3)

นิมิตและลางจากสวรรคที่เกิดขึนอยางตอเนื่อง ไดกอใหเกิดความประหวั่นพรั่นพรึงในหมูอาณาประชาราษฎร
                                  ้                                                           
พระเจาเลนเตเองก็ทรงสังเกตเห็นปรากฏการณที่ผดปกติ จึงทรงตรัสถามขึ้นในที่ประชุมเหลาขุนนางวา "นิมิต
                                                    ิ
วิปริตดั่งนี้จะดีรายประการใด" ปรากฏวาไมมีใครยอมตอบวา "นิมิตวิปริต" นั้น วาจะดีรายและหมายความวา
                                                                                           
ประการใด เหลาขุนนางตางนิงเงียบเปนเปาสาก และอาการนิ่งเงียบเปนเปาสากของเหลาขุนนางนี้ควรจะตอง
                                ่
ถือวาเปน "นิมิตวิปริต" ที่เกิดขึ้นในราชสํานัก เชนเดียวกับ "นิมิตวิปริต" ที่เกิดขึ้นแตธรรมชาติ เพราะเหลาขุน
นางทั้งปวงนั้นยอมมีวิสยที่ชอบเพ็ดทูล และมักจะแขงแยงกันเพ็ดทูลเพื่อหาความดีความชอบ และเพื่อแสดง
                         ั
ภูมิรูแหงตนใหเปนที่ประจักษ

หลังพระเจาเลนเตเสด็จขึ้นแลว ก็มีขุนนางชื่อ "ยีหลง" ทําหนังสือลับกราบทูลพระเจาเลนเตวา "เหตุทงปวงนี้
                                                                                                 ั้
เพราะขันทีประพฤติลวงพระราชอาญา         จึงเกิดนิมิตใหพระองคปรากฏ"    การทียีหลงตองทําเปนหนังสือลับ
                                                                             ่
ประกอบกับอาการเงียบเปนเปาสากของเหลาขุนนางนั้น เปนอาการที่บงบอกวาคนรอบขางของพระเจาเลนเต
ซึ่งก็คือขันทีประพฤติลวงพระราชอาญา "คิดกันกระทําการหยาบชาตางๆ" และควบคุมราชสํานักไวไดโดย
สิ้นเชิง และเปนที่รูกันโดยทั่วไป

ในเหลาขุนนางอันขันทีนั้น คือคนใชของพระเจาแผนดิน หากยามใดที่พระเจาแผนดินเขมแข็ง ขันทีก็มีฐานะ
เปนคนรับใช แตยามใดที่พระเจาแผนดินออนแอเหลวไหล ขันทีก็จะมีฐานะเปนคนใชพระเจาแผนดิน คือใชให
พระเจาแผนดินทําอะไรไดตามใจชอบ ขันทีนนไมใชกะเทยเหมือนกับที่เห็นในภาพยนตร แตเปนชาย ซึงถูก
                                           ั้                                                       ่
ตัดองคชาติไมใหสืบเผาพันธุ    และสิ้นความรูสึกทางเพศอยางสิ้นเชิง
                                                                       เหตุทั้งนี้เนื่องจากขันทีสามารถ
เขานอกออกในไดทั้งฝายหนาและฝายใน โดยที่ฝายในนั้นเต็มไปดวยพระสนม นางกํานัล เหตุนี้เพื่อปองกัน
                                                
ไมใหขันทียุงเกี่ยวในทางเพศกับพระสนม นางกํานัล จึง มีกฎใหตองตัดองคชาติของขันทีเสียกอนจึงจะรับเขา
บรรจุในตําแหนงขันทีได

เหตุที่มผยอมถูกตัดองคชาติเพื่อรับราชการเปนขันทีก็เพราะขันทีนั้นอยูใกลชิดพระเจาแผนดิน
        ี ู                                                                             ซึ่งเปนศูนย
แหงอํานาจรัฐ เปนบอเกิดแหงอํานาจวาสนา ทรัพยสมบัติและหนาตา ดังนั้น จึงมีพอแมของคนจํานวนมากเอา
ลูกชายไปขายเปนขันทีเพื่อหวังลาภยศในเบื้องหนา ชายจํานวนมากก็ยอมตัวถูกตัดองคชาติเปนขันที เพื่อหวัง
อํานาจวาสนาอยางหนึ่ง และหวังรายไดไปสงเสียใหกับครอบ ครัวอีกอยางหนึ่ง




                        All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
โดย เรืองวิทยาคม                               ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                 หนาที่ 6



แตคนเรานั้นมีปกติติดยึดอยูในเรื่องกิน กาม เกียรติ ดังนั้นเมื่อตัดความตองการหรือความสามารถในเรื่องกาม
                           
ออกไปเสียแลว ความติดยึดในเรื่องกินและเกียรติ ซึ่งก็คอเรื่องของอํานาจและวาสนาก็ยิ่งมีมากขึ้นผิดคน
                                                              ื
ธรรมดา ดวยเหตุนี้ขันทีทั้งปวงจึงเปนคนทีมความตองการในเรื่องอํานาจ วาสนามากเปนพิเศษผิดวิสยมนุษย
                                          ่ ี                                                      ั
ทั่วไป จนอาจกลาวไดวาเปนคนวิปริตจําพวกหนึ่งที่พรอมจะทําทุกสิ่งทุกอยางเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจวาสนา

มองในแงนี้ก็จะเห็นไดชัดวา การที่พระเจาแผนดินหรือฮองเต มีชีวิตอยูทามกลางฝูงคนวิปริตเหลานี้ จะมีความ
                                                                         
เปนปกติเหมือนมนุษยทวไปยอมไมได ยอมมีสิ่งวิปริตผิดปกติอาบเอิบพระองคอยูเปนเนืองนิจ เพื่อแสวงหา
                        ั่
ความดีในหนาที่ และความชอบในทางสวนตัว ขันทีจึงพรอมที่จะทําทุกอยางเพื่อฮองเต และยอมใหฮองเตทํา 
ทุกอยางเพื่อความพึงพอใจสูงสุด

ดังนั้นขาวคราววิปริตในทางเพศ             จึงคลาคล่ําอยูในราชสํานักของจีนตลอดระยะเวลาอันยาวนานของ
                                                        
ประวัตศาสตร เพราะฮองเตมีเมียมาก ก็ยอมมีลูกมากตามไปดวย ลูกของฮองเตจะถูกเลียงดูโดยขันที หรือพระ
       ิ                                                                            ้
สนมนางกํานัล ลูกคนใดถูกเลียงดูโดยขันที ก็จะถูกกลอมเกลาอุปนิสยใจคอใหวิปริตแปรปรวน ไปดวย ลูกคน
                            ้                                      ั
ใดถูกเลียงดูโดยพระสนมนางกํานัล ก็จะถูกกลอมเกลาอุปนิสัยใจคอใหเอนเอียงไปในทางของอิสตรีมากกวา
          ้
ปกติ ซึ่งไมวาจะเปนไปในทางใด ลูกของฮองเตซึ่งคนหนึงยอมเปนรัชทายาทก็ตองมีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไป
                                                          ่
ในทางวิปริตผิดปกติ จะมียกเวนบางก็แตเพียงบางคนเทานั้น ที่ไดรับการเลียงดูอยางดีโดยวิธีเลี้ยงดูของ
                                                                        ้
มนุษยทวไป  ั่

ดังนั้น ฮองเตของจีนจํานวนมากจึงเปนคนจําพวกวิปริตผิดปกติ จะมียกเวนอยูบางที่เปนพระเจาแผนดินที่
เขมแข็งเกรียงไกร เหตุนี้อายุรัชกาลของแทบทุกราชวงศในเมืองจีนจึงมักไมคอยยืนยาว พระเจาเลนเตเองก็
ถูกเลี้ยงโดยขันที ดังนั้นเมื่อครองราชยแลว จึงทรงยกยองขันทีคนหนึ่งชื่อ "เตียวเหยียง" เปนบิดาบุญธรรม
และเพราะเหตุที่ถูกเลี้ยงดูโดยขันที ดังนั้น จึงมีความใกลชิดสนิทสนมไวเนื้อเชื่อใจขันทีเปนพิเศษ มีความ
เคารพยําเกรงขันทีเปนพิเศษ

ขันทีที่มความใกลชิดสนิทสนมในลักษณะเชนนี้ มีอยูสิบคน ซึ่งสามกกเรียกวา "สิบขันที" คือเทาเจียด, เตียว
         ี
ตง, เตียวเหยียง, ฮองสี, ตวนกุย, เหาลํา, เกียนสิด, เหหุย, กกเสง และเชียกง ในจํานวนขันทีสิบคนนี้ไดยก
ยองใหเทาเจียดเปนหัวหนา ในขณะที่เตียวเหยียงเปนคนทีพระเจาเลนเตเคารพและยําเกรงเปนพิเศษ ในฐานะ
                                                         ่
ที่ทรงยกยองเปนบิดาบุญธรรม

ความจริงชื่อของบุคคลในสามกกมีเปนจํานวนมาก ไมมีความจําเปนที่จะตองจดตองจํา แตการจะไมกลาวถึง
ชื่อขันทีทั้งสิบคนเห็นจะไมได เพราะเปนตัวละครสําคัญที่เปนตนตอทําใหแผนดินเกิดจลาจลวุนวาย แลวแตก
เปนสามกก ทั้งเปนตัวละครที่กอปญหาวุนวายถึงสองรัชกาล ขันทีทั้งสิบคนไดรวมคิด รวมมือกันครอบงํา
อํานาจบริหารของพระเจาเลนเต อยางสินเชิง กิจการภายในราชสํานักทั้งปวงขึ้นอยู กับความคิดความเห็นของ
                                       ้
ขันทีทั้งสิบคน จึงเปนเหตุใหเหลาขุนนางทั้งปวง เกรงกลัวไมกลากระทําการ หรือเพ็ดทูลสิ่งใดใหเปนทีขัดใจ
                                                                                                   ่
ของขันที

