SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 66
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Carbon Credit: นวตกรรมทางการเงนเพอโลกสะอาด
                                      ั            ิ ่ื
                                           สารบญ
                                               ั
คานา
 ํ ํ                                                              2

บทคัดยอ                                                           3

1. บทนา
      ํ                                                            5

2. ตลาดคารบอนเครดิต
                                                                 11

3. CERs: สินคาทางการเงนที่ไมควรมองขาม
                       ิ                                          22

4. องคกรการเงนระหวางประเทศกบการคาคารบอนเครดต
            ิ            ั             ิ                      32

5. การซอขายคารบอนเครดิตในตางประเทศ
       ้ื                                                       38

6. ประเทศไทยกบการซอขายคารบอนเครดต
             ั    ้ื           ิ                                 49

7. บทสงทาย                                                      59

ภาคผนวก                                                           63

บรรณานกรม
      ุ                                                           64
คํานํา

               เนื้อหาในเอกสารฉบับนี้เปนรายงานผลการศึกษาคารบอนเครดิต : นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด มี
มีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับสถานการณการคาคารบอนเครดิตของโลก อันเปนผลสืบเนื่องจากพิธีสาร
                 
เกียวโต (Kyoto Protocol) ที่เปดโอกาสใหประเทศพัฒนาแลวสามารถซื้อคารบอนเครดิต จากประเทศกําลังพัฒนา
เพื่อลดปริมาณการปลอยก็าซเรือนกระจกในประเทศของตนเองตามขอผูกพันตามพิธีสารเกียวโต และจากที่ปจจุบัน
ประเทศพัฒนาแลวดังกลาวมีดีมานดในการซื้อคารบอนเครดิต อีกเปนจํานวนมาก ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพสูงที่จะขาย
               สํานักงานที่ปรึกษาเศรษฐกิจเเละการคลัง ประจํากรุงโตเกียว ในฐานะผูจัดทํา หวังเปนอยางยิ่งวา รายงาน
ฉบับนี้จะสามารถสรางความตระหนักแกหนวยงานที่เกี่ยวของในประเทศไทย ทั้งภาครัฐและเอกชนในภาคการเงิน
                                          
ภาคอุตสาหกรรม ภาคสิ่งแวดลอม นักวิชาการ ตลอดจนสื่อมวลชน ใหเห็นความสําคัญของการเตรียมระบบตางๆ เพื่อ
รองรับการคาคารบอนเครดิต เนื่องจากประเทศไทยสามารถไดรับประโยชนในฐานะเปนผูรับการลงทุนจากตางประเทศ
                                                                            
เเละเปนผูมีศักยภาพที่จะไดรับประโยชนจากการขายคารบอนเครดิต ทั้งการสรางรายไดที่เพิ่มขึ้น ชวยลดภาวะโลกรอน
และกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน โดยการสนับสนุนการลงทุนโครงการสะอาดเพื่อขายคารบอนเครดิต แก
ตางประเทศ โดยเฉพาะในมิติของบริการการเงินและการพัฒนาระบบการเงินใหมท่ีจะสนับสนุนการคาดังกลาว ซึ่งใน
ยุโรปมีการตั้งตลาดซื้อขายคารบอนเครดิต (Carbon Exchange Market) ในขณะที่ในญี่ปุนยังเปนการซื้อขายผาน
นายหนา (Broker) หรือตัวกลาง (Intermediary) ระหวางผูซื้อและผูขายที่เปนเจาของโครงการ ในฐานะผูจัดทําจึงหวัง
เปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะชวยจุดประกายใหหนวยงานที่เกี่ยวของชวยกันพัฒนาระบบการคาคารบอนเครดิตที่
เหมาะสมเพื่อใหประเทศไทยไดรับประโยชนสูงสุดจากการขายคารบอนเครดิต
              ทายนี้ ขอขอบคุณผูมีเกียรติ ผูทรงคุณวุฒิและหนวยงานตางๆ ที่มีสวนรวมในการจัดทํารายงานฉบับนี้ ไดแก
 ฯพณฯ นายสุวิทย สิมะสกุล เอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว ในฐานะผูผลักดันโครงการคนสําคัญและใหความอนุเคราะห
 จัดสรรงบประมาณจากโครงการสนับสนุนภารกิจตางประเทศแบบบูรณาการเพื่อจัดทํารายงานฉบับนี้ นายจุลพงษ
 ทวีศรี อัครราชทูตที่ปรึกษาฝายอุตสาหกรรม ประจํากรุงโตเกียว ในฐานะที่ปรึกษาเเละใหขอมูลทางดานเทคนิค
 องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ธนาคารเเหงประเทศไทย คณะกรรมการกํากับ
 หลักทรัพยเเละตลาดหลักทรัพย ในฐานะใหคําปรึกษาเเละใหขอมูลทางดานการเงิน สถาบันการเงินตางๆ มูลนิธิ
 สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะผประสานการจัดสัมมนา เรื่อง “Recent Development in Carbon
                                                    ู
 Trading Market: Implications for Thailand’s Financial Market” ในวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 ณ กรุงเทพฯ
 ซึ่งไดใชเปนขอมูลสําคัญในการจัดรายงานฉบับนี้ เเละหนวยงานเกี่ยวของอื่นๆ ที่มิไดกลาวถึง ณ ที่นี้ เเละที่สําคัญ
 ทีสดตองขอขอบคุณ นางสาวอาภรณ ชัยกุลเสรีวัฒน จากธนาคารเเหงประเทศไทย อดีตนักศึกษาปริญญาโท
    ่ ุ
 ทุนรัฐบาลญี่ปุน หลักสูตรนโยบายสาธารณะ ณ National Graduate Institute for Policy Studies ในฐานะผูรวบรวม
 ขอมูลเเละเรียบเรียงรายงานฉบับนี้
                                                              นางสาวเกตสุดา สุประดิษฐ
                                         อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝายเศรษฐกิจเเละการคลัง) ประจํากรุงโตเกียว
                                                                 30 มกราคม 2552
                                                                      ผูจัดทํา

                                                           2
บทคัดยอ

            การเปลยนแปลงของสภาพภมอากาศทเปนผลจากภาวะโลกรอนเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและทวี
                   ่ี                   ู ิ     ่ี              
ความรนแรงขน จนกลายเปนปญหาที่ทั่วโลกตระหนกถึงความสําคัญ ประเทศตางๆ ทั่วโลกจึงไดมีการทํา
         ุ   ้ึ                                   ั
อนุสัญญาวาดวยการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate
                       ่ี                ู ิ
Change: UNFCCC) รวมกันเพื่อแกปญหาภาวะโลกรอน และในภายหลังไดมีการทําขอตกลงเพิ่มเติมไดแก
พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) เพื่อใหความรวมมอในการลดปรมาณกาซเรอนกระจกมีผลบังคับทาง
                                              ื          ิ      ื
กฎหมาย โดยกําหนดใหภายในป พ.ศ. 2555 ทั่วโลกลดการปลอยกาซลงจากป 2533 รอยละ 5.2 และผลักดัน
                                                                             
ใหกลมประเทศที่พัฒนาแลวและเปนผูปลอยกาซเรือนกระจกรายใหญเปนผู นาในการลดการปลอยกาซเรอน
      ุ                                                             ํ              ื
กระจก
            ในพิธีสารเกียวโตไดกําหนดกลไกเพื่อชวยลดภาระที่จะเกิดจากการลดการปลอยกาซเรอนกระจก
                                                                                   ื
และสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนไว 3 กลไก ไดแก 1) การอนญาตใหประเทศในกลมทถกกาหนด
                                                              ุ               ุ ่ี ู ํ
ปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจก (Annex 1) สามารถซอขายสิทธิ์ในการปลอยกาซดังกลาวได 2) การ
    ิ           ื                                  ้ื
อนญาตใหประเทศในกลม Annex 1 รวมกนดาเนนโครงการลดการปลอยกาซเรอนกระจก และนาปรมาณกาซ
      ุ               ุ            ั ํ ิ                       ื                  ํ ิ    
ที่ลดไดจากโครงการดังกลาวมารวมกับบัญชีลดการปลอยกาซได และ 3) การอนญาตใหประเทศในกลม
                                                                        ุ                 ุ
Annex 1 รวมลงทุนกับประเทศท่ีเหลือดาเนนโครงการลดการปลอยกาซ และนําปริมาณกาซที่ลดไดมารวมกับ
                                     ํ ิ                     
บัญชีลดการปลอยกาซไดเชนเดียวกับกลไกที่ 2
            กลไกดังกลาวไดทําใหเกิดการซื้อขายกรรมสิทธิ์ในความเปนเจาของกาซเรอนกระจกที่ลดได ซึ่ง
                                                                                  ื
เรียกเปนการทั่วไปวา คารบอนเครดิต และทําใหเกิดตลาดใหมที่เรียกวา ตลาดคารบอน ทั้งนี้ ในชวงที่ผานมา
                                                                              
ตลาดคารบอนมการขยายตวอยางรวดเรว อยางตอเนื่องตามความตองการของประเทศที่พัฒนาแลว เนื่องจาก
               ี          ั         ็
การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําใหประเทศเหลานี้มีการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็มีพันธะที่
จะตองลดการปลอยกาซใหไดตามที่กําหนดภายในป 2555 ทั้งนี้ ในป 2550 มมลคาการซอขายในตลาด
                                                                        ี ู        ้ื
คารบอนทั่วโลกสูงถึง 64,035 ลานดอลลารสหรฐฯ และมการคาดการณวาจะกลายเปนตลาดสนคาโภคภณฑท่ี
                                         ั         ี                                ิ         ั 
ใหญที่สุดในโลกในป 2020
           ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่ไดรวมใหสัตยาบันพิธีสารเกียวโตที่จะลดการปลอยกาซเรือน
กระจก แตไมอยูในกลุมที่ถูกกําหนดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก หากประเทศไทยดําเนินการลดการ
ปลอยกาซโดยจัดทําในรูปแบบของโครงการภายใตกลไกที่ 3 กจะสามารถขายคารบอนเครดิตที่ไดรบการจด
                                                        ็                              ั
ทะเบยนจาก UNFCCC ใหกับประเทศอื่นหรือในตลาดคารบอนได แตเนื่องจากยังมีปจจัยที่เปนอุปสรรคใน
    ี                                                
การผลตทั้งในสวนของผูผลิตคารบอนเครดตเอง การขาดประสบการณของสถาบันการเงินที่เปนแหลงทุนใน
       ิ                               ิ                       
การดาเนนโครงการ และความไมพรอมของโครงสรางพนฐานทางการเงน หลายประการ ทาใหในปจจุบัน
      ํ ิ                                     ้ื               ิ              ํ
ประเทศไทยมีโครงการที่ไดรับการจดทะเบียนคารบอนเครดตจาก UNFCCC แลวเพียง 2 โครงการ คิดเปน
                                                      ิ

                                                   3
ปริมาณกาซเรือนกระจกที่คาดวาจะลดได 864,069 ตน ซึ่งถือวานอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณการซื้อขาย
                                               ั
คารบอนเครดิตประเภทนี้ในตลาดโลกซึ่งสูงถึง 551 ลานตน ในป 2550
                                                  ั
             จากการศึกษาของหนวยงานที่เกี่ยวของพบวา อุตสาหกรรมของไทยหลายอตสาหกรรมมี
                                                                            ุ
ศกยภาพทจะจดทาโครงการลดการปลอยกาซเรอนกระจกภายใตกลไกท่ี 3 ได ซึ่งหากภาครฐมการผลักดัน
 ั       ่ี ั ํ                        ื                                    ั ี
และกําหนดนโยบายในดานนี้อยางชัดเจนและตอเนื่อง ก็จะชวยใหภาคเอกชนไทยมีการผลิตคารบอนเครดิต
ขายในตลาดโลกเพมขน ซงนอกจากจะเปนการรกษาสภาพแวดลอม ทําใหโลกสะอาดและทําใหเกิดการพัฒนา
                  ่ิ ้ึ ่ึ                    ั               
ทางเศรษฐกจที่ยั่งยืนแลว ยังเพิ่มรายไดใหแกประเทศไดอีกทางหนึ่ง
           ิ
              ทั้งนี้ นโยบายหรือมาตรการที่รัฐจะจัดทําดังกลาว ควรจัดทําอยางบูรณาการเพราะเกี่ยวของกับ
                                                                          
หลายหนวยงาน มความตอเนื่องและมีแผนระยะยาวที่จะรองรับ เนองจากการผลตและการคาคารบอนเครดต
                     ี                                           ่ื          ิ                      ิ
ยังเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย ผูที่เกี่ยวของยังขาดความรู ความเขาใจ และไมมีประสบการณตรงในดาน
                                                                                                    
