SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Triple Bottom Line
แนวคิด ประโยชน และเครื่องมือในการประเมิน

                                                                                       สฤณี อาชวานันทกุล
                                                                                       25 กุมภาพันธ 2552

             งานนี้เผยแพรภายใตสัญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                                                                                                                          1
             โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้า แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะใน
                                        ํ
             กรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เทานั้น
                                          ํ
หัวขอนําเสนอ
   แนวคิดและประโยชน
   Global Reporting Initiative (GRI)
   ISO 26000
   ตัวอยางการวัด “ผลตอบแทนดานสังคม”
   สรุป


                                        2
แนวคิดและประโยชน



                    3
“Triple Bottom Line” คืออะไร?
“The triple bottom line focuses corporations not just on the economic
value they add, but also on the environmental and social value they add –
and destroy. At its narrowest, the term ‘triple bottom line’ is used as a
framework for measuring and reporting corporate performance against
economic, social and environmental parameters.”
             - John Elkington, The Ecology of Tomorrow’s World (1980)


Triple Bottom Line =            People, Planet, Profit

               สังคม                สิ่งแวดลอม              เศรษฐกิจ
                                                                            4
“ภาพใหญ” : การเปลียนผานไปสู “ระบอบทุนนิยมที่ยั่งยืน”
                   ่
“In our rapidly evolving capitalist economies, where it is in the
natural order of things for corporations to devour competing
corporations, for industries to carve up and digest other
industries, one emerging form of capitalism with a fork –
sustainable capitalism – would certainly constitute real
progress.”
        - John Elkington, Cannibals With Forks – The Triple
          Bottom Line of 21st Century Business (1997)

ถาวัดผลกระทบสุทธิดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของ
บริษัทไมได ก็เปลี่ยนวิธดําเนินธุรกิจไปสูวิถี “ธุรกิจที่ยั่งยืน” ไมได
                         ี
                                                                            5
“Triple Bottom Line” ไมใชผลกําไรของบริษท
                                         ั
  TBL หมายถึงผลตอบแทนสุทธิท่ีบริษัทสงมอบตอระบอบเศรษฐกิจ
  สังคม และสิ่งแวดลอม ไมใชประโยชนทางธุรกิจที่บริษัทไดรับ
  อยางไรก็ดี แนวคิดการทํา “ธุรกิจอยางยั่งยืน” เสนอวา บริษัทจะไดรับ
  ประโยชนทางธุรกิจจากกิจกรรมที่สรางผลตอบแทนตอสังคมและ
  สิ่งแวดลอมในระยะยาว
  ยกตัวอยางเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด : ผลตอบแทนดาน
  สิ่งแวดลอม = การลดการปลอยกาซเรือนกระจก และผลตอบแทนดาน
  การเงิน = การลดตนทุนในการดําเนินธุรกิจ (เชน คาใชจายเชื้อเพลิง)
  ดังนั้น เงื่อนเวลา (time horizon) จึงเปนประเด็นสําคัญในการคิดเรื่อง
  triple bottom line : บริษัทจะตองเปลียนวิสัยทัศนใหมองยาวขึ้น
                                        ่
                                                                         6
การทํา “บัญชี” ดานสังคมและสิงแวดลอมเปนเรื่องใหม...
                               ่
prehistory           1400AD               2000AD   future



                         INTUITION


                             STORIES


                                     SYSTEMS

  financial accounting
    environmental and social accounting
                                                            7
                                                            7
...แตเริ่มมีมาตรฐานสากล และปฏิญญาระดับโลกทีชวยวัด
                                            ่
          (People)                 (Planet)               (Profit)
          Social                   Environment            Economics
                                   Johannesburg Action   Taxes
                                   Plan
                                                         Antitrust laws and
                                   Rio Declaration       regulations
                                                         UN Anti-Corruption
          The International Bill   The UN Biodiversity
                                                         Convention
          of Human Rights          Convention
                                                         Accounting standards
                                                         & regular financial
                                   ISO 14000
                                                         reporting
                                   ISO 26000 (2010)



                                                                                8
จากการมองแค “financial value” สู “blended value”

                         แตละกิจการเลือกไดวาจะ
                         ใหน้ําหนักเทาไรระหวาง
                         ผลตอบแทนทางสังคมและ
                         สิ่งแวดลอม กับ
                         ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ




                                                     9
                                                     9
Triple Bottom Line ชี้โอกาสในวิกฤต




ที่มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance
Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org                          10
บริษัทยักษใหญเริมทํา “sustainable livelihood business” เจาะลูกคาในตลาด
                  ่
ฐานประมิด (bottom-of-pyramid market)




                                                                            11
                                                                            11
สรุปประโยชนของแนวคิด Triple Bottom Line
1. มองเห็นผลกระทบทุกมิติของการดําเนินธุรกิจ ชวยใหบริษทประเมินและ
                                                              ั
   บริหารจัดการความเสี่ยงไดดีขึ้น ตอบสนองตอความตองการและความ
   เดือดรอนของผูมีสวนไดเสียฝายตางๆ ไดดีขึ้น
2. สอดคลองกับแนวคิดเรื่อง “การพัฒนาที่ย่งยืน” – เชื่อวาบริษทที่ดู triple
                                             ั                  ั
   bottom line นั้น จะมีผลประกอบการดีขึ้นในระยะยาว
3. ชี้ใหเห็นโอกาสในวิกฤต และขับเคลื่อนบริษทไปสูแนวทางทํา “ธุรกิจอยาง
                                                ั
   ยั่งยืน” ที่หลายอยางอาจเริ่มทําไมไดถาไมคิดแบบ triple bottom line เพราะ
   โดยธรรมชาติ การลงทุนที่จะสงมอบผลตอบแทนดานสังคมและสิ่งแวดลอม
   นาจะตองใชระยะเวลานานกวาการลงทุนทางธุรกิจทั่วไป

