SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 98
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สวดมนต
      ทำกรรมฐาน
  ตามแบบหลวงพอจรัญ
      คณะผจดทำไดสงตนฉบับหนังสือเลมนี้ ใหกบพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม
           ูั                                ั
เพือขอความเมตตาตรวจสอบความถูกตอง และไดขออนุญาตจัดพิมพ เพือเผยแผเปนธรรมทานแลว
   ่                                                          ่
พระเดชพระคุณหลวงพอจรัญทานไดเมตตาอนุญาตใหจัดพิมพ พรอมทั้งอนุโมทนากับคณะผูจัดทำ
              นับเปนความเมตตากรุณาจากครูบาอาจารยอยางหาที่สุดมิได

               ทานสามารถติดตอขอหนังสือเลมนีไดฟรีที่ เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย
                                              ้
                                http://www.jarun.org/v6/board/

              สามารถดาวนโหลดตนฉบับหนังสือเลมนีไดที่ เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย
                                                  ้
                       http://www.jarun.org/v6/th/digitallibraly-book.html
ผแตง (ผรวบรวม)
  ู       ู          ณัฐวรรธน ภรนรา            nattawat@connexpeople.com
คณะทำงาน             สมศักดิ์ ชูศรีขาว          somsak887@hotmail.com
                     ประมวล วิทยบำรุงกุล        mv2219@hotmail.com
                     ปติ ลลิตโรจนวงศ และทานอืน ๆ ทีมไดเอยนามไว ณ ทีนี้
                                                 ่     ่ ิ                ่
ออกแบบศิลป          สุนสา แกวชม, จักรี จายกระโทก, ณัฐวรรธน ภรนรา
                        ิ
ออกแบบรูปเลม        ณัฐวรรธน ภรนรา
จัดรูปเลม           ศรินยา พึงทรัพย
                               ่
พิสจนอกษร
   ู ั               วารุณี จิตตรตน
                                   ั
ประสานงานการผลิต     เสรีรตน ปนทอง, ณัฐวรรธน ภรนรา
                          ั      


                     ไมสงวนลิขสิทธิ์
                     ตามคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม
                     “ของดีของเราไมตองสงวนลิขสิทธิ์ ใครอยากไดก็ใหเขาไป
                         แตของไมดของเราตองสงวนไว ไมใหคนอืนมาใช”
                                   ี                           ่
                            จากหนังสือกฎแหงกรรม เลม ๑๖ เรือง ความเสือม โดยพระธรรมสิงหบุราจารย
                                                            ่          ่
                                                        http://www.jarun.org/v6/th/lrule16p1301.html


                     ทานสามารถอานเจตนารมณของการจัดทำหนังสือเลมนีไดททายเลม
                                                                    ้ ี่ 

ISBN                 ๙๗๘-๙๗๔-๑๓-๓๒๔๔-๑
พิมพครังที่ ๑
        ้            ธันวาคม ๒๕๕๐
จำนวนทีพมพ
          ่ ิ        ๑๐,๐๐๐ เลม
ราคา                 จัดพิมพเพือเผยแผเปนธรรมทาน
                                ่
สรางสรรคผลงานโดย   บริษท คอนเน็ค พีเพิล จำกัด
                           ั
                     ๓๐๕ ซ. รังสิต-นครนายก ๔๔ ซ.๑
                     ต.ประชาธิปตย อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ๑๒๑๓๐
                                  
                     โทรศัพท ๐-๒๙๗๔-๑๐๐๑ แฟกซ ๐-๒๙๗๔-๑๑๒๐
                     อีเมลล info@connexpeople.com
                     เว็บไซต http://www.connexpeople.com
จัดพิมพและดูแลโดย   บริษท รงเรืองวิรยะพัฒนาโรงพิมพ จำกัด
                          ั ุ         ิ
                     ๑๐๖/๒๐๔ หมู ๔ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว
                     กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๓๐
                     โทรศัพท ๐-๒๙๑๘-๐๑๙๒ แฟกซ ๐-๒๙๑๗-๙๐๗๒
                     อีเมลล viriya_999@yahoo.com
สารบัญ
สวดมนต
 บทสวดมนต                                       ๑๐
 บทแผเมตตา                                      ๑๙
 บทอุทศสวนกุศล (บทกรวดน้ำ)
        ิ                                        ๑๙
 วิธการสวดมนต
    ี                                            ๒๑
 ลำดับการสวดมนต                                 ๒๔
 เหตุใดตองสวดอิตปโสเทาอายุ + ๑
                 ิ                              ๒๕
 การเปลียนจาก “เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต
          ่                                      ๒๖
 วิธการแผเมตตาและอุทศสวนกุศล
      ี              ิ                           ๒๗
 ถามตอบเรืองการสวดมนต โดยพระธรรมสิงหบุราจารย
            ่                                    ๓๔
 บทสวดมนตแปล                                    ๔๕

ทำกรรมฐาน
 วิปสสนากรรมฐานเบืองตน
                  ้                             ๕๓
 คติธรรมคำสอน เรืองการปฏิบตกรรมฐาน
                 ่          ัิ                   ๖๐
 กรรมฐาน โดยพระธรรมสิงหบุราจารย                 ๗๘
 วิปสสนากรรมฐานคืออะไร
                                                ๘๐
 ธุระในพระศาสนา                                  ๘๔
 การเรียนรวปสสนากรรมฐาน
            ูิ                                  ๘๕
 สติปฏฐาน ๔
                                                ๘๖
 อานิสงสของการปฏิบตธรรม
                     ัิ                          ๘๙
 ประโยชนของการปฏิบตวปสสนากรรมฐาน
                      ัิิ                       ๙๑
 สติปฏฐาน ๔ ปดอบายภูมได
                        ิ                       ๙๓
“อยาลืมนะ ทีลนป
               ่ ิ้
      หายใจยาว ๆ
สำรวมเวลาสวดมนต
  นันนะไดบญแลว”
    ้       ุ
จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง วิธแผเมตตาและอุทศสวนกุศล
                               ่     ี               ิ
                                    โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                  http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html
บทสวดมนต
             กราบพระรัตนตรัย
   อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง
ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
   สะวากขาโต ภะคะวะตา ธั ม โม ธั ม มั ง
นะมัสสามิ (กราบ)
   สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง
           
นะมามิ (กราบ)
             นมัสการ (นะโม)
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา
สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)

