SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
แนวคิดและความเคลือนไหวเรือง
                  ่      ่
                ี
       เศรษฐกิจสเขียว
              สฤณี อาชวานันทกุล
           http://www.fringer.org/
               23 มกราคม 2012


     งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                           ั
     โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
          ้                  ้
      กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
            ่ี        ้                                                      ั                             ้
“ความยั่งยืน” คืออะไร?




                         2
ี
ประวัตศาสตร์ฉบับย่อของเศรษฐกิจสเขียว
      ิ
• 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson
• 1972 “Limits to Growth” โดย
  Club of Rome
• 1972 UN Conference on the Human
  Environment ในกรุงสต็อคโฮล์มส ์
• 1973 วิกฤติน้ ามันครังแรก
                       ้
• 1987 Brundtland Commission Report : “Our
  Common Future”
• 1989 Montreal Agreement เพือกาจัดสาร CFC
                             ่
                                             3
ประวัตศาสตร์ฉบับย่อ (ต่อ)
      ิ
• 1991 World Business Council on Sustainable
  Development ก่อตัง้
• 1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร
• 1997 Kyoto Protocol
• 2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination”
• 2010 Organisation for Economic Co-operation and
  Development (OECD): Interim Green Growth Report
• 2011 United Nations Environment Programme
  (UNEP) Green Economy Report
• 2011 European Commission’s EU Low Carbon
  Roadmap
                                                  4
การปะทะระหว่างโลกทัศน์ หรือเท็จ vs จริง
            ี
   เศรษฐกิจสเขียวคืออะไร ระหว่าง...
    “เรืองหรูหรา” ที่
        ่                     “เรืองจาเป็ น” ต่อ
                                  ่
   ไม่จาเป็ นยามตกอับ หรือ   ความอยูรอดในยุคนี้
                                     ่




                ความเป็ นจริง                      5
่ ู่
 ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอูสขยะ



                             การตลาด
                            เพือทิงขว ้าง
                               ่ ้




                                  บริโภค                    กาจัด
สกัด      ผลิต     จัดจาหน่าย                                  ขยะ
วัตถุดบ
      ิ    ิ
          สนค ้า

                                                                              6
                            ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว
่ ู่ ู่
   อุดมคติ: “จากอูสอ” (cradle to cradle)
         “จากอู่ส่อ่” ในระบบนิเวศ
                  ู ู                       “จากอู่ส่อ่” ในระบบมนุษย์
                                                     ู ู



          พืช
                                                     ผลิต/ประกอบ


                                             วัสดุ          ผลิตภัณฑ์
   สาร                              สัตว์
อาหาร
 ในดิน
                                                                   บริโภค
                 ผูย่อยสลาย
                  ้

                                                                            7
ทุนนิยมอุตสาหกรรม = การพัฒนาไม่ยงยืน
                                ั่




                                       8
ิ่
ความท ้าทายใหญ่ด ้านสงแวดล ้อม




                                            9
  ทีมา: OCED, Towards Green Growth, 2011.
    ่
เรากาลังทะลุขดการรองรับของธรรมชาติ
             ี
Planetary Boundaries:




                                                                                              10
         ทีมา: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
           ่
ภัยธรรมชาติ: หนึงในต ้นทุนของเศรษฐกิจไม่เขียว
                ่
 • ปี 2011 ภัย
   ธรรมชาติทั่วโลก
   ก่อความเสยหาย  ี
   380,000 ล ้าน
   เหรียญสหรัฐ สูง
   เป็ นประวัตการณ์
                ิ
 • ทศวรรษ 2000-
   2010 ภัย
   ธรรมชาติรนแรง
              ุ
   เพิมขึน 200%+
       ่ ้
   จากทศวรรษก่อน
   หน ้า                                   11
ั ้ ่
เราวัดต ้นทุนและประโยชน์ชดขึนเรือยๆ
                                  ้
• ธนาคารโลก (2007) ประเมินว่าการใชน้ าใต ้ดินเกินขนาดในจีน
           ี
  ก่อความเสยหาย 0.3% ของจีดพี และมลพิษอากาศและน้ าก่อ
                             ี
         ี
  ความเสยหาย 5.8% ของจีดพีี
                                         ื่
• Diao and Sarpong (2007) ประเมินว่าดินเสอมโทรมจะก่อ
         ี
  ความเสยหาย 5% ของจีดพเกษตรกรรมในกานาระหว่างปี
                        ี ี
  2006-2015
• The Economics
  of Ecosystems
  & Biodiversity
  (TEEB) (2010)


                                                             12
TEEB : ตัวอย่างมูลค่าของบริการนิเวศ




                                                           13
ทีมา: TEEB, Mainstreaming the Economics of Nature, 2010.
  ่
คนจนพึงพาบริการระบบนิเวศมากกว่า
      ่