น้ี โดยมาตรการดังกลาว อาจเริ่มจากมาตรการระยะสั้นที่มีจุดมุงหมายเพื่อใหมีการขยายการผลิตคารบอน
เครดิตใหมีปริมาณมากพอที่จะดึงดูดผูซื้อจากตางประเทศ โดยมีภาครัฐเปนผูนําหลักในการผลักดัน
ภาคอตสาหกรรมทมศกยภาพในการจั ดทาโครงการ CDM และการเปนที่ปรึกษาและใหความรูแกผูที่เกี่ยวของ
       ุ                ่ี ี ั            ํ
ภายในประเทศ รวมถงการตดตอประสานงานกบสถาบนการเงนภายในประเทศและตางประเทศ เพอ
                             ึ ิ                ั     ั      ิ                              ่ื
ประชาสัมพันธและเปนคนกลางใหกับผูผลิตในประเทศและผูซื้อในตางประเทศ
             ในสวนของมาตรการระยะปานกลาง อาจมีจุดมุงหมายเพอพฒนาตลาดรองสาหรบคารบอนเครดต
                                                                ่ื ั                   ํ ั               ิ
ใหเกิดขึ้นในประเทศภายหลังจากที่มีการผลิตคารบอนเครดิตในปริมาณที่มากพอ ซึ่งจะชวยอานวยความ   ํ
สะดวก ลดตนทนในการทาธรกรรมซอขาย และทําใหเกิดราคาตลาดที่ผูที่เกี่ยวของใชในการอางอิงและใชเปน
              ุ        ํ ุ       ้ื
ขอมลประกอบการดาเนนธุรกจได โดยอาจนาสญญาซอขายคารบอนเครดตลวงหนาเขาซอขายในตลาด
  ู                ํ ิ      ิ            ํ ั       ้ื                ิ         ้ื
อนุพันธ เชนเดียวกับการซื้อขายทองคําลวงหนาที่บริษัทตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จะเปด      
ใหมีการซื้อขายในชวงตนป 2552 และสาหรบมาตรการระยะยาว อาจมการพฒนาใหมการซอขายอนพนธ ท่ี
                                     ํ ั                             ี   ั        ี      ้ื         ุ ั
เกี่ยวของกับคารบอนเครดิตใหมีความซับซอนขึ้น เชน การซื้อขายสัญญาที่ผูถือมีสิทธิ์ซื้อหรือมีสิทธิ์ขาย
(Option) หรือสัญญา Swap และอาจรวมถงการเชอมโยงกบตลาดคารบอนในตางประเทศ
                                        ึ      ่ื      ั                  
           อยางไรก็ดี เพื่อใหนโยบาย/มาตรการท่ีทางการกําหนดมีความเหมาะสมและสัมฤทธิ์ผ ล ทางการ
ควรมีการจัดตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาแนวทางการพฒนาตลาดคารบอนเครดตในประเทศไทย ท่และควรรบ
                                                ั                   ิ                  ี    ี
ดําเนินการอยางเรงดวน เพื่อใหผูประกอบการสามารถผลิตคารบอนเครดิตเพื่อนําออกขายได อยางมี
ประสทธภาพ ไดราคาทเหมาะสม
      ิ ิ             ่ี




                                                     4
บทที่ 1
                                                                 บทนา
                                                                    ํ

1.1 ความเปนมา
          
                 ปจจุบันโลกกําลังประ สบปญหาการเปลยนแปลงทางสภาพภมอากาศ (Climate Change)
                                                                ่ี                           ู ิ
เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษยเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหกาซเรอนกระจกในบรรยากาศ เพิ่มขึ้น และ
                                                                                       ื
นาไปสปรากฏกา รณ ทเรยกวาสภาวะ เรอนกร ะจก (Greenhouse Effect) หรอ ภาวะโลกรอน (Global
   ํ ู                      ่ี ี               ื                                                         ื                  
Warming) ภาวะดง กลาวไดทําใหอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จง มผลกระทบตอ การดารง
                         ั                                                                                     ึ ี                  ํ
ชีพของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งมนุษย และมีผลตอความหลากหลายทางชววทยาตามธรรมชาติ พื้นที่บางแหง
                                                                                             ี ิ
อาจกลายเปนทะเลทราย ในขณะเดียวกัน อุณหภูมิที่สูงขึ้นไดทําใหเกิดการละลายของน้ําแข็ งขั้วโลก สงผลให
               
ปริมาณน้ําในทะเลสูงขึ้น และทาใหพื้นที่บางแหงอาจประสบปญหานาทวมจนกระทงจมหายไปในทะเล
                                       ํ                                             ํ้                   ่ั
                 คณะกรรมการระหวางรฐบาลวาดวยการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศ
                                         ั                        ่ี                     ู ิ                         (Intergovernmental
Panel on Climate Change) 1 คาดวาในศตวรรษที่ 21 น้ี โลกจะมี อุณหภูมิโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1.4 – 5.8 องศา
เซลเซียส ระดับน้ําทะเลจะเพิ่มขึ้น 0.09 -
0.88 เมตร ซึ่งการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและ ตารางที่ 1-1 ผลกระทบทคาดวาจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
                                                                                  ี่

ระดับน้ําทะเลนี้ สามารถทําใหเกิดน้ําทวม ความเปลี่ยนแปลงชวงศตวรรษที่ 21                                        ตัวอยางของผลกระทบ
เกาะตางๆ ทาลายแนวปะการง และมีผล
                  ํ                 ั                                                          - ปญหาสุขภาพที่รุนแรงขึ้น
                                                       วันอากาศรอนเพิ่มมากขึ้น กระแสคลื่น
ใหเกิดการละลายของภูเขาน้ําแข็งในแถบ ความรอนรุนแรงขึ้น                                         - สัตวเกิดความเครียดจากอากาศรอน
                                                                                                - พืชผลเสียหาย
ขั้วโลกเหนือและใตได อีกทั้งอาจทําใหเศษ
                                                                                                - น้ําทวม ดินถลม
หน่ึ งสวนสี่ ของสายพันธุ สัตวและพืชเกือบ เกิดเหตุการณรุนแรงดานภูมิอากาศ - การกัดเซาะหนาดิน
                                                       มากขึ้น
สูญพันธุไดกอนป 2050 นกเศรษฐศาสตร
                                   ั                                                            - พืชผลเสียหาย
                                             2                                                  - เพิ่มความเสี่ยงตอคุณภาพชีวิต
ดานสิ่งแวดลอมชั้นนําของโลก                   ได พายุเขตรอนทวีความรุนแรงขึ้น
                                               1




                                                                                                - เกิดโรคระบาด
ประมาณการวา หากไม มีการแกไขปญหา
                                                                                               - พืชผลเสียหาย
ที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางสภาพ                      ภัยแลงและน้ําทวมรุนแรงขึ้น
                                                                                                - ผลิตผลการเกษตรลดลง
                                                                                                - ศักยภาพดานการผลิตไฟฟาและพลังงานลดลง
ภมอากาศจะสรางความเสยหายถง 1 ใน 5
    ู ิ                         ี         ึ
                                                       ภูมิอากาศในฤดูมรสุมหนารอนเขตเอเชีย - เกิดอุทกภัยและภัยแลงที่รุนแรงขึ้นในเขตเอเชีย
ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติของ ทั้ง แปรปรวนมากขึ้น                                              และเขตอบอุน      
โลก มากกว าความเสยหายจากวกฤตทาง ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                           ี             ิ
                                                       (http://www.onep.go.th/CDM/cmc_today.html)
การเงนมาก
        ิ

1
  สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (http://www.onep.go.th/CDM/cmc_today.html)
2
  Top economist talks up risks of climate inaction
(http://news.yahoo.com/s/afp/20081027/sc_afp/financebankingenvironmenthongkongstern)
                                                                5
ความรนแรงของผลกระทบจากสภาวะดังกลาว ทาใหประเทศตางๆ ไดมีความพยายามรวมกันที่
                          ุ                                                          ํ
จะแกไขปญหา โดยในป พ.ศ. 2535 ประเทศตางๆ ไดจัดทําขอตกลงที่เรียกวา อนุสัญญาวาดวยการ
เปลยนแปลงสภาพภมอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change:
      ่ี                       ู ิ
UNFCCC) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดและรกษาระดบกาซเรอนกระจก (Greenhouse Gas) ใหอยูในระดับที่ไม
                                                          ั             ั  ื
เปนอนตรายตอสภาวะอากาศของโลก ภายใตอนุสัญญาฉบับนี้ไดมีการแบงกลุมประเทศภาคี ออกเปน 2 กลุม
     ั             
ใหญ ไดแก 1) Annex 1 คือ กลมประเทศพฒนาแลวในกลม OECD (Organization for Economic Co-
                                             ุ              ั                   ุ
Operation and Development) และประเทศที่อยูในชวงเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ (Economic in
Transition: EIT) ในยโรปตะวนออก ยโรปกลาง และรสเซย 3 และ 2) Non-Annex 1 คือ กลมประเทศ
                                ุ          ั           ุ                        ั ี2                                           ุ
ภาคที่เหลือ โดยเกือบทั้งหมดเปนประเทศทกาลงพฒนา ทั้งนี้ เพื่อเปนการผลักดันใหประเทศพฒนาแลว
         ี                                                      ่ี ํ ั ั                                                          ั         
ซึ่งมีสัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจกสูงกวาประเทศกําลังพัฒนาเปนผนาในการลดการปลอยกาซเรอน            ู ํ                      ื
             กาซเรือนกระจกภายใตพิธีสารเกียวโต                              กระจก ปจจุบันมีประเทศสมาชิกภาคีทั้งสิ้น 191
            กาซเรือนกระจกภายใตพธสารเกียวโต จะ
                                      ิี                                    ประเทศ อยูในกลุม Annex 1 จานวน 41 ประเทศ
                                                                                                                     ํ
   ครอบคลุมเฉพาะกาซทีเกิดจากกิจกรรมของมนุษย
                             ่                                               และกลุม Non-Annex 1 จานวน 150 ประเทศ
                                                                                                              ํ
   (anthropogenic greenhouse gas emission) เทานัน ซึ่ง        ้                                   อยางไรก็ตาม อนุสัญญาฯ ฉบบนี้ไมมีผล
                                                                                                                                  ั
   มีอยู 6 ชนิด ไดแก                                                      บังคับใชทางกฎหมาย การลดกาซเรอนกระจกจง     ื                  ึ
            1) กาซคารบอนไดออกไซด (CO2)                                    ขึ้นอยูกับความสมัครใจของประเทศภาคี ในป พ.ศ.
            2) กาซมีเทน (CH4)
                                                                             2540 จึงไดมีการทําขอตกลงเพิ่มเติมไดแก พิธีสาร
            3) กาซไนตรัสออกไซด (N20)
            4) กาซไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC)                                 เกียวโต (Kyoto Protocol) ซึ่งมีผลบังคับทาง
            5) กาซเพอรฟลูออโรคารบอน (PFC) และ                             กฎหมายโดยกําหนดใหภายในป พ.ศ. 2555 กลุม
            6) กาซซัลเฟอรเฮกซะฟลูออไรด (SF6)                              ประเทศ Annex 1 4 จะตองลดปริมาณการปลอยกาซ
                                                                             เรือนกระจกใหไดอยางนอยรอยละ 5.2 ของปรมาณ               ิ
กาซเรอนกระจกทปลอยในป พ.ศ. 2533 โดยแตละประเทศในกลมนจะถกกาหนดเปาหมายในการลดปรมาณ
  ื                    ่ี                                                              ุ ้ี ู ํ                                      ิ
การปลอยกาซเรอนกระจกในอตราทตางกน ข้ึนอยกบปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกของแตละประเทศ 5
             ื                       ั          ่ี  ั              ู ั ิ                        ื                                  4




เชน ประเทศญี่ปุนและประชาคมยุโรป จะตองลดปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกจากปฐาน 2533 รอยละ 6
                                                                         ิ                 ื                                        
และ 8 ตามลําดับ นอกจากน้ี ประเทศเหลานี้จะตองสงรายงานแหงชาติ (National Inventories) และใหความ
สนบสนนทางดานการเงนและเทคโนโลยีแกประเทศอื่นๆ ดวย ทั้งนี้ พิธีสารดังกลาวไมมการกาหนด
     ั ุ                          ิ                                                                                ี ํ
บทลงโทษ หากประเทศภาคีไมสามารถดาเนนการตามเปาหมายทกาหนดไวได
                                                        ํ ิ                               ่ี ํ          
3
  ไดแก ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, เบลารส, เบลเยียม, บัลแกเรีย, แคนาดา, โครเอเชย, สาธารณรฐเชก, เดนมารก, เอสโตรเนย, ฟนแลนด, ฝรั่งเศส,
                                      ุ                                           ี         ั ็                         ี
เยอรมนี, กรีซ, ฮังการี, ไอซแลนด, ไอรแลนด, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลใต, ลัตเวีย, ลิกเตนสไตน, ลิทัวเนีย, ลักเซมเบิรก, โมนาโก, เนเธอรแลนด,
                                                                    ี
นิวซีแลนด, นอรเวย, โปแลนด, โปรตุเกส, โรมาเนย, สหพันธรัฐรัสเซีย, สโลวาเกย, สโลวีเนีย, สเปน, สวเดน, สวิตเซอรแลนด, ตุรกี, ยเครน,
                                                   ี                                ี                      ี                            ู
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ และสหรัฐอเมริกา ในกลุมนี้จํานวน 23 ประเทศ (ที่ขีดเสนใต) หรือที่เรียกวา กลุม Annex 2 มี
หนาที่ในการชวยเหลือประเทศกําลังพัฒนาทั้งดานเทคโนโลยีและการเงิน
4
  ยกเวนสหรัฐอเมริกาที่ไมไดใหสัตยาบันตอพิธีสารโตเกียว
5
  ภาคผนวก 1
                                                                      6
สําหรับกลุมประเทศ Non-Annex 1 นั้น ภายใตพิธีสารเกียวโตไมมีการ กาหนดปรมาณการปลอย
                                                                             ํ     ิ         
กาซเรอนกระจก แตตองจดทาและสงรายงานบญชีแหงชาติ (National Inventories) แสดงปรมาณการปลอย
  ื                    ั ํ              ั                                           ิ     
กาซในแตละป ตลอดจนมาตรการและนโยบายตาง ๆ ที่แตละประเทศจัดทําขึ้นเพื่อชวยแกปญหาหรือแกไข
                                         
ผลกระทบทเกดจากภาวะโลกรอน อันเปนขอตกลงตามอนุสัญญาฯ ที่ทุกประเทศภาคีตองปฏิบัติตาม
         ่ี ิ               

1.2 กลไกการลดกาซเรอนกระจกภายใตพธสารเกยวโต
                         ื                 ิ ี   ี
            ในพิธีสารเกียวโตนั้นไดมีการกําหนดกลไกที่จะชวยใหประเทศในกลุม Annex 1 เลือกใช เพื่อให
                                                         