ขุนนางคนใดแสดงอาการใหเห็นวาไมเปนพวก ไมเคารพ หรือ ไมยําเกรง ก็จะถูกสิบขันทีแกลงเพ็ดทูลใหพระ
เจาเลนเตถอดออกจากตําแหนง หรือโยกยายไปทําราชการในถิ่นทุรกันดาร หรืออาจถูกเพ็ดทูลใหลงโทษ
ประหาร หนังสือราชการที่หวเมืองตาง ๆ รายงานเขามายังราชสํานักจะถูกกลั่นกรองโดยขันทีเสียชั้นหนึงกอน
                         ั                                                                    ่
หนังสือออกจากราชสํานักรวมถึงพระบรมราชโองการตางๆ ก็เกิดขึ้นจากความคิดความเห็นของ ขันที จัดทํา
โดยเหลาขันที และจัดสงไปยังหัวเมืองตางๆ โดยคนของขันที เปนหนทางใหลูกนองของขันทีไดคาน้ํารอนน้ํา
                                                                                         
ชาอีกทางหนึ่ง

อํานาจวาสนามีถึงเพียงนี้แลวก็ยังไมเปนที่พึงใจ ความหิวกระหายในอํานาจวาสนายิ่งทวีขึ้นอยางไมหยุดยั้ง
กลายเปนวาอํานาจวาสนาที่มมากขึ้นโดยลําดับนั้นไมตางกับฟนทีสุมทับเขาไปในกองไฟก็ยิ่งทําใหกองไฟลุก
                            ี                                ่
โชติชวงมากขึน ตองการฟนมากขึ้น ยิ่งเติมฟนเขาไปอีก กองไฟก็ยิ่งใหญขึ้น โชติชวงมากขึ้น อุปมาฉันใด
             ้                                                                
อุปไมยก็ฉันนั้น

ความหิวกระหายในอํานาจของขันทีไดทําใหราษฎรเกิดความเดือดรอนทุกหยอมหญา เหลาขุนนางทั้งในเมือง
หลวงและในหัวเมืองตางตองเดือดรอน และตองตกอยูภายใตอํานาจของขันที การแตงตั้งเจาเมืองไปครอง
                                                      
เมืองตาง ๆ ขันทีก็จะเรียกเอาสิน บนทุกเมืองไป คนใดไมยอมใหสินบนแกขันทีก็จะถูกกลั่นแกลง ใน ชั้นตน
อาจจะแกลงไมใหไดรับแตงตั้ง หากขัดขวางในชั้นนี้ไมได ในภายหลังก็จะกลั่นแกลงเพ็ดทูลเอาเปนโทษ ซึ่ง
อาจจะเปนโทษปลดออกจากราชการ หรือโทษถึงลงพระราชอาญา หากขอหาหนักก็ตองถูกประหาร เจาเมือง



                       All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
โดย เรืองวิทยาคม                               ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50                                     หนาที่ 7



คนใดยอมอยูในอํานาจ ขันทีก็จะจัดสงคนไปเรียกเก็บสวยทุกป และจํานวนสวยก็จะเพิมขึ้นทุกปดุจกัน เจา
                                                                                   ่
เมืองบางคนในระยะแรกสามารถทนกับระบบสวยได แตนานไปทนแรงสวย ไมไหวก็ตองลาออก เพราะขืนทน
รับราชการตอไปก็ตองถูกปลด ถูกถอด หรือตองโทษ คาภาษีตางๆ ที่หัวเมืองจัดเก็บสงเขาเมืองหลวง
ตามปกติก็ถูกขันที ชักสวนแบงตั้งแตรอยละ 10 หนักเขาก็ชักสวนแบงถึงรอยละ 50 ทําใหรายไดของแผนดิน
ไมพอเพียงกับรายจาย เปนเหตุใหพระเจาเลนเตตองขึ้นภาษีเอากับราษฎรบอยครั้ง

จึงกลาวไดวาราษฎรในยุคสมัยของพระเจาเลนเตถูกขูดรีดภาษีหนักที่สด ดานหนึ่งหนักเพราะการฉอราษฎรบัง
                                                                 ุ
หลวงของเหลาขันทีและขุนนางที่เปนพวก       ดานหนึ่งหนักเพราะรายจายเพิ่มมากขึ้นเพื่อบํารุงบําเรอความสุข
และเพื่อจัดสวนแบงใหแกขันทีและขุนนาง วากันวางบประมาณแผนดินในสมัยพระเจาเลนเตรั่วไหลไปกวารอย
ละ 30 เทาๆ กับตัวเลขการรัวไหลของงบประมาณแผนดินของรัฐบาลไทยในบางยุค
                           ่

เมื่อขุนนางขาราชการทั้งในเมืองหลวงและหัวเมืองตองจายเงินคาสวยสินบน               และมีความรั่วไหลเกิดขึ้นใน
งบประมาณแผนดินมากมาย เชนนี้ ราษฎรก็ถูกรีดนาทาเรนหนักขึ้นทุกวัน                 ราษฎรกลายเปนคนยากจนและ
ยากไร ไมมีททากิน และไมมีกน จนตองปลนชิงวิ่งราวกันทั่วทั้งแผนดิน
              ี่ ํ            ิ

หนักเขาขาราชการทั้งในเมืองหลวง และในหัวเมืองตางประพฤติตนเปนโจร ปลนชิงวิ่งราวเสียเองอยางหนึ่ง
เลี้ยงโจรใหปลน ชิงวิ่งราวมาแบงกันอยางหนึ่ง คาของหนีภาษี คาของเถื่อนอยางหนึ่ง และเอาที่หลวง เอา
ประโยชนของหลวงไปทํามาหากิน ไปแสวงหาประโยชนอกอยางหนึ่ง คดีความทั้งปวงก็ตัดสินไปตามน้ําหนัก
                                                        ี
ของเงินสินบน ขาวถูกกลับเปนดํา ดําถูกกลับเปนขาว ความเดือดรอนจลาจลจึงเกิดขึ้นทังแผนดิน โดยที่ไมมี
                                                                                    ้
ใครกลาพูด กลากราบทูล พระเจาเลนเตเห็นหนังสือลับของยีหลงแลว ก็ทอดพระทัย มิได ตรัสประการใด แต
ขันทีทราบความเขาก็ผูกอาฆาตยีหลง เพราะเห็นวาเปนการกราบทูลที่จะทําใหพวกตนเสียหาย และแสรง
เพ็ดทูลเสียใหมวา กรณี ทั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากฉลองพระองคเกา เพราะทรงมานาน ดังนัน เพื่อความเปนสิริ
                                                                                      ้
มงคลของประเทศและราษฎรจึงตองเปลี่ยนฉลองพระองคใหม พระเจาเลนเต ก็กระทําตามคําแนะนํานั้น

หลังเหตุการณนี้แลวสิบขันทีไดกราบทูลยุยงฮองเตใหปลดยีหลงออกจากราชการไปทําไรไถนา ณ ภูมลําเนา     ิ
เดิม สิบขันทียงมีอํานาจวาสนามากขึ้นเทาใด ก็ยิ่งกําเริบเสิบสานมากขึ้น ในทีสุดไดกราบทูลใหพระเจาเลนเต
               ิ่                                                          ่
แตงตั้งตัวเองเปน "เซียงสี" หรือเปน"องคมนตรี" ทําหนาที่ใหคําปรึกษาราชการแผน ดินหรือนัยหนึ่งก็คอ "คน
                                                                                                   ื
ใชฮองเต" แตบางแหงแปลโดยความหมายวาเปนตําแหนงหนาทีผสําเร็จราชการแผนดิน
                                                                ่ ู

การที่ขันทีสามารถเวียนวายดํารงอยูในอํานาจทามกลางความขัดแยงและผลประโยชนในราชสํานักไดอยาง
ยาวนาน แมถงขนาดมีบทบาท ครอบงําอํานาจรัฐของฮองเตนั้น มิใชดวยเหตุบังเอิญหรือโชคชวย หากเกิด
               ึ
จากขันทีมสุดยอดวิชาประจําอาชีพของตนอยูถึงหาวิชา
           ี                                           ซึ่งคนปกติทั่วไปไมมีวนที่จะร่ําเรียนสุดยอดวิชา
                                                                              ั
เหลานั้นไดอยางครบครัน

หาสุดยอดวิชาขันทีเปนไฉน? หาสุดยอดวิชาขันทีไดแก วิชาวาดวยการพินอบพิเทาและสรางความพอใจสูงสุด
อยางหนึ่ง วิชาวาดวยการสรางความแตกแยกเพื่อแสวงประโยชนหรือเอาตัวรอดอยางหนึ่ง วิชาวาดวยการฆา
คนซึ่งมีกระบวนทาสุดยอดคือการใชวาจาเปนอาวุธสังหารผูคนอยางหนึ่ง วิชาวาดวยการเรียกรับสินบนอยาง
                                                         
หนึ่ง และวิชาวาดวยการติดสินบนซื้อน้ําใจคนอีกอยางหนึ่ง

รายละเอียดแหงสุดยอดวิชาทังหานี้ มิใชเรืองในสามกกแตมีใหเห็นการใชวิชาขันทีปรากฏอยูในสามกกอยาง
                                  ้        ่
ลึกซึ้ง จึงกลาวถึงเรื่องนี้ไวแตเพียงนี้

สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม

โจรโพกผาเหลือง (ตอนที่ 4)

สามกกทุกฉบับที่มีมาในโลกลวนเรียกกลุมโจรโพกผาเหลือง วาเปน "โจร" ทั้งสิ้น ซึ่งเปนการชวยกันเหยียบ
ย่ําซ้ําเติมและทําใหความจริงผันแปรไปจากที่พึงเปน  ความจริงโจรโพกผาเหลืองเปนขบวนการกูชาติขบวน
หนึ่งในยุคที่บานเมืองเปนจลาจล ไมตางกับขบวนการกูชาติของชาวนาในกรณี กบฏเขาเหลียงซาน หรือกบฏ
               