                                                                                 12
Global Reporting Initiative (GRI)



                                    13
Global Reporting Initiative (GRI)
  ชุดหลักเกณฑในการผลิต “รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน”
  (sustainability report) – บางบริษัทเรียก “รายงานความรับผิดชอบตอ
  สังคม” (CSR report)
  ครอบคลุมมิติตางๆ และสอดคลองกับแนวคิด triple bottom line ที่สุด
  พัฒนามาจาก CERES Principles จนปจจุบันเปนเครือขายที่มีสมาชิก
  30,000 รายทั่วโลก มีบริษัทที่ผลิตรายงานตามเกณฑ GRI 1,500 แหง
  เปาหมายหลักของ GRI คือการสงเสริมใหองคกรทุกรูปแบบจัดทํา
  รายงานความยั่งยืนอยางสม่ําเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียงพอที่จะใหคน
  นอกใชเปรียบเทียบผลงานระหวางองคกรได ไมตางจากการรายงานงบ
  การเงินประจําป
                                                                14
GRI สวนที่ 1: หลักในการทํารายงานและคําแนะแนว
สวนที่ 1: Defining report content, quality, and boundary
    สวนนี้อาจเรียกไดวาเปน “ปจจัยผลิต” (inputs) ที่จะกําหนดขอบเขตและเนื้อหาของ
    “ผลผลิต” (outputs) ซึ่งหมายถึงขอมูลที่บริษัทจะเปดเผยในสวนถัดไป หลักในการทํา
    รายงานมีสองหัวขอยอยดังตอไปนี้
    หลักที่บริษัทใชในการทํารายงานความยั่งยืน มีสี่ประเด็นไดแก
         ระดับความสําคัญของขอมูลที่เปดเผย (materiality) ตองใชมุมมองของผูมีสวนไดเสียเปนหลัก
                                                                                  
         ระดับความครอบคลุมผูมสวนไดเสีย (stakeholder inclusiveness) ตองอธิบายกระบวนการการ
                                 ี
         มีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียแตละฝาย และประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสําคัญ
                                                                 
         ที่ทางของรายงานในบริบทความยังยืน (sustainability context)
                                          ่
         ระดับความครบถวนสมบูรณของขอมูล (completeness)
    การจัดเรียงลําดับหัวขอเหลานี้ในรายงาน GRI ควรจัดเรียงตามลําดับความสําคัญเพื่อ
    ใหผูอานเห็นภาพวาบริษัทใหน้ําหนักกับประเด็นใด ประเด็นใดมีความสําคัญมากตอ
    กิจการของบริษัท (เชน บริษัทกระดาษ ควรใหน้ําหนักกับมิติดานสิ่งแวดลอมมากกวา
    สถาบันการเงิน)                                                                                  15
GRI สวนที่ 1: หลักในการทํารายงานและคําแนะแนว (ตอ)
  หลักที่บริษัทใชในการกําหนด “คุณภาพ” ของรายงาน มีหก
  ประเด็นไดแก
       ระดับความสมดุลของเนื้อหา (balance) - ตองรายงานทั้งผลงานเชิง
       บวกและเชิงลบ
       ระดับการเปรียบเทียบได(กับองคกรอื่น) (comparability)
       ระดับความถูกตองเที่ยงตรง (accuracy)
       ระดับความทันทวงทีของการรายงาน (timeliness)
       ระดับความเชื่อถือไดของขอมูล (reliability)
       ระดับความชัดเจน (clarity)

                                                                      16
GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย
สวนที่ 2: Standard Disclosures
   สวนนี้นับเปน “ผลผลิต” ของหลักในการทํารายงานที่อธิบายในสวนแรก
   ประกอบดวยขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ แบงเปนสองสวนยอยไดแก
   คําอธิบาย (Profile) และดัชนีชี้วัดผลงานของบริษัทในดานตางๆ หกดาน
   (Performance Indicators)
   คําอธิบาย (Profile) - รายงานจากมุมมองของการพัฒนาอยางยั่งยืนเปนหลัก
            กลยุทธและบทวิเคราะห (strategy and analysis)
            โครงสรางองคกรและธุรกิจหลัก (organizational profile)
            ขอบเขตของรายงาน (report parameters)
            โครงสรางการบริหารจัดการ (governance) ดานความรับผิดชอบตอสังคม
            พันธะตอขอตกลงภายนอก (commitment to external initiatives)
            กระบวนการการมีสวนรวมของผูมสวนไดเสีย (stakeholder engagement)
                                          ี                                   17
ตัวอยาง: stakeholder engagement ของ SCG Paper

ผูมีสวนไดเสีย
                 กระบวนการสรางความสัมพันธ            ประเด็นที่ผมีสวนไดเสียใหความสําคัญ
                                                                   ู
ผูถือหุน
                                                       • ชื่อเสียงและความสามารถในการแขงขัน
                  การประชุมสามัญประจําปสําหรับผูถือ
                  หุนรายยอย, ระบบธรรมาภิบาล,            ของบริษัท
                  รายงานประจําป, เว็บไซตของบริษัท     • ผลตอบแทนจากการลงทุน
ลูกคา                                                  • ราคายุติธรรม
                  การเยี่ยมเยียนลูกคาโดยพนักงาน
                                                        • สงสินคาตรงเวลา
                                                        • คุณภาพและความปลอดภัยของสินคา
                                                        • สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ซัพพลายเออร                                            • ราคายุติธรรม
                  การประเมินซัพพลายเออร, การเยี่ยม
                  เยือนซัพพลายเออรรายใหญ, โครงการ     • จายเงินตรงเวลา
                  สานสัมพันธกับซัพพลายเออร