     ไตรสรณคมน (พุทธัง ธัมมัง สังฆัง)
         พุทธัง สะระณัง        คัจฉามิ
         ธัมมัง สะระณัง        คัจฉามิ
         สังฆัง สะระณัง        คัจฉามิ
๑๐                   สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
ทุตยมป
           ิั            พุทธัง       สะระณัง   คัจฉามิ
        ทุตยมป
           ิั            ธัมมัง       สะระณัง   คัจฉามิ
        ทุตยมป
           ิั            สังฆัง       สะระณัง   คัจฉามิ
       ตะติยมป   ั      พุทธัง       สะระณัง   คัจฉามิ
       ตะติยมป ั        ธัมมัง       สะระณัง   คัจฉามิ
       ตะติยมป
              ั          สังฆัง       สะระณัง   คัจฉามิ
                พระพุทธคุณ (อิตป โส)
                               ิ
    อิตป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
       ิ
วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต
ตะโร ปุรสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
         ิ
พุทโธ ภะคะวาติฯ
                         พระธรรมคุณ
     สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก
อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง
เวทิตพโพ วิญูหตฯ (อานวา วิญูฮต)ิ
     ั         ี ิ               ี
สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                       ๑๑
พระสังฆคุณ
    สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
             
    อุชปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
       ุ       
    ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
                   
    สามีจปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
           ิ     
    ยะทิทง จัตตาริ ปุรสะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสะปุคคะลา
         ั            ิ                 ิ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลี
กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
    (อานออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย
โดยสระเอ กึงสระไอ)
           ่

         พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
          พาหุง สะหัสสะมะภินมมิตะสาวุธนตัง
                            ิ         ั
     ครีเมขะลัง อุทตะโฆระสะเสนะมารัง
                   ิ
     ทานาทิธมมะวิธนา ชิตะวา มุนนโท
             ั       ิ          ิ
     ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
๑๒                      สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
มาราติเรกะมะภิยชฌิตะสัพพะรัตติง
                          ุ
     โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
     ขันตีสทนตะวิธนา ชิตะวา มุนนโท
              ุ ั     ิ             ิ
     ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
        นาฬาคิรง คะชะวะรัง อะติมตตะภูตง
                  ิ                     ั     ั
   ทาวัคคิจกกะมะสะนีวะ สุทารุณนตัง
               ั                ั
   เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนนโท
                    ิ             ิ
   ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
        อุกขิตตะขัคคะมะติหตถะสุทารุณนตัง
                              ั             ั
   ธาวันติโยชะนะปะถังคุลมาละวันตัง
                            ิ
   อิทธีภสงขะตะมะโน ชิตะวา มุนนโท
          ิ ั                         ิ
   ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
        กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินยา    ี
   จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
   สันเตนะ โสมะวิธนา ชิตะวา มุนนโท
                        ิ                 ิ
   ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ             ๑๓
สัจจัง วิหายะ มะติสจจะกะวาทะเกตุง
                          ั
  วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอนธะภูตง
                              ั         ั
  ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนนโท   ิ
  ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
      นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธง มะหิทธิง
                                ุั
  ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
  อิทธูปะเทสะวิธนา ชิตะวา มุนนโท
                  ิ             ิ
  ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
      ทุคคาหะทิฏฐิภชะเคนะ สุทฏฐะหัตถัง
                        ุ         ั
  พรัหมัง* วิสทธิชตมทธิพะกาภิธานัง
                ุ ุ ิ ิ
  ญาณาคะเทนะ วิธนา ชิตะวา มุนนโท
                      ิ               ิ
  ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
      เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย
  วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
  หิตวานะเนกะวิวธานิ จุปททะวานิ
                    ิ       
  โมกขัง สุขง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญฯ
              ั
* พรัหมัง อานวา พรัมมัง
๑๔                          สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
มหาการุณิโก
      มะหาการุณโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินง
               ิ                            ั
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมตตะมัง
                                       ุ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวฑฒะโน เอวัง
                                   ั
ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา
ชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก
สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติฯ สุนัก
ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
สุมหตโต จะ สุยฏฐัง พรัหมะ** จาริสุ ปะทักขิณง
    ุ ุ          ิ                            ั
กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ
** พรัหมะ อานวา พรัมมะ




สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ         ๑๕
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
      หลังจากสวดมนตตงแตตนจนจบบทพาหุงมาหากาฯ แลว
                     ั้ 
ก็ใหสวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิตปโส ใหไดจำนวนจบ
                                   ิ 
เทากับอายุของตนเอง แลวสวดเพิมไปอีกหนึงจบ ตัวอยางเชน
                              ่          ่
ถาอายุ ๓๕ ป ตองสวด ๓๖ จบ จากนันจึงคอยแผเมตตา
                                       ้
อุทิศสวนกุศล

 พุทธคุณเทาอายุเกิน ๑ (อิตปโสเทาอายุ+๑)
                           ิ 
    อิตป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
       ิ
วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต
ตะโร ปุรสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
         ิ
พุทโธ ภะคะวาติฯ
๑๖                         สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
“สวดมนตเปนนิจ
 อธิษฐานจิตเปนประจำ
อโหสิกรรมเสียกอน
   และเราก็แผเมตตา
 ใหสรรพสัตวทั้งหลาย”
  จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร
                                   โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html
“หายใจยาว ๆ
    ตั้งกัลยาณจิตไวที่ลิ้นป
        ไม ใชพดสงเดช”
                ู
“จำนะทีลนป เปนการแผเมตตา”
       ่ ิ้
     “จะอุทศก็ยกจากลินป
           ิ          ้
      สหนาผาก เรียกวา
        ู
   อุณาโลมา ปจชายเต....”
     จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล
                                         โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                      http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html
บทแผเมตตา
สัพเพ สัตตา สัตวทงหลาย ทีเ่ ปนเพือนทุกข เกิดแกเจ็บ
                  ั้               ่
ตาย ดวยกันทังหมดทังสิน
             ้      ้ ้
อะเวรา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีเวรแกกัน
และกันเลย
อั พ ยาป ช ฌา โหนตุ จงเป น สุ ข เป น สุ ข เถิ ด อย า ได
พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
อะนีฆา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมความทุกข
                                                  ี
กาย ทุกขใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ
รักษาตนใหพนจากทุกขภัยทั้งสิ้นเทอญ