นักมวย หรือขบวนการกูชาติของพระเจาตากสินแมแตนอย




                       All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01
Samkok01

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนF'Film Fondlyriz
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยchakaew4524
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯJunya Yimprasert
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นtommy
 

Was ist angesagt? (20)

pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
fff
ffffff
fff
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
 

Andere mochten auch

สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4pageสไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ
3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ
3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบtommy
 
บ้านผีสิง
บ้านผีสิงบ้านผีสิง
บ้านผีสิงtommy
 
ตั้งฮั่น ตอนที่ 2
ตั้งฮั่น ตอนที่ 2ตั้งฮั่น ตอนที่ 2
ตั้งฮั่น ตอนที่ 2tommy
 
คงกระพัน
คงกระพันคงกระพัน
คงกระพันtommy
 
กลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงาม
กลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงามกลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงาม
กลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงามSawanya Khongchum
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดHappy Sara
 
สี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินสี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินtommy
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕Namon Bob
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพDashodragon KaoKaen
 
งูจ้าว
งูจ้าวงูจ้าว
งูจ้าวtommy
 
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรThongkum Virut
 
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรChirayu Boonchaisri
 
สามก๊ก55
สามก๊ก55สามก๊ก55
สามก๊ก55Mameaw Pawa
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 

Andere mochten auch (20)

สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4pageสไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
สไลด์ ศาสนพิธี+499+dltvsocp6+55t2soc p06 f24-4page
 
3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ
3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ
3เกลอ ตอนป่าช้าผีดิบ
 
บ้านผีสิง
บ้านผีสิงบ้านผีสิง
บ้านผีสิง
 
ตั้งฮั่น ตอนที่ 2
ตั้งฮั่น ตอนที่ 2ตั้งฮั่น ตอนที่ 2
ตั้งฮั่น ตอนที่ 2
 
คงกระพัน
คงกระพันคงกระพัน
คงกระพัน
 
กลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงาม
กลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงามกลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงาม
กลุ่มที่ 13 การศัลยกรรมความงาม
 
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
สี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินสี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดิน
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 
งูจ้าว
งูจ้าวงูจ้าว
งูจ้าว
 
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
 
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
 
สามก๊ก55
สามก๊ก55สามก๊ก55
สามก๊ก55
 
หลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

Ähnlich wie Samkok01

กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงกว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงJunya Yimprasert
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
ไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรtommy
 
สงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาสงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาNapadon Yingyongsakul
 
Samkok01 (001-050)
Samkok01 (001-050)Samkok01 (001-050)
Samkok01 (001-050)sornblog2u
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหาบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหาfreelance
 
พุทธทำนาย
พุทธทำนายพุทธทำนาย
พุทธทำนายAunkrublive
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบลอิ่' เฉิ่ม
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์tommy
 

Ähnlich wie Samkok01 (20)

กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงกว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมร
 
สงครามนกกระสา
สงครามนกกระสาสงครามนกกระสา
สงครามนกกระสา
 
Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01
 
Samkok01 (001-050)
Samkok01 (001-050)Samkok01 (001-050)
Samkok01 (001-050)
 
King film
King filmKing film
King film
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหาบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ สรุปเนื้อหา
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
พุทธทำนาย
พุทธทำนายพุทธทำนาย
พุทธทำนาย
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
 

Mehr von tommy

แก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมแก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมtommy
 
ความรู้เรื่อง เพชร-
ความรู้เรื่อง  เพชร-ความรู้เรื่อง  เพชร-
ความรู้เรื่อง เพชร-tommy
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นtommy
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์tommy
 
ศักดินาไทย
ศักดินาไทยศักดินาไทย
ศักดินาไทยtommy
 
แบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิแบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิtommy
 
Rongse
RongseRongse
Rongsetommy
 
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึกเศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึกtommy
 
โลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารยโลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารยtommy
 
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดีพระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดีtommy
 
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดีแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดีtommy
 
การเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบการเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบtommy
 
ประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดาประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดาtommy
 
สามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคตสามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคตtommy
 
นางแมวผี
นางแมวผีนางแมวผี
นางแมวผีtommy
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยtommy
 
ล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลtommy
 
ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่
ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่
ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่tommy
 
เย้ยพระยม
เย้ยพระยมเย้ยพระยม
เย้ยพระยมtommy
 

Mehr von tommy (20)

แก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมแก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจม
 
ความรู้เรื่อง เพชร-
ความรู้เรื่อง  เพชร-ความรู้เรื่อง  เพชร-
ความรู้เรื่อง เพชร-
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
 
ศักดินาไทย
ศักดินาไทยศักดินาไทย
ศักดินาไทย
 
แบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิแบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิ
 
Rongse
RongseRongse
Rongse
 
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึกเศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
 
โลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารยโลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารย
 
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดีพระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
 
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดีแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
 
การเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบการเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบ
 
ประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดาประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดา
 
สามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคตสามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคต
 
นางแมวผี
นางแมวผีนางแมวผี
นางแมวผี
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
ล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเล
 
ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่
ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่
ประกาศเปลี่ยนธรรมเนียมใหม่
 