                                                                                                18
ตัวอยาง: stakeholder engagement ของ SCG Paper (ตอ)
ผูมีสวนไดเสีย   กระบวนการสรางความสัมพันธ         ประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสําคัญ
พนักงาน                                                 •
                   คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสํารวจ           ทิศทางและนโยบายบริษัท
                   ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยี่ยม     •   ความมั่นคงในงาน
                   เยือนพนักงานของผูบริหาร             •   คาตอบแทนที่เปนธรรม
                                                        •   สภาพแวดลอมในการทํางาน
ชุมชน              การสํารวจความคิดเห็น, การเยี่ยมเยือน •   โอกาสในการทํางาน
                   ชุมชน, โครงการ open house,           •   การรักษาสิ่งแวดลอม
                   โครงการสานสัมพันธกับชุมชน           •   การพัฒนาชุมชน
องคกรของรัฐ       การเยี่ยมเยียนของผูบริหาร, การสราง •   การปฏิบัติตามกฎหมาย
                   พันธมิตรเพื่อสงเสริมการพัฒนาอยาง   •   การชวยพัฒนาเศรษฐกิจ
                   ยั่งยืน
องคกรพัฒนาเอกชน                                        •
                   การขอคําปรึกษาเกี่ยวกับชุมชน, การ     การเพิ่มมูลคาทางสังคม
                   พบปะสนทนา, การสรางพันธมิตรเพื่อ
(เอ็นจีโอ)                                              •การใหการสนับสนุนโครงการดานสังคม
                   สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน          และสิ่งแวดลอม
                                                       • สุขภาวะและความเจริญของสังคม
                                                                                                19
GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย (ตอ)
ดัชนีชี้วัดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ไดแก
1. ดัชนีดานสิ่งแวดลอม เชน ปริมาณกาซเรือนกระจกที่บริษัทปลอยในรอบป,
         
   ปริมาณน้ําที่ใช, คาปรับกรณีละเมิดกฎหมายดานสิ่งแวดลอมที่จายใหกับรัฐ
2. ดัชนีดานสิทธิมนุษยชน เชน สัดสวนของลูกจางที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงาน,
         
   จํานวนกรณีความลําเอียงในที่ทํางานและการจัดการของบริษัทในกรณีเหลานี้
3. ดัชนีดานแรงงานและพนักงาน เชน สัดสวนของลูกจางและพนักงานที่เปน
          
   สมาชิกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของพนักงาน (turnover rate), จํานวน
   ชั่วโมงการอบรมที่พนักงานไดรับโดยเฉลี่ย, อัตราสวนเงินเดือนขั้นต่ําของ
   พนักงานชายตอเงินเดือนขั้นต่ําของพนักงานหญิง

                                                                              20
GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย (ตอ)
4. ดัชนีดานสังคม เชน คําอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสิทธิผลของโครงการ
   หรือกระบวนการที่ประเมินและบริหารจัดการผลกระทบของการดําเนินธุรกิจ
   ของบริษัทตอชุมชน โดยครอบคลุมตั้งแตขั้นตอนการริเริ่มกิจการในชุมชน
   (เชน กอสรางโรงงานใหม) การดําเนินกิจการ และการลมเลิกหรือยายกิจการ
   ออกจากพื้นที่, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉอฉลหรือคอรรปชั่นของพนักงาน
                                                        ั
5. ดัชนีดานความรับผิดชอบตอผูบริโภค เชน คําอธิบายกระบวนการติดฉลากและ
   วิธีใชสินคาและบริการ, มูลคาคาปรับฐานละเมิดกฎหมายดานความปลอดภัย
   ของสินคา
6. ดัชนีดานเศรษฐกิจ เชน มูลคาทางเศรษฐกิจที่บริษัทสรางและจัดสรรไปยังผูมี
   สวนไดเสียฝายตางๆ อาทิ รายได คาใชจายในการดําเนินงาน คาตอบแทน
   พนักงาน เงินบริจาค เงินลงทุนในชุมชน กําไรสะสม (สวนของผูถือหุน) เงินตน
   และดอกเบี้ย (จายคืนใหกับเจาหนี้) และภาษี (จายใหกับรัฐ)
                                                                               21
ตัวอยาง: ผลตอบแทนดานเศรษฐกิจของ SCG Paper




ที่มา: SCG Paper, Sustainability Report, 2006
                                                22
ISO 26000




            23
ISO 26000: มาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม
พัฒนาตังแตป 2005 คาดวาจะประกาศใชในป 2010 มีหลักการ 7 ขอ ไดแก
        ้
1. หลักการปฏิบัตตามกฎหมาย (Principle of legal compliance) : บริษัทจะตอง
                     ิ
     ปฏิบัตตามกฎหมายและกฎเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของในระดับชาติและระดับสากล
            ิ                         
     ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ
2. หลักการเคารพตอแนวปฏิบัตระดับชาติหรือระดับสากล (Principle of respect for
                                 ิ
     authoritative inter-government agreements or internationally recognized
     instruments) รวมถึงสนธิสญญาสากล คําสั่ง ประกาศ ขอตกลง มติ และขอชีนํา
                               ั                                            ้
     ตางๆ ซึ่งไดรับการรับรองจากองคกรสากลที่เกียวของกับบริษัท
                                                 ่
3. หลักการใหความสําคัญกับผูมีสวนไดเสีย ( Principle of recognition of
     stakeholders and concerns) บริษัทควรตระหนักในสิทธิและผลประโยชนของผู
     มีสวนไดเสีย โดยเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็นเกียวกับกิจกรรมของบริษัท
                                                      ่
     และการตัดสินใจใดๆ ก็ตามทีจะสงผลกระทบตอผูมีสวนไดเสีย
                                   ่                                       24
ISO 26000: มาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม (ตอ)
4.   หลักของการแสดงรับผิดทีสามารถตรวจสอบได (Principle of accountability)
                                ่
     การดําเนินงานใดๆ ก็ตามของบริษัท ตองสามารถตรวจสอบไดจากภายนอก
5.   หลักความโปรงใส (Principle of transparency) บริษัทควรเปดเผยขอมูลตางๆให
     ผูมีสวนไดเสียฝายตางๆ รวมถึงผูที่เกี่ยวของไดรับทราบอยางชัดเจนและ
     ทันทวงที
6.   หลักความเคารพในสิทธิมนุษยชน (Principle of respect of fundamental
     human right) บริษัทควรดําเนินกิจการในทางที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลวา
     ดวยสิทธิมนุษยชน
7.   หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for diversity) บริษัท
     ควรจางพนักงานโดยไมมีการแบงแยกเชือชาติ สีผิว ความเชื่อ อายุ เพศ
                                                 ้

