SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 45
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ผู ้ชุมนุม “ยึดครองวอลล์สตรีท”
            โกรธเคืองเรืองอะไร?
                        ่
                      สฤณี อาชวานันทกุล
            คอลัมน์ Info * Graphic * Fun ตอนที่ 2
เผยแพร่ครังแรกบนเว็บไซต์ ไทยพับลิก ้า www.thaipublica.org
          ้
                       20 ตุลาคม 2011


              งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                                    ั
              โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
                   ้                  ้
               กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
                     ่ี        ้                                                      ั                             ้
การประท ้วงภาคการเงิน
อเมริกน ภายใต ้ชอ
       ั          ื่
“Occupy Wall
Street” เริมวันที่ 17
           ่
กันยายน 2554 ภายใต ้
การนาของ
กลุม “กวนวัฒนธรรม”
   ่
(culture jamming)
สนับสนุนโดย
Anonymous
               ื่
กลุมแฮคเกอร์ชอดัง
     ่
                    2
จากจุดเริมต ้น การชุมนุมยืดเยือและขยายวง
          ่                    ้
กว ้างขึนเรือยๆ ในวันที่ 15 ตุลาคม 2011 “วัน
        ้ ่
เปลียนแปลงแห่งโลก” มีการชุมนุมประท ้วงใน
     ่
เมือง 951 แห่ง 82 ประเทศทั่วโลก…

                                   …พวกเขาโกรธ
                                   เรืองอะไร? สไลด์
                                       ่
                                   ของ Business
                                   Insider สรุปได ้ดี
                                   ผู ้เขียนจึงแปลและ
ที่ มา: http://occupywallst.org/   เรียบเรียงมาเล่า –
                                                        3
่      ่    ่     ั
เริมจากเรืองทีเห็นชด: สามปี หลังวิกฤติการเงินปี
2008 อัตราการว่างงานในอเมริกายังอยูในระดับ
                                      ่
สูงสุดหลังเศรษฐกิจถดถอยรุนแรงในทศวรรษ
             ่    ั้
1930 ไม่นับชวงสนๆ ต ้นทศวรรษ 1980




                                              4
ในเมืองานหายาก ผู ้ใหญ่จานวนมากจึงเลิกหา
     ่
 ่                    ่
สงผลให ้ “อัตราการมีสวนร่วมในระบบแรงงาน”
(participation ratio) ลดลงอย่างฮวบฮาบ




                                           5
อีกทังลักษณะของการว่างงานทุกวันนีก็ไม่ใชวา
     ้                              ้     ่ ่
                       ั ่
ว่างงานอย่างกะทันหัน: สดสวนผู ้ว่างงานทีไม่
                                        ่
ทางานมานานกว่า 6 เดือน สูงเป็ นประวัตการณ์
                                      ิ




                                                6
ไม่ได ้มีแต่คนงานก่อสร ้างเท่านันทีหางานไม่ได ้
                                ้ ่
          ั
จานวนสปดาห์ทมคนว่างงานมากทีสดก็สงเป็ น
                  ี่ ี              ่ ุ ู
                              ั
ประวัตการณ์ คือสูงกว่า 20 สปดาห์ (5 เดือน)
        ิ
               ั้
สะท ้อนว่าชนชนกลางก็ลาบากมาก




                                                  7
อัตราการว่างงาน 9% ทีพดถึงนันเท่ากับคน
                      ่ ู   ้
อเมริกน 14 ล ้านคน - คนทีอยากทางานแต่หา
      ั                   ่
งานไม่ได ้




                                          8
ตัวเลขทีกล่าวไปนันรวมเฉพาะคนทีเข ้าข่าย
        ่        ้              ่
นิยามทางการของ “คนว่างงาน” ถ ้าเรารวมคนที่
ทางานพาร์ตไทม์แต่อยากทางานประจา และคน
ทีเลิกหางานมาพักใหญ่ อัตราว่างงานคือ 17%
  ่




                                         9
พูดอีกอย่างคือ จานวนชาวอเมริกนทีมงานทาอยู่
                             ั ่ ี
ในระดับตาสุดนับจากต ้นทศวรรษ 1980 เป็ นต ้น
         ่
มา (และทีบมก่อนหน ้านันมาจากการทีสตรีเข ้าสู่
           ่ ู        ้            ่
ระบบแรงงาน จากทีเคยเป็ นแต่แม่บ ้าน)
                  ่




                                           10
ทังหมดนันคือสถานการณ์แรงงาน ดูไม่จดเลย
  ้     ้                         ื




                                         11
ทีนี้ เราลองมาดูอกด ้านหนึงของประเด็นนีบ ้าง ดู
                  ี       ่              ้
              ั ่ ี ิ         ั
ฝั่ งชาวอเมริกนทีชวตไม่เคยสุขสนต์เท่านีมาก่อน
                                       ้
นั่นคือ บรรดาเจ้าของทุน