          บทอุทศสวนกุศล (บทกรวดน้ำ)
               ิ
อิทง เม มาตาปตนง โหตุ สุขตา โหนตุ มาตา
   ั            ู ั             ิ
ปตะโร ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกมารดาบิดาของขาพเจา
ขอใหมารดาบิดาของขาพเจา จงมีความสุข


สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                      ๑๙
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกญาติท้ังหลายของขาพเจา ขอให
ญาติทั้งหลายของขาพเจา จงมีความสุข
อิทง เม คุรปชฌายาจะริยานังโหตุ สุขตา โหนตุ
    ั      ู                         ิ
คุรปชฌายาจะริยา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จ แกครูอปชฌาย
   ู                      ้               ุ 
อาจารยของขาพเจา ขอใหครูอุปชฌายอาจารยของขาพเจา
จงมีความสุข
อิทง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ
   ั                                ิ
เทวา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จแกเทวดาทังหลายทังปวง ขอให
                ้                 ้      ้
เทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ
   ั                             ิ
เปตา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จ แกเปรตทังหลายทังปวง ขอให
                ้                  ้     ้
เปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทง สัพพะ เวรีนง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ เวรี
   ั            ั         ิ
ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง
ขอใหเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ
   ั                              ิ
สัตตา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จ แกสตวทงหลายทังปวง ขอให
                 ้            ั ั้       ้
สัตวทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
๒๐                          สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
วิธีการสวดมนต
       การสวดมนตเปนนิจนี้ มงใหจตแนบสนิทติดในคุณของพระพุทธเจา
                              ุ ิ
พระธรรม และพระสงฆ จิตใจจะสงบเยือกเย็นเปนบัณฑิต มีความคิดสูง
ทิฏฐิมานะทังหลายก็จะคลายหายไปได เราจะไดรบอานิสงสเปนผลของ
             ้                                 ั
ตนเองอยางนี้จากสวดมนตเปนนิจ
       การอธิษฐานจิตเปนประจำนัน มงหมายเพือแกกรรมของผมกรรม
                                  ้ ุ        ่              ู ี
จากการกระทำครั้งอดีตที่เรารำลึกได และจะแกกรรมในปจจุบันเพื่อสู
อนาคต กอนทีจะมีเวรมีกรรม กอนอืนใด เราทราบเราเขาใจแลว โปรด
               ่                    ่
อโหสิกรรมแกสัตวท้ังหลาย เราจะไมกอเวรกอกรรมกอภัยพิบัติ ไมมี
เสนียดจัญไรติดตัวไปเรียกวา เปลา ปราศจากทุกข ถึงบรมสุข คือนิพพาน
ได เราจะรไดวากรรมติดตามมา และเราจะแกกรรมอยางไร ในเมือกรรม
            ู                                               ่
ตามมาทันถึงตัวเรา เราจะรตวไดอยางไร เราจะแกอยางไร เพราะมันเปน
                          ูั
เรืองทีแลว ๆ มา
   ่ ่
       การอโหสิกรรม หมายความวา เราไมโกรธ ไมเกลียด เรามีเวร
กรรมตอกันก็ใหอภัยกัน อโหสิกันเสีย อยางที่ทานมาอโหสิกรรม ณ
บัดนี้ ใหอภัยซึงกันและกัน พอใหอภัยได ทานก็แผเมตตาได ถาทานมี
                 ่
อารมณคางอยูในใจ เสียสัจจะ ผูกใจโกรธ อิจฉาริษยา อาสวะไมสิ้น
ไหนเลยละทานจะแผเมตตาออกได เราจึงไมพนเวรพนกรรมในขอนี้
การอโหสิกรรมไมใชทำงาย
   จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๔ เรือง แกกรรมดวยการกำหนด โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                                 ่
                                          http://www.jarun.org/v6/th/lrule04p0301.html
    จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง ทำความดีนแสนยาก โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                                   ่              ี้
                                          http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html


สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                              ๒๑
วิธในการสวดมนตพระเดชพระคุณหลวงพอไดสอนไววา
   ี                                        
    “เอาตำรามาดูกนก็ไมไดผล แตดตำราเพือใหถกวรรคตอน
                 ั               ู      ่ ู
และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ”


  ทานสามารถฟงเสียงสวดมนต บทพาหุงมหากาฯ ไดท่ี
            http://fs1.netdiskbytrue.com/Pub014/44/249321_praypahung.wma


                           การวางจิต
  เมือสวดมนตไดถกวรรคตอน เปนสมาธิดแลว ก็วางจิตใหถกตอง
     ่             ู                     ี           ู
       สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลินป)
                                                ้ 
       อโหสิกรรมเสียกอนและเราก็แผเมตตา... (ลินป)
                                               ้ 
       มีเมตตาดีแลว ไดกศลแลวเราก็อทศเลย (อุณาโลม)
                         ุ           ุ ิ
         “แผสวนกุศลทำอยางไร อุทศตรงไหน ทำตรงไหน และวาง
                                  ิ
จิตไวตรงไหน ถึงจะได อยาลืมนะ ทีลนป หายใจยาว ๆ สำรวม
                                        ่ ิ้
เวลาสวดมนตนนนะ ไดบญแลว ไมตองเอาสตางคไปถวายองคโนน
                  ั้        ุ         
องคนหรอก แลวสำรวมจิต สงกระแสจิตทีหนาผาก อุทศสวนกุศล..”
      ี้                                     ่    ิ
สวดมนตเปนนิจ (ลินป) ้ 
         “ลินป จะอยครึงทางระหวางจมูกถึงสะดือ”
            ้         ู ่

