SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ครีเอทีฟคอมมอนส: สูวัฒนธรรมเสรีที่เคารพสิทธิผูสราง
          และสนองความตองการของผูเสพ
                              สฤณี อาชวานันทกุล
                              Fringer | คนชายขอบ
                             http://www.fringer.org/
        นําเสนอในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 8 เรื่อง “ผูคน ดนตรี ชีวิต”
                    วันที่ 26 มีนาคม 2552 ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร

                        งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-
                        nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทาซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้
                                                      ํ
                        ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต
                                                                          ํ
                        ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
หัวขอนําเสนอ
   กฎหมายลิขสิทธิ์ กับ “วัฒนธรรมเสรี” ยุคดิจิตอล
   สภาพอุตสาหกรรมเพลงไทยปจจุบัน และการปรับตัว
   ของอุตสาหกรรมตอการละเมิดลิขสิทธิ์
   ครีเอทีฟคอมมอนส: “ทางสายกลาง” ระหวางผูเสพและ
   ผูสราง


                                                     2
กฎหมายลิขสิทธิ์ กับ “วัฒนธรรมเสรี” ยุคดิจิตอล
มุมมองของ Lawrence Lessig
1. ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมใหมๆ ตังอยูบน
                                         ้
   รากฐานของความคิดและนวัตกรรมในอดีตเสมอ
2. อดีตพยายามควบคุมความคิดสรางสรรคตลอดมา
3. “สังคมเสรี” พัฒนาอนาคตดวยการจํากัดขอบเขต
   อํานาจของอดีต
4. สังคมของเราเปนสังคมที่มีเสรีภาพนอยลงเรือยๆ
                                            ่

                                                  4
กฎหมายลิขสิทธิ์ปจจุบันลาสมัย ทําใหเทคโนโลยีดิจิตอลและ
อินเทอรเน็ตสามารถเปน “อุปสรรค” หรือ “กีดกัน” การสรางสรรค
              อดีต                            ปจจุบัน




   ในอดีต งานสรางสรรคสวนใหญไมอยูภายใตกฎหมาย แตในปจจุบัน งานสวนใหญอยูภายใต
   กฎหมายลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะหลังเกิดอินเทอรเน็ต (ซึ่งทํา ‘ก็อปป’ ของงานทุกชนิดโดยธรรมชาติ)
   อายุของกฎหมายลิขสิทธิ์ยืดยาวขึ้นเรื่อยๆ เกินระยะเวลาเหมาะสมที่ผสรางจะไดกําไรจากงานนั้น
                                                                       ู
   ไปแลว ทําใหเปนอุปสรรคตอการสรางสรรคงานใหมๆ : ปจจุบันกฎหมายอเมริกาและยุโรป
   คุมครอง 70 ปหลังวันตายของเจาของลิขสิทธิ์ หรือระยะเวลาทีสั้นกวาระหวางวันตีพิมพ+95 ป
                                                              ่
   กับวันสรางงาน+120 ป ขอบเขตการคุมครองของกฎหมายไทยยังอยูที่ ตาย+50 ป
                                                                                            5
สิทธิของผูสราง vs. สิทธิของผูเสพ – “สมดุล” อยูตรงไหน?




  ถาผูบริโภคจายเงินซื้อซีดีเพลงมา แตไมสามารถแปลงไฟลเปน MP3 เพื่อฟงในคอมพิวเตอรและ
  เครื่องเลน MP3 แบบพกพาไดเพราะคายเพลง “ล็อก” ไว โดยอางวาเพื่อปองกันการละเมิด
  ลิขสิทธิ์ – แบบนี้ถือเปนการละเมิดสิทธิผูบริโภคหรือไม?                                   6
สภาพอุตสาหกรรมเพลงไทยปจจุบัน และการปรับตัวของ
อุตสาหกรรมตอการละเมิดลิขสิทธิ์
สวนแบงอุตสาหกรรมเพลงและสภาพการแขงขัน
  อุตสาหกรรมเพลงไทยมีผูครองตลาด 2 ราย มีสวนแบงรวมกันประมาณ 66%