                                             12
กาไรบริษัทต่างๆ พุงสูงทาลายสถิตอกครังหนึง
                  ่            ิ ี  ้   ่
ในปี 2010




                                            13
กาไรบริษัท (corporate profits ย่อว่า CP) คิด
      ั ่
เป็ นสดสวนของเศรษฐกิจทังระบบ (GDP) อยูใน
                         ้                 ่
ระดับสูงสุดตังแต่ทศวรรษ 1950 เป็ นต ้นมา
               ้
        ่   ั้
ยกเว ้นชวงสนๆ ปี 2007 ก่อนเกิดวิกฤติการเงิน




                                           14
ี ี
ประธานเจ ้าหน ้าทีฝ่ายบริหาร (ซอโอ) ได ้
                  ่
ค่าตอบแทนมากกว่าพนักงานทั่วไปถึง 350 เท่า
เพิมจาก 50 เท่าระหว่างปี 1960-1985
   ่




                                        15
้                      ี ี
ตังแต่ปี 1990 ค่าตอบแทนซอโอเพิม 300%
                                ่
ขณะทีกาไรบริษัทสูงขึนสองเท่า ค่าตอบแทน
       ่             ้
“พนักงานฝ่ ายผลิต” เพิมขึน 4% และค่าแรงขัน
                       ่ ้               ้
ตาลดลง (ตัวเลขทังหมดปรับตามเงินเฟ้ อแล ้ว)
  ่               ้




                                         16
ั่
ค่าจ ้างรายชวโมงเฉลียหลังปรับตามเงินเฟ้ อแล ้ว
                    ่
ไม่เพิมขึนเลยในรอบ 50 ปี ระหว่าง 1964-2008
       ่ ้




                                             17
ั้                 ่ ี ี
พูดสนๆ คือ... ขณะทีซอโอและผู ้ถือหุ ้นได ้เงิน
                                 ั ่
เป็ นกอบเป็ นกา ค่าจ ้างคิดเป็ นสดสวนของจีดพีี
กลับตกตาเป็ นประวัตการณ์
         ่             ิ




                                                 18
้
พูดอีกอย่างคือ ในการต่อสูระหว่าง “แรงงาน”
กับ “ทุน” ทุนเป็ นฝ่ ายชนะขาดลอย (ชายในภาพ
      ี
นียังชพไปวันๆ ในเมืองเลควูด ห่างจากวอลล์
  ้
สตรีทไปประมาณ 100 ไมล์ เขาคงเป็ น
“แรงงาน” ถ ้าไม่ตกงานและหางานใหม่ไม่ได ้)




                                        19
ี ิ
แน่นอน ชวตสุดยอดไปเลยถ ้าคุณอยูในกลุมผู ้มี
                                     ่   ่
รายได ้สูงสุด 1% ของชาวอเมริกนทังหมด
                                 ั ้
  ั ่
สดสวนรายได ้ก่อนหักภาษี ของคุณต่อรายได ้ทัง ้
ประเทศตอนนีสงสุดนับตังแต่ทศวรรษ 1920
                ้ ู       ้
เป็ นต ้นมา สูงเกือบ 2 เท่าของค่าเฉลียระยะยาว!
                                       ่




                                             20
และเศรษฐี 0.1% ทีรวยทีสดในอเมริกาเมือ
                  ่     ่ ุ          ่
เทียบกับคนอืนก็รวยกว่าเศรษฐี 0.1% ใน
            ่
ประเทศพัฒนาแล ้วประเทศอืนๆ  ่




                                         21
อันทีจริง ความเหลือม
      ่            ่
ล้าทางรายได ้ของ
                     ี
อเมริกาถ่างกว ้างเสยจน
ตอนนีอยูอนดับที่ 93 ใน
         ้ ่ ั
โลกในมาตรวัด “ความ
เท่าเทียมทางรายได ้”
จีนอยูอนดับสูงกว่า
        ่ ั
อเมริกา อินเดียกับ
อิหร่านก็สงกว่า
             ู


                     22
คงมีน ้อยคนทีมปัญหากับความเหลือมล้าทาง
              ่ ี                ่
รายได ้ถ ้าหาก “ความฝั นแบบอเมริกน” ยังดีอยู่
                                    ั
คือถ ้าคนขวนขวายเข ้าสู่ 1% นันได ้ แต่ความจริง
                              ้
คือโอกาสขยับฐานะในอเมริกาก็อยูจดตาสุดด ้วย
                                   ่ ุ ่