สามารถลดกาซเรอนกระจกไดอยางเปนรป ธรรม และชวยลดภาระที่เกิดขึ้นจากการลดการปรมาณการปลอย
             ื                ู                                                 ิ           
กาซเรอนกระจก อีกทั้งในบางกลไกยังชวยสนับสนนการลดกาซเรอนกระจกในประเทศทกาลงพฒนาอกดวย
  ื                                            ุ        ื                    ่ี ํ ั ั      ี 
ซึ่งกลไกดังกลาวมีดังนี้

           o กลไกการซอขายสทธการปลอยกาซเรอนกระจก (Emission Trading: ET) กลไกนี้ ใช
                      ้ื    ิ ์ิ        ื
             เฉพาะประเทศในกลุม Annex 1 โดยอนุญาตให ประเทศในกลุม น้ีสามารถซื้อหรอขายสทธ์ิ ใน
                                                                                  ื    ิ
             การปลอย กาซเรอนกระจก ซึ่งมีปริมาณเปนหนวยที่เรียกวา Assigned Amount Units
                     ื
             หรือ AAUs ภายในกลุม Annex 1 ดวยกันเองได

           o กลไกการดาเนนการรวมกน (Joint Implementation หรือ JI) กลไกนี้กําหนดใหประเทศ
                        ํ ิ         ั
             ในกลุม Annex 1 สามารถรวมกัน ดาเนนโครงการเพื่อลดปรมาณกาซเรอนกระจก สวนให ญ
                                                    ํ ิ                ิ         ื         
             จะเปนดําเนิน โครงการในประเทศกลม EIT ท่ีมีตนทุนต่ํากวาการลงทุนในลักษณะเดียวกันใน
                                                ุ
             ประเทศที่พัฒนาแลว ทั้งนี้ จะคิดปริมาณกาซที่ลดลงไดใหกับผดาเนนการเปนหนวยที่เรียกวา
                                                                         ู ํ ิ        
             Emission Reduction Units หรอ ERUs และโครงการดงกลาวจะตองผานการรบรองจาก
                                              ื                       ั                ั
             UNFCCC

           o กลไกการพฒนาทสะอาด (Clean Development Mechanism หรือ CDM) กลไกนี้
                           ั        ่ี
             กําหนดใหประเทศในกลุม Annex 1 สามารถดาเนนโครงการลดปรมาณกาซเรอนกระจก
                                                      ํ ิ                    ิ    ื
             รวมกับประเทศในกลุม Non – Annex 1 ได เพื่อชวยใหประเทศทพฒนาแลวบรรลเปาหมาย
                                                                        ่ี ั        ุ 
             ในการลดปรมาณกาซเรอนกระจกควบคู ไปกับการถายทอดเทคโนโลยีและชวยใหประเทศใน
                             ิ      ื
             กลุม Non – Annex 1 มีการพฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ทั้งนี้ หนวยของปรมาณกาซเรอนกระจก
                                        ั                                     ิ      ื
             ที่ลดไดที่ผานการรบรองจาก UNFCCC แลว จะถูกเรียกวา Certified Emission
                                 ั
             Reductions หรอ CERs โดยสามารถนาไปรวมกบปรมาณกาซเรอนกระจกที่ลดของประเทศ
                               ื               ํ           ั ิ          ื
             ที่ดําเนินการได


                                                  7
1.3 สถานการณการปลอยกาซเรอนกระจกของโลก
                  ื
                 จากขอมลขององคการสหประชาชาติ ประเทศในกลม Annex 1 ซงมพนธะในการลดการปลอย
                         ู                                 ุ                 ่ึ ี ั                      
     ภาพที่ 1-1 ปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกของกลมประเทศ Annex 1
                    ิ             ื                   ุ      กาซเรอนกระจก มการปลอยกาซเรอน
                                                                    ื                     ี          ื
                                                                              6
                                                                กระจก ในป 2548 ลดลงจากป 2533
                                                                                          5




                                                                รอยละ 2.8 เหลือ 18.2 พนลานตน
                                                                                                  ั  ั
                                                                เนื่องจากประเทศกลุม EIT ลดการปลอย            
                                                                กาซเรอนกระจกไดถึงรอยละ 35.2
                                                                     ื
                                                                ขณะทประเทศอตสาหกรรมปลอยกาซ
                                                                           ่ี           ุ                 
                                                                เรอนกระจกเพิ่มขึ้นรอยละ 11.0 อยางไร
                                                                     ื
                                                                ก็ดี เมอเทยบกบปรมาณกาซเรอนกระจก
                                                                         ่ื ี ั ิ                     ื
                                                                ที่ตองลดภายใตพิธีสารเกียวโต พบวา
                                                                ประเทศในกลุมนี้ยังตองลดปริมาณการ
                                                                ปลอยกาซเรอนกระจกอีกถึงรอยละ 2.4
                                                                         ื                           
                                                                และเมื่อเทียบกับระยะเวลาที่เหลือจะเห็น
                                                                ไดวา ประเทศเหลานยงมภาระอกมากใน
                                                                                           ้ี ั ี        ี
    หมายเหตุ: 1 Tg หรือ Teragram มีคาเทากับ 1 ลานตัน         การลดการปลอยกาซเรอนกระจก
                                                                                         ื
    ที่มา: National greenhouse gas inventory data for the period 1990–2005, UNFCCC
                                                                         นอกจากน้ี จากขอมลของ
                                                                                        ู
องคการสหประชาชาติ ในป 2547 ทั่วโลกมการปลอยคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนกาซที่มีสัดสวนมากที่สุดใน
                                     ี
กลุมของกาซเรือนกระจกสูงถึง 27.8 พนลานตน ประเทศทมการปลอยคารบอนไดออกไซดสูงสุดคือ
                                   ั  ั           ่ี ี       
สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 22 ของปรมาณการปลอยคารบอนไดออกไซด ทั่วโลก รองลงมาคือ สาธารณรฐ
                                    ิ                                                        ั
ประชาชนจน และรัสเซีย คิดเปนรอยละ 18 และ 6 ตามลําดับ ทั้งนี้ องคการสหประชาชาติ คาดวา การปลอย
           ี                                                                                
กาซคารบอนไดออกไซดจะขยายตัวอยางตอเนื่องตามการเจรญเตบโตทางเศรษฐกจ โดยประเทศที่พัฒนาแลว
                                                        ิ ิ               ิ
มีสัดสวนในการปลอยลดลง ขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาจะมีการปลอยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสาธารณรฐประชาชน
                                                                                        ั
จนและอินเดีย ประเทศที่พัฒนาแลวจึงไดพยายามผลักดันใหประเทศกําลังพัฒนาควบคุมการปลอยคารบอนใน
 ี
อนาคต

           ในสวนของขอมลขององคกรอื่นๆ ที่ใหความสนใจในเรื่องสิ่งแวดลอมโลก ไดชี้ใหเห็นแนวโนมการ
                       ู
ขยายตวของปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกโดยเฉพาะในประเทศกาลงพฒนา เชนเดียวกับองคการ
       ั       ิ           ื                                 ํ ั ั
สหประชาชาติ เชน จากการประมาณการของ Netherlands Environmental Assessment Agency (PBL) 7
                   
ในป 2550 ท่ัวโลกมีการปลอยคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้นรอยละ 3 ตามการเพมขนของประชากรโลกและการ
                                                                      ่ิ ้ึ
6
    ไมรวมสวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินและปาไม
7
    http://www.mnp.nl/en/service/pressreleases/2008/20080613ChinacontributingtwothirdstoincreaseinCO2emissions.html
                                                                 8
ขยายตวทางเศรษฐกจ โดยสาธารณรฐประชาชนจีนมีการปลอยคารบอนไดออกไซดมากที่สุด คิดเปนรอยละ
      ั         ิ             ั
24 ของปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดทั่วโลก รองลงมาคือ สหรัฐ อเมริการอยละ 21 กลุม
                                                                         
ประชาคมยโรป 15 ประเทศ รอยละ 12 อินเดียรอยละ 8 และรสเซยรอยละ 6 เปนตน
          ุ                                       ั ี             

             อยางไรก็ดี มีการตั้งขอสังเกตวา การที่ประเทศกําลังพัฒนามีการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้น
มากนน สวนหน่ึงเปนผลจากการทประเทศอตสาหกรรมหรอประเทศพฒนาแลว เขาไปลงทนและยายฐานการ
        ้ั                        ่ี        ุ           ื          ั                ุ     
ผลิตอุตสาหกรรมที่ทําใหเกิดกาซเรือนกระจกไปยังประเทศกําลังพัฒนาที่ไมไดถูกําหนดใหลดปริมาณกาช
เรือนกระจก รวมทั้งเปนประเทศที่มีกฎหมายทางดานสิ่งแวดลอมไมเขมงวด จึงไดมีการเรียกรองใหประเทศ
อตสาหกรรมหรอพฒนาแลวเขาไปมสวนชวยในการลดการปลอยกาซเรอนกระจกในประเทศกาลงพฒนา
  ุ             ื ั                   ี                      ื                       ํ ั ั
เพิ่มขึ้น

1.4 แนวโนมการดาเนนงานภายหลง พิธีสารเกียวโต
             ํ ิ         ั
               กรอบการดาเนนการวาดวยการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศฉบับใหมที่จะนํามาบังคับใชภาย
                       ํ ิ                ่ี          ู ิ
หลังจากพิธีสารเกียวโตสิ้นสุดลงในป 2555 นน ยงอยในระหวางการพจารณาของประเทศภาคี โดยในระหวาง
                                         ้ั ั ู           ิ                            
วันที่ 1 – 12 ธนวาคม 2551 มการพจารณา กรอบการดาเนนการฯ ฉบบใหมทจะใชภายหลงจากป 2555 ใน
                 ั           ี      ิ            ํ ิ          ั    ่ี         ั
การประชม COP14 (The 14th Session of the Conference of the Parties to the Climate Change
             ุ
Convention) ณ เมือง Poznan ประเทศโปแลนด โดยจะมีการลงนามในขอตกลงรวมกันอย างเปนทางการใน
                                                                                  
การประชม COP15 ในป 2552 ทประเทศเดนมารก
           ุ                   ่ี              
               ภายใตกรอบการดาเนนการใหมน้ี มประเดนหลกใหพจารณา 2 ประเด็น คือ
                           ํ ิ        ี       ็ ั  ิ
               1) การกาหนดเปาหมายปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกของแตละประเทศ และ
                      ํ           ิ         ื              
          2) การสรางกลไกที่จะทําใหประเทศตลาดเกิดใหม (Emerging Market Nations) เชน สาธารณรฐ
                                                                                           ั
ประชาชนจีน และอินเดีย ยนยอมลดกาซเรอนกระจกตามเปาหมาย
                       ิ           ื               
             ทั้งนี้ เนื่องจากพิธีสารเกียวโตไมสามารถทําใหทุกประเทศใหสัตยาบันได ทาใหปรมาณการปลอย
                                                                                    ํ     ิ       
กาซเรอนกระจกของโลกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในสวนของประเทศกาลงพฒนา ซงจากการประมาณการของ
  ื                                                           ํ ั ั        ่ึ
                             8
กระทรวงพลังงานสหรัฐฯ พบวา ปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกทวโลกในป 2553 จะเพิ่มขึ้นจากป 2533
                               7     ิ              ื              ่ั
ซึ่งเปนปฐานของพิธีสารเกียวโต ถึงรอยละ 40.6 โดยประเทศในกลุม Annex 1 จะปลอยกาซเรอนกระจกลดลง
                                                                                    ื
เล็กนอย ขณะที่ประเทศอื่นปลอยกาซเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะกลุมประเทศกํา ลังพัฒนา มีผลใหสัดสวนการ
ปลอยกาซเรือนกระจกของกลุมประเทศนี้ เพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 30 เปนรอยละ 45 ของปรมาณกาซเรอน
                                                                                    ิ     ื
กระจกที่ปลอยทั่วโลก


8
  All eyes on emerging nations / CO2 emission cuts hinge on countries' classification, cooperation , Nov. 12, 08
http://www.yomiuri.co.jp/dy/national/20081112TDY04302.htm
                                                                9
นกวเคราะหตางชาตคาดวา ภายใตกรอบการดาเนนการใหม กลมประเทศ G-8 9 จะตั้งเปาหมาย
               ั ิ            ิ                     ํ ิ              ุ
ตามทตกลงกนไวในการประชมที่ฮอกไกโด เมื่อเดือนกรกฎาคม 2551 ที่ผานมา โดยจะลดปริมาณการปลอย
      ่ี      ั            ุ
กาซเรอนกระจกใหไดรอยละ 50 ภายในป 2593 และจะมการตงเปาหมายในระยะปานกลางในระหวางป 2563
   ื                                              ี     ้ั                              
ถึง 2573 สวนกลุมประชาคมยุโรปมีแนวโนมที่จะตั้งเปาหมายลดการปลอยกาซเรือนกระจกลงรอยละ 20
ภายในป 2563 สําหรับเปาหมายของประเทศอื่นๆ นั้น มีการคาดการณวา จะมีการแบงกลุมประเทศเพิ่มขึ้นให
สอดคลองกับระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ ซงมผลตอปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจก โดยอาจพจารณาจาก
                                       ่ึ ี  ิ                   ื                    ิ
ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติตอหัว (GDP per Capita) ปรมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตอหัว
                                                         ิ                  
และอตราสวนประสทธภาพพลงงาน (Energy Efficiency Ratios) เปนตน ประเทศทมการพฒนาเศรษฐกจ
     ั             ิ ิ       ั                                                 ่ี ี   ั       ิ
รวดเร็วมาก เชน สิงคโปร และเกาหลีใต ก็อาจถูกจัดอยูในกลุมเดียวกันกับประเทศกาวหนาทางอตสาหกรรม
                                                                                         ุ
(Industrially Advanced Nations)
            สําหรับกลไกที่จะทําใหประเทศตลาดเกิดใหมและประเทศกําลังพัฒนามีสวนรวมในการลดกาซ
                                                                                                  