  การแขงขันที่รนแรง Life cycle ของเพลงสั้นมาก ผูเลนตางพยายามทํา
                 ุ
  ธุรกิจบันเทิงแบบครบวงจร ขยายอิทธิพลไปครอบงําสื่อหรือซื้อสื่อ และขายเพลง
  ผานชองทางใหมๆ (จัดอีเวนต, ริงโทน ฯลฯ)
  ผูเลนรายเล็กและศิลปนอิสระมีโอกาสนอยลงทีจะเผยแพรงานผานสื่อดังเดิม
                                               ่                      ้
  กฎหมายลิขสิทธิ์ที่ลาหลัง เปดโอกาสใหผูครองตลาด “อาง” ลิขสิทธิ์ในทางทีอาจ
                                                                           ่
  กีดกันผูเลนรายเล็ก และสวนทางกับความตองการและวิถีชวตทีเปลียนไป
                                                         ีิ ่ ่                 8
เทคโนโลยีที่ “คุกคาม” อุตสาหกรรม แต “ปลดปลอย” ผูบริโภค
   MP3 (+ ฟอรแมทอื่นๆ เชน OGG)
   ซอฟทแวรที่แปลงเนื้อหาในแผนเสียงหรือซีดีเปน MP3
   เทคโนโลยี peer-to-peer เชน Limewire, Bittorrent
   ซอฟทแวรที่ชวยสรางงานเพลงระดับ “มืออาชีพ” ในราคาต่ําหรือฟรี (หลาย
   ชิ้นเปน open source)

    จาก “ผูบริโภค” (consumer) เปน “ผูผลิต-บริโภค” (prosumers)
    เพลงกลายเปน “สินคาโภคภัณฑ” (commodities)
    คนสามารถ “แบงปน” งานตางๆ ในรูปดิจตอลระหวางกันไดอยางแพรหลาย
                                                ิ
    สะดวก และรวดเร็ว
    เมื่อการ “ละเมิดลิขสิทธิ์” เปนวิถีชีวิต แสดงวากฎหมายลาหลังแลวหรือไม?   9
กลยุทธทคายเพลงเลือกใชในการแก “ปญหา” ละเมิดลิขสิทธิ์
        ี่
 1. ลดราคาสินคา (cost leadership)
 2. เพิ่มความถี่และปริมาณในการออกสินคาใหมๆ ใหมากขึ้น เพื่อเพิ่ม
    ประโยชนจากการประหยัดจากขนาด
 3. ขายรีมิกซ และแตกสาขาธุรกิจเพื่อหาแหลงรายไดใหมๆ
 4. ใหลูกคาเปนศูนยกลาง (customer centric) เชน วิจัยความตองการ
 5. เพิ่มคุณภาพของสินคา เพื่อยกระดับเปนสินคามีมูลคาเพิ่ม
    (premium goods) เชน เพิ่มการลงทุนในการออกแบบปกซีดี,
    คุณภาพของการแสดงสด
 ผูครองตลาดยังเนนกลยุทธ 1, 2 และ 3 อยู แตกลยุทธ 4 และ 5 เปนกลยุทธที่ฃ
 ยั่งยืนกวา เพราะสอดคลองกับความตองการของผูเสพและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป   10
ผูเลนตางๆ ในตลาด
   นักแตงเพลง
   ศิลปน
   คายเพลง
   บริษัทจัดการสิทธิ
   ผูบริโภคยุคดิจตอล
                  ิ
   เจาของเว็บไซต
   รานขายซีดี
   รานคาราโอเกะ
   ฯลฯ
หนาที่ของรัฐ/ผูเขียนกฎหมาย
  คืออะไร – ปกปองผูครอง
ตลาด หรือกระตุนการแขงขัน
 และสงเสริมวัฒนธรรมเสรี?      ที่มา: blog.macroart.net/2008/01/digital-distribution-and-music-industry2.html   11
ครีเอทีฟคอมมอนส (CC): “ทางสายกลาง” ระหวาง
ผูเสพและผูสราง
13
14
15
16
17
18
“แบงปน” ทําไม?
   “เจตนาดี” – ใช CC เพราะ:
      ใจดีอยากแบงปน
      อยากสงเสริมการตอยอดองคความรูและศิลปะ
      แตกอยากใหคนเคารพสิทธิในฐานะผูสรางดวย
          ็                           
   เจตนาเชิงพาณิชย – สราง “รายได” ดวยการใช CC:
      เผยแพรผลงานใหคนรูจักอยางรวดเร็ว
      ตอบสนองตอความตองการของแฟนๆ
      สราง “ภาพลักษณ” ที่ดี                         19
“แบงปน” ทําไม?