                                             23
ทังหมดนีแปลว่าอะไรในแง่ของฐานะ? มัน
  ้      ้
แปลว่าชาวอเมริกนทีรวยสุด 1% เป็ นเจ ้าของ
               ั ่
       ิ
ทรัพย์สนทางการเงิน 42% ของทังประเทศ และ
                                ้
คนทีรวยสุด 5% เป็ นเจ ้าของถึง 70%
    ่




                                       24
ิ
ทรัพย์สนทุกประเภทประมาณ 60% ของทัง้
         ่        ่    ่ ุ          ้
ประเทศอยูในมือคนทีรวยทีสด 5% (ภาพซาย)




                                        25
จาปั ญหาหนีมหาศาลของอเมริกาได ้ไหม ทีชาว
             ้                          ่
อเมริกนนับร ้อยล ้านคนเป็ นหนีทวมหัว? คนทีรวย
      ั                       ้ ่         ่
สุด 1% ไม่มปัญหานัน พวกเขาเป็ นเจ ้าของหนี้
               ี      ้
แค่ 5% ของหนีทงประเทศ
                 ้ ั้




                                           26
ทีนมาดูภาษี ...นีเป็ นยุคทีคนรวยควรหาเงินให ้
    ี้            ่        ่
เยอะๆ ในอเมริกา เพราะอัตราภาษี ทพวกเขาต ้อง
                                   ี่
จ่ายอยูใกล ้จุดตาสุดในประวัตศาสตร์
       ่        ่             ิ




                                           27
ั ่
สดสวนภาษี ทังหมดต่อรายได ้ของคนรวยสุด 1%
            ้
ตากว่าคนทีรวยรองลงมา 9% - และไม่สงไปกว่า
  ่       ่                       ู
คนกลุมรายได ้อืนๆ เท่าไรนัก
      ่        ่




                                      28
ี่   ่ ุ             ี้ ่
เศรษฐีทรวยทีสดในอเมริกามักชวาพวกเขาจ่าย
                      ึ่
ภาษี มากกว่าคนอืนๆ ซงก็จริง – คนรวยสุด 20%
                   ่
จ่ายภาษี 64% ของภาษี ทังหมด (กราฟล่าง) แต่
                         ้
นั่นเป็ นเพราะพวกเขามีรายได ้มากกว่าคนอืนด ้วย
                                        ่
(กราฟบน – 59%)




                                            29
ทีนเราก็มาถึงประเภทของบริษัทอเมริกนทีถก
    ี้                             ั ่ ู
ประณามมากทีสด และก็สมควรถูกประณามด ้วย
               ่ ุ
                               ื่     ั
นั่นคือ ธนาคารทังหลาย โจรชอดัง วิลลี ซตตัน
                   ้
เคยอธิบายว่าเขาปล ้นธนาคารเพราะ “เงินอยูท ี่
                                         ่
นั่น” นายคนนีรู ้ดีวาเขาพูดถึงอะไร
             ้       ่




                                           30
จาได ้ไหมตอนทีรัฐบาลอเมริกนเข ้าไปอุ ้ม
                  ่             ั
ธนาคาร? แล ้วจาได ้ไหมว่ารัฐบาลบอกว่าต ้องเอา
เงินภาษี ไปอุ ้มเพราะอะไร? พวกเขาบอกว่าเรา
ต ้องอุ ้มธนาคารไม่ให ้ล ้ม ธนาคารจะได ้ปล่อยกู ้
ให ้กับธุรกิจอเมริกนต่อไป ถ ้าพวกเขาปล่อยกู ้
                    ั
           ั
ไม่ได ้ สงคมจะล่มสลาย....




                                               31
โอเค พออุ ้มแล ้วธนาคารปล่อยกู ้หรือเปล่า?
                 ิ   ื่
เปล่าเลย ยอดสนเชอธนาคารตกลงอย่างฮวบ
                          ื ่
ฮาบ และจนถึงวันนีก็ยังไม่คนสูระดับก่อนวิกฤติ
                   ้




                                               32
แล ้วธนาคารทาอะไรตังแต่ปี 2007 ถ ้าไม่ปล่อยกู ้
                       ้
ให ้กับธุรกิจอเมริกน? ปล่อยกู ้ให ้กับรัฐบาล
                   ั
              ิ          ื้
อเมริกนน่ะส! ด ้วยการซอพันธบัตรรัฐบาลที่
       ั
                ี่
ปลอดความเสยง และหลักทรัพย์ทรัฐค้าประกัน
                                      ี่