                                       ั ่
• เกษตรกรรม ประมง และป่ าไม ้คิดเป็ นสดสวนค่อนข ้างน ้อยของจีด ี
                                     ่
  พี แต่บริการนิเวศของธรรมชาติเป็ นสวนสาคัญใน “จีดพคนจน”
                                                   ี ี
           ี
• เศรษฐกิจสเขียวจึงจาเป็ นต่อการลดความจนและความเหลือมล้า
                                                   ่               15
ความท ้าทาย: “เติบโต” + “รักษา”




                                  16
คิดใหม่เรือง “การเติบโตทางเศรษฐกิจ”
          ่
• การเติบโตทางเศรษฐกิจทียั่งยืน จะต ้องมอง “ความมั่ง
                            ่
             ั
  คัง” ของสงคมว่าผ่านการสะสมทุนทุกประเภท ไม่ใชนับ
    ่                                                ่
  เฉพาะทุนทีเป็ นเงินตรา แต่รวมถึงทุนธรรมชาติ (ระบบ
               ่
                          ึ
  นิเวศ), ทุนมนุษย์ (การศกษาและทักษะ), ทุนกายภาพ
  (เครืองจักรและอุปกรณ์), ทุนความรู ้ (นวัตกรรมและ
       ่
  ความคิดสร ้างสรรค์)
                                  ่ิ ่          ั
• การลงทุนในทุนธรรมชาติเป็ นสงทีจาเป็ นต ้องอาศยการ
                 ิ
  แทรกแซงเชงนโยบายโดยรัฐ เนืองจากแรงจูงใจของ
                                    ่
                                ่
  ตลาดอ่อนแอหรือไม่มเลย (เชน มองไม่เห็นต ้นทุนจริง)
                       ี
• นวัตกรรมจาเป็ นในฐานะเครืองมือทีบรรเทาการแลกได ้
                              ่        ่
         ี
  แลกเสยระหว่างการลงทุนในทุนธรรมชาติ กับการเพิม    ่
  ระดับการบริโภคหรือการลงทุนในทุนชนิดอืน    ่            17
Towards Green Growth: OECD
                   ี
        “การเติบโตสเขียว” หมายถึงการกระตุ ้นการเติบโตและการ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ ขณะสร ้างหลักประกันว่าทุนธรรมชาติจะสามารถ
  ่                            ิ่          ึ่
สงมอบทรัพยากรและบริการด ้านสงแวดล ้อมซงความอยูดมสขของ
                                                    ่ ี ี ุ
                      ่ ้
เราต ้องพึงพา การทาเชนนีจาต ้องจุดชนวนการลงทุนและนวัตกรรมที่
          ่
จะรองรับการเติบโตอย่างยังยืนและสร ้างโอกาสใหม่ๆ ทางเศรษฐกิจ
                         ่
        การหวนกลับไปทา “ธุรกิจแบบเดิมๆ” นันไร ้ปั ญญาและ
                                             ้
              ่ั                    ี่
สุดท ้ายจะไม่ยงยืน เต็มไปด ้วยความเสยงทีอาจสร ้างต ้นทุนมนุษย์
                                         ่
และตีกรอบจากัดการเติบโตและพัฒนาทางเศรษฐกิจ มันอาจนาไปสู่
ภาวะขาดแคลนน้ าจืด ปั ญหาคอขวดทรัพยากร มลพิษทางอากาศ
และน้ า ภาวะการเปลียนแปลงสภาพภูมอากาศ และความสูญเสย
                    ่                  ิ                   ี
                       ี      ึ่
ความหลากหลายทางชวภาพซงฟื้ นคืนมาไม่ได ้ ด ้วยเหตุนกลยุทธ์
                                                       ี้
การเติบโตทีเขียวกว่าเดิมจึงมีความจาเป็ นอย่างยิง
            ่                                  ่
                                                                 18
่
ความท ้าทาย: สร ้างชองทาง “เติบโต”
              ี              ่
• เศรษฐกิจสเขียวสร ้างชองทางการเติบโตใหม่ๆ ผ่าน
                        ิ
   • ผลิตภาพ: ประสทธิภาพในการใชทุนธรรมชาติ,    ้
                 ี
     ลดของเสยและการใชพลังงาน   ้
   • นว ัตกรรม: โอกาสใหม่ๆ ในการแก ้ปั ญหา
   • ตลาดใหม่: เทคโนโลยีสเขียว สนค ้าและบริการส ี
                                 ี           ิ
     เขียว
   • ความมนใจ: นโยบายรัฐทีมเสถียรภาพและคาดเดา
              ่ั                     ่ ี
                          ิ่                     ่
     ได ้ว่าจะแก ้ปั ญหาสงแวดล ้อมอย่างไร จะชวยสร ้าง
     ความมั่นใจให ้กับนักลงทุน
   • เสถียรภาพ: สมดุลมหภาคทีดกว่าเดิม ราคา
                                         ่ ี
     ทรัพยากรผันผวนน ้อยลง และรัฐมีรายได ้ใหม่ๆ จาก
                                   ่
     มาตรการทางการคลัง (เชน ภาษี มลพิษ)                 19
อุปสรรคสาคัญทีต ้องก ้าวข ้าม
              ่
                       กิจกรรม นวัตกรรม และการลงทุน
                           ี
                         “สเขียว” สร ้างผลตอบแทนตา
                                                 ่