                                                                             25
องคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมใน ISO 26000
1. มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Organization governance) บริษัทควรกําหนด
   หนาที่ใหคณะกรรมการฝายจัดการ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียสามารถสอดสองดู
   แลผลงานและการดําเนินธุรกิจของบริษัทได เพื่อแสดงถึงความโปรงใส พรอมรับ
   การตรวจสอบ และสามารถชี้แจงใหผูมีสวนไดเสียไดรับทราบผลการปฏิบัตงานได
                                                                         ิ
2. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human rights) ซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย โดย
   สิทธิดังกลาวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเปนพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทาง
   เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศดวย
3. ขอปฏิบัติดานแรงงาน (Labor practices) บริษัทตองตระหนักวาแรงงานไมใช
   สินคา ดังนั้นแรงงานจึงไมควรถูกปฏิบตเสมือนเปนปจจัยการผลิต
                                       ัิ
4. การดูแลสิ่งแวดลอม (Environment) บริษัทจะตองคํานึงถึงหลักการปองกัน
   ปญหามลพิษ สงเสริมการบริโภคอยางยังยืน (sustainable consumption) และการ
                                          ่
   ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพในการผลิตและบริการ                            26
องคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมใน ISO 26000 (ตอ)
 5. การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม (Fair operating practices) ธุรกิจควรแขงขัน
    อยางเปนธรรมและเปดกวาง ซึ่งจะชวยสงเสริมประสิทธิภาพในการลดตนทุนสินคา
    และบริการ สงเสริมนวัตกรรมใหมๆ ในการทําธุรกิจ ตลอดจนชวยขยายการเติบโต
    ทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว
 6. ใสใจตอผูบริโภค (Consumer issues) บริษัทจะตองเปดโอกาสใหผูบริโภคได
    รับทราบขอมูลในการใชสินคาและบริการอยางเหมาะสม และตองใหความสําคัญ
    กับการพัฒนาสินคาและบริการที่เปนประโยชนตอสังคม โดยคํานึงถึงความ
                                                 
    ปลอดภัยในการใชงานและสุขภาพของผูบริโภค เมือพบวาสินคาไมเปนไปตาม
                                                   ่
    เกณฑที่กําหนด จะตองมีกลไกในการเรียกคืนสินคา และเคารพในกฎหมาย
    คุมครองผูบริโภค
              
 7. การแบงปนสูสังคมและชุมชน (Contribution to the community and
    society)                                                                 27
ตัวอยางการวัด “ผลตอบแทนดานสังคม”



                                     28
Progress out of Poverty Index (PPI) ของมูลนิธกรามีน
                                             ิ
ขั้นแรก วัดคะแนน PPI ของลูกคาแตละคน จากดัชนีช้วัดความจน 10 ตัว
                                                ี




                                                                   29
การคํานวณ PPI (ตอ)
ขั้นทีสอง ดูวาคะแนน PPI มีคาความเปนไปไดเทาไรทีจะอยูเหนือเสนความจน
      ่                                          ่




                                                                          30
การคํานวณ PPI (ตอ)
ขั้นทีสาม ประเมินสัดสวนของลูกคาทั้งหมดที่อยูเหนือเสนความยากจน เมื่อไดอัตราสวนนี้แลวก็จะ
      ่
สามารถเปรียบเทียบปตอปได




                                                                                                 31
สรุป



       32
สรุป
  Triple Bottom Line มีความเปนภววิสัยโดยธรรมชาติ ไมสามารถคํานวณผลงาน
  ดานสังคมและสิ่งแวดลอมทุกเรื่องออกมาเปนมูลคาทางการเงิน (monetized) ได
  ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใชเปน กรอบคิด (framework) ในการขับเคลื่อนการทําธุรกิจ
  อยางยังยืน (sustainable business) มากกวาจะพยายามผลิตตัวเลข “กําไรสุทธิ”
          ่
  หนึ่งตัวที่เปน triple bottom line
  อยางไรก็ดี บริษัทควรหาตัววัด หรือ proxy สะทอนผลงานดานสังคมและ
  สิ่งแวดลอม ที่เปนตัวเลข (quantified) ใหไดมากที่สุด เพื่อ
       เชื่อมโยงกับกลยุทธของบริษัทในการปรับเปลี่ยนไปสู “ธุรกิจอยางยั่งยืน”
       สรางแรงจูงใจและความรับผิดดานสังคมและสิ่งแวดลอมภายในองคกร (เชน KPI)
       เปรียบเทียบผลงานดานสังคมและสิงแวดลอมกับคูแขง
                                             ่
       ดึงดูดผูมีสวนไดเสียที่ใหความสําคัญดานนี้มากขึ้นเรื่อยๆ เชน ผูบริโภคที่หวงใยสิ่งแวดลอม
       กองทุนที่ลงทุนในบริษัททีมีความรับผิดชอบตอสังคม (socially responsible investing
                                    ่
       (SRI) funds)                                                                                 33
สรุป (ตอ)
  มาตรฐานในการรายงาน triple bottom line ที่เริ่มเปนสากล เชน ชุดหลักเกณฑ
  GRI ชวยไดมากในการเปดเผย blended value ใหสาธารณชนรับรู
  แตบริษทอาจตองเลือก “มาตรฐานสากล” บางตัวมาประยุกต ดัดแปลง หรือคิดตัว
           ั
  วัดบางตัวดวยตัวเอง เพื่อเชือมโยงผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมเขากับพันธกิจ
                              ่
  และธุรกิจหลักของบริษัท เพือขับเคลื่อนไปสู “ธุรกิจทียงยืน” (ดังตัวอยาง PPI
                                ่                     ่ ั่
  Index ที่มูลนิธิกรามีนคิดคนขึน เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมาย “กําจัดความ
                                  ้
  ยากจน” ของธนาคารกรามีน)
  ดังนั้น ตัววัดหรือ proxy ของผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัท ควร
  สอดคลองกับประเภทธุรกิจและพันธกิจของบริษัท
  การวัดและรายงาน output สําคัญกวาการวัดและรายงาน input
  แตเหนือสิ่งอื่นใด การ “กระทํา” สําคัญกวาการ “รายงาน”
                                                                            34

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...
นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...
นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...ธิติพล เทียมจันทร์
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governanceFreelance
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์Rose Banioki
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การwanna2728
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์Rose Banioki
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject PanagementTrue Corporation
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Utai Sukviwatsirikul
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptSuppanut Wannapong
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1Prachyanun Nilsook
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 

Was ist angesagt? (20)

นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...
นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...
นวดแผนไทย ปั้นธุรกิจให้สำเร็จได้ในยุคดิจิทัล วิทยากร อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทีย...
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governance
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
58210401110 งาน1 ss ครับ
58210401110 งาน1 ss ครับ58210401110 งาน1 ss ครับ
58210401110 งาน1 ss ครับ
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject Panagement
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 

Andere mochten auch

Lecture6reportingonatriplebottomlinebb
Lecture6reportingonatriplebottomlinebbLecture6reportingonatriplebottomlinebb
Lecture6reportingonatriplebottomlinebbJess Co
 
Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010
Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010
Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010Sustainable Seattle
 
Triple Bottom Line slides from Jan 2010
Triple Bottom Line slides from Jan 2010Triple Bottom Line slides from Jan 2010
Triple Bottom Line slides from Jan 2010Sustainable Seattle
 
TBL & CSR - Sustainability Management
TBL & CSR - Sustainability Management TBL & CSR - Sustainability Management
TBL & CSR - Sustainability Management Anand Subramaniam
 

Andere mochten auch (6)

Lecture6reportingonatriplebottomlinebb
Lecture6reportingonatriplebottomlinebbLecture6reportingonatriplebottomlinebb
Lecture6reportingonatriplebottomlinebb
 
Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010
Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010
Triple Bottom Line Reporting workshop slides, Laura Musikanski, July 2010
 
Triple Bottom Line slides from Jan 2010
Triple Bottom Line slides from Jan 2010Triple Bottom Line slides from Jan 2010
Triple Bottom Line slides from Jan 2010
 
TBL & CSR - Sustainability Management
TBL & CSR - Sustainability Management TBL & CSR - Sustainability Management
TBL & CSR - Sustainability Management
 
Global logistics strategies
Global logistics strategiesGlobal logistics strategies
Global logistics strategies
 
Triple bottom line
Triple bottom lineTriple bottom line
Triple bottom line
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Triple Bottom Line