เย้ยพระยม
เย้ยพระยมเย้ยพระยม
เย้ยพระยม
 

Samkok01

  • 1. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 1 สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม ทําไมตองมีสามกกฉบับคนขายชาติ (ตอนที่ 1) หลังจากประเทศไทยเกิดวิกฤติการณทางเศรษฐกิจครั้งใหญในป 2540 ประเทศไทยไดยอมตนเขาผูกพันและ รับพันธะที่กําหนดโดยตางชาติหลายประการครอบคลุมทั้งดานนิติบัญญัติ ดานบริหาร และดานตุลาการ เปน ผลใหมีการแกไขบทกฎหมายและตรากฎหมายขึ้นใหมเปนจํานวนมาก ครอบคลุมถึงดานตาง ๆ ดังกลาว ขางตน จนมีการกลาวขานวากฎหมายหลายฉบับเปนกฎหมายขายชาติ แมกระทั่งมีการกลาวขานวาการยอมรับ พันธะผูกพันในลักษณะเชนนี้เปนการกระทําทีขายชาติ ่ ในดานการฟนฟูกอบกูเศรษฐกิจของประเทศใหฟนคืนดี ก็ปรากฏวาแทนที่ประเทศไทยจะสามารถดําเนินการ ไดโดยอิสระเปนตัวของตัวเอง กลับตองถูกบงการโดยทุนตางชาติ ใหกําหนดมาตรการมากหลาย ซึ่งสวนใหญ ถูกกลาวขานวาเปนไปเพื่อผลประโยชนของตางชาติ เปนไปเพื่อเกื้อกูล อํานวยประโยชนและความสะดวก ใหแกตางชาติในการยึดครองเศรษฐกิจของประเทศ  เพียงชั่วระยะเวลา 3 ป ปรากฏวาประเทศไทยมีหนีสินเพิ่มขึ้นจนตกอยูในสภาพทีมีหนีสินลนพนตัว เปนปญหา ้ ่ ้ ที่กระทบตอระบบงบประมาณแผนดินอยางรุนแรงที่สดเปนประวัติการณ มีความเสียหายเกิดขึ้นในระบบธนาคาร ุ และสถาบันการเงินมากที่สดเปนประวัติการณ ุ และธนาคารตลอดจนสถาบันการเงินไดถูกตางชาติยดครอง ึ ครอบงําเกือบหมดสิ้น นักธุรกิจไทยลมละลาย ตองปดกิจการ และไมสามารถแขงขันไดอีกตอไป เงิน หมุนเวียนหมดไปจากตลาดขยายตัวลุกลามไปจนถึงชนบท ประชาชน รัฐบาล และประเทศไทย มีรายไดลดลง ยากจนลง และเกิดความรูสึกวากําลังตกเปนทาสของชาติอนชัดเจนยิ่งขึ้นทุกที  ื่ ในสภาพเชนนีปญหาการขายชาติ ปญหาการกอบกูฟนฟูชาติ ปญหาวีรชน และปญหาทรชนจึงเกิดขึน และ ้ ้ กลายเปนเรื่องที่ทุกฝาย ทุกพื้นที่ใหความสนใจ จึงเกิดแรงบันดาลใจใหเขียนเรื่องยาวสักเรื่องหนึ่ง ที่ สอดคลองกับสภาพการณที่เกิดขึ้น เพื่อเปนบรรณาการทานผูอานหนังสือพิมพผูจดการดังนั้น จึงเห็นวาเรื่อง ั ยาวที่จะเขียนขึนควรจะตองเปนเรื่องสามกก ในมุมมองทีสอดคลองกับสภาพการณของประเทศไทย เหตุนี้จึง ้ ่ ไดใหชื่อเรื่องยาวที่จะเขียนนี้วา "สามกกฉบับคนขายชาติ"  เหตุผลที่นําเอาเรื่องสามกกมาเขียนเปนเรื่องยาวอีกครั้งหนึ่งเนื่องเพราะเรื่องราวในสามกกนันเปนเรื่องราวใน ้ ยุคสมัยที่บานเมืองเกิดจลาจลวุนวาย จึงแตกแยกเปนกก เปนเหลา มีการรบราฆาฟนกันรวมรอยป อาณา ประชาราษฎรไดรับความเดือดรอนทุกหยอมหญา บานเมืองก็เสียหายยอยยับ วีรชนไดกาเนิดขึ้นเปนจํานวน ํ มาก ในขณะทีทรชนก็กําเนิดขึ้นเปนจํานวนมากเชนเดียวกัน ่ การตอสูกชาติ และการขายชาติเปนของคูกัน และดําเนินไปตลอดในเรื่องราวของสามกก บนวิถีทางแหงการ ู ตอสูของวีรชนกับทรชน ระหวางการตอสูฟนฟูชาติ กับการขายชาติเปนไปอยางดุเดือด สะทอนถึงศาสตรและ ศิลปในแทบทุกสาขาทีมวลมนุษยพึงเรียนรู และถูกนํามาใชอยางแหลมคม สามกกฉบับคนขายชาติ ทีจะเขียน ่ ่ ขึ้นนี้ไมไดตั้งใจที่จะเสียดสี กระทบกระเทียบเปรียบเปรยเอากับผูหนึ่งผูใดในบานเมืองขณะนี้ แตถาหากวา  ตอนใดมีเรื่องราวทีคลายคลึงหรือใกลเคียงกับสถานการณในชวงตางๆ แลว ผูเขียนก็หาไดมีอํานาจสิทธิขาดที่ ่ จะไปกีดกั้นความนึกคิดของทานผูอานแตประการใดไม จะคิดอานประการใดก็สดแทแตความนึกคิดของแตละ ุ ทานเถิด อันเหตุการณทผานมาไมวาในยุคสามกกหรือในยุคใดลวนอาจหมุนเวียนเปลียนเขามาใหมไดเสมอ เหตุนี้คํา ี่  ่ พังเพยที่วา "กงลอแหงประวัตศาสตรยอมหมุนกลับทับรอยเดิม" จึงเปนคําพังเพยที่ถูกนํามากลาวขานอยูเสมอ ิ ถาเปนเชนนั้นก็พึงพิจารณาแตเพียงวาเหตุการณเกิดขึ้นคลายคลึงกัน แตการที่จะปรับเปรียบมาเทียบเคียงให เสมอกันยอมไมมีวันทีจะเปนไปได ่ เหตุนี้ในการดําเนินเรื่องจักไมพยายามทีจะดัดแปลงเพื่อใหเรื่องราวกลับกลายเปนเชนปจจุบัน และจักไมเอา ่ ตัวบุคคลในปจจุบันไปปรับเปรียบเทียบเขากับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งในเรื่องสามกก เพราะหากทําเชนนันก็ไม ้ ตางอะไรกับการตัดตีนใหเขากับเกือก เพราะนอกจากจะเขากันไมไดแลว มีแตจะเจ็บตัวเปลา สามกกเปนวรรณคดีมีชื่อเสียงที่แปลจากภาษาจีน ตั้งแตยุคสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช และเปนตนแบบของการแปลเรื่องจีนมาเปนวรรณคดีไทยอีกหลายเรื่องในกาลตอมา ไมเพียงแตจะ ถูกแปลเปนภาษาไทยเทานั้น สามกกยังจัดวาเปนหนังสือดีที่สดเลมหนึ่งของโลก ไดถูกแปลเปนภาษาตาง ๆ ุ All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
  • 2. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 2 มากมาย และมียอดพิมพมากที่สดเลมหนึ่งของโลก ุ วากันวาจะเปนรองก็แตคัมภีรไบเบิล และตําราพิชัย สงครามของซุนหวูเทานั้น การแปลของแตละภาษายอมเปนธรรมดาที่จะมีสํานวนและโวหารที่ตางกันไป โดยทีตนฉบับของจีนนั้นมี ่ ทวงทํานองหนักหนวงลึกซึ้ง ในขณะทีฉบับแปลของบริวท เทเลอรคอนขางจะตะกุกตะกัก แบบฝรั่ง สวนของ ่ ิ ญี่ปุนนั้นอาจจะเปนเพราะสํานวนภาษาคลายกับจีน ดังนั้นจึงมีลีลาทํานองลึกซึ้งดุจกัน สวนการแปลเปน ภาษาไทย อํานวยการแปลโดยบุคคลสําคัญที่มความเชียวชาญอยางสูงทางภาษาในยุคนั้นคือเจาพระยาพระ ี ่ คลัง (หน) ดังนั้นสํานวนแปลภาษาไทยจึงกระชับสั้นไดใจความ เปนภาษาความเรียงที่งดงามดวยอรรถะและ พยัญชนะ มีอปมาอุปไมย ทีสอดคลองกับความรูสึกนึกคิดของคนไทย จนกระทรวงศึกษาธิการ สมัยหนึ่งได ุ ่  นําเอาสามกกตอนโจโฉแตกทัพเรือไปเปน แบบเรียนภาษาไทยแตทวาการแปลภาษาไทยนั้น และในยุคสมัย ที่การเมืองไทยยังไมสงบเรียบรอยดีนัก จึงมีหลายสิ่งหลายอยางที่ขาดหายไป ทั้ง ๆ ที่เปนเรื่องสําคัญ ทั้งนี้ อาจเปนเพราะหากนํามากลาวไวแลวก็อาจกระทบตอการเมืองในยุคนั้น เหตุนี้ในการดําเนินเรื่อง "สามกกฉบับคนขายชาติ" จักไดถอเอาฉบับแปลของเจาพระยาพระคลัง (หน) เปน ื หลัก แตสวนที่ยังขาดตกอยูก็จะไดนําเอาฉบับแปลอื่น ๆ มาประกอบเพื่อใหเกิดความครบถวนอยางหนึ่ง  เพื่อใหเกิดประกายแหงความคิดและเปนทีตงแหงความเขาใจอันจะเปนประโยชนตอความรับรูและการนําไปใช ่ ั้ อีกอยางหนึ่ง นอกจากฉบับแปลแลวยังมีสามกกฉบับพิเศษอีกหลายฉบับยาขอบบรมครูแหงวรรณกรรมไทยก็ไดเขียนสาม กกขึ้นฉบับหนึ่งเรียกวาฉบับวณิพก หรือฉบับขอทาน โดยยกเอาตัวบุคคลแตละคนขึ้นมาพรรณนาใน รายละเอียดดวยภาษาที่งดงามและคมกลา ในขณะที่บรมครูอีกทานหนึ่งซึงนับถือกันวาเปนปราชญแหงชาติไทย คือหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ก็ได ่ เขียนสามกกขึนอีกฉบับหนึ่งชือวาสามกกฉบับนายทุน ซึ่งเปนการแสดงทัศนะความชอบธรรมและความไมชอบ ้ ่ ธรรม ความดีและความชั่วที่ตรงกันขามกับทัศนะของยาขอบ คือในขณะทียาขอบยกยองเชิดชูเลาปเปนผูทรง ่  คุณธรรม และกลาวหาประณามโจโฉเปนกบฏทรยศตอแผนดิน หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ก็ไดเชิดชูโจ โฉเปนอัครมหาเสนาบดี ที่ภักดีตอแผนดิน ในขณะที่เลาปเปนนักหลอกลวง หลอกเอาขงเบง มาใชแลวสมคบ กันใชเลหลิ้นลมลวงจนบานเมืองปนปวนไปทัว ่ สองทัศนะนี้ขัดแยงกันสิ้นเชิง แตก็เกิดอรรถรสและแงคดที่เปนประโยชน แกผูอานไมตางกัน หลังจากนั้นก็ยัง ิ  มีผูแตงสามกกออกมาอีกหลายฉบับ เชนฉบับแปลของคุณวรรณไว พัทธโนทัย สามกกฉบับนักบริหาร และที่ กําลังออกอากาศทางวิทยุอยูในขณะนี้ก็ยังมีสามกกฉบับโหราศาสตร นอกจากนี้แลวก็ยงมีฉบับเล็กฉบับนอย ั อีกมากมาย ไมเพียงแตจะมีผแตงลักษณะเชนนี้ในประเทศไทยเทานั้น ในประเทศจีนเองหรือในประเทศอืนๆ ก็ ู ่ ไดนําเอาสามกกไปแบงซอยยอยและแตงขึ้นในแงมุมตางๆ มากมาย การทั้งนี้เนื่องจากเรื่องราวทีดาเนินไปในสามกกนั้น ไดครอบ คลุมการตางๆ ไวแทบทุกๆ ดาน ไมวาในเรื่อง ่ ํ  คุณธรรม น้ํามิตร พิชยสงคราม การปกครอง การบริหาร การใชคน การทูต การเมือง การทหาร แมกระทั่ง ั โหราศาสตร นิมิต และลางตางๆ ตลอดจนธรรมเนียมการปกครองแผนดิน การที่สามกกมีเนื้อหาครอบคลุม เรื่องราวดานตาง ๆ มากมาย เชนนี้ จึงมีผดดแปลงสามกกออกไปเขียนในแงมุมตาง ๆ และยิ่งเขียนในแงมุม ู ั ตาง ๆ มากขึ้นเทาใดก็ยิ่งแสดงใหเห็นวาสามกกนั้น ไมวาในแงมุมใดมีความลึกซึ้ง และเปนประโยชนตอ ผูเกี่ยวของไดทั้งสิ้น มีผูกลาววาใครอานสามกกครบสามครั้งจะเปนคนที่คบไมได คํากลาวนี้ไดสะทอนใหเห็น อยูในตัวเองวาสามกกเปนเรื่องราวของการใชสติปญญาพลิกแพลงกอปรดวยอุบายเลหกลครบครัน แตขอที่วาอานสามกกครบสามครั้งแลวจะเปนคนทีคบไมไดนั้น ออกจะเปนการมองปญหาดานเดียว เพราะการ  ่ คบไดหรือคบไมได ไมไดขึ้นอยูกับการอานสามกกหรือไม หรือวาจะอานสักกี่ครั้ง หากขึ้นอยูกับคนผูนนเอง ั้ คนจํานวนหนึ่งแมไมเคยอานสามกกก็ยังปรากฏวาเปนคนที่คบไมไดก็มีใหเห็นอยูถมไป บางคนอานสามกกนับ สิบครั้งก็ยังคงเปนคนดีมศีลธรรม ก็มีใหเห็นอยูถมไปเหมือนกัน ี คนเราจะคบกันไดหรือคบกันไมไดขึ้นอยูกับอุปนิสัยใจคอของคนผูนั้นเองวาเปนคนดี เปนมิตรแท หรือเปน สหายน้ํามิตรทีตายแทนกันไดหรือไม หากเปนคนเลว คนเห็นแกได หรือคนทรยศตอมิตร แมไมไดอานสามกก ่ เลย คนเชนนี้กหาควรคบดวยไม ็ All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
  • 3. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 3 ในมงคล 38 บทแรกสุด พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสสอนวาการไมคบคนพาลเปนมงคลสูงสุด ซึ่งสามกกมี  ตัวอยางและเรืองราวมากมายที่แสดงใหเห็นวาคนพาลเปนอยางไร ทีสําคัญไดแสดงใหเห็นถึงลักษณะและการ ่ ่ กระทําของคนขายชาติวาทํากันอยางไร เกิดผลอยางไร ทั้งผลที่เกิดขึ้นแกตนเอง แกครอบครัว แกสังคมและ บานเมือง เรืองวิทยาคมพรอมแลวที่จะบรรณาการทานผูอานหนังสือพิมพผูจัดการดวย "สามกกฉบับคนขาย  ชาติ" ซึ่งแมวาจะตระหนักดีวามีภูมิความรูยังไมถึงขนาดนัก แตดวยใจภักดีที่มุงตอบแทนคุณทานผูอานก็จะใช  ความพยายามอยางเต็มความสามารถ คงมีปญหาขอวิตกอยูประการเดียวที่เรื่องสามกกเปน เรื่องยาว ยอมยาก   ที่จะทําใหเกิดความเราใจ ตรึงใจไปไดตลอด ทั้งตองใชเวลานานนับปกวาจะจบ จึงวิตกวาทานผูอานจะเบื่อ หนายเสียกอน จึงไดแตหวังวาดวยใจภักดีที่จะสนองคุณทานผูอานอยางหนึ่งดวยวิรยะอุตสาหะแหงตนอีก ิ อยางหนึ่ง จักเปนเครื่องคุมกันและกอใหเกิดความเมตตาจากทานผูอานติดตามและสนับสนุนงานชิ้นนี้ไป จนกวาจะสําเร็จดังประสงค สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม เคาลางกลียค (ตอนที่ 2) ุ ยุคสมัยของสามกกเกิดขึ้นตั้งแตปพทธศักราช 722 เปนตนมา เปนเวลารวมรอยป เบื้องหนาแตจะเกิดยุคสาม ุ กก แผนดินจีนไดเกิดกลียุครบราฆาฟนกันจนแตกออกเปน 7 หัวเมือง ทั้ง 7 หัวเมืองนี้บางครั้งก็ผูกมิตรกัน บางครั้งก็ทําสงครามกัน สงครามและสันติภาพเกิดขึ้นสลับกันไป ประวัตศาสตรจีนไดเรียกขานยุคนี้วาเปนยุค ิ "เลียดกก" รายละเอียดมีปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องเลียดกกซึ่งแปลมาจากพงศาวดารเลียดกกของจีนนันแลว ้ จนถึงสมัยหนึ่งแควนจิ๋นมีเจาผูปกครองชื่อวา "จิ๋นออง" ไดรวบรวมหัวเมืองทั้ง 7 เขาเปนแผนดินเดียวกัน  สถาปนาราชวงศจิ๋นขึ้นปกครองแผนดินจีนแตนั้นมา ชื่อประเทศที่ถกรวมเขาเปนหนึ่ง จึงถูกเรียกตามชื่อของแควนจิ๋นวาเปน"ประเทศจีน" ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จิ๋ ู นอองเปนผูใฝอํานาจ เห็นวาคําวา "ออง" ยังเปนคําต่ําเสมอเจาเมืองธรรมดา ไมสมกับความชอบของพระองค ที่สามารถรวบ รวมแควนทั้งปวงเขาเปนแผนดินเดียวกันได จึงใหขุนนางทังปวงคิดสรรหาสมญานามใหสมกับ ้ ความชอบของพระองค เปนธรรมเนียมของขุนนางทุกยุค ทุกสมัยทีมักประจบผูมีอานาจบรรดาขุนนางในยุคนั้นจึงไดคิดคนสมญานาม ่ ํ สําหรับจิ๋น อองวา "ฮองเต" ซึ่งหมายถึงความเปนใหญใน 5 ทวีป หรือความยิ่งใหญเหนือแผนดิน ภูเขา แมน้ํา ความดี และความชั่ว ซึ่งสมญานามนี้เปนที่ตองพระทัยยิ่งนัก ดังนั้น จิ๋นอองจึงไดสถาปนาพระนามาภิไธย ของ  พระองควา "จินซีฮองเต" ความใฝในอํานาจ และความคิดที่จะเปนใหญในจักรวาลเปนแรงวิรยานุภาพภายใน ๋ ิ ตัวของจิ๋นซีฮองเต ประกอบกับเปนคนรูจักใชคน ดังนั้น คนดีมีฝมือในแผนดินจํานวนมากจึงอาสาเขามารับใช ชาติ แผนดินจีนยุคนั้นจึงยิ่งใหญเกรียงไกร แตกระนั้นความยิ่งใหญที่มีอยูก็ไมสามารถยับยังความแกเอาไวได เมื่ออายุลวงวัยมากเขา จิ๋นซีฮองเตก็เกิด ้ ความคิดกลัวตาย แตไมอยากตาย ดังนั้น จึงไดพยายามแสวงหายาอายุวฒนะ เมื่อความอยากเกิดขึ้น ความโง ั ก็ไดเขาครอบงํา พวกแพทยหลวงและแพทยบานตลอดจนนักพรต ตางไดอาสาทํายาอายุวัฒนะ แตในทีสุดก็ ่ ไมประสบผลสําเร็จ ความแกยงคงเขาครอบงําจักรพรรดิผูยิ่งใหญอยางไมหยุดยั้ง ทําใหพระองครสึกวาวันเวลา ั ู แหงความตายไดเยื้องกรายเขามาเยือน พระองคใกลเขามาทุกที ในที่สดทรงตั้งรางวัลเปนจํานวนมหาศาล ุ ใหแกใครก็ตามที่สามารถแสวงหายาอายุวฒนะมาถวายได ั รางวัลจํานวนมหาศาลยอมจูงใจคน ยอมสามารถทําใหคนแกรง กลาไมกลัวผี ไมกลัวฟา ไมกลัวดิน ไมกลัว บาป และไมกลัวตาย ดังนั้น จึงมีพวกหมอกลุมหนึ่งเห็นวา ขืนอยูไปก็อาจเสี่ยงภัยตอการถูกประหาร จึงอาสา เดินทางทางเรือไปทางดานตะวันออก เพื่อแสวงหายาอายุวัฒนะ หลังจากเดินทางไปแลวก็ไมกลับมาอีกเลย กลาวกันวาคณะเดินทางแสวงหายาอายุวฒนะกลุมนี้คือกลุมบรรพบุรุษกลุมแรกของชนชาติญี่ปุน ั เหตุที่ไม ยอมรับวาความตายจะมาถึง จินซีฮองเตจึงไมได ๋ เตรียมการใด ๆ เพื่อรับมือกับเหตุการณหลังการตายของ พระองค ดังนันเมื่อความตายมาถึงกลียคจึงเกิดขึ้นในบานเมือง หลี่ซือ ขุนนางผูมีความชอบตอแผนดินและ ้ ุ ดํารงตําแหนงอัครมหาเสนาบดีถูกขันทีใชอํานาจของยุวกษัตริยประหารอยางโหด ราย นอกจากนั้นขุนนางผู ภักดีตอแผนดินก็ถูกบีบคั้นและสังหารอยางโหดรายทารุณ ในที่สดยุวกษัตริยผูเปนรัชทายาทของจิ๋นซีฮองเตก็ ุ ถูกขันทีสังหารแผนดินอันยิ่งใหญก็ไมสามารถรักษาไวได แมเลือดเนื้อเชื้อไขก็ตองถูกสังหารอยางโหดราย นี่ เปนเพียงตัวอยางหนึ่งของความประมาทที่อยาวาแตปถุชนคนธรรมดาสามัญเลย ตอใหเปนฮองเต มีอํานาจ ุ วาสนาทรัพยสงศฤงคารสักเพียงไหน หากตกอยูในความประมาทแลว ทุกสิงก็จะสูญสิ้นไป ิ่ ่ All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
  • 4. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 4 หลังจากสังหารยุวกษัตริยแลว ขันทีก็ตั้งตนเปนใหญ ใชอํานาจ หยาบชาตออาณาประชาราษฎร จนบานเมือง เกิดจลาจลขึ้น สมัยนั้นขุนศึกตางๆ ไดยกกองทัพเขาเมืองหลวง ดานหนึ่งอางวาเพื่อฟนฟูพระราชวงศ ชูธง แหงความจงรักภักดีขึ้นเปนทีรวมใจของขุน นางและอาณาประชาราษฎร ในขณะที่อีกดานหนึ่งมีวาระซอนเรน ่ อยูในใจที่จะยึดอํานาจแผนดินเสียเอง การรบราฆาฟนเกิดขึ้นอยางกวางขวาง การจลาจลขยายตัวลุกลามไปทั้งแผนดิน กลายเปนสงครามกลางเมือง ขึ้นมาอีก ครั้งหนึ่งสมัยนั้นมีผตั้งตนเปนผูกชาติหลายกลุม หลายเหลา แตหลังจากสงครามผานไปนานวันเขา ู ู บางกลุมก็สูญสลายไป บางกลุมก็ไปรวมกับอีกกลุมหนึ่ง ในทีสุดเหลืออยูเพียงสองกลุม ่ กลุมแรกนํา โดยฌอปาออง กลุมที่สองนําโดยเลาปง หรือที่เรียกวาฮั่นออง ทั้งสองกลุมนี้ทําสงครามแยงชิงเมืองหลวงกัน เปนเวลายาวนาน เปดสงครามตอกันถึง 7 ครั้ง และทั้ง 7 ครังนี้ฮั่นอองหรือ เลาปงเปนฝายพายแพ ้ แตเนื่องดวยเลาปงเปนคนมีความเพียรพยายาม มีจิตใจตอสูและทรหดอดทน ทั้งพยายามแสวงหาคนดีมฝมือ  ี มารวมงาน ในที่สด เลาปงก็ไดขุนนางสองคนมาทําการดวย นั่นคือ "ฮั่นสิน" ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญจัดจานทาง ุ การทหาร และ "เตียวเหลียง" ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญ จัดจานทางพิชัยสงครามและการปกครอง ในสงครามครั้งสุดทาย ฮั่นอองเปนฝายไดรับชัยชนะ โดยฌอปาอองแตกทัพไปติดอยูริมน้า และฆาตัวตายใน  ํ ที่สด ุ กอนพายแพฌอปาอองไดเผาเมืองหลวงทีใหญโตอัครฐานจนหมดสิ้น ่ กลาวกันวาเพลิงไหม พระบรมมหาราชวัง ติดตอกันเปนเวลาถึง 7 วัน 7 คืน ฮันอองหรือเลาปงไดรับชัยชนะแลว จึงไดสถาปนา ่ ราชวงศฮั่นขึ้น เหลาขุนนางไดถวายพระสมัญญาแกพระองคทานวา "พระเจาฮั่นโกโจ" จัดเปนปฐมกษัตริย แหงราชวงศฮั่น สงครามและสันติภาพเกิดขึ้นสลับกันไปเชนนี้ เจาพระยา พระคลัง (หน) จึงกลาวไวในสามกกดวยโวหารวา "เดิมแผนดินเมืองจีน ทั้งปวงนันเปนสุขมาชานานแลวก็เปนศึก ครั้นศึกสงบแลวก็เปนสุข" ้ พระเจาฮั่นโกโจและพระราชวงศไดครองราชยสมบัติตอ ๆ มา ถึง 12 องค ขุนนางชื่อ "อองมัง" จึงชิงราช สมบัตตั้งตนขึ้นเปนเจาครองแผนดินอยูถึง 18 ป ก็มีเชื้อพระวงศของพระเจาฮั่นโกโจชื่อ "ฮั่นกองบู" ชิงราช ิ สมบัติกลับคืนได เสวยราชยสบเชื้อพระวงศตอมาอีก 12 องค จึงเปนอันสิ้นสุดราชวงศฮั่น ื  ฮองเตองคที่สามกอนสิ้นราชวงศฮั่นทรงพระนามวา "ฮั่นเต" คงจะเปนหมัน จึงไมมีพระราชบุตรสืบสันตติวงศ แตแทนที่จะยกเอาเชื้อพระวงศผูมสติปญญาคนหนึ่งคนใดขึนเปนมหาอุปราช ี  ้ เพื่อเตรียมสืบราชวงศตอไป กลับไป ขอลูกชาวบานมาเลียง ตั้งเปนพระราชบุตร แลวโปรดใหขันทีเลี้ยงดูมาแตนอย ตอมาทรงสถาปนาเปน ้ ที่รชทายาท ดังนั้นเลนเต จึงไมใชเชื้อพระราชวงศฮั่น เปนลูกกาฝาก หาก จะกลาวถึงทีสุดแลวก็ยอมกลาวได ั ่ วา ราชวงศฮนไดหมดสิ้นไปตั้งแตยุคสมัยของพระเจาฮั่นเตแลว ราชบัลลังกหลังจากนั้นตกไดแกคนแซอื่น ั่ การกระทําผิดธรรมเนียมประเพณีในการปกครองแผนดินของ ฮั่นเต คือเหตุสําคัญทีทําใหราชวงศฮั่นดับสูญ ่ และราชบัลลังกตกเปนสิทธิแกคนอื่น นี่คือทัณฑจากสวรรคของการทีทําผิดธรรมเนียม ประเพณี ถาจะกลาว ่ โดยสํานวนไทยก็กลาวไดวาเปนความผิดของ "คนที่เอาลูกเขามาเลี้ยง เอาเมี่ยงเขามาอม" เลนเตลูกชาวบาน เมื่อไดดิบไดดีเปนรัชทายาทก็ถือตัววาเปนเชื้อพระวงศฮั่นไปดวย ครั้นไดเสวยราชยทรง พระนามวา "พระเจาเลนเต"แตสันดานชาติเชื้อที่มิใชเผาวงศกษัตริย และอัธยาศัยทีถูกสรางสม มาจากการ ่ เลี้ยงดูของขันทียังคงติดตัวมาจึงกําเริบขึ้น สามกกไดกลาวความประพฤติของพระเจาเลนเตวา "มิไดตงอยูใน ั้ โบราณราชประเพณี แลมิไดคบหาคนสัตยธรรม เชื่อถือแตคนอันเปนอาสัตย ประพฤติแตตามอําเภอใจแหง พระองค เสียราชประเพณีไป" เมื่อ เลนเต เสวยราชยแลว ไดอาศัยขุนนางผูใหญสองคนคอย ค้ําจุนราชบัลลังก คนหนึ่งชื่อเตาบูเปนแมทัพ ใหญ อีกคนหนึงชื่อ ตันผวน เปนราชครู สองขุนนางเฒารับราชการในราชวงศฮั่นมาถึงสองแผนดิน เห็นความ ่ วิปริตผันแปรในบานเมืองที่ทําใหขุนนางขาราชการแลราษฎรตองเดือดรอนหนักวา เกิดจากขันทีเปนเหตุ จึง วางแผนรวมกันเพื่อจะสังหารกลุมขันทีชั่วเสีย แตแผนการรัวไหล เสียกอน ดังนั้น ทั้งแมทัพใหญเตาบูและ ่ ราชครูตันผวนพรอมดวยครอบครัวและบริวารจึงกลับเปนฝายถูกกลุมขันทีชว สังหารอยางโหดรายและทารุณ ั่ แตนั้นมากลุมขันทียิ่งกําเริบเสิบสานมากขึ้น เหลาขุนนางขาราชการมีความเกรงกลัวอิทธิพลของกลุมขันทีชั่ว  เปนอันมาก ครั้นพระเจาเลนเตเสวยราชยไดสิบสองป ตรงกับพุทธศักราช 722 เดือนสี่ขึ้นสิบหาค่ํา แตสามกกฉบับสมบูรณ ระบุวาเปนป พุทธศักราช 710 พระเจาเลนเตประทับ ณ พระที่นั่งอุนตกเตี้ยน เวลาเที่ยงเกิดอาเพศใหญขน ใน ึ้ All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