         ผลตอบแทนทาง                                             คนไม่สามารถใช ้
          เศรษฐกิจตา
                   ่                                             ประโยชน์เต็มที่

  แรงเฉื่อย         ผลตอบแทนทาง                    ความล ้มเหลว                    ความล ้มเหลว
  (inertia)             ั
                       สงคมตา
                            ่                         ของรัฐ                        ของตลาด
                                                             ิ ์
                                                     กรรมสทธิไม่สมบูรณ์              ผลกระทบภายนอก
  ผลตอบแทนจาก          สาธารณูปโภคไม่
                                                      เงินอุดหนุนบิดเบือน             ของข ้อมูล และ
     R&D ตา
          ่               เพียงพอ
                                                     เอือประโยชน์รายเดิม
                                                        ้                             แรงจูงใจถูกหัน
                                                                                                   ่

                                                    นโยบายคาดเดาไม่ได ้              ผลกระทบภายนอก
   ผลกระทบของ                                                                           ิ
                         ทุนมนุษย์ตา
                                   ่                และการกากับดูแลไม่               เชงลบ (negative
     เครือข่าย
                                                         แน่นอน                        externalities)

   อุปสรรคกีดกัน               ั
                       ทุนทางสงคมตา และ
                                     ่
   คูแข่งรายใหม่
     ่                 คุณภาพของสถาบัน
                            ต่างๆ ตา
                                   ่

                ั
   ค่านิยมและนิสย   ทีมา: OECD, ปรับปรุงจาก Hausman, Velasco and Rodrik (2008), “Growth Diagnostics” ใน J.
                      ่                                                                                      20
         เดิมๆ      Stiglitz and N. Serra (eds), The Washington Concensus Reconsidered.
ิ
อุปสรรคและเครืองมือเชงนโยบาย
              ่
สาธารณูปโภคไม่เพียงพอ                                  • ภาษี , ค่าธรรมเนียม, เงินโอน, รัฐจับมือกับเอกชน

ทุนมนุษย์และทุนสังคมต่า สถาบันด ้อยคุณภาพ • ภาษี , การปฏิรูป/ยกเลิกเงินอุดหนุน

     ิ ์
กรรมสทธิไม่สมบูรณ์ เงินอุดหนุนรัฐ                      • ทบทวนและปฏิรปหรือยกเลิก
                                                                     ู

ความไม่มั่นใจเกียวกับการกากับดูแล
                ่                                      • ตังเป้ า, สร ้างระบบธรรมาภิบาลทีเป็ นอิสระ
                                                           ้                             ่

ผลกระทบภายนอกด ้านข ้อมูล, แรงจูงใจถูกหัน
                                        ่              • การติดฉลาก, วิธสมัครใจ, เงินอุดหนุน, มาตรฐาน
                                                                        ี

                   ิ่
ผลกระทบภายนอกด ้านสงแวดล ้อม                           • ภาษี , ใบอนุญาตค ้า, เงินอุดหนุน

การวิจัยและพัฒนาให ้ผลตอบแทนต่า                                                     ิ
                                                       • เงินอุดหนุนวิจัยและพัฒนา, สทธิประโยชน์ทางภาษี

ผลกระทบของเครือข่าย                                    • เพิมระดับการแข่งขัน, เงินอุดหนุนหรือค้าประกันเงินกู ้
                                                            ่

คูแข่งถูกกีดกันทางการค ้า
  ่                                                    • ปฏิรประบบกากับดูแล, ลดการผูกขาดโดยรัฐ
                                                             ู


  ทีมา: OCED, Tools for Delivering on Green Growth, 2011.
    ่                                                                                                      21
ี้
ดัชนีชความก ้าวหน ้า