๒๒                                 สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
“........อธิษฐานจิต หมายความวา ตังสติสมปชัญญะ ไวทลนป
                                        ้    ั           ี่ ิ้
สำรวมกาย วาจา จิตใหตงมันแลว จึงขอแผเมตตาไวในใจ สักครหนึง
                           ั้ ่                            ู ่
แลวก็อทศใหมารดา บิดาของเรา วาเราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบญ
       ุ ิ                                                     ุ
ไดกุศลแน ๆ เดี๋ยวนี้ดวย ผมเรียนถวายนะ มิฉะนั้นผมจะอุทิศไป
ยุโรปไดอยางไร..........”
อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลินป)   ้ 
      แผเมตตากับอุทศ มันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสทธิกอน
                      ิ                              ุ ์
ไมอจฉา ริษยา ไมผกพยาบาทใครไวในใจ ทำใจใหแจมใส ทำให
    ิ               ู
ใจสบาย คือ เมตตาแลวเราจะอุทศใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลังสูง
                              ิ
สามารถจะอุทิศให คุณพอคุณแม ของเรากำลังปวยไขใหหายจาก
โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวยที่เคยมาบวชที่วัดนี้
เปนตน...”
อโหสิกรรมกอนแลวคอยแผเมตตา
       “หายใจยาว ๆ ตังกัลยาณจิตไวทลนป ไมใชพดสงเดช จำนะ
                     ้             ี่ ิ้        ู
ทีลนป เปนการแผเมตตาจะอุทศก็ยกจากลินป สหนาผาก เรียกวา
  ่ ิ้                       ิ           ้   ู
อุณาโลมา ปจชายเต....”
แผเมตตา (ลินป) อุทศสวนกุศล (อุณาโลม)
            ้  ิ

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง การอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                                 http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html
             และหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล
                                                   โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                                 http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                     ๒๓
ลำดับการสวดมนต
        “พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาวา บางคนเขาไปหาหมอดู
เคราะหรายก็ตองสะเดาะเคราะห อาตมาก็มาดูเหตุการณโชคลาง
ไมดกเ็ ปนความจริงของหมอดู อาตมาก็ตงตำราขึนมาดวยสติ บอกวา
     ี                                  ั้        ้
โยมไปสวดพุทธคุณเทาอายุใหเกินกวา ๑ ใหได เพื่อใหสติดี
แลวสวด “พาหุงมหากาฯ” หายเลย สติกดขน เทาทีใชไดผล สวด
                                           ็ ี ึ้   ่
ตังแต นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ
  ้
พาหุงมหากาฯ จบแลวยอนกลับมาขางตน เอาพุทธคุณหองเดียว
(อิตปโส ภะคะวา จนถึง พุทโธ ภะคะวาติ) หองละ ๑ จบ ตอ ๑
    ิ 
อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ไดผล”
          ตังนะโม ๓ จบ
            ้
          สวดพุทธัง ธัมมัง สังฆัง
          สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ
          สวดพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
          สวดมหาการุณิโก
          สวดพุทธคุณ อยางเดียวเทากับอายุ บวก ๑ เชน อายุ ๒๘ ป
          ใหสวด ๒๙ จบ อายุ ๕๔ ป ใหสวด ๕๕ จบ เปนตน
          แผเมตตา
          อุทศสวนกุศล
              ิ
             จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง อานิสงสของการสวดพุทธคุณ
                                                โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                              http://www.jarun.org/v6/th/lrule03r0801.html

๒๔                                 สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
เหตุใดตองสวดพุทธคุณเทาอายุเกิน ๑
               (อิติปโสเทาอายุ+๑)
      “อาตมาเคยพบคนแกอายุ ๑๐๐ กวาป มีคนเอากับขาวมาให
ก็สวด อิตปโส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทโธ ๑ จบ ใหตวเองกอน
           ิ                                         ั
สวนอีกจบหนึงใหคนทีนำมาให เสร็จแลวใหถวยคืนไป อาตมาจับ
               ่         ่                  
เคล็ดลับได จะใหใครตองเอาทุนไวกอน ถึงไดเรียกวา สวดพุทธคุณ
                                  
เทาอายุเกินหนึ่งไงเลา”
                   จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง ทำความดีนแสนยาก
                                                  ่             ี้
                                               โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                            http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html

      ทีวาใหวาสวดเทาอายุนี่ หมายความวาอายุเทาไหร ๒๐ ถาเรา
        ่ 
สวดแค ๑๐ เดียว มันก็ไมเทาอายุสวดไปเนียเทาอายุกอนนะมันคุม
                                          ่          
ใหมีสติ แลวก็เกินหนึ่งเพราะอะไร ที่พูดเกินหนึ่งเนี่ยหมายความ
คนมักงายมักได คือมันมีเวลานอย ถาสวดแคเกินหนึงทำอะไรใหมน
                                                  ่            ั
เกินไว เหมือนคุณโยมเนี่ยไปคาขาย ยังไมไดขายไดสักกะตังคเลย
จะเอาอะไรไปใหทาน ยังไมไดกำไรเลยตองใหตวเองกอนนะ นีตอง
                                              ั             ่
คาขายตองลงทุนนี่ ตองลงทุนก็สวดไป แตสวดมากเทาไรยิงดีมาก
                                                          ่
ไดมสมาธิมาก แตอาตมาทีพดไวคอคนมันไมมเี วลา ก็เอาเกินหนึงได
    ี                     ่ ู ื                             ่
ไหม เกินหนึงไดกใชไดนะ แตถาเกินถึง ๑๐๘ ไดไหม ยิงดีใหญ
              ่ ็                                      ่
ทำใหเกิดสมาธิสูงขึ้น
                       จากบทสัมภาษณในรายการ “ชีวิตไมสิ้นหวัง” ทางชอง ๓

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                 ๒๕
การเปลียนจาก “เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต
         ่
     “เม” คือ ขา หมายถึง ผสวดนันแหละ สวน “เต” คือทาน
                               ู    ่
พระเดชพระคุณหลวงพอ ไดเทศนตอบผใหสมภาษณจากเทปธรรมบรรยาย
                                 ู ั
“สวดมนตจนหายปวย” และ “มารไมมี บารมีไมเกิด”
     เราสามารถเลือกสวดไดทง “เม” และ “เต” แตขอฝากย้ำคำสอน
                            ั้
ของพระเดชพระคุณหลวงพอเรืองการแผเมตตาและอุทศสวนกุศล มาให
                          ่                   ิ
พิจารณาดังนี้
      “ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ
สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก
มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน
ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ
ถวาย เรืองจริงเปนอยางนัน”
         ่               ้

           จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง วิธแผเมตตาและอุทศสวนกุศล
                                          ่     ี               ิ
                                              โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                             http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html