                   20
ประโยชนของครีเอทีฟคอมมอนส
1. เปน “ชุดเครื่องมือ” ที่ชวยสราง “สมดุล” ระหวางความตองการของ
   ผูผลิต ความตองการของผูเสพและผูผลิต-บริโภค และความตองการ
                                       
   ของสังคม
2. เปน “ทางเลือก” ที่อยูในกรอบของระบบลิขสิทธิ์ปจจุบัน
3. ตอบสนองเจตจํานงเชิงพาณิชยของผูสรางงาน โดยเฉพาะศิลปนราย
   เล็กๆ ที่ตองการ “สรางตัว” ใหเปนที่รูจัก และเกรงวาคายเพลงที่
   “ขาย” ลิขสิทธิ์ใหจะทําตัวในทางที่ไมเปนมิตรตอแฟนเฟลง
4. ตอบสนอง “เจตนาดี” ของคนธรรมดาที่อยากแบงปนงาน
5. สงเสริมวัฒนธรรมเสรี                                                 21

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismSarinee Achavanuntakul
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่าrit77
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaSarinee Achavanuntakul
 
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThGoogle Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80Rose Banioki
 
Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Piyaratt R
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖Rose Banioki
 
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudyDisclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudySarinee Achavanuntakul
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรักPradya Wongworakun
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙Rose Banioki
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลักssuser1eb5bc
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41PMAT
 

Was ist angesagt? (19)

Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
 
1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac1.How To Search Cmul Opac
1.How To Search Cmul Opac
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่า
 
Citizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social MediaCitizen Journalism & Internet as Social Media
Citizen Journalism & Internet as Social Media
 
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThGoogle Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
No phone on the road
No phone on the roadNo phone on the road
No phone on the road
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Conduct your Dream.
Conduct your Dream.
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
 
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudyDisclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรัก
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลัก
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
 
Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002
 

Andere mochten auch

How to restrategize your company in an economic crisis.
How to restrategize your company in an economic crisis.How to restrategize your company in an economic crisis.
How to restrategize your company in an economic crisis.Ouke Arts
 
How to restrategize your company in an economic crisis - updated and expanded
How to restrategize your company in an economic crisis - updated and expandedHow to restrategize your company in an economic crisis - updated and expanded
How to restrategize your company in an economic crisis - updated and expandedOuke Arts
 
B&M Events Company Profile
B&M Events Company ProfileB&M Events Company Profile
B&M Events Company ProfileBingle Felizardo
 
Using Events As Content Marketing
Using Events As Content MarketingUsing Events As Content Marketing
Using Events As Content MarketingJeff Hurt
 
Content Marketing for Events
Content Marketing for EventsContent Marketing for Events
Content Marketing for EventsJoe Pulizzi
 
21 ways to boost your event
21 ways to boost your event21 ways to boost your event
21 ways to boost your eventCyriel Kortleven
 
How Hotels Can Use Social Media to Attract Event Planners
How Hotels Can Use Social Media to Attract Event PlannersHow Hotels Can Use Social Media to Attract Event Planners
How Hotels Can Use Social Media to Attract Event PlannersJulius Solaris
 
Fundraising events and social media, how to #win
Fundraising events and social media, how to #winFundraising events and social media, how to #win
Fundraising events and social media, how to #winJonathan Waddingham
 
Effective Social Media For Event Exhibitors
Effective Social Media For Event ExhibitorsEffective Social Media For Event Exhibitors
Effective Social Media For Event ExhibitorsWeb 2.0 Expo
 