                                           22
 ทีมา: OCED, Towards Green Growth, 2011.
   ่
ี
ผลการปฏิรป “การคลังสเขียว” ในเยอรมนี
         ู
• เยอรมนีปฏิรปมาตรการทางการคลังระหว่างปี 1999-2005 พอถึง
             ู
  ปลายปี 2005 ก็สามารถปรับเปลียนแรงจูงใจทางการเงินทังหมด
                              ่                     ้
                                                             ่
  คิดเป็ นมูลค่า 50,000 ล ้านยูโร (2% ของจีดพ) ด ้วยมาตรการเชน
                                            ี ี
                                                           ่
    เพิมภาษี พลังงาน ประกาศเก็บภาษี ไฟฟ้ า และเก็บภาษี ขนสง
        ่
     สาหรับรถบรรทุก สร ้างรายได ้ให ้รัฐ 22,000 ล ้านยูโร
             ้
    ประกาศใชระบบการค ้าการปล่อย CO2 สาหรับโรงไฟฟ้ าและ
     อุตสาหกรรม ครอบคลุมการปล่อย CO2 57% ของประเทศ
                                           ิ่
    ยกเลิกมาตรการอุดหนุนทีเป็ นอันตรายต่อสงแวดล ้อม 4,000
                           ่
     ล ้านยูโร ออกมาตรการอุดหนุนพลังงานสะอาด 6,000 ล ้านยูโร
                                                                 23
ี
เศรษฐกิจสเขียวเกิดไม่ได ้ถ ้าไม่ปฏิวตพลังงาน
                                    ั ิ




                                           24
การลงทุนด ้านพลังงานสะอาด ปี 2010




                                                                                   พันล ้านเหรียญสหรัฐ

                                                                                                         25
  ทีมา: Pew Charitable Trust, Who’s Winning the Clean Energy Race? 2010 Edition.
    ่
ั
ศกยภาพและผู ้นาโลกด ้านพลังงานสะอาด

                                                   Installed Capacity




 การเติบโตระหว่างปี 2005-2009


                                                                                  26
 ทีมา: Pew Charitable Trust, Who’s Winning the Clean Energy Race? 2010 Edition.
   ่
บทบาทของรัฐและเอกชนในพลังงานสะอาด




                                                                                   27
  ทีมา: Pew Charitable Trust, Who’s Winning the Clean Energy Race? 2010 Edition.
    ่
พลังงานหมุนเวียนทีมเสถียรภาพ กับความร่วมมือ
                   ่ ี
ระดับภูมภาค : ตัวอย่าง Roadmap 2050
        ิ




   ทีมา: European Climate Foundation, Roadmap 2050: a practical guide to a prosperous, low carbon Europe , 2010.
     ่
่                ี
เหตุผลทีบริษัทสนใจธุรกิจสเขียวมากขึน
                                   ้
แต่ละบริษัทมีเหตุผลทีแตกต่างกันในการนาหลัก “การ
                     ่
                       ้
พัฒนาอย่างยั่งยืน” มาใชในการดาเนินธุรกิจ
              ี
• แรงจูงใจทางศลธรรม
                             ี่
• ลดต ้นทุนและลด/บริหารความเสยง
                ิ    ิ
• กาไรจากประสทธิภาพเชงนิเวศ
                                       เหล่านีคอ
                                              ้ ื
  (eco-efficiency)
                                        “เหตุผล
• สร ้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีแตกต่างจาก
                         ่             ทางธุรกิจ”
  คูแข่ง (product differentiation)
    ่
• เป็ นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะ
  ยาว (“creative destruction”)                      29
“Push factors” เป็ นทังวิกฤตและโอกาส
                      ้
               ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ
           5 ประเด็นร ้อน                       ่       ี
                                       5 ผู ้มีสวนได ้เสย
                                       สาคัญทีผลักดัน
                                                  ่
       ภาวะสภาพภูมอากาศ
                  ิ                                ่ ่
                                       ผู ้บริโภคทีใสใจ
          เปลียนแปลง
              ่                             ิ่
                                           สงแวดล ้อม
        มลพิษและอันตราย                   ผู ้ถือหุ ้นนัก
           ต่อสุขภาพ                      เคลือนไหว
                                                 ่
         การต่อต ้านโลกาภิ            ภาคประชาสังคม/
         วัตน์ทไม่เป็ นธรรม
               ี่                        เอ็นจีโอ
           วิกฤตพลังงาน             ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/
                                        นักวิทยาศาสตร์
        ความไว ้วางใจของ                   ประชาชน
         ประชาชนในภาค
                 ื่
         ธุรกิจเสอมถอย

ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
                                                                                                            30
     Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
“Pull factor” : ธุรกิจใหม่ทยงยืนโตเร็ว
                                            ี่ ั่
                                                                                                            เสือผ้ า
                                                                                                                ้
                             50%                                                                           ออร์ แกนิก
อ ัตราการเติบโตต่อปี (%)




                                                                                                           $583 ล้ าน
                             40%                                                                สินค้ า
                                                                                               แฟร์ เทรด
                             30%                                                                 $2.2
                                                                          ไมโคร                พันล้ าน
                             20%           อาหารปลอด                     ไฟแนนซ์
                                             สารพิษ                     $7 พันล้ าน
                             10%          $15.5 พันล้ าน