  • 1. Triple Bottom Line แนวคิด ประโยชน และเครื่องมือในการประเมิน สฤณี อาชวานันทกุล 25 กุมภาพันธ 2552 งานนี้เผยแพรภายใตสัญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) 1 โดยผูสรางอนุญาตใหทําซ้า แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ไดโดยเสรี แตเฉพาะใน ํ กรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใตสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เทานั้น ํ
  • 2. หัวขอนําเสนอ แนวคิดและประโยชน Global Reporting Initiative (GRI) ISO 26000 ตัวอยางการวัด “ผลตอบแทนดานสังคม” สรุป 2
  • 4. “Triple Bottom Line” คืออะไร? “The triple bottom line focuses corporations not just on the economic value they add, but also on the environmental and social value they add – and destroy. At its narrowest, the term ‘triple bottom line’ is used as a framework for measuring and reporting corporate performance against economic, social and environmental parameters.” - John Elkington, The Ecology of Tomorrow’s World (1980) Triple Bottom Line = People, Planet, Profit สังคม สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ 4
  • 5. “ภาพใหญ” : การเปลียนผานไปสู “ระบอบทุนนิยมที่ยั่งยืน” ่ “In our rapidly evolving capitalist economies, where it is in the natural order of things for corporations to devour competing corporations, for industries to carve up and digest other industries, one emerging form of capitalism with a fork – sustainable capitalism – would certainly constitute real progress.” - John Elkington, Cannibals With Forks – The Triple Bottom Line of 21st Century Business (1997) ถาวัดผลกระทบสุทธิดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของ บริษัทไมได ก็เปลี่ยนวิธดําเนินธุรกิจไปสูวิถี “ธุรกิจที่ยั่งยืน” ไมได ี 5
  • 6. “Triple Bottom Line” ไมใชผลกําไรของบริษท ั TBL หมายถึงผลตอบแทนสุทธิท่ีบริษัทสงมอบตอระบอบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ไมใชประโยชนทางธุรกิจที่บริษัทไดรับ อยางไรก็ดี แนวคิดการทํา “ธุรกิจอยางยั่งยืน” เสนอวา บริษัทจะไดรับ ประโยชนทางธุรกิจจากกิจกรรมที่สรางผลตอบแทนตอสังคมและ สิ่งแวดลอมในระยะยาว ยกตัวอยางเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด : ผลตอบแทนดาน สิ่งแวดลอม = การลดการปลอยกาซเรือนกระจก และผลตอบแทนดาน การเงิน = การลดตนทุนในการดําเนินธุรกิจ (เชน คาใชจายเชื้อเพลิง) ดังนั้น เงื่อนเวลา (time horizon) จึงเปนประเด็นสําคัญในการคิดเรื่อง triple bottom line : บริษัทจะตองเปลียนวิสัยทัศนใหมองยาวขึ้น ่ 6
  • 7. การทํา “บัญชี” ดานสังคมและสิงแวดลอมเปนเรื่องใหม... ่ prehistory 1400AD 2000AD future INTUITION STORIES SYSTEMS financial accounting environmental and social accounting 7 7
  • 8. ...แตเริ่มมีมาตรฐานสากล และปฏิญญาระดับโลกทีชวยวัด ่ (People) (Planet) (Profit) Social Environment Economics Johannesburg Action Taxes Plan Antitrust laws and Rio Declaration regulations UN Anti-Corruption The International Bill The UN Biodiversity Convention of Human Rights Convention Accounting standards & regular financial ISO 14000 reporting ISO 26000 (2010) 8
  • 9. จากการมองแค “financial value” สู “blended value” แตละกิจการเลือกไดวาจะ ใหน้ําหนักเทาไรระหวาง ผลตอบแทนทางสังคมและ สิ่งแวดลอม กับ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ 9 9
  • 10. Triple Bottom Line ชี้โอกาสในวิกฤต ที่มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org 10
  • 11. บริษัทยักษใหญเริมทํา “sustainable livelihood business” เจาะลูกคาในตลาด ่ ฐานประมิด (bottom-of-pyramid market) 11 11
  • 12. สรุปประโยชนของแนวคิด Triple Bottom Line 1. มองเห็นผลกระทบทุกมิติของการดําเนินธุรกิจ ชวยใหบริษทประเมินและ ั บริหารจัดการความเสี่ยงไดดีขึ้น ตอบสนองตอความตองการและความ เดือดรอนของผูมีสวนไดเสียฝายตางๆ ไดดีขึ้น 2. สอดคลองกับแนวคิดเรื่อง “การพัฒนาที่ย่งยืน” – เชื่อวาบริษทที่ดู triple ั ั bottom line นั้น จะมีผลประกอบการดีขึ้นในระยะยาว 3. ชี้ใหเห็นโอกาสในวิกฤต และขับเคลื่อนบริษทไปสูแนวทางทํา “ธุรกิจอยาง ั ยั่งยืน” ที่หลายอยางอาจเริ่มทําไมไดถาไมคิดแบบ triple bottom line เพราะ โดยธรรมชาติ การลงทุนที่จะสงมอบผลตอบแทนดานสังคมและสิ่งแวดลอม นาจะตองใชระยะเวลานานกวาการลงทุนทางธุรกิจทั่วไป 12
  • 14. Global Reporting Initiative (GRI) ชุดหลักเกณฑในการผลิต “รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน” (sustainability report) – บางบริษัทเรียก “รายงานความรับผิดชอบตอ สังคม” (CSR report) ครอบคลุมมิติตางๆ และสอดคลองกับแนวคิด triple bottom line ที่สุด พัฒนามาจาก CERES Principles จนปจจุบันเปนเครือขายที่มีสมาชิก 30,000 รายทั่วโลก มีบริษัทที่ผลิตรายงานตามเกณฑ GRI 1,500 แหง เปาหมายหลักของ GRI คือการสงเสริมใหองคกรทุกรูปแบบจัดทํา รายงานความยั่งยืนอยางสม่ําเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียงพอที่จะใหคน นอกใชเปรียบเทียบผลงานระหวางองคกรได ไมตางจากการรายงานงบ การเงินประจําป 14
  • 15. GRI สวนที่ 1: หลักในการทํารายงานและคําแนะแนว สวนที่ 1: Defining report content, quality, and boundary สวนนี้อาจเรียกไดวาเปน “ปจจัยผลิต” (inputs) ที่จะกําหนดขอบเขตและเนื้อหาของ “ผลผลิต” (outputs) ซึ่งหมายถึงขอมูลที่บริษัทจะเปดเผยในสวนถัดไป หลักในการทํา รายงานมีสองหัวขอยอยดังตอไปนี้ หลักที่บริษัทใชในการทํารายงานความยั่งยืน มีสี่ประเด็นไดแก ระดับความสําคัญของขอมูลที่เปดเผย (materiality) ตองใชมุมมองของผูมีสวนไดเสียเปนหลัก  ระดับความครอบคลุมผูมสวนไดเสีย (stakeholder inclusiveness) ตองอธิบายกระบวนการการ ี มีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียแตละฝาย และประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสําคัญ   ที่ทางของรายงานในบริบทความยังยืน (sustainability context) ่ ระดับความครบถวนสมบูรณของขอมูล (completeness) การจัดเรียงลําดับหัวขอเหลานี้ในรายงาน GRI ควรจัดเรียงตามลําดับความสําคัญเพื่อ ใหผูอานเห็นภาพวาบริษัทใหน้ําหนักกับประเด็นใด ประเด็นใดมีความสําคัญมากตอ กิจการของบริษัท (เชน บริษัทกระดาษ ควรใหน้ําหนักกับมิติดานสิ่งแวดลอมมากกวา สถาบันการเงิน) 15