                                             33
ทีน่าทึงคือ ธนาคารมีรายได ้ดอกเบียจากเงินที่
      ่  ่                          ้
พวกเขา ไม่ได ้ปล่อยกู ้ ด ้วย – จาก “ทุนสารอง
  ่
สวนเกิน” ทีฝากไว ้กับธนาคารกลาง ย ้อนไปตอน
               ่
                                        ิ
เกิดวิกฤติการเงิน ธนาคารกลางตัดสนใจชวยอุ ้ม ่
ธนาคารพาณิชย์ด ้วยการจ่ายดอกเบียให ้กับเงิน
                                      ้
    ่
สวนนีทไม่ได ้ปล่อยกู ้ ธนาคารก็กนดอกเบียนี้
        ้ ี่                      ิ       ้
ต่อไปอย่างสุข
สบาย (การเป็ น
ธนาคารนีมัน  ่
สุดยอดจริงๆ)

                                           34
แน่นอน ระหว่างนันธนาคารต่างๆ ก็กู ้เงินได ้ฟรีๆ
                  ้
เพราะธนาคารกลางหั่นอัตราดอกเบียนโยบายจน
                                  ้
เกือบศูนย์ ธนาคารก็หนดอกเบียเงินฝากตามจน
                    ั่       ้
เกือบศูนย์ พวกเขาจะได ้โกยเงินทังหมดที่
                                ้
ต ้องการได ้ – โดยแทบไม่มต ้นทุนอะไรเลย!
                         ี




                                             35
ี
ถ ้าคุณกู ้เงินได ้โดยแทบไม่เสยดอกเบีย และเอา
                                     ้
                                  ี่
เงินนันไปให ้รัฐบาลกู ้ปลอดความเสยงโดยได ้
        ้
                            ็
ดอกเบียสองสามเปอร์เซนต์ ก็เท่ากับว่าคุณปั๊ม
            ้
เงินได้เอง และตอนนีธนาคารต่างๆ ก็กาลังทา
                          ้
อย่างนัน สถาบัน Institutional Risk Analytics
          ้
   ี้ ่                         ่
ชวาธนาคารอเมริกนมีกาไร “สวนต่างดอกเบีย
                        ั                 ้
สุทธิ” (net interest margin) ถึง 211,000 ล ้าน
เหรียญสหรัฐในครึงปี แรก 2011 …สุดยอด!
                      ่



                                            36
่                      ่
และเจ ้ากาไรสวนต่างดอกเบียสุทธินันก็ชวยให ้
                          ้      ้
ธนาคารพาณิชย์ทากาไรได ้ 58,000 ล ้านเหรียญ
สหรัฐในครึงปี แรกของปี 2011
           ่




                                          37
่
และชวยทาให ้ภาคการเงินอเมริกนทากาไรสุทธิ
                               ั
เกือบสูงสุดเป็ นประวัตการณ์ – ในขณะทีภาค
                      ิ              ่
 ่
สวนอืนๆ ของประเทศดินรนกับอัตราว่างงาน 9%
       ่                ้




                                      38
และกาไรสุทธิของภาคการเงินก็กาลังไต่ระดับสู่
    ิ       ่         ั ่
สถิตใหม่ เมือคิดเป็ นสดสวนต่อกาไรสุทธิของ
ภาคธุรกิจอเมริกาทังประเทศ
                    ้




                                          39
แน่นอนว่าตัวเลขกาไรเหล่านันคือหลังจากที่
                          ้
ธนาคารจ่ายพนักงานธนาคารของพวกเขาไป
แล ้ว และตอนนีงานในภาคการเงินก็ยังเจ๋งอยู่ –
              ้
พนักงานธนาคารในนิวยอร์คมีเงินเดือนเฉลีย่
361,330 เหรียญสหรัฐในปี 2010 ไม่เลวเลย!




                                               40
เงินเดือนในภาคการเงินทีวานันสูงกว่าเงินเดือน
                            ่ ่ ้
เฉลียในภาคธุรกิจทังอเมริกาโดยรวม 6 เท่า
       ่               ้
    ึ่
(ซงตัวเลขหลังนีทจริงก็ตากว่าเงินเดือนเฉลียใน
                  ้ ี่    ่              ่
ภาครัฐ แต่นั่นเป็ นอีกประเด็นหนึง)่




                                           41
ดังนันนายธนาคารจึงไม่เดือดร ้อนอะไรเลยจริงๆ
     ้




                                          42
สุดท ้าย เราจะย ้อนมาดูภาพ “นาทีทอง” อีกที –
เหตุผลใหญ่ทผู ้ชุมนุมประท ้วงภาคการเงินโกรธ
                ี่
                                 ้ ั ่
มาก นั่นคือเรืองของค่าจ ้าง ตอนนีสดสวนค่าจ ้าง
              ่
ต่อจีดพตาสุดเป็ นประวัตการณ์
       ี ี ่            ิ




                                             43
ทีนคณก็รู ้แล ้วว่าผู ้ชุมนุมประท ้วงโกรธเรืองอะไร!
   ี้ ุ                                     ่




                                                 44
ุ ้      ่
       สไลด์ชดนีเป็ นสวนหนึงของคอลัมน์
                           ่
 Info * Graphic * Fun บนเว็บไซต์ไทยพับลิก ้า