                                                             รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009
                           ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
                             ่                                                                                          31
“Pull factor” : นักลงทุนเพือความยั่งยืน
                           ่
                       ั
การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible
          ่
investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทัวโลก
                                  ่               ่
• $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน –
  เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา
                             ่        ่ ่
• ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้
  อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ)
                                      ่            ้
• มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป
• กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย
• ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล
  ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว –
                                              ่
  Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini
  Social Index
                                                                32
Green is the new Black




                         33
เราต ้องเปลียน “มุมมอง” ให ้ได ้
            ่




                                                          34
          ที่ มา: Club of Rome, Limits to Growth, 1972.
่    ี ี่ ุ    ้  ิ
“ถ ้าคุณเปลียนวิธทคณใชตัดสนใจ คุณก็จะเปลียนการ
                                         ่
                         ิ
                     ตัดสนใจของคุณ”

                    - จิม แม็คนีล-
        ผู ้เขียนหลัก Brundtland Report, 1987



    “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ
            ี       ่
                    ความจริงทีเป็ นอยู่
                              ่
ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่
                  ่
              ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย”
                ่

            - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ -
                                                 35

More Related Content

Similar to Green Economy: Concepts and Updates

kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdfkaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdfaekwin1
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯsomporn Isvilanonda
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0maruay songtanin
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานfreelance
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์Tatsanee Sornprom
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Pisuth paiboonrat
 
9789740336051
97897403360519789740336051
9789740336051CUPress
 

Similar to Green Economy: Concepts and Updates (20)

Sustainable Business
Sustainable BusinessSustainable Business
Sustainable Business
 
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdfkaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
Triple Bottom Line
Triple Bottom LineTriple Bottom Line
Triple Bottom Line
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 
The necessary revolution
The necessary revolutionThe necessary revolution
The necessary revolution
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
9789740336051
97897403360519789740336051
9789740336051
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Green Economy: Concepts and Updates