๒๖                                 สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
วิธีการแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล
          วันนี้จะขอฝากญาติโยมไว การอุทิศสวนกุศล และการแผ
สวนกุศลไมเหมือนกัน การแผคอการแพรขยาย เปนการเคลียรพนที่
                               ื                            ื้
แผสวนบุญออกไป เรียกวา สัพเพสัตตา สัตวทงหลายทีเ่ ปนเพือนทุกข
                                           ั้            ่
เกิดแกเจ็บตายดวยกันทังหมดทังสิน เรียกวาการแผแพรขยาย แตการ
                          ้   ้ ้
อุทศให เปนการใหโดยเจาะจง ถาเราจะใหตวเองไมตองบอก ไมตอง
    ิ                                     ั                   
บอกวาขอใหขาพเจารวย ขอใหขาพเจาดี ขอใหขาพเจาหมดหนี้
ทำบุญก็รวยเอง เราเปนคนทำ เราก็เปนคนได และการใหบดามารดา
                                                        ิ
นันก็ไมตองออกชือแตประการใด ลูกทำดีมปญญา ไดถงพอแม เพราะ
  ้                ่                   ี            ึ
ใกลตวเรา พอแมอยในตัวเรา เราสรางความดีมากเทาไรจะถึงพอแม
        ั               ู
มากเทานัน เรามีลก ลูกเราดี ลูกมีปญญา พอแมกชนใจโดยอัตโนมัติ
               ้      ู                       ็ ่ื
ไมตองไปบอก

                         จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง การอุทิศสวนกุศล
                                                โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                              http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html




สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                   ๒๗
ผปรารถนาจะปลูกเมตตาใหงอกงามอยในจิต พึงปลูกดวยการ
        ู                                       ู
คิดแผ ในเบืองตนแผไปโดยเจาะจงกอน ในบุคคลทีชอบพอ มีมารดา
             ้                                    ่
บิดา ญาติมตร เปนตน โดยนัยวาผนน ๆ จงเปนผไมมเี วร ไมมี
               ิ                     ู ั้           ู
ความเบียดเบียน ไมมทกข มีสขสวัสดี รักษาตนเถิด เมือจิตไดรบ
                       ี ุ      ุ                     ่       ั
การฝกหัดคุนเคยกับเมตตาเขาแลว ก็แผขยายใหกวางออกไปโดย
ลำดับดังนี้ ในคนทีเ่ ฉย ๆ ไมชอบไมชง ในคนไมชอบนอย ในคนที่
                                       ั
ไมชอบมาก ในมนุษยและดิรจฉานไมมประมาณ เมตตาจิต เมือคิด
                              ั           ี              ่
แผกวางออกไปเพียงใด มิตรและไมตรีกมความกวางออกไปเพียงนัน
                                            ็ ี             ้
เมตตา ไมตรีจตมิใชอำนวยความสุขใหเฉพาะบุคคล ยอมใหความสุข
                 ิ
แกชนสวนรวมตั้งแตสองคนขึ้นไป คือ หมูชนที่มีไมตรีจิตตอกัน
ยอมหมดความระแวง ไมตองจายทรัพย จายสุข ในการระวังหรือ
เตรียมรุกรับ มีโอกาสประกอบการงาน อันเปนประโยชนแกตนเอง
และหมูเต็มที่ มีความเจริญรุงเรืองและความสงบสุขโดยสวนเดียว

       จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๑๓ เรื่อง สุจริตธรรมเหตุแหงความสุขที่แทจริง
                                                 โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                              http://www.jarun.org/v6/th/lrule13p0303.html




๒๘                                    สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ อโหสิกรรมเสียกอน
และเราก็แผเมตตาใหสรรพสัตวทั้งหลาย ที่เราไปสรางกรรมมา
ครังอดีต รบาง ไมรบาง รเู ทาทันหรือไมเทาทันก็ตาม ถารเู ทาไมถง
   ้       ู      ู                                               ึ
การณเชนนี้แลว ขอสรรพสัตวทั้งหลายจงอโหสิกรรมใหแกขาพเจา
มันก็จะนอยลงไป
                จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร
                                                 โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                              http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html


      “ตังสติหายใจยาว ๆ ตอนทีกรวดน้ำเสร็จแลวอธิษฐานจิตไวกอน
         ้                   ่                             
อธิษฐานจิตหมายความวา ตั้งสติสัมปชัญญะไวที่ลิ้นป สำรวมกาย
วาจา จิต ไดตงมันแลว จึงขอแผเมตตาไวในใจสักครหนึง แลวก็ขอ
              ั้ ่                               ู ่
อุทิศใหบิดามารดาของเราวา เราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบุญได
ผลแน ๆ เดียวนีดวย...”
            ๋ ้

      “หายใจยาว ๆ ตังสติกอน หายใจลึก ๆ ยาว ๆ แลวก็แผเมตตา
                      ้ 
กอน มีเมตตาดีแลว ไดกศลแลว เราก็อทศเลย อโหสิกรรม ไมโกรธ
                       ุ            ุ ิ
ไมเกลียด ไมพยาบาทใครอีกตอไป และเราจะขออุทศใหใคร ญาติ
                                               ิ
บุพเพสันนิวาสจะไดกอน ญาติเมือชาติกอนจะไดมารับ เราก็มทราบ
                              ่                      ิ
วาใครเปนพอแมในชาติอดีตใครเปนพีนองของเราเราก็ไมทราบ แต
                                   ่ 
แลวเราจะไดทราบตอนอุทิศสวนกุศลนี้ไปให เหมือนโทรศัพทไป
เขาจะไดรบหรือไม เราจะรไดทนที”
          ั               ู ั