  • 16. GRI สวนที่ 1: หลักในการทํารายงานและคําแนะแนว (ตอ) หลักที่บริษัทใชในการกําหนด “คุณภาพ” ของรายงาน มีหก ประเด็นไดแก ระดับความสมดุลของเนื้อหา (balance) - ตองรายงานทั้งผลงานเชิง บวกและเชิงลบ ระดับการเปรียบเทียบได(กับองคกรอื่น) (comparability) ระดับความถูกตองเที่ยงตรง (accuracy) ระดับความทันทวงทีของการรายงาน (timeliness) ระดับความเชื่อถือไดของขอมูล (reliability) ระดับความชัดเจน (clarity) 16
  • 17. GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย สวนที่ 2: Standard Disclosures สวนนี้นับเปน “ผลผลิต” ของหลักในการทํารายงานที่อธิบายในสวนแรก ประกอบดวยขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ แบงเปนสองสวนยอยไดแก คําอธิบาย (Profile) และดัชนีชี้วัดผลงานของบริษัทในดานตางๆ หกดาน (Performance Indicators) คําอธิบาย (Profile) - รายงานจากมุมมองของการพัฒนาอยางยั่งยืนเปนหลัก กลยุทธและบทวิเคราะห (strategy and analysis) โครงสรางองคกรและธุรกิจหลัก (organizational profile) ขอบเขตของรายงาน (report parameters) โครงสรางการบริหารจัดการ (governance) ดานความรับผิดชอบตอสังคม พันธะตอขอตกลงภายนอก (commitment to external initiatives) กระบวนการการมีสวนรวมของผูมสวนไดเสีย (stakeholder engagement) ี 17
  • 18. ตัวอยาง: stakeholder engagement ของ SCG Paper ผูมีสวนไดเสีย  กระบวนการสรางความสัมพันธ ประเด็นที่ผมีสวนไดเสียใหความสําคัญ ู ผูถือหุน  • ชื่อเสียงและความสามารถในการแขงขัน การประชุมสามัญประจําปสําหรับผูถือ หุนรายยอย, ระบบธรรมาภิบาล, ของบริษัท รายงานประจําป, เว็บไซตของบริษัท • ผลตอบแทนจากการลงทุน ลูกคา • ราคายุติธรรม การเยี่ยมเยียนลูกคาโดยพนักงาน • สงสินคาตรงเวลา • คุณภาพและความปลอดภัยของสินคา • สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซัพพลายเออร • ราคายุติธรรม การประเมินซัพพลายเออร, การเยี่ยม เยือนซัพพลายเออรรายใหญ, โครงการ • จายเงินตรงเวลา สานสัมพันธกับซัพพลายเออร 18
  • 19. ตัวอยาง: stakeholder engagement ของ SCG Paper (ตอ) ผูมีสวนไดเสีย กระบวนการสรางความสัมพันธ ประเด็นที่ผูมีสวนไดเสียใหความสําคัญ พนักงาน • คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสํารวจ ทิศทางและนโยบายบริษัท ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยี่ยม • ความมั่นคงในงาน เยือนพนักงานของผูบริหาร • คาตอบแทนที่เปนธรรม • สภาพแวดลอมในการทํางาน ชุมชน การสํารวจความคิดเห็น, การเยี่ยมเยือน • โอกาสในการทํางาน ชุมชน, โครงการ open house, • การรักษาสิ่งแวดลอม โครงการสานสัมพันธกับชุมชน • การพัฒนาชุมชน องคกรของรัฐ การเยี่ยมเยียนของผูบริหาร, การสราง • การปฏิบัติตามกฎหมาย พันธมิตรเพื่อสงเสริมการพัฒนาอยาง • การชวยพัฒนาเศรษฐกิจ ยั่งยืน องคกรพัฒนาเอกชน • การขอคําปรึกษาเกี่ยวกับชุมชน, การ การเพิ่มมูลคาทางสังคม พบปะสนทนา, การสรางพันธมิตรเพื่อ (เอ็นจีโอ) •การใหการสนับสนุนโครงการดานสังคม สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน และสิ่งแวดลอม • สุขภาวะและความเจริญของสังคม 19
  • 20. GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย (ตอ) ดัชนีชี้วัดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ไดแก 1. ดัชนีดานสิ่งแวดลอม เชน ปริมาณกาซเรือนกระจกที่บริษัทปลอยในรอบป,  ปริมาณน้ําที่ใช, คาปรับกรณีละเมิดกฎหมายดานสิ่งแวดลอมที่จายใหกับรัฐ 2. ดัชนีดานสิทธิมนุษยชน เชน สัดสวนของลูกจางที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงาน,  จํานวนกรณีความลําเอียงในที่ทํางานและการจัดการของบริษัทในกรณีเหลานี้ 3. ดัชนีดานแรงงานและพนักงาน เชน สัดสวนของลูกจางและพนักงานที่เปน  สมาชิกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของพนักงาน (turnover rate), จํานวน ชั่วโมงการอบรมที่พนักงานไดรับโดยเฉลี่ย, อัตราสวนเงินเดือนขั้นต่ําของ พนักงานชายตอเงินเดือนขั้นต่ําของพนักงานหญิง 20
  • 21. GRI สวนที่ 2: ขอมูลที่เปดเผย (ตอ) 4. ดัชนีดานสังคม เชน คําอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสิทธิผลของโครงการ หรือกระบวนการที่ประเมินและบริหารจัดการผลกระทบของการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทตอชุมชน โดยครอบคลุมตั้งแตขั้นตอนการริเริ่มกิจการในชุมชน (เชน กอสรางโรงงานใหม) การดําเนินกิจการ และการลมเลิกหรือยายกิจการ ออกจากพื้นที่, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉอฉลหรือคอรรปชั่นของพนักงาน  ั 5. ดัชนีดานความรับผิดชอบตอผูบริโภค เชน คําอธิบายกระบวนการติดฉลากและ วิธีใชสินคาและบริการ, มูลคาคาปรับฐานละเมิดกฎหมายดานความปลอดภัย ของสินคา 6. ดัชนีดานเศรษฐกิจ เชน มูลคาทางเศรษฐกิจที่บริษัทสรางและจัดสรรไปยังผูมี สวนไดเสียฝายตางๆ อาทิ รายได คาใชจายในการดําเนินงาน คาตอบแทน พนักงาน เงินบริจาค เงินลงทุนในชุมชน กําไรสะสม (สวนของผูถือหุน) เงินตน และดอกเบี้ย (จายคืนใหกับเจาหนี้) และภาษี (จายใหกับรัฐ) 21
  • 22. ตัวอยาง: ผลตอบแทนดานเศรษฐกิจของ SCG Paper ที่มา: SCG Paper, Sustainability Report, 2006 22
  • 23. ISO 26000 23