  • 1. แนวคิดและความเคลือนไหวเรือง ่ ่ ี เศรษฐกิจสเขียว สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ 23 มกราคม 2012 งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 3. ี ประวัตศาสตร์ฉบับย่อของเศรษฐกิจสเขียว ิ • 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson • 1972 “Limits to Growth” โดย Club of Rome • 1972 UN Conference on the Human Environment ในกรุงสต็อคโฮล์มส ์ • 1973 วิกฤติน้ ามันครังแรก ้ • 1987 Brundtland Commission Report : “Our Common Future” • 1989 Montreal Agreement เพือกาจัดสาร CFC ่ 3
  • 4. ประวัตศาสตร์ฉบับย่อ (ต่อ) ิ • 1991 World Business Council on Sustainable Development ก่อตัง้ • 1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร • 1997 Kyoto Protocol • 2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination” • 2010 Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD): Interim Green Growth Report • 2011 United Nations Environment Programme (UNEP) Green Economy Report • 2011 European Commission’s EU Low Carbon Roadmap 4
  • 5. การปะทะระหว่างโลกทัศน์ หรือเท็จ vs จริง ี เศรษฐกิจสเขียวคืออะไร ระหว่าง... “เรืองหรูหรา” ที่ ่ “เรืองจาเป็ น” ต่อ ่ ไม่จาเป็ นยามตกอับ หรือ ความอยูรอดในยุคนี้ ่ ความเป็ นจริง 5
  • 6. ่ ู่ ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอูสขยะ การตลาด เพือทิงขว ้าง ่ ้ บริโภค กาจัด สกัด ผลิต จัดจาหน่าย ขยะ วัตถุดบ ิ ิ สนค ้า 6 ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว
  • 7. ่ ู่ ู่ อุดมคติ: “จากอูสอ” (cradle to cradle) “จากอู่ส่อ่” ในระบบนิเวศ ู ู “จากอู่ส่อ่” ในระบบมนุษย์ ู ู พืช ผลิต/ประกอบ วัสดุ ผลิตภัณฑ์ สาร สัตว์ อาหาร ในดิน บริโภค ผูย่อยสลาย ้ 7
  • 9. ิ่ ความท ้าทายใหญ่ด ้านสงแวดล ้อม 9 ทีมา: OCED, Towards Green Growth, 2011. ่
  • 10. เรากาลังทะลุขดการรองรับของธรรมชาติ ี Planetary Boundaries: 10 ทีมา: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/ ่
  • 11. ภัยธรรมชาติ: หนึงในต ้นทุนของเศรษฐกิจไม่เขียว ่ • ปี 2011 ภัย ธรรมชาติทั่วโลก ก่อความเสยหาย ี 380,000 ล ้าน เหรียญสหรัฐ สูง เป็ นประวัตการณ์ ิ • ทศวรรษ 2000- 2010 ภัย ธรรมชาติรนแรง ุ เพิมขึน 200%+ ่ ้ จากทศวรรษก่อน หน ้า 11
  • 12. ั ้ ่ เราวัดต ้นทุนและประโยชน์ชดขึนเรือยๆ ้ • ธนาคารโลก (2007) ประเมินว่าการใชน้ าใต ้ดินเกินขนาดในจีน ี ก่อความเสยหาย 0.3% ของจีดพี และมลพิษอากาศและน้ าก่อ ี ี ความเสยหาย 5.8% ของจีดพีี ื่ • Diao and Sarpong (2007) ประเมินว่าดินเสอมโทรมจะก่อ ี ความเสยหาย 5% ของจีดพเกษตรกรรมในกานาระหว่างปี ี ี 2006-2015 • The Economics of Ecosystems & Biodiversity (TEEB) (2010) 12
  • 13. TEEB : ตัวอย่างมูลค่าของบริการนิเวศ 13 ทีมา: TEEB, Mainstreaming the Economics of Nature, 2010. ่
  • 14.
  • 15. คนจนพึงพาบริการระบบนิเวศมากกว่า ่ ั ่ • เกษตรกรรม ประมง และป่ าไม ้คิดเป็ นสดสวนค่อนข ้างน ้อยของจีด ี ่ พี แต่บริการนิเวศของธรรมชาติเป็ นสวนสาคัญใน “จีดพคนจน” ี ี ี • เศรษฐกิจสเขียวจึงจาเป็ นต่อการลดความจนและความเหลือมล้า ่ 15
  • 17. คิดใหม่เรือง “การเติบโตทางเศรษฐกิจ” ่ • การเติบโตทางเศรษฐกิจทียั่งยืน จะต ้องมอง “ความมั่ง ่ ั คัง” ของสงคมว่าผ่านการสะสมทุนทุกประเภท ไม่ใชนับ ่ ่ เฉพาะทุนทีเป็ นเงินตรา แต่รวมถึงทุนธรรมชาติ (ระบบ ่ ึ นิเวศ), ทุนมนุษย์ (การศกษาและทักษะ), ทุนกายภาพ (เครืองจักรและอุปกรณ์), ทุนความรู ้ (นวัตกรรมและ ่ ความคิดสร ้างสรรค์) ่ิ ่ ั • การลงทุนในทุนธรรมชาติเป็ นสงทีจาเป็ นต ้องอาศยการ ิ แทรกแซงเชงนโยบายโดยรัฐ เนืองจากแรงจูงใจของ ่ ่ ตลาดอ่อนแอหรือไม่มเลย (เชน มองไม่เห็นต ้นทุนจริง) ี • นวัตกรรมจาเป็ นในฐานะเครืองมือทีบรรเทาการแลกได ้ ่ ่ ี แลกเสยระหว่างการลงทุนในทุนธรรมชาติ กับการเพิม ่ ระดับการบริโภคหรือการลงทุนในทุนชนิดอืน ่ 17