Event planning powerpoint
Event planning powerpointEvent planning powerpoint
Event planning powerpointkatelandturner
 
Amuse event management company profile
Amuse event management company profileAmuse event management company profile
Amuse event management company profileAMUSE Event Management
 
Event Management Company Profile
Event Management Company ProfileEvent Management Company Profile
Event Management Company Profileconceptmakerz123
 
How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)Steven Hoober
 
The History of SEO
The History of SEOThe History of SEO
The History of SEOHubSpot
 
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)Board of Innovation
 

Andere mochten auch (20)

How to restrategize your company in an economic crisis.
How to restrategize your company in an economic crisis.How to restrategize your company in an economic crisis.
How to restrategize your company in an economic crisis.
 
How to restrategize your company in an economic crisis - updated and expanded
How to restrategize your company in an economic crisis - updated and expandedHow to restrategize your company in an economic crisis - updated and expanded
How to restrategize your company in an economic crisis - updated and expanded
 
B&M Events Company Profile
B&M Events Company ProfileB&M Events Company Profile
B&M Events Company Profile
 
Using Events As Content Marketing
Using Events As Content MarketingUsing Events As Content Marketing
Using Events As Content Marketing
 
Gapingvoid: How To Supercharge Your Event
Gapingvoid: How To Supercharge Your EventGapingvoid: How To Supercharge Your Event
Gapingvoid: How To Supercharge Your Event
 
Content Marketing for Events
Content Marketing for EventsContent Marketing for Events
Content Marketing for Events
 
21 ways to boost your event
21 ways to boost your event21 ways to boost your event
21 ways to boost your event
 
How Hotels Can Use Social Media to Attract Event Planners
How Hotels Can Use Social Media to Attract Event PlannersHow Hotels Can Use Social Media to Attract Event Planners
How Hotels Can Use Social Media to Attract Event Planners
 
Company Overview Presentation
Company Overview PresentationCompany Overview Presentation
Company Overview Presentation
 
Fundraising events and social media, how to #win
Fundraising events and social media, how to #winFundraising events and social media, how to #win
Fundraising events and social media, how to #win
 
Effective Social Media For Event Exhibitors
Effective Social Media For Event ExhibitorsEffective Social Media For Event Exhibitors
Effective Social Media For Event Exhibitors
 
Event planning powerpoint
Event planning powerpointEvent planning powerpoint
Event planning powerpoint
 
Amuse event management company profile
Amuse event management company profileAmuse event management company profile
Amuse event management company profile
 
Event Management Company Profile
Event Management Company ProfileEvent Management Company Profile
Event Management Company Profile
 
Event management
Event managementEvent management
Event management
 
How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)How People Really Hold and Touch (their Phones)
How People Really Hold and Touch (their Phones)
 
The History of SEO
The History of SEOThe History of SEO
The History of SEO
 
Design Your Career 2018
Design Your Career 2018Design Your Career 2018
Design Your Career 2018
 
Displaying Data
Displaying DataDisplaying Data
Displaying Data
 
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
How I got 2.5 Million views on Slideshare (by @nickdemey - Board of Innovation)
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Creative Commons: Toward Free Culture