  • 24. ISO 26000: มาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม พัฒนาตังแตป 2005 คาดวาจะประกาศใชในป 2010 มีหลักการ 7 ขอ ไดแก ้ 1. หลักการปฏิบัตตามกฎหมาย (Principle of legal compliance) : บริษัทจะตอง ิ ปฏิบัตตามกฎหมายและกฎเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของในระดับชาติและระดับสากล ิ  ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ 2. หลักการเคารพตอแนวปฏิบัตระดับชาติหรือระดับสากล (Principle of respect for ิ authoritative inter-government agreements or internationally recognized instruments) รวมถึงสนธิสญญาสากล คําสั่ง ประกาศ ขอตกลง มติ และขอชีนํา ั ้ ตางๆ ซึ่งไดรับการรับรองจากองคกรสากลที่เกียวของกับบริษัท ่ 3. หลักการใหความสําคัญกับผูมีสวนไดเสีย ( Principle of recognition of stakeholders and concerns) บริษัทควรตระหนักในสิทธิและผลประโยชนของผู มีสวนไดเสีย โดยเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็นเกียวกับกิจกรรมของบริษัท ่ และการตัดสินใจใดๆ ก็ตามทีจะสงผลกระทบตอผูมีสวนไดเสีย ่ 24
  • 25. ISO 26000: มาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม (ตอ) 4. หลักของการแสดงรับผิดทีสามารถตรวจสอบได (Principle of accountability) ่ การดําเนินงานใดๆ ก็ตามของบริษัท ตองสามารถตรวจสอบไดจากภายนอก 5. หลักความโปรงใส (Principle of transparency) บริษัทควรเปดเผยขอมูลตางๆให ผูมีสวนไดเสียฝายตางๆ รวมถึงผูที่เกี่ยวของไดรับทราบอยางชัดเจนและ ทันทวงที 6. หลักความเคารพในสิทธิมนุษยชน (Principle of respect of fundamental human right) บริษัทควรดําเนินกิจการในทางที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธิมนุษยชน 7. หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for diversity) บริษัท ควรจางพนักงานโดยไมมีการแบงแยกเชือชาติ สีผิว ความเชื่อ อายุ เพศ ้ 25
  • 26. องคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมใน ISO 26000 1. มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Organization governance) บริษัทควรกําหนด หนาที่ใหคณะกรรมการฝายจัดการ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียสามารถสอดสองดู แลผลงานและการดําเนินธุรกิจของบริษัทได เพื่อแสดงถึงความโปรงใส พรอมรับ การตรวจสอบ และสามารถชี้แจงใหผูมีสวนไดเสียไดรับทราบผลการปฏิบัตงานได ิ 2. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human rights) ซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย โดย สิทธิดังกลาวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเปนพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศดวย 3. ขอปฏิบัติดานแรงงาน (Labor practices) บริษัทตองตระหนักวาแรงงานไมใช สินคา ดังนั้นแรงงานจึงไมควรถูกปฏิบตเสมือนเปนปจจัยการผลิต ัิ 4. การดูแลสิ่งแวดลอม (Environment) บริษัทจะตองคํานึงถึงหลักการปองกัน ปญหามลพิษ สงเสริมการบริโภคอยางยังยืน (sustainable consumption) และการ ่ ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพในการผลิตและบริการ 26
  • 27. องคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมใน ISO 26000 (ตอ) 5. การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม (Fair operating practices) ธุรกิจควรแขงขัน อยางเปนธรรมและเปดกวาง ซึ่งจะชวยสงเสริมประสิทธิภาพในการลดตนทุนสินคา และบริการ สงเสริมนวัตกรรมใหมๆ ในการทําธุรกิจ ตลอดจนชวยขยายการเติบโต ทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว 6. ใสใจตอผูบริโภค (Consumer issues) บริษัทจะตองเปดโอกาสใหผูบริโภคได รับทราบขอมูลในการใชสินคาและบริการอยางเหมาะสม และตองใหความสําคัญ กับการพัฒนาสินคาและบริการที่เปนประโยชนตอสังคม โดยคํานึงถึงความ  ปลอดภัยในการใชงานและสุขภาพของผูบริโภค เมือพบวาสินคาไมเปนไปตาม ่ เกณฑที่กําหนด จะตองมีกลไกในการเรียกคืนสินคา และเคารพในกฎหมาย คุมครองผูบริโภค  7. การแบงปนสูสังคมและชุมชน (Contribution to the community and society) 27
  • 29. Progress out of Poverty Index (PPI) ของมูลนิธกรามีน ิ ขั้นแรก วัดคะแนน PPI ของลูกคาแตละคน จากดัชนีช้วัดความจน 10 ตัว ี 29
  • 30. การคํานวณ PPI (ตอ) ขั้นทีสอง ดูวาคะแนน PPI มีคาความเปนไปไดเทาไรทีจะอยูเหนือเสนความจน ่  ่ 30
  • 31. การคํานวณ PPI (ตอ) ขั้นทีสาม ประเมินสัดสวนของลูกคาทั้งหมดที่อยูเหนือเสนความยากจน เมื่อไดอัตราสวนนี้แลวก็จะ ่ สามารถเปรียบเทียบปตอปได 31
  • 33. สรุป Triple Bottom Line มีความเปนภววิสัยโดยธรรมชาติ ไมสามารถคํานวณผลงาน ดานสังคมและสิ่งแวดลอมทุกเรื่องออกมาเปนมูลคาทางการเงิน (monetized) ได ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใชเปน กรอบคิด (framework) ในการขับเคลื่อนการทําธุรกิจ อยางยังยืน (sustainable business) มากกวาจะพยายามผลิตตัวเลข “กําไรสุทธิ” ่ หนึ่งตัวที่เปน triple bottom line อยางไรก็ดี บริษัทควรหาตัววัด หรือ proxy สะทอนผลงานดานสังคมและ สิ่งแวดลอม ที่เปนตัวเลข (quantified) ใหไดมากที่สุด เพื่อ เชื่อมโยงกับกลยุทธของบริษัทในการปรับเปลี่ยนไปสู “ธุรกิจอยางยั่งยืน” สรางแรงจูงใจและความรับผิดดานสังคมและสิ่งแวดลอมภายในองคกร (เชน KPI) เปรียบเทียบผลงานดานสังคมและสิงแวดลอมกับคูแขง ่ ดึงดูดผูมีสวนไดเสียที่ใหความสําคัญดานนี้มากขึ้นเรื่อยๆ เชน ผูบริโภคที่หวงใยสิ่งแวดลอม กองทุนที่ลงทุนในบริษัททีมีความรับผิดชอบตอสังคม (socially responsible investing ่ (SRI) funds) 33
  • 34. สรุป (ตอ) มาตรฐานในการรายงาน triple bottom line ที่เริ่มเปนสากล เชน ชุดหลักเกณฑ GRI ชวยไดมากในการเปดเผย blended value ใหสาธารณชนรับรู แตบริษทอาจตองเลือก “มาตรฐานสากล” บางตัวมาประยุกต ดัดแปลง หรือคิดตัว ั วัดบางตัวดวยตัวเอง เพื่อเชือมโยงผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมเขากับพันธกิจ ่ และธุรกิจหลักของบริษัท เพือขับเคลื่อนไปสู “ธุรกิจทียงยืน” (ดังตัวอยาง PPI ่ ่ ั่ Index ที่มูลนิธิกรามีนคิดคนขึน เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมาย “กําจัดความ ้ ยากจน” ของธนาคารกรามีน) ดังนั้น ตัววัดหรือ proxy ของผลงานดานสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัท ควร สอดคลองกับประเภทธุรกิจและพันธกิจของบริษัท การวัดและรายงาน output สําคัญกวาการวัดและรายงาน input แตเหนือสิ่งอื่นใด การ “กระทํา” สําคัญกวาการ “รายงาน” 34