  • 18. Towards Green Growth: OECD ี “การเติบโตสเขียว” หมายถึงการกระตุ ้นการเติบโตและการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ ขณะสร ้างหลักประกันว่าทุนธรรมชาติจะสามารถ ่ ิ่ ึ่ สงมอบทรัพยากรและบริการด ้านสงแวดล ้อมซงความอยูดมสขของ ่ ี ี ุ ่ ้ เราต ้องพึงพา การทาเชนนีจาต ้องจุดชนวนการลงทุนและนวัตกรรมที่ ่ จะรองรับการเติบโตอย่างยังยืนและสร ้างโอกาสใหม่ๆ ทางเศรษฐกิจ ่ การหวนกลับไปทา “ธุรกิจแบบเดิมๆ” นันไร ้ปั ญญาและ ้ ่ั ี่ สุดท ้ายจะไม่ยงยืน เต็มไปด ้วยความเสยงทีอาจสร ้างต ้นทุนมนุษย์ ่ และตีกรอบจากัดการเติบโตและพัฒนาทางเศรษฐกิจ มันอาจนาไปสู่ ภาวะขาดแคลนน้ าจืด ปั ญหาคอขวดทรัพยากร มลพิษทางอากาศ และน้ า ภาวะการเปลียนแปลงสภาพภูมอากาศ และความสูญเสย ่ ิ ี ี ึ่ ความหลากหลายทางชวภาพซงฟื้ นคืนมาไม่ได ้ ด ้วยเหตุนกลยุทธ์ ี้ การเติบโตทีเขียวกว่าเดิมจึงมีความจาเป็ นอย่างยิง ่ ่ 18
  • 19. ่ ความท ้าทาย: สร ้างชองทาง “เติบโต” ี ่ • เศรษฐกิจสเขียวสร ้างชองทางการเติบโตใหม่ๆ ผ่าน ิ • ผลิตภาพ: ประสทธิภาพในการใชทุนธรรมชาติ, ้ ี ลดของเสยและการใชพลังงาน ้ • นว ัตกรรม: โอกาสใหม่ๆ ในการแก ้ปั ญหา • ตลาดใหม่: เทคโนโลยีสเขียว สนค ้าและบริการส ี ี ิ เขียว • ความมนใจ: นโยบายรัฐทีมเสถียรภาพและคาดเดา ่ั ่ ี ิ่ ่ ได ้ว่าจะแก ้ปั ญหาสงแวดล ้อมอย่างไร จะชวยสร ้าง ความมั่นใจให ้กับนักลงทุน • เสถียรภาพ: สมดุลมหภาคทีดกว่าเดิม ราคา ่ ี ทรัพยากรผันผวนน ้อยลง และรัฐมีรายได ้ใหม่ๆ จาก ่ มาตรการทางการคลัง (เชน ภาษี มลพิษ) 19
  • 20. อุปสรรคสาคัญทีต ้องก ้าวข ้าม ่ กิจกรรม นวัตกรรม และการลงทุน ี “สเขียว” สร ้างผลตอบแทนตา ่ ผลตอบแทนทาง คนไม่สามารถใช ้ เศรษฐกิจตา ่ ประโยชน์เต็มที่ แรงเฉื่อย ผลตอบแทนทาง ความล ้มเหลว ความล ้มเหลว (inertia) ั สงคมตา ่ ของรัฐ ของตลาด ิ ์ กรรมสทธิไม่สมบูรณ์ ผลกระทบภายนอก ผลตอบแทนจาก สาธารณูปโภคไม่ เงินอุดหนุนบิดเบือน ของข ้อมูล และ R&D ตา ่ เพียงพอ เอือประโยชน์รายเดิม ้ แรงจูงใจถูกหัน ่ นโยบายคาดเดาไม่ได ้ ผลกระทบภายนอก ผลกระทบของ ิ ทุนมนุษย์ตา ่ และการกากับดูแลไม่ เชงลบ (negative เครือข่าย แน่นอน externalities) อุปสรรคกีดกัน ั ทุนทางสงคมตา และ ่ คูแข่งรายใหม่ ่ คุณภาพของสถาบัน ต่างๆ ตา ่ ั ค่านิยมและนิสย ทีมา: OECD, ปรับปรุงจาก Hausman, Velasco and Rodrik (2008), “Growth Diagnostics” ใน J. ่ 20 เดิมๆ Stiglitz and N. Serra (eds), The Washington Concensus Reconsidered.
  • 21. ิ อุปสรรคและเครืองมือเชงนโยบาย ่ สาธารณูปโภคไม่เพียงพอ • ภาษี , ค่าธรรมเนียม, เงินโอน, รัฐจับมือกับเอกชน ทุนมนุษย์และทุนสังคมต่า สถาบันด ้อยคุณภาพ • ภาษี , การปฏิรูป/ยกเลิกเงินอุดหนุน ิ ์ กรรมสทธิไม่สมบูรณ์ เงินอุดหนุนรัฐ • ทบทวนและปฏิรปหรือยกเลิก ู ความไม่มั่นใจเกียวกับการกากับดูแล ่ • ตังเป้ า, สร ้างระบบธรรมาภิบาลทีเป็ นอิสระ ้ ่ ผลกระทบภายนอกด ้านข ้อมูล, แรงจูงใจถูกหัน ่ • การติดฉลาก, วิธสมัครใจ, เงินอุดหนุน, มาตรฐาน ี ิ่ ผลกระทบภายนอกด ้านสงแวดล ้อม • ภาษี , ใบอนุญาตค ้า, เงินอุดหนุน การวิจัยและพัฒนาให ้ผลตอบแทนต่า ิ • เงินอุดหนุนวิจัยและพัฒนา, สทธิประโยชน์ทางภาษี ผลกระทบของเครือข่าย • เพิมระดับการแข่งขัน, เงินอุดหนุนหรือค้าประกันเงินกู ้ ่ คูแข่งถูกกีดกันทางการค ้า ่ • ปฏิรประบบกากับดูแล, ลดการผูกขาดโดยรัฐ ู ทีมา: OCED, Tools for Delivering on Green Growth, 2011. ่ 21
  • 22. ี้ ดัชนีชความก ้าวหน ้า 22 ทีมา: OCED, Towards Green Growth, 2011. ่
  • 23. ี ผลการปฏิรป “การคลังสเขียว” ในเยอรมนี ู • เยอรมนีปฏิรปมาตรการทางการคลังระหว่างปี 1999-2005 พอถึง ู ปลายปี 2005 ก็สามารถปรับเปลียนแรงจูงใจทางการเงินทังหมด ่ ้ ่ คิดเป็ นมูลค่า 50,000 ล ้านยูโร (2% ของจีดพ) ด ้วยมาตรการเชน ี ี ่  เพิมภาษี พลังงาน ประกาศเก็บภาษี ไฟฟ้ า และเก็บภาษี ขนสง ่ สาหรับรถบรรทุก สร ้างรายได ้ให ้รัฐ 22,000 ล ้านยูโร ้  ประกาศใชระบบการค ้าการปล่อย CO2 สาหรับโรงไฟฟ้ าและ อุตสาหกรรม ครอบคลุมการปล่อย CO2 57% ของประเทศ ิ่  ยกเลิกมาตรการอุดหนุนทีเป็ นอันตรายต่อสงแวดล ้อม 4,000 ่ ล ้านยูโร ออกมาตรการอุดหนุนพลังงานสะอาด 6,000 ล ้านยูโร 23