แปลจากต ้นฉบับภาษาอังกฤษ “CHARTS: Here's
What The Wall Street Protesters Are So Angry
     About...” เว็บไซต์ Business Insider



 http://www.businessinsider.com/what-wall-
street-protesters-are-so-angry-about-2011-10   45

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Why Occupy Wall Street Protesters are Upset

ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012DrDanai Thienphut
 
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011Panda Jing
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนweeraboon wisartsakul
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 

Ähnlich wie Why Occupy Wall Street Protesters are Upset (17)

The next trillions
The next trillionsThe next trillions
The next trillions
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
Humane Capitalism
Humane CapitalismHumane Capitalism
Humane Capitalism
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การเงิน การธนาคาร การคลัง
การเงิน การธนาคาร การคลังการเงิน การธนาคาร การคลัง
การเงิน การธนาคาร การคลัง
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจน
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Sarinee Achavanuntakul
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 

Why Occupy Wall Street Protesters are Upset

  • 1. ผู ้ชุมนุม “ยึดครองวอลล์สตรีท” โกรธเคืองเรืองอะไร? ่ สฤณี อาชวานันทกุล คอลัมน์ Info * Graphic * Fun ตอนที่ 2 เผยแพร่ครังแรกบนเว็บไซต์ ไทยพับลิก ้า www.thaipublica.org ้ 20 ตุลาคม 2011 งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 2. การประท ้วงภาคการเงิน อเมริกน ภายใต ้ชอ ั ื่ “Occupy Wall Street” เริมวันที่ 17 ่ กันยายน 2554 ภายใต ้ การนาของ กลุม “กวนวัฒนธรรม” ่ (culture jamming) สนับสนุนโดย Anonymous ื่ กลุมแฮคเกอร์ชอดัง ่ 2
  • 3. จากจุดเริมต ้น การชุมนุมยืดเยือและขยายวง ่ ้ กว ้างขึนเรือยๆ ในวันที่ 15 ตุลาคม 2011 “วัน ้ ่ เปลียนแปลงแห่งโลก” มีการชุมนุมประท ้วงใน ่ เมือง 951 แห่ง 82 ประเทศทั่วโลก… …พวกเขาโกรธ เรืองอะไร? สไลด์ ่ ของ Business Insider สรุปได ้ดี ผู ้เขียนจึงแปลและ ที่ มา: http://occupywallst.org/ เรียบเรียงมาเล่า – 3
  • 4. ่ ่ ั เริมจากเรืองทีเห็นชด: สามปี หลังวิกฤติการเงินปี 2008 อัตราการว่างงานในอเมริกายังอยูในระดับ ่ สูงสุดหลังเศรษฐกิจถดถอยรุนแรงในทศวรรษ ่ ั้ 1930 ไม่นับชวงสนๆ ต ้นทศวรรษ 1980 4
  • 5. ในเมืองานหายาก ผู ้ใหญ่จานวนมากจึงเลิกหา ่ ่ ่ สงผลให ้ “อัตราการมีสวนร่วมในระบบแรงงาน” (participation ratio) ลดลงอย่างฮวบฮาบ 5