เรอนกระจก โดยไมสรางภาระใหแกประเทศเหลานจนมากเกนไป นกวเคราะหคาดวา อาจมการนาวธการ
      ื                                        ้ี         ิ     ั ิ                  ี ํ ิี
กาหนดเปาหมายรายกลมอตสาหกรรมมาใช โดยจะมการกาหนดมาตรฐานในการปลอยกาซเรอนกระจก
    ํ                   ุ ุ                          ี     ํ                          ื
สําหรับกลุมอุตสาหกรรมทมการปลอยมลภาวะมาก เชน อตสาหรรมการผลตเหลก และอตสาหกรรมการผลต
                            ่ี ี                         ุ               ิ     ็      ุ              ิ
อลูมิเนียม ซึ่งความสําเร็จของวิธีนี้จะขึ้นอยูกับความชวยเหลือทั้งดานเทคโนโลยีและเงินทุนจากประเทศ
อตสาหกรรม อยางไรก็ดี ยงไมมการเสนอใหกําหนดบทลงโทษสาหรบประเทศทไมสามารถลดการปล อยกาซ
  ุ                           ั  ี                               ํ ั          ่ี                   
เรอนกระจกไดตามทกาหนด
        ื          ่ี ํ
              อนึ่ง มการคาดการณวา จะมการเจรจากบรฐบาลสหรฐฯ และสาธารณรฐประชาชนจน ซึ่งเปน
                     ี               ี          ั ั       ั              ั               ี
ประเทศที่ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุดในโลก เพื่อใหทั้งสองประเทศยอมเขารวมในการลดการ
ปลอยกาซเรอนกระจก ภายหลงจากนายโอบามาเขารบตาแหน งประธานาธบดเรยบรอยแลวในเดอนมกราคม
      ื                     ั                  ั ํ               ิ ี ี                  ื
2552 ทั้งนี้ การเขารวมในกรอบการดําเนินการฯ ฉบับใหมของสหรัฐฯ เปนที่สนใจของผูที่เกี่ยวของ เนื่องจาก
นายโอบามาไดกลาวไวในการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีวา ภายในป 2593 สหรัฐฯ จะลดการปลอยกาซ     
เรอนกระจกลงจากป 2533 ถึงรอยละ 80 ในขณะที่ปจจุบัน สหรัฐฯ ไมไดรวมใหสัตยาบัน โดยใหเหตุผลวา
  ื                             
การกาหนดปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกจะมผลกระทบตอความสามารถในการแขงขนของภาคธรกจ
      ํ        ิ            ื               ี                                 ั               ุ ิ
สหรัฐฯ
             อยางไรก็ดี จากผลการประชม COP14 อยางเปนทางการ พบวายังไมมีขอสรุปที่ ชดเจนใน 2
                                        ุ                                                  ั
ประเด็นดังกลาว แตไดมีมติที่จะผลักดันใหมีการใช Adaptation Fund ซึ่งเปนกองทุนที่มีอยูแลวภายใต พิธีสาร
เกียวโตเพอชวยเหลอประเทศกาลงพฒนาในการลดการปลอยกาซเรอนกระจกที่เกิดจากการลดลงของพื้นที่ปา
          ่ื       ื           ํ ั ั                      ื
และคุณภาพของปา และการจดการผลกระทบจากภยธรรมชาตท่ีเกิดขึ้น โดยกองทุนดังกลาวจะระดมทุนโดย
                              ั                    ั         ิ
การเกบเงนคาธรรมเนยมจากโครงการ CDM เมื่อไดรับการขึ้นทะเบียนจาก UNFCCC
      ็ ิ            ี


9
    ประเทศในกลุม G-8 (Group of Eight) ประกอบดวยสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร เยอรมนี แคนาดา อิตาลี ญี่ปุน และรัสเซีย
                                                                  10
บทที่ 2

                                               ตลาดคารบอนเครดิต
                                                      


2.1 คารบอนเครดิตคืออะไร
            คารบอนเครดต คือ กรรม สิทธิ์ ใน ปรมาณกาซเรอนกระจกทลดได
                          ิ                         ิ      ื         ่ี         ภายใตพธสาร
                                                                                        ิี
เกียวโต ทั้งที่เกิด จากกลไกการซอขายสทธการปลอยกาซเรอนกระจก (ET) กลไกการดาเนนการ
                               ้ื     ิ ์ิ          ื                               ํ ิ
รวมกน (JI) และกลไกการพฒนาทสะอาด (CDM) การซอขายคารบอนเครดต จะทา ในลักษณะท่ีเรยกวา
  ั                         ั    ่ี                    ้ื               ิ     ํ           ี 
Cap and Trade นั่นคือ ประเทศหรือผูผลิตรายใดมี ปลอยกาซเรอนกระจกมากหรอนอยกวาโควตาการปลอย
                                                     ื                    ื                 
กาซเรอนกระจกสุทธิที่ไดรับ ประเทศหรือผูผลิตรายดังกลาวก็จะสามารถทาการซื้อหรือขายคารบอนเครดต กับ
   ื                                                             ํ                         ิ
ประเทศหรือผูผลิตอื่นๆ ได
                    การซอขายคารบอนเครดิตนั้น ทาในตลาดที่เรียกวาตลาดคารบอน (Carbon Market) คารบอน
                            ้ื                                ํ                                                       
เครดิตท่มการซอขายกนน้ีจะถกนาไปหักจากบญชการปลอยกาซเรอนกระจกของประเทศ
             ี ี       ้ื      ั        ู ํ                       ั ี     ื
                                                                            ผูซื้อ และหกจากบญชปรมาณการลดกาซเรอน
                                                                                         ั      ั ี ิ                 ื
    ตารางท่ี 2-1 คาศกยภาพในการทาใหโลกรอนของกาซเรอนกระจก
                      ั               ํ                     ื           กระจกของประเทศผขาย ทั้งนี้ การซอขาย
                                                                                                       ู         ้ื
                                        คาศกยภาพในการทาใหโลกรอน
                                          ั                     ํ   
                                                                            คารบอนเครดตจะคานวณในหนวยของ
                                                                                            ิ     ํ           
              กาซเรอนกระจก
                  ื                                                        Carbon Dioxide Equivalent (CO2e) ซึ่งเปน
                                         (เทาของคารบอนไดออกไซด)
                                                        
    1. คารบอนไดออกไซด (CO2)
                                                           1               การแปลงคากาซเรอนกระจกแตละชนิดจาก
                                                                                                 ื
    2. มีเทน (CH4)                                         21               ศกยภาพในการทาใหโลกรอน (Global
                                                                             ั                 ํ  
    3. ไนตรัสออกไซด (N2O)                                 310              Warming Potential: GWP) โดยเทยบกบกาซ ี ั 
    4. ไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFCs)                    140 - 11,700           คารบอนไดออกไซด กาซเรอนกระจกแตละ
                                                                                                          ื         
    5. เปอรฟลูออโรคารบอน (PFCs)                    6,500 - 9,200
                                                                            ชนดจะมีสัดสวนในการแปลงคาไมเทากัน ดัง
                                                                                ิ
    6. ซัลเฟอรเฮกซาฟลูโอไรด (SF6)                     23,900
                                                                            แสดงในตารางท่ี 2-1 เชน กาซมีเทนมีคา
                                                                                                            
ที่มา: องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก
                                                                            GWP เทากบ 21 CO2e แสดงวา การลดการ
                                                                                        ั
ปลอยกาซมเทน 1 ตัน จะเทยบเทาการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 21 ตน โดยในเอกสารน้ีจะใช
       ี                           ี                                                           ั
หนวย “1 ตนคารบอน” แทน “1 ตน CO2e”
                 ั                           ั
             อนึ่ง หนึ่งหนวยของคารบอนเครดิตจากเกิดจากกลไก ET JI และ CDM มีคาเทากับ หนึ่งตัน
คารบอน
   




                                                           11
2.2 โครงสรางตลาดคารบอนเครดิต
                  
            การซ้ือขายคารบอนเครดตมี 2 ลักษณะ คือ 1) การซื้อขายโดยตรงระหวางผูผลิตคารบอนเครดิต
                                 ิ
และผูตองการซื้อคารบอนเครดิตโดยไมผานตลาดคารบอน มีทั้งในระดับรัฐบาลและเอกชน และ 2) การซอขาย
                                                                                           ้ื
คารบอนเครดตผานตลาดคารบอน (Carbon Exchange Market) เชนเดียวกับตลาดหลักทรัพย หรือตลาด
            ิ               
สินคาโภคภัณฑ ปจจุบันตลาดคารบอนถือไดวาเปนตลาดสนคาโภคภณฑประเภทหนง โดยธนาคารโลกได
                                                  ิ         ั            ่ึ
แบงชนดของคารบอนเครดตในตลาดคารบอนเครดตออกเปน 2 กลุมใหญ คือ คารบอนเครดิตที่เกิดจากการ
      ิ                 ิ                   ิ
ปลอยกาซเรอนกระจกนอยกวาโควตาท่ีพิธีสารเกียวโตกําหนด (Allowances) หรอ AAUs และคารบอนเครดต
      ื                                                                ื                    ิ
ที่เกิดจากโครงการที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Project – Based) เชน จากโครงการ JI (ERUs) และ
                                                                      
โครงการ CDM (CERs)
             ในป 2550 AAUs มีสวนแบงตลาดเกือบรอยละ 80 หรอสูงถึง 50.4 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จาก
                                                                  ื
มูลคาการซื้อขายทั้งสิ้น 64.0 พันลานดอลลารสหรัฐฯ เนื่องจากปรมาณ AAUs จากประเทศในแถบยโรป
                                                                ิ                         ุ
ตะวันออกและกลุมประเทศอดีตสหภาพโซเวียตมเปนจานวนมาก อีกทั้ง AAUs เปนคารบอนเครดิตที่มีความ
                                               ี  ํ
เสี่ยงนอยกวาคารบอนเครดตประเภทโครงการ เนื่องจากไมมีความเสี่ยงที่เกิดจากโครงการไมเปนไปตาม
                           ิ                                                        
เปาหมายที่คาดไว ทั้งแงของปริมาณกาซที่ลดไดจริง ซึ่งอาจไมเปนไปตามทคาดการณไว โครงการฯ ไมผาน
                                                                   ่ี
การรบรองของ UNFCCC หรออายของโครงการสนกวาทประมาณการ
      ั                       ื     ุ           ้ั  ่ี
            ตลาดคารบอนโดยทั่วไปมีองคประกอบหลัก ตามรปที่ 2-1 ซึ่งแสดงใหเห็นถึงวัฏจักรของคารบอน
                                                           ู                                         
เครดิตตั้งแตผูผลิตคารบอนเครดิต (Supplier or Project-Owners) นายหนา (Broker) หรอคนกลาง
                                                                                  ื
(Intermediary) ในการซอขายซึ่งทําหนาที่ในการชวยอํานวยความสะดวกในการซื้อขาย ชวยจับคูผูซื้อและ
                         ้ื
ผูขาย รวมถึงการชวยจัดการความเสี่ ยงในการซอขาย ไปจนถึงผูซื้อ/ผูใช (End User) และผูเกี่ยวของอื่นๆ ที่
                                              ้ื
ชวยอํานวยความสะดวกใหการคาคารบอนเครดิตเติบโตไดอยางรวดเร็ว ตอเนื่อง และมประสทธภาพ
                                                                                  ี ิ ิ




                                                   12
รูปที่ 2-1 โครงสรางตลาดคารบอน


                                                 กฎหมายและกฎระเบยบทเกยวของ
                                                                    ี ่ี ่ี 
           กรอบกฎหมาย: UNFCCC, EU Commission, Voluntary Standard Sponsors (CCX or Gold Standard…)
           กฎระเบยบ: UNFCCC Secretariat, CDM EB, JISC, Compliance Committee, National Agencies (DNAs…), (NGOs)
                 ี




            ดานผูผลิต                                        ดานคนกลาง
                                                                                                                ดานผูซื้อ/ผูใช
o ผพฒนาโครงการ ทั้งที่ลงทุนเอง
    ู ั                                                 o นายหนาซอขาย  ้ื                               o ผูซื้อที่ถูกกําหนดโควตา
และรวมลงทุนกับผูอื่น                                   o ผคาในตลาด
                                                             ู                           ERs            เชน เอกชนและรัฐบาลของ
                                            ERs
o ผูที่ถูกกําหนดโควตา (Mandated                        o ผูใหบริการระบบที่ใชใน     ตลาดรอง (มี       ประเทศในกลุม Annex 1
                                          ตลาดแรก
installations) ที่ตองการขายสิทธิ์ใน                     การซอขาย ้ื                    การประกัน)        o ผซอโดยความสมครใจ เชน
                                                                                                              ู ้ื            ั      
การปลอยกาซเรือนกระจก                                   o บริษททางการเงิน
                                                                     ั                                    บริษัทเอกชน หนวยงานภาครัฐ ,
o ผูสนับสนุนทางการเงิน เชน                             ภาคเอกชน (เชน ธนาคาร
                                                                                                         NGOs และเอกชนทั่วไป
                                         ผลิตภัณฑ                                       ผลิตภัณฑ
กองทุนคารบอน, ธนาคารรายใหญ                             บริษัทบริหารสินทรัพย และ
                                         ทางการเงน
                                                 ิ                                      ทางการเงน   ิ
o บริษัทที่ปรึกษา เชน บริษัทที่ปรึกษา
                                                        บริษัทประกันภัย) มบทบาทใน
                                                                              ี
                                         และการ                                            ที่มีการ
ในการพัฒนาโครงการ วิศวกร และ                             การใหสภาพคลอง คากําไร
                                         จัดหาแหลง                                     จดการความ
                                                                                         ั
NGOs                                                     จากสวนตาง จัดรูปแบบ
                                         เงินทุน                                            เสี่ยง
o ผูสนับสนุนการถายทอดการ
                                                        ผลิตภัณฑเพื่อการขอเงิน
พัฒนาดานเทคโนโลยี เชน บริษัท
                                                        ลงทุนและลดความเสี่ยง การ
ใหบริการเทคโนโลยีสะอาด                                  จัดหาเงินทุน และการสราง
o นโยบายทีเกียวของของทางการ
               ่ ่                                       ความหลากหลายทางการเงน     ิ
                                                         o ผูซื้อรายใหญที่ถูกกําหนด
                                                         โควตา  


                                                                ERs ตลาดแรก

                     บรการอนๆ ที่เกี่ยวของ เชน การควบคุมคุณภาพ, การใหคําปรึกษาทางกฎหมาย, การวิเคราะหขอมูล เปนตน
                       ิ   ่ื                 


    ที่มา: State and Trends of the Carbon Market 2008; World Bank




                                                                          13
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552
Carbon credit  - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552

ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้
ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้
ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้SCBEICSCB
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นDr.Choen Krainara
 
Carbon Footprint and Clean Development Mechanism
Carbon Footprint and Clean Development MechanismCarbon Footprint and Clean Development Mechanism
Carbon Footprint and Clean Development MechanismNstdaAcademy Nstda
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยRHB Banking Group
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553Dow P.
 