  • 25. การลงทุนด ้านพลังงานสะอาด ปี 2010 พันล ้านเหรียญสหรัฐ 25 ทีมา: Pew Charitable Trust, Who’s Winning the Clean Energy Race? 2010 Edition. ่
  • 26. ั ศกยภาพและผู ้นาโลกด ้านพลังงานสะอาด Installed Capacity การเติบโตระหว่างปี 2005-2009 26 ทีมา: Pew Charitable Trust, Who’s Winning the Clean Energy Race? 2010 Edition. ่
  • 27. บทบาทของรัฐและเอกชนในพลังงานสะอาด 27 ทีมา: Pew Charitable Trust, Who’s Winning the Clean Energy Race? 2010 Edition. ่
  • 28. พลังงานหมุนเวียนทีมเสถียรภาพ กับความร่วมมือ ่ ี ระดับภูมภาค : ตัวอย่าง Roadmap 2050 ิ ทีมา: European Climate Foundation, Roadmap 2050: a practical guide to a prosperous, low carbon Europe , 2010. ่
  • 29. ี เหตุผลทีบริษัทสนใจธุรกิจสเขียวมากขึน ้ แต่ละบริษัทมีเหตุผลทีแตกต่างกันในการนาหลัก “การ ่ ้ พัฒนาอย่างยั่งยืน” มาใชในการดาเนินธุรกิจ ี • แรงจูงใจทางศลธรรม ี่ • ลดต ้นทุนและลด/บริหารความเสยง ิ ิ • กาไรจากประสทธิภาพเชงนิเวศ เหล่านีคอ ้ ื (eco-efficiency) “เหตุผล • สร ้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีแตกต่างจาก ่ ทางธุรกิจ” คูแข่ง (product differentiation) ่ • เป็ นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะ ยาว (“creative destruction”) 29
  • 30. “Push factors” เป็ นทังวิกฤตและโอกาส ้ ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ 5 ประเด็นร ้อน ่ ี 5 ผู ้มีสวนได ้เสย สาคัญทีผลักดัน ่ ภาวะสภาพภูมอากาศ ิ ่ ่ ผู ้บริโภคทีใสใจ เปลียนแปลง ่ ิ่ สงแวดล ้อม มลพิษและอันตราย ผู ้ถือหุ ้นนัก ต่อสุขภาพ เคลือนไหว ่ การต่อต ้านโลกาภิ ภาคประชาสังคม/ วัตน์ทไม่เป็ นธรรม ี่ เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร์ ความไว ้วางใจของ ประชาชน ประชาชนในภาค ื่ ธุรกิจเสอมถอย ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social 30 Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
  • 31. “Pull factor” : ธุรกิจใหม่ทยงยืนโตเร็ว ี่ ั่ เสือผ้ า ้ 50% ออร์ แกนิก อ ัตราการเติบโตต่อปี (%) $583 ล้ าน 40% สินค้ า แฟร์ เทรด 30% $2.2 ไมโคร พันล้ าน 20% อาหารปลอด ไฟแนนซ์ สารพิษ $7 พันล้ าน 10% $15.5 พันล้ าน รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009 ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation ่ 31
  • 32. “Pull factor” : นักลงทุนเพือความยั่งยืน ่ ั การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible ่ investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทัวโลก ่ ่ • $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน – เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา ่ ่ ่ • ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้ อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ) ่ ้ • มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป • กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย • ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว – ่ Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini Social Index 32
  • 33. Green is the new Black 33
  • 34. เราต ้องเปลียน “มุมมอง” ให ้ได ้ ่ 34 ที่ มา: Club of Rome, Limits to Growth, 1972.
  • 35. ี ี่ ุ ้ ิ “ถ ้าคุณเปลียนวิธทคณใชตัดสนใจ คุณก็จะเปลียนการ ่ ิ ตัดสนใจของคุณ” - จิม แม็คนีล- ผู ้เขียนหลัก Brundtland Report, 1987 “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ ี ่ ความจริงทีเป็ นอยู่ ่ ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่ ่ ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย” ่ - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ - 35