  • 6. อีกทังลักษณะของการว่างงานทุกวันนีก็ไม่ใชวา ้ ้ ่ ่ ั ่ ว่างงานอย่างกะทันหัน: สดสวนผู ้ว่างงานทีไม่ ่ ทางานมานานกว่า 6 เดือน สูงเป็ นประวัตการณ์ ิ 6
  • 7. ไม่ได ้มีแต่คนงานก่อสร ้างเท่านันทีหางานไม่ได ้ ้ ่ ั จานวนสปดาห์ทมคนว่างงานมากทีสดก็สงเป็ น ี่ ี ่ ุ ู ั ประวัตการณ์ คือสูงกว่า 20 สปดาห์ (5 เดือน) ิ ั้ สะท ้อนว่าชนชนกลางก็ลาบากมาก 7
  • 8. อัตราการว่างงาน 9% ทีพดถึงนันเท่ากับคน ่ ู ้ อเมริกน 14 ล ้านคน - คนทีอยากทางานแต่หา ั ่ งานไม่ได ้ 8
  • 9. ตัวเลขทีกล่าวไปนันรวมเฉพาะคนทีเข ้าข่าย ่ ้ ่ นิยามทางการของ “คนว่างงาน” ถ ้าเรารวมคนที่ ทางานพาร์ตไทม์แต่อยากทางานประจา และคน ทีเลิกหางานมาพักใหญ่ อัตราว่างงานคือ 17% ่ 9
  • 10. พูดอีกอย่างคือ จานวนชาวอเมริกนทีมงานทาอยู่ ั ่ ี ในระดับตาสุดนับจากต ้นทศวรรษ 1980 เป็ นต ้น ่ มา (และทีบมก่อนหน ้านันมาจากการทีสตรีเข ้าสู่ ่ ู ้ ่ ระบบแรงงาน จากทีเคยเป็ นแต่แม่บ ้าน) ่ 10
  • 12. ทีนี้ เราลองมาดูอกด ้านหนึงของประเด็นนีบ ้าง ดู ี ่ ้ ั ่ ี ิ ั ฝั่ งชาวอเมริกนทีชวตไม่เคยสุขสนต์เท่านีมาก่อน ้ นั่นคือ บรรดาเจ้าของทุน 12
  • 14. กาไรบริษัท (corporate profits ย่อว่า CP) คิด ั ่ เป็ นสดสวนของเศรษฐกิจทังระบบ (GDP) อยูใน ้ ่ ระดับสูงสุดตังแต่ทศวรรษ 1950 เป็ นต ้นมา ้ ่ ั้ ยกเว ้นชวงสนๆ ปี 2007 ก่อนเกิดวิกฤติการเงิน 14
  • 15. ี ี ประธานเจ ้าหน ้าทีฝ่ายบริหาร (ซอโอ) ได ้ ่ ค่าตอบแทนมากกว่าพนักงานทั่วไปถึง 350 เท่า เพิมจาก 50 เท่าระหว่างปี 1960-1985 ่ 15
  • 16. ี ี ตังแต่ปี 1990 ค่าตอบแทนซอโอเพิม 300% ่ ขณะทีกาไรบริษัทสูงขึนสองเท่า ค่าตอบแทน ่ ้ “พนักงานฝ่ ายผลิต” เพิมขึน 4% และค่าแรงขัน ่ ้ ้ ตาลดลง (ตัวเลขทังหมดปรับตามเงินเฟ้ อแล ้ว) ่ ้ 16
  • 17. ั่ ค่าจ ้างรายชวโมงเฉลียหลังปรับตามเงินเฟ้ อแล ้ว ่ ไม่เพิมขึนเลยในรอบ 50 ปี ระหว่าง 1964-2008 ่ ้ 17
  • 18. ั้ ่ ี ี พูดสนๆ คือ... ขณะทีซอโอและผู ้ถือหุ ้นได ้เงิน ั ่ เป็ นกอบเป็ นกา ค่าจ ้างคิดเป็ นสดสวนของจีดพีี กลับตกตาเป็ นประวัตการณ์ ่ ิ 18
  • 19. ้ พูดอีกอย่างคือ ในการต่อสูระหว่าง “แรงงาน” กับ “ทุน” ทุนเป็ นฝ่ ายชนะขาดลอย (ชายในภาพ ี นียังชพไปวันๆ ในเมืองเลควูด ห่างจากวอลล์ ้ สตรีทไปประมาณ 100 ไมล์ เขาคงเป็ น “แรงงาน” ถ ้าไม่ตกงานและหางานใหม่ไม่ได ้) 19
  • 20. ี ิ แน่นอน ชวตสุดยอดไปเลยถ ้าคุณอยูในกลุมผู ้มี ่ ่ รายได ้สูงสุด 1% ของชาวอเมริกนทังหมด ั ้ ั ่ สดสวนรายได ้ก่อนหักภาษี ของคุณต่อรายได ้ทัง ้ ประเทศตอนนีสงสุดนับตังแต่ทศวรรษ 1920 ้ ู ้ เป็ นต ้นมา สูงเกือบ 2 เท่าของค่าเฉลียระยะยาว! ่ 20
  • 21. และเศรษฐี 0.1% ทีรวยทีสดในอเมริกาเมือ ่ ่ ุ ่ เทียบกับคนอืนก็รวยกว่าเศรษฐี 0.1% ใน ่ ประเทศพัฒนาแล ้วประเทศอืนๆ ่ 21