  • 1. ครีเอทีฟคอมมอนส: สูวัฒนธรรมเสรีที่เคารพสิทธิผูสราง และสนองความตองการของผูเสพ สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ นําเสนอในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 8 เรื่อง “ผูคน ดนตรี ชีวิต” วันที่ 26 มีนาคม 2552 ณ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร งานนี้เผยแพรภายใตลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by- nc-sa) โดยผูสรางอนุญาตใหทาซ้ํา แจกจาย แสดง และสรางงานดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึ่งของงานนี้ ํ ไดโดยเสรี แตเฉพาะในกรณีที่ใหเครดิตผูสราง ไมนาไปใชในทางการคา และเผยแพรงานดัดแปลงภายใต ํ ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เทานั้น
  • 2. หัวขอนําเสนอ กฎหมายลิขสิทธิ์ กับ “วัฒนธรรมเสรี” ยุคดิจิตอล สภาพอุตสาหกรรมเพลงไทยปจจุบัน และการปรับตัว ของอุตสาหกรรมตอการละเมิดลิขสิทธิ์ ครีเอทีฟคอมมอนส: “ทางสายกลาง” ระหวางผูเสพและ ผูสราง 2
  • 4. มุมมองของ Lawrence Lessig 1. ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมใหมๆ ตังอยูบน ้ รากฐานของความคิดและนวัตกรรมในอดีตเสมอ 2. อดีตพยายามควบคุมความคิดสรางสรรคตลอดมา 3. “สังคมเสรี” พัฒนาอนาคตดวยการจํากัดขอบเขต อํานาจของอดีต 4. สังคมของเราเปนสังคมที่มีเสรีภาพนอยลงเรือยๆ ่ 4
  • 5. กฎหมายลิขสิทธิ์ปจจุบันลาสมัย ทําใหเทคโนโลยีดิจิตอลและ อินเทอรเน็ตสามารถเปน “อุปสรรค” หรือ “กีดกัน” การสรางสรรค อดีต ปจจุบัน ในอดีต งานสรางสรรคสวนใหญไมอยูภายใตกฎหมาย แตในปจจุบัน งานสวนใหญอยูภายใต กฎหมายลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะหลังเกิดอินเทอรเน็ต (ซึ่งทํา ‘ก็อปป’ ของงานทุกชนิดโดยธรรมชาติ) อายุของกฎหมายลิขสิทธิ์ยืดยาวขึ้นเรื่อยๆ เกินระยะเวลาเหมาะสมที่ผสรางจะไดกําไรจากงานนั้น ู ไปแลว ทําใหเปนอุปสรรคตอการสรางสรรคงานใหมๆ : ปจจุบันกฎหมายอเมริกาและยุโรป คุมครอง 70 ปหลังวันตายของเจาของลิขสิทธิ์ หรือระยะเวลาทีสั้นกวาระหวางวันตีพิมพ+95 ป ่ กับวันสรางงาน+120 ป ขอบเขตการคุมครองของกฎหมายไทยยังอยูที่ ตาย+50 ป  5
  • 6. สิทธิของผูสราง vs. สิทธิของผูเสพ – “สมดุล” อยูตรงไหน? ถาผูบริโภคจายเงินซื้อซีดีเพลงมา แตไมสามารถแปลงไฟลเปน MP3 เพื่อฟงในคอมพิวเตอรและ เครื่องเลน MP3 แบบพกพาไดเพราะคายเพลง “ล็อก” ไว โดยอางวาเพื่อปองกันการละเมิด ลิขสิทธิ์ – แบบนี้ถือเปนการละเมิดสิทธิผูบริโภคหรือไม? 6
  • 8. สวนแบงอุตสาหกรรมเพลงและสภาพการแขงขัน อุตสาหกรรมเพลงไทยมีผูครองตลาด 2 ราย มีสวนแบงรวมกันประมาณ 66% การแขงขันที่รนแรง Life cycle ของเพลงสั้นมาก ผูเลนตางพยายามทํา ุ ธุรกิจบันเทิงแบบครบวงจร ขยายอิทธิพลไปครอบงําสื่อหรือซื้อสื่อ และขายเพลง ผานชองทางใหมๆ (จัดอีเวนต, ริงโทน ฯลฯ) ผูเลนรายเล็กและศิลปนอิสระมีโอกาสนอยลงทีจะเผยแพรงานผานสื่อดังเดิม ่ ้ กฎหมายลิขสิทธิ์ที่ลาหลัง เปดโอกาสใหผูครองตลาด “อาง” ลิขสิทธิ์ในทางทีอาจ ่ กีดกันผูเลนรายเล็ก และสวนทางกับความตองการและวิถีชวตทีเปลียนไป  ีิ ่ ่ 8