CCP-20121112
CCP-20121112 CCP-20121112
CCP-20121112 Shaen PD
 
Oppday CCP Q3/55
Oppday CCP Q3/55 Oppday CCP Q3/55
Oppday CCP Q3/55 Shaen PD
 

Ähnlich wie Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552 (10)

Carbon Credits
Carbon CreditsCarbon Credits
Carbon Credits
 
ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้
ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้
ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยกับความท้าทายสำคัญที่มองข้ามไม่ได้
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
Carbon Footprint and Clean Development Mechanism
Carbon Footprint and Clean Development MechanismCarbon Footprint and Clean Development Mechanism
Carbon Footprint and Clean Development Mechanism
 
Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
 
CCP-20121112
CCP-20121112 CCP-20121112
CCP-20121112
 
Oppday CCP Q3/55
Oppday CCP Q3/55 Oppday CCP Q3/55
Oppday CCP Q3/55
 

Mehr von Sarod Paichayonrittha

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teachSarod Paichayonrittha
 
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุสูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุSarod Paichayonrittha
 
อานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรอานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรSarod Paichayonrittha
 
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014
Ukti marketing brief make it happens -jan2014Sarod Paichayonrittha
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณSarod Paichayonrittha
 
Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Sarod Paichayonrittha
 
Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Sarod Paichayonrittha
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Sarod Paichayonrittha
 
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554Sarod Paichayonrittha
 
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูSarod Paichayonrittha
 
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996Sarod Paichayonrittha
 
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Sarod Paichayonrittha
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นSarod Paichayonrittha
 
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013Sarod Paichayonrittha
 
Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Sarod Paichayonrittha
 

Mehr von Sarod Paichayonrittha (20)

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
 
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุสูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
 
อานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรอานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตร
 
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
 
The new scada jun2014
The new scada jun2014 The new scada jun2014
The new scada jun2014
 
Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013
 
Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
Oil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v fOil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v f
 
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
 
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
 
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
 
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
 
ABB DC Circuit Breakers Catalog
ABB DC Circuit Breakers CatalogABB DC Circuit Breakers Catalog
ABB DC Circuit Breakers Catalog
 
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็น
 
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
 
China bullet train population 2013
China bullet train population 2013China bullet train population 2013
China bullet train population 2013
 
Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012
 

Carbon credit - นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด 2552

  • 1. Carbon Credit: นวตกรรมทางการเงนเพอโลกสะอาด ั ิ ่ื สารบญ ั คานา ํ ํ 2 บทคัดยอ 3 1. บทนา ํ 5 2. ตลาดคารบอนเครดิต  11 3. CERs: สินคาทางการเงนที่ไมควรมองขาม ิ 22 4. องคกรการเงนระหวางประเทศกบการคาคารบอนเครดต  ิ  ั   ิ 32 5. การซอขายคารบอนเครดิตในตางประเทศ ้ื   38 6. ประเทศไทยกบการซอขายคารบอนเครดต ั ้ื  ิ 49 7. บทสงทาย 59 ภาคผนวก 63 บรรณานกรม ุ 64
  • 2. คํานํา เนื้อหาในเอกสารฉบับนี้เปนรายงานผลการศึกษาคารบอนเครดิต : นวัตกรรมทางการเงินเพื่อโลกสะอาด มี มีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับสถานการณการคาคารบอนเครดิตของโลก อันเปนผลสืบเนื่องจากพิธีสาร  เกียวโต (Kyoto Protocol) ที่เปดโอกาสใหประเทศพัฒนาแลวสามารถซื้อคารบอนเครดิต จากประเทศกําลังพัฒนา เพื่อลดปริมาณการปลอยก็าซเรือนกระจกในประเทศของตนเองตามขอผูกพันตามพิธีสารเกียวโต และจากที่ปจจุบัน ประเทศพัฒนาแลวดังกลาวมีดีมานดในการซื้อคารบอนเครดิต อีกเปนจํานวนมาก ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพสูงที่จะขาย สํานักงานที่ปรึกษาเศรษฐกิจเเละการคลัง ประจํากรุงโตเกียว ในฐานะผูจัดทํา หวังเปนอยางยิ่งวา รายงาน ฉบับนี้จะสามารถสรางความตระหนักแกหนวยงานที่เกี่ยวของในประเทศไทย ทั้งภาครัฐและเอกชนในภาคการเงิน  ภาคอุตสาหกรรม ภาคสิ่งแวดลอม นักวิชาการ ตลอดจนสื่อมวลชน ใหเห็นความสําคัญของการเตรียมระบบตางๆ เพื่อ รองรับการคาคารบอนเครดิต เนื่องจากประเทศไทยสามารถไดรับประโยชนในฐานะเปนผูรับการลงทุนจากตางประเทศ  เเละเปนผูมีศักยภาพที่จะไดรับประโยชนจากการขายคารบอนเครดิต ทั้งการสรางรายไดที่เพิ่มขึ้น ชวยลดภาวะโลกรอน และกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน โดยการสนับสนุนการลงทุนโครงการสะอาดเพื่อขายคารบอนเครดิต แก ตางประเทศ โดยเฉพาะในมิติของบริการการเงินและการพัฒนาระบบการเงินใหมท่ีจะสนับสนุนการคาดังกลาว ซึ่งใน ยุโรปมีการตั้งตลาดซื้อขายคารบอนเครดิต (Carbon Exchange Market) ในขณะที่ในญี่ปุนยังเปนการซื้อขายผาน นายหนา (Broker) หรือตัวกลาง (Intermediary) ระหวางผูซื้อและผูขายที่เปนเจาของโครงการ ในฐานะผูจัดทําจึงหวัง เปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะชวยจุดประกายใหหนวยงานที่เกี่ยวของชวยกันพัฒนาระบบการคาคารบอนเครดิตที่ เหมาะสมเพื่อใหประเทศไทยไดรับประโยชนสูงสุดจากการขายคารบอนเครดิต ทายนี้ ขอขอบคุณผูมีเกียรติ ผูทรงคุณวุฒิและหนวยงานตางๆ ที่มีสวนรวมในการจัดทํารายงานฉบับนี้ ไดแก ฯพณฯ นายสุวิทย สิมะสกุล เอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว ในฐานะผูผลักดันโครงการคนสําคัญและใหความอนุเคราะห จัดสรรงบประมาณจากโครงการสนับสนุนภารกิจตางประเทศแบบบูรณาการเพื่อจัดทํารายงานฉบับนี้ นายจุลพงษ ทวีศรี อัครราชทูตที่ปรึกษาฝายอุตสาหกรรม ประจํากรุงโตเกียว ในฐานะที่ปรึกษาเเละใหขอมูลทางดานเทคนิค องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ธนาคารเเหงประเทศไทย คณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยเเละตลาดหลักทรัพย ในฐานะใหคําปรึกษาเเละใหขอมูลทางดานการเงิน สถาบันการเงินตางๆ มูลนิธิ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะผประสานการจัดสัมมนา เรื่อง “Recent Development in Carbon ู Trading Market: Implications for Thailand’s Financial Market” ในวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งไดใชเปนขอมูลสําคัญในการจัดรายงานฉบับนี้ เเละหนวยงานเกี่ยวของอื่นๆ ที่มิไดกลาวถึง ณ ที่นี้ เเละที่สําคัญ ทีสดตองขอขอบคุณ นางสาวอาภรณ ชัยกุลเสรีวัฒน จากธนาคารเเหงประเทศไทย อดีตนักศึกษาปริญญาโท ่ ุ ทุนรัฐบาลญี่ปุน หลักสูตรนโยบายสาธารณะ ณ National Graduate Institute for Policy Studies ในฐานะผูรวบรวม ขอมูลเเละเรียบเรียงรายงานฉบับนี้ นางสาวเกตสุดา สุประดิษฐ อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝายเศรษฐกิจเเละการคลัง) ประจํากรุงโตเกียว 30 มกราคม 2552 ผูจัดทํา 2
  • 3. บทคัดยอ การเปลยนแปลงของสภาพภมอากาศทเปนผลจากภาวะโลกรอนเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและทวี ่ี ู ิ ่ี   ความรนแรงขน จนกลายเปนปญหาที่ทั่วโลกตระหนกถึงความสําคัญ ประเทศตางๆ ทั่วโลกจึงไดมีการทํา ุ ้ึ ั อนุสัญญาวาดวยการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate ่ี ู ิ Change: UNFCCC) รวมกันเพื่อแกปญหาภาวะโลกรอน และในภายหลังไดมีการทําขอตกลงเพิ่มเติมไดแก พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) เพื่อใหความรวมมอในการลดปรมาณกาซเรอนกระจกมีผลบังคับทาง  ื ิ  ื กฎหมาย โดยกําหนดใหภายในป พ.ศ. 2555 ทั่วโลกลดการปลอยกาซลงจากป 2533 รอยละ 5.2 และผลักดัน  ใหกลมประเทศที่พัฒนาแลวและเปนผูปลอยกาซเรือนกระจกรายใหญเปนผู นาในการลดการปลอยกาซเรอน ุ ํ   ื กระจก ในพิธีสารเกียวโตไดกําหนดกลไกเพื่อชวยลดภาระที่จะเกิดจากการลดการปลอยกาซเรอนกระจก   ื และสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนไว 3 กลไก ไดแก 1) การอนญาตใหประเทศในกลมทถกกาหนด ุ  ุ ่ี ู ํ ปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจก (Annex 1) สามารถซอขายสิทธิ์ในการปลอยกาซดังกลาวได 2) การ ิ   ื ้ื อนญาตใหประเทศในกลม Annex 1 รวมกนดาเนนโครงการลดการปลอยกาซเรอนกระจก และนาปรมาณกาซ ุ  ุ  ั ํ ิ   ื ํ ิ  ที่ลดไดจากโครงการดังกลาวมารวมกับบัญชีลดการปลอยกาซได และ 3) การอนญาตใหประเทศในกลม ุ  ุ Annex 1 รวมลงทุนกับประเทศท่ีเหลือดาเนนโครงการลดการปลอยกาซ และนําปริมาณกาซที่ลดไดมารวมกับ ํ ิ   บัญชีลดการปลอยกาซไดเชนเดียวกับกลไกที่ 2 กลไกดังกลาวไดทําใหเกิดการซื้อขายกรรมสิทธิ์ในความเปนเจาของกาซเรอนกระจกที่ลดได ซึ่ง ื เรียกเปนการทั่วไปวา คารบอนเครดิต และทําใหเกิดตลาดใหมที่เรียกวา ตลาดคารบอน ทั้งนี้ ในชวงที่ผานมา  ตลาดคารบอนมการขยายตวอยางรวดเรว อยางตอเนื่องตามความตองการของประเทศที่พัฒนาแลว เนื่องจาก  ี ั  ็ การขยายตัวทางเศรษฐกิจทําใหประเทศเหลานี้มีการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็มีพันธะที่ จะตองลดการปลอยกาซใหไดตามที่กําหนดภายในป 2555 ทั้งนี้ ในป 2550 มมลคาการซอขายในตลาด ี ู  ้ื คารบอนทั่วโลกสูงถึง 64,035 ลานดอลลารสหรฐฯ และมการคาดการณวาจะกลายเปนตลาดสนคาโภคภณฑท่ี  ั ี   ิ  ั  ใหญที่สุดในโลกในป 2020 ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่ไดรวมใหสัตยาบันพิธีสารเกียวโตที่จะลดการปลอยกาซเรือน กระจก แตไมอยูในกลุมที่ถูกกําหนดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก หากประเทศไทยดําเนินการลดการ ปลอยกาซโดยจัดทําในรูปแบบของโครงการภายใตกลไกที่ 3 กจะสามารถขายคารบอนเครดิตที่ไดรบการจด   ็ ั ทะเบยนจาก UNFCCC ใหกับประเทศอื่นหรือในตลาดคารบอนได แตเนื่องจากยังมีปจจัยที่เปนอุปสรรคใน ี  การผลตทั้งในสวนของผูผลิตคารบอนเครดตเอง การขาดประสบการณของสถาบันการเงินที่เปนแหลงทุนใน ิ  ิ  การดาเนนโครงการ และความไมพรอมของโครงสรางพนฐานทางการเงน หลายประการ ทาใหในปจจุบัน ํ ิ    ้ื ิ ํ ประเทศไทยมีโครงการที่ไดรับการจดทะเบียนคารบอนเครดตจาก UNFCCC แลวเพียง 2 โครงการ คิดเปน  ิ 3
  • 4. ปริมาณกาซเรือนกระจกที่คาดวาจะลดได 864,069 ตน ซึ่งถือวานอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณการซื้อขาย ั คารบอนเครดิตประเภทนี้ในตลาดโลกซึ่งสูงถึง 551 ลานตน ในป 2550  ั จากการศึกษาของหนวยงานที่เกี่ยวของพบวา อุตสาหกรรมของไทยหลายอตสาหกรรมมี ุ ศกยภาพทจะจดทาโครงการลดการปลอยกาซเรอนกระจกภายใตกลไกท่ี 3 ได ซึ่งหากภาครฐมการผลักดัน ั ่ี ั ํ   ื  ั ี และกําหนดนโยบายในดานนี้อยางชัดเจนและตอเนื่อง ก็จะชวยใหภาคเอกชนไทยมีการผลิตคารบอนเครดิต ขายในตลาดโลกเพมขน ซงนอกจากจะเปนการรกษาสภาพแวดลอม ทําใหโลกสะอาดและทําใหเกิดการพัฒนา ่ิ ้ึ ่ึ  ั  ทางเศรษฐกจที่ยั่งยืนแลว ยังเพิ่มรายไดใหแกประเทศไดอีกทางหนึ่ง ิ ทั้งนี้ นโยบายหรือมาตรการที่รัฐจะจัดทําดังกลาว ควรจัดทําอยางบูรณาการเพราะเกี่ยวของกับ  หลายหนวยงาน มความตอเนื่องและมีแผนระยะยาวที่จะรองรับ เนองจากการผลตและการคาคารบอนเครดต  ี ่ื ิ   ิ ยังเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย ผูที่เกี่ยวของยังขาดความรู ความเขาใจ และไมมีประสบการณตรงในดาน   น้ี โดยมาตรการดังกลาว อาจเริ่มจากมาตรการระยะสั้นที่มีจุดมุงหมายเพื่อใหมีการขยายการผลิตคารบอน เครดิตใหมีปริมาณมากพอที่จะดึงดูดผูซื้อจากตางประเทศ โดยมีภาครัฐเปนผูนําหลักในการผลักดัน ภาคอตสาหกรรมทมศกยภาพในการจั ดทาโครงการ CDM และการเปนที่ปรึกษาและใหความรูแกผูที่เกี่ยวของ ุ ่ี ี ั ํ ภายในประเทศ รวมถงการตดตอประสานงานกบสถาบนการเงนภายในประเทศและตางประเทศ เพอ ึ ิ  ั ั ิ  ่ื ประชาสัมพันธและเปนคนกลางใหกับผูผลิตในประเทศและผูซื้อในตางประเทศ ในสวนของมาตรการระยะปานกลาง อาจมีจุดมุงหมายเพอพฒนาตลาดรองสาหรบคารบอนเครดต  ่ื ั ํ ั  ิ ใหเกิดขึ้นในประเทศภายหลังจากที่มีการผลิตคารบอนเครดิตในปริมาณที่มากพอ ซึ่งจะชวยอานวยความ ํ สะดวก ลดตนทนในการทาธรกรรมซอขาย และทําใหเกิดราคาตลาดที่ผูที่เกี่ยวของใชในการอางอิงและใชเปน  ุ ํ ุ ้ื ขอมลประกอบการดาเนนธุรกจได โดยอาจนาสญญาซอขายคารบอนเครดตลวงหนาเขาซอขายในตลาด  ู ํ ิ ิ ํ ั ้ื  ิ    ้ื อนุพันธ เชนเดียวกับการซื้อขายทองคําลวงหนาที่บริษัทตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จะเปด  ใหมีการซื้อขายในชวงตนป 2552 และสาหรบมาตรการระยะยาว อาจมการพฒนาใหมการซอขายอนพนธ ท่ี ํ ั ี ั  ี ้ื ุ ั เกี่ยวของกับคารบอนเครดิตใหมีความซับซอนขึ้น เชน การซื้อขายสัญญาที่ผูถือมีสิทธิ์ซื้อหรือมีสิทธิ์ขาย (Option) หรือสัญญา Swap และอาจรวมถงการเชอมโยงกบตลาดคารบอนในตางประเทศ ึ ่ื ั   อยางไรก็ดี เพื่อใหนโยบาย/มาตรการท่ีทางการกําหนดมีความเหมาะสมและสัมฤทธิ์ผ ล ทางการ ควรมีการจัดตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาแนวทางการพฒนาตลาดคารบอนเครดตในประเทศไทย ท่และควรรบ ั  ิ ี ี ดําเนินการอยางเรงดวน เพื่อใหผูประกอบการสามารถผลิตคารบอนเครดิตเพื่อนําออกขายได อยางมี ประสทธภาพ ไดราคาทเหมาะสม ิ ิ  ่ี 4