  • 22. อันทีจริง ความเหลือม ่ ่ ล้าทางรายได ้ของ ี อเมริกาถ่างกว ้างเสยจน ตอนนีอยูอนดับที่ 93 ใน ้ ่ ั โลกในมาตรวัด “ความ เท่าเทียมทางรายได ้” จีนอยูอนดับสูงกว่า ่ ั อเมริกา อินเดียกับ อิหร่านก็สงกว่า ู 22
  • 23. คงมีน ้อยคนทีมปัญหากับความเหลือมล้าทาง ่ ี ่ รายได ้ถ ้าหาก “ความฝั นแบบอเมริกน” ยังดีอยู่ ั คือถ ้าคนขวนขวายเข ้าสู่ 1% นันได ้ แต่ความจริง ้ คือโอกาสขยับฐานะในอเมริกาก็อยูจดตาสุดด ้วย ่ ุ ่ 23
  • 24. ทังหมดนีแปลว่าอะไรในแง่ของฐานะ? มัน ้ ้ แปลว่าชาวอเมริกนทีรวยสุด 1% เป็ นเจ ้าของ ั ่ ิ ทรัพย์สนทางการเงิน 42% ของทังประเทศ และ ้ คนทีรวยสุด 5% เป็ นเจ ้าของถึง 70% ่ 24
  • 25. ิ ทรัพย์สนทุกประเภทประมาณ 60% ของทัง้ ่ ่ ่ ุ ้ ประเทศอยูในมือคนทีรวยทีสด 5% (ภาพซาย) 25
  • 26. จาปั ญหาหนีมหาศาลของอเมริกาได ้ไหม ทีชาว ้ ่ อเมริกนนับร ้อยล ้านคนเป็ นหนีทวมหัว? คนทีรวย ั ้ ่ ่ สุด 1% ไม่มปัญหานัน พวกเขาเป็ นเจ ้าของหนี้ ี ้ แค่ 5% ของหนีทงประเทศ ้ ั้ 26
  • 27. ทีนมาดูภาษี ...นีเป็ นยุคทีคนรวยควรหาเงินให ้ ี้ ่ ่ เยอะๆ ในอเมริกา เพราะอัตราภาษี ทพวกเขาต ้อง ี่ จ่ายอยูใกล ้จุดตาสุดในประวัตศาสตร์ ่ ่ ิ 27
  • 28. ั ่ สดสวนภาษี ทังหมดต่อรายได ้ของคนรวยสุด 1% ้ ตากว่าคนทีรวยรองลงมา 9% - และไม่สงไปกว่า ่ ่ ู คนกลุมรายได ้อืนๆ เท่าไรนัก ่ ่ 28
  • 29. ี่ ่ ุ ี้ ่ เศรษฐีทรวยทีสดในอเมริกามักชวาพวกเขาจ่าย ึ่ ภาษี มากกว่าคนอืนๆ ซงก็จริง – คนรวยสุด 20% ่ จ่ายภาษี 64% ของภาษี ทังหมด (กราฟล่าง) แต่ ้ นั่นเป็ นเพราะพวกเขามีรายได ้มากกว่าคนอืนด ้วย ่ (กราฟบน – 59%) 29
  • 30. ทีนเราก็มาถึงประเภทของบริษัทอเมริกนทีถก ี้ ั ่ ู ประณามมากทีสด และก็สมควรถูกประณามด ้วย ่ ุ ื่ ั นั่นคือ ธนาคารทังหลาย โจรชอดัง วิลลี ซตตัน ้ เคยอธิบายว่าเขาปล ้นธนาคารเพราะ “เงินอยูท ี่ ่ นั่น” นายคนนีรู ้ดีวาเขาพูดถึงอะไร ้ ่ 30
  • 31. จาได ้ไหมตอนทีรัฐบาลอเมริกนเข ้าไปอุ ้ม ่ ั ธนาคาร? แล ้วจาได ้ไหมว่ารัฐบาลบอกว่าต ้องเอา เงินภาษี ไปอุ ้มเพราะอะไร? พวกเขาบอกว่าเรา ต ้องอุ ้มธนาคารไม่ให ้ล ้ม ธนาคารจะได ้ปล่อยกู ้ ให ้กับธุรกิจอเมริกนต่อไป ถ ้าพวกเขาปล่อยกู ้ ั ั ไม่ได ้ สงคมจะล่มสลาย.... 31
  • 32. โอเค พออุ ้มแล ้วธนาคารปล่อยกู ้หรือเปล่า? ิ ื่ เปล่าเลย ยอดสนเชอธนาคารตกลงอย่างฮวบ ื ่ ฮาบ และจนถึงวันนีก็ยังไม่คนสูระดับก่อนวิกฤติ ้ 32
  • 33. แล ้วธนาคารทาอะไรตังแต่ปี 2007 ถ ้าไม่ปล่อยกู ้ ้ ให ้กับธุรกิจอเมริกน? ปล่อยกู ้ให ้กับรัฐบาล ั ิ ื้ อเมริกนน่ะส! ด ้วยการซอพันธบัตรรัฐบาลที่ ั ี่ ปลอดความเสยง และหลักทรัพย์ทรัฐค้าประกัน ี่ 33