  • 9. เทคโนโลยีที่ “คุกคาม” อุตสาหกรรม แต “ปลดปลอย” ผูบริโภค MP3 (+ ฟอรแมทอื่นๆ เชน OGG) ซอฟทแวรที่แปลงเนื้อหาในแผนเสียงหรือซีดีเปน MP3 เทคโนโลยี peer-to-peer เชน Limewire, Bittorrent ซอฟทแวรที่ชวยสรางงานเพลงระดับ “มืออาชีพ” ในราคาต่ําหรือฟรี (หลาย ชิ้นเปน open source) จาก “ผูบริโภค” (consumer) เปน “ผูผลิต-บริโภค” (prosumers) เพลงกลายเปน “สินคาโภคภัณฑ” (commodities) คนสามารถ “แบงปน” งานตางๆ ในรูปดิจตอลระหวางกันไดอยางแพรหลาย ิ สะดวก และรวดเร็ว เมื่อการ “ละเมิดลิขสิทธิ์” เปนวิถีชีวิต แสดงวากฎหมายลาหลังแลวหรือไม? 9
  • 10. กลยุทธทคายเพลงเลือกใชในการแก “ปญหา” ละเมิดลิขสิทธิ์ ี่ 1. ลดราคาสินคา (cost leadership) 2. เพิ่มความถี่และปริมาณในการออกสินคาใหมๆ ใหมากขึ้น เพื่อเพิ่ม ประโยชนจากการประหยัดจากขนาด 3. ขายรีมิกซ และแตกสาขาธุรกิจเพื่อหาแหลงรายไดใหมๆ 4. ใหลูกคาเปนศูนยกลาง (customer centric) เชน วิจัยความตองการ 5. เพิ่มคุณภาพของสินคา เพื่อยกระดับเปนสินคามีมูลคาเพิ่ม (premium goods) เชน เพิ่มการลงทุนในการออกแบบปกซีดี, คุณภาพของการแสดงสด ผูครองตลาดยังเนนกลยุทธ 1, 2 และ 3 อยู แตกลยุทธ 4 และ 5 เปนกลยุทธที่ฃ ยั่งยืนกวา เพราะสอดคลองกับความตองการของผูเสพและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป 10
  • 11. ผูเลนตางๆ ในตลาด นักแตงเพลง ศิลปน คายเพลง บริษัทจัดการสิทธิ ผูบริโภคยุคดิจตอล ิ เจาของเว็บไซต รานขายซีดี รานคาราโอเกะ ฯลฯ หนาที่ของรัฐ/ผูเขียนกฎหมาย คืออะไร – ปกปองผูครอง ตลาด หรือกระตุนการแขงขัน และสงเสริมวัฒนธรรมเสรี? ที่มา: blog.macroart.net/2008/01/digital-distribution-and-music-industry2.html 11
  • 12. ครีเอทีฟคอมมอนส (CC): “ทางสายกลาง” ระหวาง ผูเสพและผูสราง
  • 13. 13
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. “แบงปน” ทําไม? “เจตนาดี” – ใช CC เพราะ: ใจดีอยากแบงปน อยากสงเสริมการตอยอดองคความรูและศิลปะ แตกอยากใหคนเคารพสิทธิในฐานะผูสรางดวย ็  เจตนาเชิงพาณิชย – สราง “รายได” ดวยการใช CC: เผยแพรผลงานใหคนรูจักอยางรวดเร็ว ตอบสนองตอความตองการของแฟนๆ สราง “ภาพลักษณ” ที่ดี 19
  • 21. ประโยชนของครีเอทีฟคอมมอนส 1. เปน “ชุดเครื่องมือ” ที่ชวยสราง “สมดุล” ระหวางความตองการของ ผูผลิต ความตองการของผูเสพและผูผลิต-บริโภค และความตองการ   ของสังคม 2. เปน “ทางเลือก” ที่อยูในกรอบของระบบลิขสิทธิ์ปจจุบัน 3. ตอบสนองเจตจํานงเชิงพาณิชยของผูสรางงาน โดยเฉพาะศิลปนราย เล็กๆ ที่ตองการ “สรางตัว” ใหเปนที่รูจัก และเกรงวาคายเพลงที่ “ขาย” ลิขสิทธิ์ใหจะทําตัวในทางที่ไมเปนมิตรตอแฟนเฟลง 4. ตอบสนอง “เจตนาดี” ของคนธรรมดาที่อยากแบงปนงาน 5. สงเสริมวัฒนธรรมเสรี 21