  • 5. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 5 บานเมือง เปนสัญญาณจากสวรรค ที่บงบอกวา แผนดินเกิดกลียุค ณ เวลานั้นเพลาเที่ยงเกิดลมพายุหนัก มีงูสี เขียวตัวใหญตกลง มาพันอยูที่เทาพระเกาอี้ พระเจาเลนเตตกพระทัย กระทั่งสิ้นพระสติ พักหนึ่งงูใหญ ก็ หายไปแลวเกิดฟารองฝนตกหาใหญ ลูกเห็บขนาดใหญตกบานเรือนราษฎรพังทลาย พระตําหนักถูกพายุ ลูกเห็บพัดพังหลายตําหนัก จนถึงเที่ยงคืนฝนจึงหยุด หลังจากนั้นอีก 4 ป ณ เดือนยี่ เมืองลกเอี๋ยง ซึ่งเปน เมืองหลวงเกิดแผนดินไหว น้าทะเลเกิดคลื่นใหญทวมบานเมือง และบานเรือนราษฎรถูกน้าพัดพา หายไปเปน ํ ํ จํานวนมาก ไกตัวเมียขันไดกลายเปนไกตัวผู ถัดมาในเดือน 6 ขึ้นค่ําหนึ่งเกิดควันเพลิงพุงขึ้นไปสูง 20 วา แลวพุงเขาไปในพระที่นั่งอุนตกเตี้ยน รุงเดือน 7  เกิดรัศมีรุงตกในพระบรมมหาราชวัง ภูเขารันซัวแตกทลายลงนิมิตเหลานี้ ถาวาตามหลักนิมิตลางของไทย ก็ กลาวไดวา เปน ทั้งอุบาทวพระอินทรและอุบาทวพระยมเกิดขึ้นตอเนื่องกันไป เปนลางรายของแผนดินวาจะ เกิดกลียุค นิมตและลางรายนีเคยปรากฏใหเห็น กอนสิ้นแผนดินกรุงศรีอยุธยาหลายประการ เชนมีฟาผาลงตรง ิ ้  ระเบียงพระบรมมหาราชวัง และไฟไหมลุกลามไปหลายแหง, ฝูงอีกาจับกลุมกันจิกตีจนบาดเจ็บลมตาย, หลวง พอมงคลบพิตรมีน้ําพระเนตรไหล, อีกาใหญบินเอาอกเขาเสียบกับตรีศลพระบรมมหาราชวัง, น้ําในแมน้ําเปนสี ู แดงดังเลือด, เสียงใบไมเหมือนเสียงคนร่ําไหระงมเมือง, ไกตัวเมียขันไดกลายเปนตัวผู ดาวจระเขดวงที่เปน ตําแหนงของพระมหากษัตริยสีแดงเศราหมอง และริบหรีคลายกับจะดับสูญ  ่ นิมิตและลางลักษณะนี้ถือวา เปนนิมิตและลางรายที่จะเกิดกลียุคขึ้นในบานเมืองนับเปนอาเพศที่มผลกระทบ ี ตอบานเมือง กระทบตอผูมีอานาจปกครองบานเมืองและราษฎรเปนสวนรวม อาเพศอันเกิดจากนิมิตและลาง ํ แมเปนสิ่งที่ไรศาสตรใดไป พิสจนวาเกิดขึ้นไดอยางไร แตความเชื่อของคนหลายชาติ หลายภาษาสืบทอดมา ู นับพันป ยังคงเหนียวแนนแมกระทั่งในบานเมืองของเราในทุกวันนี้อา! เคาลางแหงกลียุคไดปกคลุมเหนือ แผนดินจีนอีกครั้งหนึ่งแลว สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม ยุคขันทีกินเมือง (ตอนที่ 3) นิมิตและลางจากสวรรคที่เกิดขึนอยางตอเนื่อง ไดกอใหเกิดความประหวั่นพรั่นพรึงในหมูอาณาประชาราษฎร ้  พระเจาเลนเตเองก็ทรงสังเกตเห็นปรากฏการณที่ผดปกติ จึงทรงตรัสถามขึ้นในที่ประชุมเหลาขุนนางวา "นิมิต ิ วิปริตดั่งนี้จะดีรายประการใด" ปรากฏวาไมมีใครยอมตอบวา "นิมิตวิปริต" นั้น วาจะดีรายและหมายความวา   ประการใด เหลาขุนนางตางนิงเงียบเปนเปาสาก และอาการนิ่งเงียบเปนเปาสากของเหลาขุนนางนี้ควรจะตอง ่ ถือวาเปน "นิมิตวิปริต" ที่เกิดขึ้นในราชสํานัก เชนเดียวกับ "นิมิตวิปริต" ที่เกิดขึ้นแตธรรมชาติ เพราะเหลาขุน นางทั้งปวงนั้นยอมมีวิสยที่ชอบเพ็ดทูล และมักจะแขงแยงกันเพ็ดทูลเพื่อหาความดีความชอบ และเพื่อแสดง ั ภูมิรูแหงตนใหเปนที่ประจักษ หลังพระเจาเลนเตเสด็จขึ้นแลว ก็มีขุนนางชื่อ "ยีหลง" ทําหนังสือลับกราบทูลพระเจาเลนเตวา "เหตุทงปวงนี้ ั้ เพราะขันทีประพฤติลวงพระราชอาญา จึงเกิดนิมิตใหพระองคปรากฏ" การทียีหลงตองทําเปนหนังสือลับ ่ ประกอบกับอาการเงียบเปนเปาสากของเหลาขุนนางนั้น เปนอาการที่บงบอกวาคนรอบขางของพระเจาเลนเต ซึ่งก็คือขันทีประพฤติลวงพระราชอาญา "คิดกันกระทําการหยาบชาตางๆ" และควบคุมราชสํานักไวไดโดย สิ้นเชิง และเปนที่รูกันโดยทั่วไป ในเหลาขุนนางอันขันทีนั้น คือคนใชของพระเจาแผนดิน หากยามใดที่พระเจาแผนดินเขมแข็ง ขันทีก็มีฐานะ เปนคนรับใช แตยามใดที่พระเจาแผนดินออนแอเหลวไหล ขันทีก็จะมีฐานะเปนคนใชพระเจาแผนดิน คือใชให พระเจาแผนดินทําอะไรไดตามใจชอบ ขันทีนนไมใชกะเทยเหมือนกับที่เห็นในภาพยนตร แตเปนชาย ซึงถูก ั้ ่ ตัดองคชาติไมใหสืบเผาพันธุ และสิ้นความรูสึกทางเพศอยางสิ้นเชิง  เหตุทั้งนี้เนื่องจากขันทีสามารถ เขานอกออกในไดทั้งฝายหนาและฝายใน โดยที่ฝายในนั้นเต็มไปดวยพระสนม นางกํานัล เหตุนี้เพื่อปองกัน  ไมใหขันทียุงเกี่ยวในทางเพศกับพระสนม นางกํานัล จึง มีกฎใหตองตัดองคชาติของขันทีเสียกอนจึงจะรับเขา บรรจุในตําแหนงขันทีได เหตุที่มผยอมถูกตัดองคชาติเพื่อรับราชการเปนขันทีก็เพราะขันทีนั้นอยูใกลชิดพระเจาแผนดิน ี ู  ซึ่งเปนศูนย แหงอํานาจรัฐ เปนบอเกิดแหงอํานาจวาสนา ทรัพยสมบัติและหนาตา ดังนั้น จึงมีพอแมของคนจํานวนมากเอา ลูกชายไปขายเปนขันทีเพื่อหวังลาภยศในเบื้องหนา ชายจํานวนมากก็ยอมตัวถูกตัดองคชาติเปนขันที เพื่อหวัง อํานาจวาสนาอยางหนึ่ง และหวังรายไดไปสงเสียใหกับครอบ ครัวอีกอยางหนึ่ง All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
  • 6. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 6 แตคนเรานั้นมีปกติติดยึดอยูในเรื่องกิน กาม เกียรติ ดังนั้นเมื่อตัดความตองการหรือความสามารถในเรื่องกาม  ออกไปเสียแลว ความติดยึดในเรื่องกินและเกียรติ ซึ่งก็คอเรื่องของอํานาจและวาสนาก็ยิ่งมีมากขึ้นผิดคน ื ธรรมดา ดวยเหตุนี้ขันทีทั้งปวงจึงเปนคนทีมความตองการในเรื่องอํานาจ วาสนามากเปนพิเศษผิดวิสยมนุษย ่ ี ั ทั่วไป จนอาจกลาวไดวาเปนคนวิปริตจําพวกหนึ่งที่พรอมจะทําทุกสิ่งทุกอยางเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจวาสนา มองในแงนี้ก็จะเห็นไดชัดวา การที่พระเจาแผนดินหรือฮองเต มีชีวิตอยูทามกลางฝูงคนวิปริตเหลานี้ จะมีความ  เปนปกติเหมือนมนุษยทวไปยอมไมได ยอมมีสิ่งวิปริตผิดปกติอาบเอิบพระองคอยูเปนเนืองนิจ เพื่อแสวงหา ั่ ความดีในหนาที่ และความชอบในทางสวนตัว ขันทีจึงพรอมที่จะทําทุกอยางเพื่อฮองเต และยอมใหฮองเตทํา  ทุกอยางเพื่อความพึงพอใจสูงสุด ดังนั้นขาวคราววิปริตในทางเพศ จึงคลาคล่ําอยูในราชสํานักของจีนตลอดระยะเวลาอันยาวนานของ  ประวัตศาสตร เพราะฮองเตมีเมียมาก ก็ยอมมีลูกมากตามไปดวย ลูกของฮองเตจะถูกเลียงดูโดยขันที หรือพระ ิ ้ สนมนางกํานัล ลูกคนใดถูกเลียงดูโดยขันที ก็จะถูกกลอมเกลาอุปนิสยใจคอใหวิปริตแปรปรวน ไปดวย ลูกคน ้ ั ใดถูกเลียงดูโดยพระสนมนางกํานัล ก็จะถูกกลอมเกลาอุปนิสัยใจคอใหเอนเอียงไปในทางของอิสตรีมากกวา ้ ปกติ ซึ่งไมวาจะเปนไปในทางใด ลูกของฮองเตซึ่งคนหนึงยอมเปนรัชทายาทก็ตองมีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไป ่ ในทางวิปริตผิดปกติ จะมียกเวนบางก็แตเพียงบางคนเทานั้น ที่ไดรับการเลียงดูอยางดีโดยวิธีเลี้ยงดูของ ้ มนุษยทวไป ั่ ดังนั้น ฮองเตของจีนจํานวนมากจึงเปนคนจําพวกวิปริตผิดปกติ จะมียกเวนอยูบางที่เปนพระเจาแผนดินที่ เขมแข็งเกรียงไกร เหตุนี้อายุรัชกาลของแทบทุกราชวงศในเมืองจีนจึงมักไมคอยยืนยาว พระเจาเลนเตเองก็ ถูกเลี้ยงโดยขันที ดังนั้นเมื่อครองราชยแลว จึงทรงยกยองขันทีคนหนึ่งชื่อ "เตียวเหยียง" เปนบิดาบุญธรรม และเพราะเหตุที่ถูกเลี้ยงดูโดยขันที ดังนั้น จึงมีความใกลชิดสนิทสนมไวเนื้อเชื่อใจขันทีเปนพิเศษ มีความ เคารพยําเกรงขันทีเปนพิเศษ ขันทีที่มความใกลชิดสนิทสนมในลักษณะเชนนี้ มีอยูสิบคน ซึ่งสามกกเรียกวา "สิบขันที" คือเทาเจียด, เตียว ี ตง, เตียวเหยียง, ฮองสี, ตวนกุย, เหาลํา, เกียนสิด, เหหุย, กกเสง และเชียกง ในจํานวนขันทีสิบคนนี้ไดยก ยองใหเทาเจียดเปนหัวหนา