  • 5. บทที่ 1 บทนา ํ 1.1 ความเปนมา  ปจจุบันโลกกําลังประ สบปญหาการเปลยนแปลงทางสภาพภมอากาศ (Climate Change)  ่ี ู ิ เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษยเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหกาซเรอนกระจกในบรรยากาศ เพิ่มขึ้น และ   ื นาไปสปรากฏกา รณ ทเรยกวาสภาวะ เรอนกร ะจก (Greenhouse Effect) หรอ ภาวะโลกรอน (Global ํ ู ่ี ี  ื ื  Warming) ภาวะดง กลาวไดทําใหอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จง มผลกระทบตอ การดารง ั  ึ ี  ํ ชีพของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งมนุษย และมีผลตอความหลากหลายทางชววทยาตามธรรมชาติ พื้นที่บางแหง ี ิ อาจกลายเปนทะเลทราย ในขณะเดียวกัน อุณหภูมิที่สูงขึ้นไดทําใหเกิดการละลายของน้ําแข็ งขั้วโลก สงผลให  ปริมาณน้ําในทะเลสูงขึ้น และทาใหพื้นที่บางแหงอาจประสบปญหานาทวมจนกระทงจมหายไปในทะเล ํ   ํ้  ่ั คณะกรรมการระหวางรฐบาลวาดวยการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศ  ั   ่ี ู ิ (Intergovernmental Panel on Climate Change) 1 คาดวาในศตวรรษที่ 21 น้ี โลกจะมี อุณหภูมิโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1.4 – 5.8 องศา เซลเซียส ระดับน้ําทะเลจะเพิ่มขึ้น 0.09 - 0.88 เมตร ซึ่งการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและ ตารางที่ 1-1 ผลกระทบทคาดวาจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ี่ ระดับน้ําทะเลนี้ สามารถทําใหเกิดน้ําทวม ความเปลี่ยนแปลงชวงศตวรรษที่ 21 ตัวอยางของผลกระทบ เกาะตางๆ ทาลายแนวปะการง และมีผล  ํ ั - ปญหาสุขภาพที่รุนแรงขึ้น วันอากาศรอนเพิ่มมากขึ้น กระแสคลื่น ใหเกิดการละลายของภูเขาน้ําแข็งในแถบ ความรอนรุนแรงขึ้น - สัตวเกิดความเครียดจากอากาศรอน - พืชผลเสียหาย ขั้วโลกเหนือและใตได อีกทั้งอาจทําใหเศษ - น้ําทวม ดินถลม หน่ึ งสวนสี่ ของสายพันธุ สัตวและพืชเกือบ เกิดเหตุการณรุนแรงดานภูมิอากาศ - การกัดเซาะหนาดิน มากขึ้น สูญพันธุไดกอนป 2050 นกเศรษฐศาสตร ั - พืชผลเสียหาย 2 - เพิ่มความเสี่ยงตอคุณภาพชีวิต ดานสิ่งแวดลอมชั้นนําของโลก ได พายุเขตรอนทวีความรุนแรงขึ้น 1 - เกิดโรคระบาด ประมาณการวา หากไม มีการแกไขปญหา  - พืชผลเสียหาย ที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ภัยแลงและน้ําทวมรุนแรงขึ้น - ผลิตผลการเกษตรลดลง - ศักยภาพดานการผลิตไฟฟาและพลังงานลดลง ภมอากาศจะสรางความเสยหายถง 1 ใน 5 ู ิ  ี ึ ภูมิอากาศในฤดูมรสุมหนารอนเขตเอเชีย - เกิดอุทกภัยและภัยแลงที่รุนแรงขึ้นในเขตเอเชีย ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติของ ทั้ง แปรปรวนมากขึ้น และเขตอบอุน  โลก มากกว าความเสยหายจากวกฤตทาง ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ี ิ (http://www.onep.go.th/CDM/cmc_today.html) การเงนมาก ิ 1 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (http://www.onep.go.th/CDM/cmc_today.html) 2 Top economist talks up risks of climate inaction (http://news.yahoo.com/s/afp/20081027/sc_afp/financebankingenvironmenthongkongstern) 5
  • 6. ความรนแรงของผลกระทบจากสภาวะดังกลาว ทาใหประเทศตางๆ ไดมีความพยายามรวมกันที่ ุ ํ จะแกไขปญหา โดยในป พ.ศ. 2535 ประเทศตางๆ ไดจัดทําขอตกลงที่เรียกวา อนุสัญญาวาดวยการ เปลยนแปลงสภาพภมอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: ่ี ู ิ UNFCCC) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดและรกษาระดบกาซเรอนกระจก (Greenhouse Gas) ใหอยูในระดับที่ไม ั ั  ื เปนอนตรายตอสภาวะอากาศของโลก ภายใตอนุสัญญาฉบับนี้ไดมีการแบงกลุมประเทศภาคี ออกเปน 2 กลุม  ั  ใหญ ไดแก 1) Annex 1 คือ กลมประเทศพฒนาแลวในกลม OECD (Organization for Economic Co- ุ ั  ุ Operation and Development) และประเทศที่อยูในชวงเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ (Economic in Transition: EIT) ในยโรปตะวนออก ยโรปกลาง และรสเซย 3 และ 2) Non-Annex 1 คือ กลมประเทศ ุ ั ุ ั ี2 ุ ภาคที่เหลือ โดยเกือบทั้งหมดเปนประเทศทกาลงพฒนา ทั้งนี้ เพื่อเปนการผลักดันใหประเทศพฒนาแลว ี  ่ี ํ ั ั  ั  ซึ่งมีสัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจกสูงกวาประเทศกําลังพัฒนาเปนผนาในการลดการปลอยกาซเรอน  ู ํ   ื กาซเรือนกระจกภายใตพิธีสารเกียวโต กระจก ปจจุบันมีประเทศสมาชิกภาคีทั้งสิ้น 191 กาซเรือนกระจกภายใตพธสารเกียวโต จะ  ิี ประเทศ อยูในกลุม Annex 1 จานวน 41 ประเทศ ํ ครอบคลุมเฉพาะกาซทีเกิดจากกิจกรรมของมนุษย ่ และกลุม Non-Annex 1 จานวน 150 ประเทศ  ํ (anthropogenic greenhouse gas emission) เทานัน ซึ่ง ้ อยางไรก็ตาม อนุสัญญาฯ ฉบบนี้ไมมีผล ั มีอยู 6 ชนิด ไดแก บังคับใชทางกฎหมาย การลดกาซเรอนกระจกจง  ื ึ 1) กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ขึ้นอยูกับความสมัครใจของประเทศภาคี ในป พ.ศ. 2) กาซมีเทน (CH4) 2540 จึงไดมีการทําขอตกลงเพิ่มเติมไดแก พิธีสาร 3) กาซไนตรัสออกไซด (N20) 4) กาซไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC) เกียวโต (Kyoto Protocol) ซึ่งมีผลบังคับทาง 5) กาซเพอรฟลูออโรคารบอน (PFC) และ กฎหมายโดยกําหนดใหภายในป พ.ศ. 2555 กลุม 6) กาซซัลเฟอรเฮกซะฟลูออไรด (SF6) ประเทศ Annex 1 4 จะตองลดปริมาณการปลอยกาซ เรือนกระจกใหไดอยางนอยรอยละ 5.2 ของปรมาณ ิ กาซเรอนกระจกทปลอยในป พ.ศ. 2533 โดยแตละประเทศในกลมนจะถกกาหนดเปาหมายในการลดปรมาณ  ื ่ี   ุ ้ี ู ํ  ิ การปลอยกาซเรอนกระจกในอตราทตางกน ข้ึนอยกบปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกของแตละประเทศ 5   ื ั ่ี  ั ู ั ิ   ื  4 เชน ประเทศญี่ปุนและประชาคมยุโรป จะตองลดปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกจากปฐาน 2533 รอยละ 6 ิ   ื  และ 8 ตามลําดับ นอกจากน้ี ประเทศเหลานี้จะตองสงรายงานแหงชาติ (National Inventories) และใหความ สนบสนนทางดานการเงนและเทคโนโลยีแกประเทศอื่นๆ ดวย ทั้งนี้ พิธีสารดังกลาวไมมการกาหนด ั ุ  ิ  ี ํ บทลงโทษ หากประเทศภาคีไมสามารถดาเนนการตามเปาหมายทกาหนดไวได  ํ ิ  ่ี ํ  3 ไดแก ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, เบลารส, เบลเยียม, บัลแกเรีย, แคนาดา, โครเอเชย, สาธารณรฐเชก, เดนมารก, เอสโตรเนย, ฟนแลนด, ฝรั่งเศส, ุ ี ั ็  ี เยอรมนี, กรีซ, ฮังการี, ไอซแลนด, ไอรแลนด, อิตาลี, ญี่ปุน, เกาหลใต, ลัตเวีย, ลิกเตนสไตน, ลิทัวเนีย, ลักเซมเบิรก, โมนาโก, เนเธอรแลนด, ี นิวซีแลนด, นอรเวย, โปแลนด, โปรตุเกส, โรมาเนย, สหพันธรัฐรัสเซีย, สโลวาเกย, สโลวีเนีย, สเปน, สวเดน, สวิตเซอรแลนด, ตุรกี, ยเครน, ี ี ี ู สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ และสหรัฐอเมริกา ในกลุมนี้จํานวน 23 ประเทศ (ที่ขีดเสนใต) หรือที่เรียกวา กลุม Annex 2 มี หนาที่ในการชวยเหลือประเทศกําลังพัฒนาทั้งดานเทคโนโลยีและการเงิน 4 ยกเวนสหรัฐอเมริกาที่ไมไดใหสัตยาบันตอพิธีสารโตเกียว 5 ภาคผนวก 1 6
  • 7. สําหรับกลุมประเทศ Non-Annex 1 นั้น ภายใตพิธีสารเกียวโตไมมีการ กาหนดปรมาณการปลอย ํ ิ  กาซเรอนกระจก แตตองจดทาและสงรายงานบญชีแหงชาติ (National Inventories) แสดงปรมาณการปลอย  ื ั ํ ั ิ  กาซในแตละป ตลอดจนมาตรการและนโยบายตาง ๆ ที่แตละประเทศจัดทําขึ้นเพื่อชวยแกปญหาหรือแกไข    ผลกระทบทเกดจากภาวะโลกรอน อันเปนขอตกลงตามอนุสัญญาฯ ที่ทุกประเทศภาคีตองปฏิบัติตาม ่ี ิ  1.2 กลไกการลดกาซเรอนกระจกภายใตพธสารเกยวโต ื  ิ ี ี ในพิธีสารเกียวโตนั้นไดมีการกําหนดกลไกที่จะชวยใหประเทศในกลุม Annex 1 เลือกใช เพื่อให  สามารถลดกาซเรอนกระจกไดอยางเปนรป ธรรม และชวยลดภาระที่เกิดขึ้นจากการลดการปรมาณการปลอย  ื    ู  ิ  กาซเรอนกระจก อีกทั้งในบางกลไกยังชวยสนับสนนการลดกาซเรอนกระจกในประเทศทกาลงพฒนาอกดวย  ื ุ  ื ่ี ํ ั ั ี  ซึ่งกลไกดังกลาวมีดังนี้ o กลไกการซอขายสทธการปลอยกาซเรอนกระจก (Emission Trading: ET) กลไกนี้ ใช ้ื ิ ์ิ   ื เฉพาะประเทศในกลุม Annex 1 โดยอนุญาตให ประเทศในกลุม น้ีสามารถซื้อหรอขายสทธ์ิ ใน ื ิ การปลอย กาซเรอนกระจก ซึ่งมีปริมาณเปนหนวยที่เรียกวา Assigned Amount Units   ื หรือ AAUs ภายในกลุม Annex 1 ดวยกันเองได o กลไกการดาเนนการรวมกน (Joint Implementation หรือ JI) กลไกนี้กําหนดใหประเทศ ํ ิ  ั ในกลุม Annex 1 สามารถรวมกัน ดาเนนโครงการเพื่อลดปรมาณกาซเรอนกระจก สวนให ญ ํ ิ ิ  ื  จะเปนดําเนิน โครงการในประเทศกลม EIT ท่ีมีตนทุนต่ํากวาการลงทุนในลักษณะเดียวกันใน  ุ ประเทศที่พัฒนาแลว ทั้งนี้ จะคิดปริมาณกาซที่ลดลงไดใหกับผดาเนนการเปนหนวยที่เรียกวา ู ํ ิ   Emission Reduction Units หรอ ERUs และโครงการดงกลาวจะตองผานการรบรองจาก ื ั    ั UNFCCC o กลไกการพฒนาทสะอาด (Clean Development Mechanism หรือ CDM) กลไกนี้ ั ่ี กําหนดใหประเทศในกลุม Annex 1 สามารถดาเนนโครงการลดปรมาณกาซเรอนกระจก ํ ิ ิ  ื รวมกับประเทศในกลุม Non – Annex 1 ได เพื่อชวยใหประเทศทพฒนาแลวบรรลเปาหมาย   ่ี ั  ุ  ในการลดปรมาณกาซเรอนกระจกควบคู ไปกับการถายทอดเทคโนโลยีและชวยใหประเทศใน ิ  ื กลุม Non – Annex 1 มีการพฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ทั้งนี้ หนวยของปรมาณกาซเรอนกระจก ั  ิ  ื ที่ลดไดที่ผานการรบรองจาก UNFCCC แลว จะถูกเรียกวา Certified Emission ั Reductions หรอ CERs โดยสามารถนาไปรวมกบปรมาณกาซเรอนกระจกที่ลดของประเทศ ื ํ ั ิ  ื ที่ดําเนินการได 7
  • 8. 1.3 สถานการณการปลอยกาซเรอนกระจกของโลก    ื จากขอมลขององคการสหประชาชาติ ประเทศในกลม Annex 1 ซงมพนธะในการลดการปลอย  ู  ุ ่ึ ี ั  ภาพที่ 1-1 ปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกของกลมประเทศ Annex 1 ิ   ื ุ กาซเรอนกระจก มการปลอยกาซเรอน  ื ี   ื 6 กระจก ในป 2548 ลดลงจากป 2533 5 รอยละ 2.8 เหลือ 18.2 พนลานตน  ั  ั เนื่องจากประเทศกลุม EIT ลดการปลอย  กาซเรอนกระจกไดถึงรอยละ 35.2  ื ขณะทประเทศอตสาหกรรมปลอยกาซ ่ี ุ   เรอนกระจกเพิ่มขึ้นรอยละ 11.0 อยางไร ื ก็ดี เมอเทยบกบปรมาณกาซเรอนกระจก ่ื ี ั ิ  ื ที่ตองลดภายใตพิธีสารเกียวโต พบวา ประเทศในกลุมนี้ยังตองลดปริมาณการ ปลอยกาซเรอนกระจกอีกถึงรอยละ 2.4   ื  และเมื่อเทียบกับระยะเวลาที่เหลือจะเห็น ไดวา ประเทศเหลานยงมภาระอกมากใน  ้ี ั ี ี หมายเหตุ: 1 Tg หรือ Teragram มีคาเทากับ 1 ลานตัน การลดการปลอยกาซเรอนกระจก   ื ที่มา: National greenhouse gas inventory data for the period 1990–2005, UNFCCC นอกจากน้ี จากขอมลของ  ู องคการสหประชาชาติ ในป 2547 ทั่วโลกมการปลอยคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนกาซที่มีสัดสวนมากที่สุดใน  ี กลุมของกาซเรือนกระจกสูงถึง 27.8 พนลานตน ประเทศทมการปลอยคารบอนไดออกไซดสูงสุดคือ ั  ั ่ี ี  สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 22 ของปรมาณการปลอยคารบอนไดออกไซด ทั่วโลก รองลงมาคือ สาธารณรฐ ิ   ั ประชาชนจน และรัสเซีย คิดเปนรอยละ 18 และ 6 ตามลําดับ ทั้งนี้ องคการสหประชาชาติ คาดวา การปลอย ี   กาซคารบอนไดออกไซดจะขยายตัวอยางตอเนื่องตามการเจรญเตบโตทางเศรษฐกจ โดยประเทศที่พัฒนาแลว ิ ิ ิ มีสัดสวนในการปลอยลดลง ขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาจะมีการปลอยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสาธารณรฐประชาชน ั จนและอินเดีย ประเทศที่พัฒนาแลวจึงไดพยายามผลักดันใหประเทศกําลังพัฒนาควบคุมการปลอยคารบอนใน ี อนาคต ในสวนของขอมลขององคกรอื่นๆ ที่ใหความสนใจในเรื่องสิ่งแวดลอมโลก ไดชี้ใหเห็นแนวโนมการ   ู ขยายตวของปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกโดยเฉพาะในประเทศกาลงพฒนา เชนเดียวกับองคการ ั ิ   ื ํ ั ั สหประชาชาติ เชน จากการประมาณการของ Netherlands Environmental Assessment Agency (PBL) 7  ในป 2550 ท่ัวโลกมีการปลอยคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้นรอยละ 3 ตามการเพมขนของประชากรโลกและการ ่ิ ้ึ 6 ไมรวมสวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินและปาไม 7 http://www.mnp.nl/en/service/pressreleases/2008/20080613ChinacontributingtwothirdstoincreaseinCO2emissions.html 8