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                  ๒๙
“นีกเ็ ชนเดียวกัน เราจะปลืมปตทนทีนะ เราจะตืนตันขึนมาเลย
         ่                       ้ ิ ั             ้     ้
ถาทานมีสมาธิ น้ำตาทานจะรวงนะ ขนพองสยองเกลาเปนปติ
เบืองตน ถาทานมาสวดมนตกนสงเดช ไมเอาเหนือเอาใต ทานไมอทศ
   ้                          ั                              ุ ิ
ทานจะไมรเู ลยนะ... ”
        “วันนี้ทานทำบุญอะไร สรางความดีอะไรบาง ดูหนังสือ
ทองจำบทอะไรไดบาง ก็อทศได เมืองฝรังเขาไมมการทำบุญ เราไป
                            ุ ิ           ่     ี
ทอดกฐิน ผาปา ถวายสังฆทาน เขาทำไมเปน แตทำไมเขาเปนเศรษฐี
ทำไมเขามีความเจริญทางดานเทคโนโลยี ทำไมถึงเจริญดวยอารยธรรม
ของเขา เพราะเขามีบญวาสนา เขาตังใจทำ มีกจกรรมในชีวตของเขา
                       ุ           ้          ิ              ิ
จะยกตัวอยาง วันนี้เขาคาขายไดเปนพันเปนหมื่นดวยสุจริตธรรม
เขาก็เอาอันนันแหละอุทศไป วันนีเ้ ขาปลูกตนไมไดมากมาย เขาก็เอา
               ้           ิ
สิ่งนี้อุทิศไป วาไดสรางความดีในวันนี้ ไมไดอยูวางแตประการใด
เขาก็ไดบุญ ไมจำเปนตองเอาสตางคมาถวายพระเหมือนเมืองไทย
ถวายสังฆทานกันไมพก ถวายโนนถวายนีแตใจเปนบาป อุทศไมออก
                         ั               ่                 ิ
บอกไมไดอยางนีเ้ ปนตน จะไมไดอะไรเลยนะ ... ”
       “...ทีผมแผเมตตาและอุทศสวนกุศล ไปเขาบานลูกสาวญวนที่
             ่                 ิ
กรุงปารีส ฝรังเศส ทำอยางนีนะ เวลาสวดมนต อิตปโส... ยาเทวตา...
               ่           ้                    ิ 
ตังใจสวดดวยภาษาบาลีเชนนี้ ทีหยุดเงียบไปนะ ผมสำรวมจิตตังสติ
  ้                              ่                          ้
แผเมตตา จิตสงบดีแลวจึงอุทศไป”
                             ิ
       “… ที่ทองจำโคลงใหไดนะเพื่อใหคลองปาก วาใหคลองปาก
แลวก็จะคลองใจ คลองใจแลวถึงจะเปนสมาธิ เปนสมาธิแลวถึง
จะอุทศได ไมอยางนันไมไดนะ”
     ิ               ้
๓๐                               สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
“เอาตำรามาดูกันก็ไมไดผล แตดูตำราเพื่อใหถูกวรรคตอน
และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ ถึงจะมีกำลังสงอุทศ
                                                            ิ
ไมอยางนั้นไมมีกำลังสงเลยนะ”
      “การอุทศสวนกุศล นีสำคัญนะ แตตองแผเมตตากอน แผเมตตา
             ิ            ่          
ใหมสติกอน แผเมตตาใหมความรวาเราบริสทธิ์ ใจมีเมตตาไหม และ
     ี                 ี     ู       ุ
อุทศเลย มันคนละขันตอนกันนะ
   ิ               ้
      แผเมตตากับอุทิศมันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสุทธิ์กอน
ไมอจฉา ไมรษยา ไมผกพยาบาทใครไวในใจ ทำใหแจมใส ทำใจ
    ิ         ิ         ู
ใหสบาย คือเมตตา แลวเราจะอุทศใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลัง
                                ิ
สูง สามารถจะอุทศใหคณพอคุณแมของเรากำลังปวยไข ใหหายจาก
                  ิ   ุ
โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวย ทีเ่ คยมาบวชทีวดนี้
                                                          ่ั
เปนตน”
    “เรามาสวดมนตไหวพระกันวา โยโสภะคะวา.... ใจเปนบุญ
ไหม สวากขาโต... สุปฏิปนโน... ใจเปนบุญไหม ทานจะฟงซานไป
                                                 ุ
ทางไหน สำรวมอินทรีย หนาทีคอยระวัง เอาของจริงไปใช อยาเอา
                           ่
ของปลอมมาใชเลย ...
      ทานทำประโยชนอะไรในวันนี้ เอามาตีความ สำรวมตังสติไว
                                                     ้
กอน วาขาดทุนหรือไดกำไรชีวต และจะไปเรียงสถิตในจิตใจเรียกวา
                             ิ                 ิ
เมตตา แปลวาระลึกกอน เมตตาแปลวาปรารถนาดีกบตนเอง สงสาร
                                             ั
ตัวเองที่ไดสรางความดีหรือความชั่วเชนนี้”

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                        ๓๑
“หายใจยาว ๆ ตังกัลยาณจิตไวทลนป ไมใชพดสงเดช จำนะ
                      ้             ี่ ิ้        ู
ทีลนปเ ปนการแผเมตตา จะอุทศก็ยกจากลินปสหนาผาก เรียกวา อุณา
  ่ ิ้                       ิ            ้  ู
โลมา ปจชายเต

      นะอยหว สามตัวอยาละ นะอยทไหน ตามเอามา แลวก็อทศ
            ู ั                      ู ่ี                  ุ ิ
ทันที จึงถึงตามทีปรารถนา ไมวาเปนโยมพอ โยมแม จะใหนองเรียน
                   ่                                  
หนังสือ จะใหพเี่ รียนหนังสือ หรือจะใหบตรธิดาของตน จะไดผลขึน
                                          ุ                  ้
มาทันที”

      “ลู ก ว า นอนสอนยาก ลู ก ติ ด ยาเสพติ ด ถ า ทำถู ก วิ ธี แ ล ว
มันจะหันเหเรมาทางดีได พอแมกนเหลาเมายา เลนการพนัน ลูกจะ
                               ิ
ไปสอนพอแมไมได มีทางเดียวคือ เจริญพระกรรมฐาน สำรวมจิต
แผเมตตา อุทศสวนกุศล
                 ิ

     นะอยหว สามตัวอยาละ นะอยทไหนตามเอามาใหได หมาย
          ู ั                     ู ี่
ความวากระไร ถาทานทำกรรมฐาน ทานจะทายออก นะตัวนีสำคัญ
                                                      ้
นะ มีทงเมตตามหานิยม นะ แปลวา การกระทำอกุศลใหเปนกุศล
       ้ั
นะ แปลวา ทำศัตรูใหเปนมิตร สรางชีวตในธรรม แลวก็อทศสวน
                                       ิ            ุ ิ
กุศลไป”

      “… อยาทำดวยอารมณ อยาทำดวยความผูกพยาบาท อาฆาต
ตอกัน ละเวรละกรรมเสียบาง แลวจิตจะโปรงใส ใจก็จะสะอาด
แลวก็อุทิศไป