ในขณะที่เตียวเหยียงเปนคนทีพระเจาเลนเตเคารพและยําเกรงเปนพิเศษ ในฐานะ ่ ที่ทรงยกยองเปนบิดาบุญธรรม ความจริงชื่อของบุคคลในสามกกมีเปนจํานวนมาก ไมมีความจําเปนที่จะตองจดตองจํา แตการจะไมกลาวถึง ชื่อขันทีทั้งสิบคนเห็นจะไมได เพราะเปนตัวละครสําคัญที่เปนตนตอทําใหแผนดินเกิดจลาจลวุนวาย แลวแตก เปนสามกก ทั้งเปนตัวละครที่กอปญหาวุนวายถึงสองรัชกาล ขันทีทั้งสิบคนไดรวมคิด รวมมือกันครอบงํา อํานาจบริหารของพระเจาเลนเต อยางสินเชิง กิจการภายในราชสํานักทั้งปวงขึ้นอยู กับความคิดความเห็นของ ้ ขันทีทั้งสิบคน จึงเปนเหตุใหเหลาขุนนางทั้งปวง เกรงกลัวไมกลากระทําการ หรือเพ็ดทูลสิ่งใดใหเปนทีขัดใจ ่ ของขันที ขุนนางคนใดแสดงอาการใหเห็นวาไมเปนพวก ไมเคารพ หรือ ไมยําเกรง ก็จะถูกสิบขันทีแกลงเพ็ดทูลใหพระ เจาเลนเตถอดออกจากตําแหนง หรือโยกยายไปทําราชการในถิ่นทุรกันดาร หรืออาจถูกเพ็ดทูลใหลงโทษ ประหาร หนังสือราชการที่หวเมืองตาง ๆ รายงานเขามายังราชสํานักจะถูกกลั่นกรองโดยขันทีเสียชั้นหนึงกอน ั ่ หนังสือออกจากราชสํานักรวมถึงพระบรมราชโองการตางๆ ก็เกิดขึ้นจากความคิดความเห็นของ ขันที จัดทํา โดยเหลาขันที และจัดสงไปยังหัวเมืองตางๆ โดยคนของขันที เปนหนทางใหลูกนองของขันทีไดคาน้ํารอนน้ํา  ชาอีกทางหนึ่ง อํานาจวาสนามีถึงเพียงนี้แลวก็ยังไมเปนที่พึงใจ ความหิวกระหายในอํานาจวาสนายิ่งทวีขึ้นอยางไมหยุดยั้ง กลายเปนวาอํานาจวาสนาที่มมากขึ้นโดยลําดับนั้นไมตางกับฟนทีสุมทับเขาไปในกองไฟก็ยิ่งทําใหกองไฟลุก ี ่ โชติชวงมากขึน ตองการฟนมากขึ้น ยิ่งเติมฟนเขาไปอีก กองไฟก็ยิ่งใหญขึ้น โชติชวงมากขึ้น อุปมาฉันใด  ้  อุปไมยก็ฉันนั้น ความหิวกระหายในอํานาจของขันทีไดทําใหราษฎรเกิดความเดือดรอนทุกหยอมหญา เหลาขุนนางทั้งในเมือง หลวงและในหัวเมืองตางตองเดือดรอน และตองตกอยูภายใตอํานาจของขันที การแตงตั้งเจาเมืองไปครอง  เมืองตาง ๆ ขันทีก็จะเรียกเอาสิน บนทุกเมืองไป คนใดไมยอมใหสินบนแกขันทีก็จะถูกกลั่นแกลง ใน ชั้นตน อาจจะแกลงไมใหไดรับแตงตั้ง หากขัดขวางในชั้นนี้ไมได ในภายหลังก็จะกลั่นแกลงเพ็ดทูลเอาเปนโทษ ซึ่ง อาจจะเปนโทษปลดออกจากราชการ หรือโทษถึงลงพระราชอาญา หากขอหาหนักก็ตองถูกประหาร เจาเมือง All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด
  • 7. โดย เรืองวิทยาคม ชุดที่ 1 ตอนที่ 1-50 หนาที่ 7 คนใดยอมอยูในอํานาจ ขันทีก็จะจัดสงคนไปเรียกเก็บสวยทุกป และจํานวนสวยก็จะเพิมขึ้นทุกปดุจกัน เจา ่ เมืองบางคนในระยะแรกสามารถทนกับระบบสวยได แตนานไปทนแรงสวย ไมไหวก็ตองลาออก เพราะขืนทน รับราชการตอไปก็ตองถูกปลด ถูกถอด หรือตองโทษ คาภาษีตางๆ ที่หัวเมืองจัดเก็บสงเขาเมืองหลวง ตามปกติก็ถูกขันที ชักสวนแบงตั้งแตรอยละ 10 หนักเขาก็ชักสวนแบงถึงรอยละ 50 ทําใหรายไดของแผนดิน ไมพอเพียงกับรายจาย เปนเหตุใหพระเจาเลนเตตองขึ้นภาษีเอากับราษฎรบอยครั้ง จึงกลาวไดวาราษฎรในยุคสมัยของพระเจาเลนเตถูกขูดรีดภาษีหนักที่สด ดานหนึ่งหนักเพราะการฉอราษฎรบัง ุ หลวงของเหลาขันทีและขุนนางที่เปนพวก ดานหนึ่งหนักเพราะรายจายเพิ่มมากขึ้นเพื่อบํารุงบําเรอความสุข และเพื่อจัดสวนแบงใหแกขันทีและขุนนาง วากันวางบประมาณแผนดินในสมัยพระเจาเลนเตรั่วไหลไปกวารอย ละ 30 เทาๆ กับตัวเลขการรัวไหลของงบประมาณแผนดินของรัฐบาลไทยในบางยุค ่ เมื่อขุนนางขาราชการทั้งในเมืองหลวงและหัวเมืองตองจายเงินคาสวยสินบน และมีความรั่วไหลเกิดขึ้นใน งบประมาณแผนดินมากมาย เชนนี้ ราษฎรก็ถูกรีดนาทาเรนหนักขึ้นทุกวัน ราษฎรกลายเปนคนยากจนและ ยากไร ไมมีททากิน และไมมีกน จนตองปลนชิงวิ่งราวกันทั่วทั้งแผนดิน ี่ ํ ิ หนักเขาขาราชการทั้งในเมืองหลวง และในหัวเมืองตางประพฤติตนเปนโจร ปลนชิงวิ่งราวเสียเองอยางหนึ่ง เลี้ยงโจรใหปลน ชิงวิ่งราวมาแบงกันอยางหนึ่ง คาของหนีภาษี คาของเถื่อนอยางหนึ่ง และเอาที่หลวง เอา ประโยชนของหลวงไปทํามาหากิน ไปแสวงหาประโยชนอกอยางหนึ่ง คดีความทั้งปวงก็ตัดสินไปตามน้ําหนัก ี ของเงินสินบน ขาวถูกกลับเปนดํา ดําถูกกลับเปนขาว ความเดือดรอนจลาจลจึงเกิดขึ้นทังแผนดิน โดยที่ไมมี ้ ใครกลาพูด กลากราบทูล พระเจาเลนเตเห็นหนังสือลับของยีหลงแลว ก็ทอดพระทัย มิได ตรัสประการใด แต ขันทีทราบความเขาก็ผูกอาฆาตยีหลง เพราะเห็นวาเปนการกราบทูลที่จะทําใหพวกตนเสียหาย และแสรง เพ็ดทูลเสียใหมวา กรณี ทั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากฉลองพระองคเกา เพราะทรงมานาน ดังนัน เพื่อความเปนสิริ ้ มงคลของประเทศและราษฎรจึงตองเปลี่ยนฉลองพระองคใหม พระเจาเลนเต ก็กระทําตามคําแนะนํานั้น หลังเหตุการณนี้แลวสิบขันทีไดกราบทูลยุยงฮองเตใหปลดยีหลงออกจากราชการไปทําไรไถนา ณ ภูมลําเนา ิ เดิม สิบขันทียงมีอํานาจวาสนามากขึ้นเทาใด ก็ยิ่งกําเริบเสิบสานมากขึ้น ในทีสุดไดกราบทูลใหพระเจาเลนเต ิ่ ่ แตงตั้งตัวเองเปน "เซียงสี" หรือเปน"องคมนตรี" ทําหนาที่ใหคําปรึกษาราชการแผน ดินหรือนัยหนึ่งก็คอ "คน ื ใชฮองเต" แตบางแหงแปลโดยความหมายวาเปนตําแหนงหนาทีผสําเร็จราชการแผนดิน ่ ู การที่ขันทีสามารถเวียนวายดํารงอยูในอํานาจทามกลางความขัดแยงและผลประโยชนในราชสํานักไดอยาง ยาวนาน แมถงขนาดมีบทบาท ครอบงําอํานาจรัฐของฮองเตนั้น มิใชดวยเหตุบังเอิญหรือโชคชวย หากเกิด ึ จากขันทีมสุดยอดวิชาประจําอาชีพของตนอยูถึงหาวิชา ี  ซึ่งคนปกติทั่วไปไมมีวนที่จะร่ําเรียนสุดยอดวิชา ั เหลานั้นไดอยางครบครัน หาสุดยอดวิชาขันทีเปนไฉน? หาสุดยอดวิชาขันทีไดแก วิชาวาดวยการพินอบพิเทาและสรางความพอใจสูงสุด อยางหนึ่ง วิชาวาดวยการสรางความแตกแยกเพื่อแสวงประโยชนหรือเอาตัวรอดอยางหนึ่ง วิชาวาดวยการฆา คนซึ่งมีกระบวนทาสุดยอดคือการใชวาจาเปนอาวุธสังหารผูคนอยางหนึ่ง วิชาวาดวยการเรียกรับสินบนอยาง  หนึ่ง และวิชาวาดวยการติดสินบนซื้อน้ําใจคนอีกอยางหนึ่ง รายละเอียดแหงสุดยอดวิชาทังหานี้ มิใชเรืองในสามกกแตมีใหเห็นการใชวิชาขันทีปรากฏอยูในสามกกอยาง ้ ่ ลึกซึ้ง จึงกลาวถึงเรื่องนี้ไวแตเพียงนี้ สามกกฉบับคนขายชาติ: เรืองวิทยาคม โจรโพกผาเหลือง (ตอนที่ 4) สามกกทุกฉบับที่มีมาในโลกลวนเรียกกลุมโจรโพกผาเหลือง วาเปน "โจร" ทั้งสิ้น ซึ่งเปนการชวยกันเหยียบ ย่ําซ้ําเติมและทําใหความจริงผันแปรไปจากที่พึงเปน ความจริงโจรโพกผาเหลืองเปนขบวนการกูชาติขบวน หนึ่งในยุคที่บานเมืองเปนจลาจล ไมตางกับขบวนการกูชาติของชาวนาในกรณี กบฏเขาเหลียงซาน หรือกบฏ  นักมวย หรือขบวนการกูชาติของพระเจาตากสินแมแตนอย All contents copyright (c) 1999-2002 บริษัท ไทยเดย ด็อท คอม จํากัด