  • 34. ทีน่าทึงคือ ธนาคารมีรายได ้ดอกเบียจากเงินที่ ่ ่ ้ พวกเขา ไม่ได ้ปล่อยกู ้ ด ้วย – จาก “ทุนสารอง ่ สวนเกิน” ทีฝากไว ้กับธนาคารกลาง ย ้อนไปตอน ่ ิ เกิดวิกฤติการเงิน ธนาคารกลางตัดสนใจชวยอุ ้ม ่ ธนาคารพาณิชย์ด ้วยการจ่ายดอกเบียให ้กับเงิน ้ ่ สวนนีทไม่ได ้ปล่อยกู ้ ธนาคารก็กนดอกเบียนี้ ้ ี่ ิ ้ ต่อไปอย่างสุข สบาย (การเป็ น ธนาคารนีมัน ่ สุดยอดจริงๆ) 34
  • 35. แน่นอน ระหว่างนันธนาคารต่างๆ ก็กู ้เงินได ้ฟรีๆ ้ เพราะธนาคารกลางหั่นอัตราดอกเบียนโยบายจน ้ เกือบศูนย์ ธนาคารก็หนดอกเบียเงินฝากตามจน ั่ ้ เกือบศูนย์ พวกเขาจะได ้โกยเงินทังหมดที่ ้ ต ้องการได ้ – โดยแทบไม่มต ้นทุนอะไรเลย! ี 35
  • 36. ี ถ ้าคุณกู ้เงินได ้โดยแทบไม่เสยดอกเบีย และเอา ้ ี่ เงินนันไปให ้รัฐบาลกู ้ปลอดความเสยงโดยได ้ ้ ็ ดอกเบียสองสามเปอร์เซนต์ ก็เท่ากับว่าคุณปั๊ม ้ เงินได้เอง และตอนนีธนาคารต่างๆ ก็กาลังทา ้ อย่างนัน สถาบัน Institutional Risk Analytics ้ ี้ ่ ่ ชวาธนาคารอเมริกนมีกาไร “สวนต่างดอกเบีย ั ้ สุทธิ” (net interest margin) ถึง 211,000 ล ้าน เหรียญสหรัฐในครึงปี แรก 2011 …สุดยอด! ่ 36
  • 37. ่ และเจ ้ากาไรสวนต่างดอกเบียสุทธินันก็ชวยให ้ ้ ้ ธนาคารพาณิชย์ทากาไรได ้ 58,000 ล ้านเหรียญ สหรัฐในครึงปี แรกของปี 2011 ่ 37
  • 38. ่ และชวยทาให ้ภาคการเงินอเมริกนทากาไรสุทธิ ั เกือบสูงสุดเป็ นประวัตการณ์ – ในขณะทีภาค ิ ่ ่ สวนอืนๆ ของประเทศดินรนกับอัตราว่างงาน 9% ่ ้ 38
  • 39. และกาไรสุทธิของภาคการเงินก็กาลังไต่ระดับสู่ ิ ่ ั ่ สถิตใหม่ เมือคิดเป็ นสดสวนต่อกาไรสุทธิของ ภาคธุรกิจอเมริกาทังประเทศ ้ 39
  • 40. แน่นอนว่าตัวเลขกาไรเหล่านันคือหลังจากที่ ้ ธนาคารจ่ายพนักงานธนาคารของพวกเขาไป แล ้ว และตอนนีงานในภาคการเงินก็ยังเจ๋งอยู่ – ้ พนักงานธนาคารในนิวยอร์คมีเงินเดือนเฉลีย่ 361,330 เหรียญสหรัฐในปี 2010 ไม่เลวเลย! 40
  • 41. เงินเดือนในภาคการเงินทีวานันสูงกว่าเงินเดือน ่ ่ ้ เฉลียในภาคธุรกิจทังอเมริกาโดยรวม 6 เท่า ่ ้ ึ่ (ซงตัวเลขหลังนีทจริงก็ตากว่าเงินเดือนเฉลียใน ้ ี่ ่ ่ ภาครัฐ แต่นั่นเป็ นอีกประเด็นหนึง)่ 41
  • 43. สุดท ้าย เราจะย ้อนมาดูภาพ “นาทีทอง” อีกที – เหตุผลใหญ่ทผู ้ชุมนุมประท ้วงภาคการเงินโกรธ ี่ ้ ั ่ มาก นั่นคือเรืองของค่าจ ้าง ตอนนีสดสวนค่าจ ้าง ่ ต่อจีดพตาสุดเป็ นประวัตการณ์ ี ี ่ ิ 43
  • 44. ทีนคณก็รู ้แล ้วว่าผู ้ชุมนุมประท ้วงโกรธเรืองอะไร! ี้ ุ ่ 44
  • 45. ุ ้ ่ สไลด์ชดนีเป็ นสวนหนึงของคอลัมน์ ่ Info * Graphic * Fun บนเว็บไซต์ไทยพับลิก ้า แปลจากต ้นฉบับภาษาอังกฤษ “CHARTS: Here's What The Wall Street Protesters Are So Angry About...” เว็บไซต์ Business Insider http://www.businessinsider.com/what-wall- street-protesters-are-so-angry-about-2011-10 45