  • 9. ขยายตวทางเศรษฐกจ โดยสาธารณรฐประชาชนจีนมีการปลอยคารบอนไดออกไซดมากที่สุด คิดเปนรอยละ ั ิ ั 24 ของปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดทั่วโลก รองลงมาคือ สหรัฐ อเมริการอยละ 21 กลุม  ประชาคมยโรป 15 ประเทศ รอยละ 12 อินเดียรอยละ 8 และรสเซยรอยละ 6 เปนตน ุ  ั ี    อยางไรก็ดี มีการตั้งขอสังเกตวา การที่ประเทศกําลังพัฒนามีการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มขึ้น มากนน สวนหน่ึงเปนผลจากการทประเทศอตสาหกรรมหรอประเทศพฒนาแลว เขาไปลงทนและยายฐานการ ้ั   ่ี ุ ื ั  ุ  ผลิตอุตสาหกรรมที่ทําใหเกิดกาซเรือนกระจกไปยังประเทศกําลังพัฒนาที่ไมไดถูกําหนดใหลดปริมาณกาช เรือนกระจก รวมทั้งเปนประเทศที่มีกฎหมายทางดานสิ่งแวดลอมไมเขมงวด จึงไดมีการเรียกรองใหประเทศ อตสาหกรรมหรอพฒนาแลวเขาไปมสวนชวยในการลดการปลอยกาซเรอนกระจกในประเทศกาลงพฒนา ุ ื ั  ี    ื ํ ั ั เพิ่มขึ้น 1.4 แนวโนมการดาเนนงานภายหลง พิธีสารเกียวโต  ํ ิ ั กรอบการดาเนนการวาดวยการเปลยนแปลงสภาพภมอากาศฉบับใหมที่จะนํามาบังคับใชภาย ํ ิ   ่ี ู ิ หลังจากพิธีสารเกียวโตสิ้นสุดลงในป 2555 นน ยงอยในระหวางการพจารณาของประเทศภาคี โดยในระหวาง ้ั ั ู  ิ  วันที่ 1 – 12 ธนวาคม 2551 มการพจารณา กรอบการดาเนนการฯ ฉบบใหมทจะใชภายหลงจากป 2555 ใน ั ี ิ ํ ิ ั  ่ี ั การประชม COP14 (The 14th Session of the Conference of the Parties to the Climate Change ุ Convention) ณ เมือง Poznan ประเทศโปแลนด โดยจะมีการลงนามในขอตกลงรวมกันอย างเปนทางการใน  การประชม COP15 ในป 2552 ทประเทศเดนมารก ุ ่ี  ภายใตกรอบการดาเนนการใหมน้ี มประเดนหลกใหพจารณา 2 ประเด็น คือ  ํ ิ  ี ็ ั  ิ 1) การกาหนดเปาหมายปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกของแตละประเทศ และ ํ  ิ   ื  2) การสรางกลไกที่จะทําใหประเทศตลาดเกิดใหม (Emerging Market Nations) เชน สาธารณรฐ  ั ประชาชนจีน และอินเดีย ยนยอมลดกาซเรอนกระจกตามเปาหมาย ิ  ื  ทั้งนี้ เนื่องจากพิธีสารเกียวโตไมสามารถทําใหทุกประเทศใหสัตยาบันได ทาใหปรมาณการปลอย ํ ิ  กาซเรอนกระจกของโลกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในสวนของประเทศกาลงพฒนา ซงจากการประมาณการของ  ื  ํ ั ั ่ึ 8 กระทรวงพลังงานสหรัฐฯ พบวา ปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกทวโลกในป 2553 จะเพิ่มขึ้นจากป 2533 7  ิ   ื ่ั ซึ่งเปนปฐานของพิธีสารเกียวโต ถึงรอยละ 40.6 โดยประเทศในกลุม Annex 1 จะปลอยกาซเรอนกระจกลดลง   ื เล็กนอย ขณะที่ประเทศอื่นปลอยกาซเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะกลุมประเทศกํา ลังพัฒนา มีผลใหสัดสวนการ ปลอยกาซเรือนกระจกของกลุมประเทศนี้ เพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 30 เปนรอยละ 45 ของปรมาณกาซเรอน    ิ  ื กระจกที่ปลอยทั่วโลก 8 All eyes on emerging nations / CO2 emission cuts hinge on countries' classification, cooperation , Nov. 12, 08 http://www.yomiuri.co.jp/dy/national/20081112TDY04302.htm 9
  • 10. นกวเคราะหตางชาตคาดวา ภายใตกรอบการดาเนนการใหม กลมประเทศ G-8 9 จะตั้งเปาหมาย ั ิ   ิ   ํ ิ ุ ตามทตกลงกนไวในการประชมที่ฮอกไกโด เมื่อเดือนกรกฎาคม 2551 ที่ผานมา โดยจะลดปริมาณการปลอย ่ี ั  ุ กาซเรอนกระจกใหไดรอยละ 50 ภายในป 2593 และจะมการตงเปาหมายในระยะปานกลางในระหวางป 2563  ื   ี ้ั   ถึง 2573 สวนกลุมประชาคมยุโรปมีแนวโนมที่จะตั้งเปาหมายลดการปลอยกาซเรือนกระจกลงรอยละ 20 ภายในป 2563 สําหรับเปาหมายของประเทศอื่นๆ นั้น มีการคาดการณวา จะมีการแบงกลุมประเทศเพิ่มขึ้นให สอดคลองกับระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ ซงมผลตอปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจก โดยอาจพจารณาจาก ่ึ ี  ิ   ื ิ ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติตอหัว (GDP per Capita) ปรมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตอหัว ิ    และอตราสวนประสทธภาพพลงงาน (Energy Efficiency Ratios) เปนตน ประเทศทมการพฒนาเศรษฐกจ ั  ิ ิ ั ่ี ี ั ิ รวดเร็วมาก เชน สิงคโปร และเกาหลีใต ก็อาจถูกจัดอยูในกลุมเดียวกันกับประเทศกาวหนาทางอตสาหกรรม   ุ (Industrially Advanced Nations) สําหรับกลไกที่จะทําใหประเทศตลาดเกิดใหมและประเทศกําลังพัฒนามีสวนรวมในการลดกาซ   เรอนกระจก โดยไมสรางภาระใหแกประเทศเหลานจนมากเกนไป นกวเคราะหคาดวา อาจมการนาวธการ ื      ้ี ิ ั ิ   ี ํ ิี กาหนดเปาหมายรายกลมอตสาหกรรมมาใช โดยจะมการกาหนดมาตรฐานในการปลอยกาซเรอนกระจก ํ  ุ ุ ี ํ   ื สําหรับกลุมอุตสาหกรรมทมการปลอยมลภาวะมาก เชน อตสาหรรมการผลตเหลก และอตสาหกรรมการผลต ่ี ี   ุ ิ ็ ุ ิ อลูมิเนียม ซึ่งความสําเร็จของวิธีนี้จะขึ้นอยูกับความชวยเหลือทั้งดานเทคโนโลยีและเงินทุนจากประเทศ อตสาหกรรม อยางไรก็ดี ยงไมมการเสนอใหกําหนดบทลงโทษสาหรบประเทศทไมสามารถลดการปล อยกาซ ุ ั  ี ํ ั ่ี   เรอนกระจกไดตามทกาหนด ื  ่ี ํ อนึ่ง มการคาดการณวา จะมการเจรจากบรฐบาลสหรฐฯ และสาธารณรฐประชาชนจน ซึ่งเปน ี  ี ั ั ั ั ี ประเทศที่ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุดในโลก เพื่อใหทั้งสองประเทศยอมเขารวมในการลดการ ปลอยกาซเรอนกระจก ภายหลงจากนายโอบามาเขารบตาแหน งประธานาธบดเรยบรอยแลวในเดอนมกราคม   ื ั  ั ํ ิ ี ี   ื 2552 ทั้งนี้ การเขารวมในกรอบการดําเนินการฯ ฉบับใหมของสหรัฐฯ เปนที่สนใจของผูที่เกี่ยวของ เนื่องจาก นายโอบามาไดกลาวไวในการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีวา ภายในป 2593 สหรัฐฯ จะลดการปลอยกาซ   เรอนกระจกลงจากป 2533 ถึงรอยละ 80 ในขณะที่ปจจุบัน สหรัฐฯ ไมไดรวมใหสัตยาบัน โดยใหเหตุผลวา ื  การกาหนดปรมาณการปลอยกาซเรอนกระจกจะมผลกระทบตอความสามารถในการแขงขนของภาคธรกจ ํ ิ   ื ี   ั ุ ิ สหรัฐฯ อยางไรก็ดี จากผลการประชม COP14 อยางเปนทางการ พบวายังไมมีขอสรุปที่ ชดเจนใน 2 ุ    ั ประเด็นดังกลาว แตไดมีมติที่จะผลักดันใหมีการใช Adaptation Fund ซึ่งเปนกองทุนที่มีอยูแลวภายใต พิธีสาร เกียวโตเพอชวยเหลอประเทศกาลงพฒนาในการลดการปลอยกาซเรอนกระจกที่เกิดจากการลดลงของพื้นที่ปา ่ื  ื ํ ั ั   ื และคุณภาพของปา และการจดการผลกระทบจากภยธรรมชาตท่ีเกิดขึ้น โดยกองทุนดังกลาวจะระดมทุนโดย ั ั ิ การเกบเงนคาธรรมเนยมจากโครงการ CDM เมื่อไดรับการขึ้นทะเบียนจาก UNFCCC ็ ิ  ี 9 ประเทศในกลุม G-8 (Group of Eight) ประกอบดวยสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร เยอรมนี แคนาดา อิตาลี ญี่ปุน และรัสเซีย 10
  • 11. บทที่ 2 ตลาดคารบอนเครดิต  2.1 คารบอนเครดิตคืออะไร คารบอนเครดต คือ กรรม สิทธิ์ ใน ปรมาณกาซเรอนกระจกทลดได  ิ ิ  ื ่ี ภายใตพธสาร  ิี เกียวโต ทั้งที่เกิด จากกลไกการซอขายสทธการปลอยกาซเรอนกระจก (ET) กลไกการดาเนนการ ้ื ิ ์ิ   ื ํ ิ รวมกน (JI) และกลไกการพฒนาทสะอาด (CDM) การซอขายคารบอนเครดต จะทา ในลักษณะท่ีเรยกวา  ั ั ่ี ้ื  ิ ํ ี  Cap and Trade นั่นคือ ประเทศหรือผูผลิตรายใดมี ปลอยกาซเรอนกระจกมากหรอนอยกวาโควตาการปลอย   ื ื   กาซเรอนกระจกสุทธิที่ไดรับ ประเทศหรือผูผลิตรายดังกลาวก็จะสามารถทาการซื้อหรือขายคารบอนเครดต กับ  ื ํ  ิ ประเทศหรือผูผลิตอื่นๆ ได การซอขายคารบอนเครดิตนั้น ทาในตลาดที่เรียกวาตลาดคารบอน (Carbon Market) คารบอน ้ื  ํ   เครดิตท่มการซอขายกนน้ีจะถกนาไปหักจากบญชการปลอยกาซเรอนกระจกของประเทศ ี ี ้ื ั ู ํ ั ี   ื ผูซื้อ และหกจากบญชปรมาณการลดกาซเรอน ั ั ี ิ  ื ตารางท่ี 2-1 คาศกยภาพในการทาใหโลกรอนของกาซเรอนกระจก  ั ํ    ื กระจกของประเทศผขาย ทั้งนี้ การซอขาย ู ้ื คาศกยภาพในการทาใหโลกรอน  ั ํ   คารบอนเครดตจะคานวณในหนวยของ  ิ ํ  กาซเรอนกระจก  ื Carbon Dioxide Equivalent (CO2e) ซึ่งเปน (เทาของคารบอนไดออกไซด)   1. คารบอนไดออกไซด (CO2)  1 การแปลงคากาซเรอนกระจกแตละชนิดจาก ื 2. มีเทน (CH4) 21 ศกยภาพในการทาใหโลกรอน (Global ั ํ   3. ไนตรัสออกไซด (N2O) 310 Warming Potential: GWP) โดยเทยบกบกาซ ี ั  4. ไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFCs) 140 - 11,700 คารบอนไดออกไซด กาซเรอนกระจกแตละ   ื  5. เปอรฟลูออโรคารบอน (PFCs) 6,500 - 9,200 ชนดจะมีสัดสวนในการแปลงคาไมเทากัน ดัง ิ 6. ซัลเฟอรเฮกซาฟลูโอไรด (SF6) 23,900 แสดงในตารางท่ี 2-1 เชน กาซมีเทนมีคา   ที่มา: องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก GWP เทากบ 21 CO2e แสดงวา การลดการ  ั ปลอยกาซมเทน 1 ตัน จะเทยบเทาการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 21 ตน โดยในเอกสารน้ีจะใช   ี ี     ั หนวย “1 ตนคารบอน” แทน “1 ตน CO2e”  ั  ั อนึ่ง หนึ่งหนวยของคารบอนเครดิตจากเกิดจากกลไก ET JI และ CDM มีคาเทากับ หนึ่งตัน คารบอน  11
  • 12. 2.2 โครงสรางตลาดคารบอนเครดิต   การซ้ือขายคารบอนเครดตมี 2 ลักษณะ คือ 1) การซื้อขายโดยตรงระหวางผูผลิตคารบอนเครดิต  ิ และผูตองการซื้อคารบอนเครดิตโดยไมผานตลาดคารบอน มีทั้งในระดับรัฐบาลและเอกชน และ 2) การซอขาย ้ื คารบอนเครดตผานตลาดคารบอน (Carbon Exchange Market) เชนเดียวกับตลาดหลักทรัพย หรือตลาด  ิ   สินคาโภคภัณฑ ปจจุบันตลาดคารบอนถือไดวาเปนตลาดสนคาโภคภณฑประเภทหนง โดยธนาคารโลกได   ิ  ั ่ึ แบงชนดของคารบอนเครดตในตลาดคารบอนเครดตออกเปน 2 กลุมใหญ คือ คารบอนเครดิตที่เกิดจากการ  ิ  ิ  ิ ปลอยกาซเรอนกระจกนอยกวาโควตาท่ีพิธีสารเกียวโตกําหนด (Allowances) หรอ AAUs และคารบอนเครดต   ื ื  ิ ที่เกิดจากโครงการที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Project – Based) เชน จากโครงการ JI (ERUs) และ  โครงการ CDM (CERs) ในป 2550 AAUs มีสวนแบงตลาดเกือบรอยละ 80 หรอสูงถึง 50.4 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จาก ื มูลคาการซื้อขายทั้งสิ้น 64.0 พันลานดอลลารสหรัฐฯ เนื่องจากปรมาณ AAUs จากประเทศในแถบยโรป ิ ุ ตะวันออกและกลุมประเทศอดีตสหภาพโซเวียตมเปนจานวนมาก อีกทั้ง AAUs เปนคารบอนเครดิตที่มีความ ี  ํ เสี่ยงนอยกวาคารบอนเครดตประเภทโครงการ เนื่องจากไมมีความเสี่ยงที่เกิดจากโครงการไมเปนไปตาม  ิ   เปาหมายที่คาดไว ทั้งแงของปริมาณกาซที่ลดไดจริง ซึ่งอาจไมเปนไปตามทคาดการณไว โครงการฯ ไมผาน   ่ี การรบรองของ UNFCCC หรออายของโครงการสนกวาทประมาณการ ั ื ุ ้ั  ่ี ตลาดคารบอนโดยทั่วไปมีองคประกอบหลัก ตามรปที่ 2-1 ซึ่งแสดงใหเห็นถึงวัฏจักรของคารบอน ู  เครดิตตั้งแตผูผลิตคารบอนเครดิต (Supplier or Project-Owners) นายหนา (Broker) หรอคนกลาง  ื (Intermediary) ในการซอขายซึ่งทําหนาที่ในการชวยอํานวยความสะดวกในการซื้อขาย ชวยจับคูผูซื้อและ ้ื ผูขาย รวมถึงการชวยจัดการความเสี่ ยงในการซอขาย ไปจนถึงผูซื้อ/ผูใช (End User) และผูเกี่ยวของอื่นๆ ที่ ้ื ชวยอํานวยความสะดวกใหการคาคารบอนเครดิตเติบโตไดอยางรวดเร็ว ตอเนื่อง และมประสทธภาพ ี ิ ิ 12
  • 13. รูปที่ 2-1 โครงสรางตลาดคารบอน กฎหมายและกฎระเบยบทเกยวของ ี ่ี ่ี  กรอบกฎหมาย: UNFCCC, EU Commission, Voluntary Standard Sponsors (CCX or Gold Standard…) กฎระเบยบ: UNFCCC Secretariat, CDM EB, JISC, Compliance Committee, National Agencies (DNAs…), (NGOs) ี ดานผูผลิต ดานคนกลาง  ดานผูซื้อ/ผูใช o ผพฒนาโครงการ ทั้งที่ลงทุนเอง ู ั o นายหนาซอขาย  ้ื o ผูซื้อที่ถูกกําหนดโควตา และรวมลงทุนกับผูอื่น o ผคาในตลาด ู  ERs เชน เอกชนและรัฐบาลของ ERs o ผูที่ถูกกําหนดโควตา (Mandated o ผูใหบริการระบบที่ใชใน ตลาดรอง (มี ประเทศในกลุม Annex 1 ตลาดแรก installations) ที่ตองการขายสิทธิ์ใน การซอขาย ้ื การประกัน) o ผซอโดยความสมครใจ เชน ู ้ื ั  การปลอยกาซเรือนกระจก o บริษททางการเงิน ั บริษัทเอกชน หนวยงานภาครัฐ , o ผูสนับสนุนทางการเงิน เชน  ภาคเอกชน (เชน ธนาคาร  NGOs และเอกชนทั่วไป ผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑ กองทุนคารบอน, ธนาคารรายใหญ บริษัทบริหารสินทรัพย และ ทางการเงน ิ ทางการเงน ิ o บริษัทที่ปรึกษา เชน บริษัทที่ปรึกษา  บริษัทประกันภัย) มบทบาทใน ี และการ ที่มีการ ในการพัฒนาโครงการ วิศวกร และ การใหสภาพคลอง คากําไร จัดหาแหลง จดการความ ั NGOs จากสวนตาง จัดรูปแบบ เงินทุน เสี่ยง o ผูสนับสนุนการถายทอดการ  ผลิตภัณฑเพื่อการขอเงิน พัฒนาดานเทคโนโลยี เชน บริษัท  ลงทุนและลดความเสี่ยง การ ใหบริการเทคโนโลยีสะอาด จัดหาเงินทุน และการสราง o นโยบายทีเกียวของของทางการ ่ ่ ความหลากหลายทางการเงน ิ o ผูซื้อรายใหญที่ถูกกําหนด โควตา  ERs ตลาดแรก บรการอนๆ ที่เกี่ยวของ เชน การควบคุมคุณภาพ, การใหคําปรึกษาทางกฎหมาย, การวิเคราะหขอมูล เปนตน ิ ่ื  ที่มา: State and Trends of the Carbon Market 2008; World Bank 13