๓๒                                  สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
จิตมันไมติดไฟแดง จิตไมเลี้ยวซายเลี้ยวขวา จิตมันทะลุฝา
ผนังได ทานเขาใจคำนี้หรือยัง จิตมันตรงที่หมาย จิตไมมีตัวตน
จิตคิดอานอารมณ มีจิตโปรง ทานจะทำอะไรก็โลงใจ สบายอก
สบายใจ นะอยหว สามตัวอยาละ เอานะไปอุทศใหได ถาทานมี
                ู ั                             ิ
ครอบครัวแลวโปรดตังปฏิญาณในใจวา ใหบตรธิดาของเรารวยสวย
                     ้                       ุ
เกง เรงเปนดอกเตอร อยางนีซถงจะถูกวิธของผม”
                             ้ ิึ        ี
      “ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ
สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก
มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน
ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ
ถวาย เรืองจริงเปนอยางนัน”
        ่                ้
       “…อยาลืมนะ ทีลนป หายใจยาว ๆ สำรวมเวลาสวดมนตนนนะ
                     ่ ้ิ                                 ั้
ไดบญแลว … แลวสำรวมจิตสงกระแสจิตทีหนาผาก อุทศสวนกุศล
     ุ                                    ่          ิ
เวลาแผเมตตาเอาไวที่ลิ้นป สำรวมอินทรีย หนาที่คอยระวัง นะ
อุ อุอะมะ อุอะมะ อะอะอุ นะอยตรงไหน เอามาไวตรงไหน จับให
                                ู
ไดแลวอุทิศไป”
       “ผมทำมา ๔๐ กวาปแลว ทำไดผล ขอถวายความรเู ปนบุญ
เปนกุศล ใหทานไดบุญอยางประเสริฐไป จะไดอุทิศใหโยมเขา
เขาเปนโรคภัยไขเจ็บ ถาไมเหลือวิสยมันก็หายได”
                                   ั
  คัดยอความจากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง วิธแผเมตตาและอุทศสวนกุศล
                                            ่     ี               ิ
                                                โดย พระธรรมสิงหบุราจารย
                               http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                   ๓๓
ถามตอบเรื่องการสวดมนต
พิธีกร: กราบนมัสการหลวงพอเจาคะ
หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร
พิธีกร: วันนี้ลูกอยากเรียนถามหลวงพอวาการสวดพุทธคุณหมายความ
วาอยางไรคะ
หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพรพุทธคุณหมายความวากระไร พุทธคุณมีมา
นานแลว ไมจำเปนตองกลาวพุทธคุณมันเรียกรวมกันเรียกพุทธคุณ
ถาจะเรียกใหครบถวนก็เรียกวาไตรรัตน รัตนตรัย คือ พระพุทธคุณ
พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ อยูรวมกันเปนพุทธคุณ เปนอำนาจของ
พุทธคุณ อำนาจของพระพุทธเจา แตทวาสวดพุทธคุณอานิสงสหรืออะไร
                                    ี่ 
ก็ตามมีความหมายยังไง มีความหมายมานานแลวคนไทยชาวพุทธไมได
ศึกษา มาทีวดกันเยอะแยะ อาตมาบอกวาโยมไมสบายใจสวดพุทธคุณสิ
            ่ั
ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ สวดพุทธคุณ ยาว.. ยาว... ไมสวด
แตเสียใจดวย สรางความดี ยาว... สรางความดีนดเดียว ไปสรางความ
                                             ิ
ชัวยาวกวาความดี มันจะไปกันไดหรือ ไปไมได
  ่
       พุทธคุณนีคอคุณพระพุทธเจา เอาคุณพระพุทธเจามาไวในใจ มีมา
                   ่ื
นานแลว พระธรรมคุณ ก็หมายความวาเอาธรรมะมาไวในใจ ปฏิบติ       ั
สังฆคุณ ปฏิบตไดแลว คือสังฆะแปลวาสามัคคี กายสามัคคี จิตสามัคคี
                ัิ
มีรูปแบบดีเปนพฤติกรรม แสดงออกประพฤติดีแลว ปฏิบัติชอบแลว
ก็สอนตัวเองไดสอนคนอื่นตอไปเรียกวาสังฆคุณ พุทธคุณนี่ก็หมาย
ความวาเอาคุณพระพุทธเจา มาไวในใจ คุณพระพุทธเจาคืออะไร มี
๓ ประการทุกทาน
       ๑. พระปญญาคุณ ๒. พระวิสทธิคณ ๓. พระมหากรุณาธิคณ
                                  ุ ุ                      ุ

๓๔                              สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
แต ถ า จะตี ค วามให ชั ด เดี๋ ย วจะไม เ ข า ใจ ว า พุ ท ธคุ ณ เนี่ ย คุ ณ
พระพุทธเจา ปญญาคุณหมายความวาไร คนไทยชาวพุทธไมเขาใจเยอะ
ปญญาเกิด ๓ ทาง
         ทางที่ ๑ คือ สุตะมยปญญา แปลวาสดับตรับฟง สดับตรับฟง
ตองมีครรลอง ๕ ประการ ๑. ศรัทธาฟง ๒. สนใจฟง ๓. จดหัวขอไว
๔. ทบทวน ๕. ปฏิบตทนทีอยารอรีแตประการใด เกิดปญญาในการฟง
                              ั ิ ั
เดียวนีไปฟงเปนนักเรียนก็ตาม ฟงหลับ แลวก็ญาติโยมฟงเทศนกหลับ
     ๋ ้                                                                          ็
นี่มันมีศรัทธาฟงไหม ไมสนใจฟงเลย ไมจดหัวขอไว ไมเกิดปญญา
ในการฟง ๒. ก็ยง ยังไมครรลอง ยังไมเต็มคราบ ยังไมเขาจุด ตองมี
                         ั
จินตามยปญญา ตองเอาฟงแลวเนียเอาไปคิดประดิษฐสรางสรรค ริเริม
                                          ่                                              ่
ดำเนินงานทันทีอยารอรีแตประการใดถึงจะเกิดปญญา ถาฟงแลวเอาไปทิง                         ้
มันไมเกิดปญญาจะไมไดคดไมไดรเิ ริม จึงเรียกวาความคิด มันเกิดปญญา
                                  ิ         ่
เดียวนีมคนความรมากเปนดอกเตอรกเ็ ยอะ แตไมมความคิดอยู ประการที่
    ๋ ้ ี              ู                                       ี
๓ สประการที่ ๓ ไมได ภาวนามยปญญา สวดมนตไหวพระ สวดมนต
       ู
ไหวพระไว แลวก็จะนึกถึงภาวนา เชนเด็กดูหนังสือสามหนเรียกวา
ภาวนา ดูหนังสือหนเดียวเรียกวาดูหนังสือพิมพทงขวางไป ดูครังทีหนึง
                                                            ิ้               ้ ่ ่
หมายความวา รนเี่ รืองพระเวสสันดร ยกตัวอยาง ดูครังสองซ้ำไปมีกตอน
                    ู ่                                          ้                  ี่
มีกี่กัณฑ ดูครั้งที่สามเนื้อหาสาระเปนประการใด นี่เรียกวาภาวนา
         ภาวนาแปลวาอะไรอีก แปลวา “สวดมนตเปนยาทา วิปสสนาเปน            
ยากิน” ที่พูดมานานแลว ทำใหมันผุดขึ้นมาเอง และสามารถจะกำจัด
ความชัวออกจากตัวได จึงเรียกวาบริสทธิ์ ในเมือเกิดบริสทธิแลว บริสทธิ์
         ่                                    ุ         ่          ุ ์                 ุ
นีไดมาจากไหน ตีความตอไป คนจะบริสทธิไดกไมเปนคนหละหลวม
  ่                                              ุ ์ ็
เหลาะแหละเหลวไหลขึนหวยลงเขา คนบริสทธินจะ คนมีจริงจัง จริงใจ
                            ้                       ุ ์ ี่
ตอตัวเอง จริงใจตอคนอื่นเขา เรียกตีครรลองเปนธรรมะใหเด็กเขาใจ

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                                   ๓๕
สัจจะ เมตตา สามัคคี มีวนย ถึงจะบริสทธิได ถาไมมหลักสีประการ
                           ิ ั          ุ ์             ี          ่
เปนการรับรองแลว คนนันไมบริสทธิและคนบริสทธิแลวทีมกจะมีเมตตา
                         ้      ุ ์            ุ ์          ่ ั
เรียกวาพระมหากรุณาธิคณของพระพุทธเจา นีเ่ รียกวาพุทธคุณ นีเ่ อามา
                       ุ
ไวในใจ อยางนี้ไง และธรรมคุณก็เชนเดียวกัน พอมีพุทธคุณซะแลว
ธรรมคุณมาเอง มีธรรมะมาเอง พอธรรมะมีแลวพระสงฆมาเลยเรียกวา
พระรัตนตรัย ขอเจริญพร อยางนี้ความหมาย ขอเจริญพร
พิธกร: ประเด็นถัดมานะคะ สวดพาหุงฯ นะคะ มีความเกียวเนืองกัน
     ี                                                          ่ ่
ยังไงคะ ที่หลวงพอใหอุบาสกอุบาสิกาที่นี่สวดพาหุงฯ
หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร ดีแลว ถามนีดแลวคนไมเขาใจเยอะ แลวไป
                                      ่ี
สวดอยางอื่นกันลามปาม พาหุงมหากาฯ มันบทติดตอกัน พาหุงฯ
เนียมันมีมานานแลว แตเราก็ไมทราบตนเหตุสาเหตุทมนมาจากไหน ก็มี
   ่                                               ี่ ั
ในหนังสือสวดมนตกเ็ ยอะแยะ คนเปดขามหญาปากคอกแท ๆ พาหุงมหากาฯ
ก็แปลวาพระพุทธเจาพิชิตมาร เรียกวาปางมารวิชัย ผจญมารมา ๘ บท
อยูในนั้นเลยไปดูเอาหาดูได ผจญมาร พระพุทธเจา ชนะมารแลว
เรียกวาพาหุงมหากาฯ มหากาแปลวาอะไร ชยันโตโพธิยาฯ ใชไหม
สุนกขัตตัง สุมงคะลัง ทำดีตอนไหนไดตอนนัน “ฤกษ” จึงเอามานิยม
       ั      ั                             ้
สวดมนตดวยการเจิมปาย และก็เปดสำนักงานและก็วางศิลาฤกษ หมาย
           
ความวา (๑.) ฤกษคออากาศดี (๒.) ยามแปลวาเวลาวาง ๓. เครืองพรอม
                   ื                                             ่
ที่จะดำเนินงานไดทันทีอยารอรีแตประการใด ถึงไดเริ่มดำเนินงานใด ๆ
เรียกวามหากาฯ พาหุงฯ บทนี้คือพระพุทธเจาเรากอนจะสำเร็จสัมโพธิญาณ
พระองคผจญมารมาก มารมาผจญกับพระองคมากมาย ใชวาอธิบายทุกบท
ทุกขอ มันมี ๘ ขอ แตจะเสียเวลามากจะไมสามารถจะจบในที่นี้ได
ขอใหทานสาธุชนทั้งหลายไปดูเอาในหนังสือสวดมนตแปลในพาหุง
มหากาฯ หรือ เรียกวาฎีกาพาหุงฯ นี่อยางนี้เปนตน

๓๖                                สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
แสดงวาพระพุทธเจานังหลับตาก็ไปสมาร ไปตอสกบมาร “มาร
                                      ่              ู                  ูั
ไมมบารมีไมเกิด ประเสริฐไมได” พระองคผจญมารมาครบแลวชนะรวด
        ี
ชนะรวดเรียกวาพาหุงฯ นี่ เรามีมานานแลวแตคนนะ ไมสวดกัน ตนสาย
ปลายเหตุมาจากไหนเดียวคอยถามทีหลัง บางคนไมรจริง ๆ พาหุงมหากาฯ
                               ๋                               ู
ไมรเู ลย หญาปากคอกแท ๆ ขามไปหมด เราเนีย..เราเกิดมาเนียขอฝาก
                                                            ่                ่
ทานนุ.. โยมดวยวา มารไมมี บารมีไมเกิด คนเกิดมาเนียสรางความดีตอง่              
มีอปสรรค ถาเปนความชัวจะไมมอปสรรค มันจะไหลไปเลยนะ จะไหล
    ุ                             ่       ีุ
ไปเลยนะ คนเราเนี่ยไมตีความ ความชั่ว นี่มันก็ไหลไปเลยไมมีใครมา
ขัดคอ ถาหากวาทานด็อกเตอรสรางความดีปบมีคนขัดคอ มีมารผจญแลว
                                                       
ตองสมารตอไปคือขันติ ขันติความอดทนอดกลัน อดออมประนีประนอม
              ู                                           ้
ยอมความ ตองตรากตรำลำบาก อดทนตอการทำงาน อดทนตอความ
เจ็บใจในสังคมดวย นีถงจะพนเรียกวาพระพุทธเจาพนมาร แลวก็ทานเขา
                               ่ึ                                              
สมาธิเดี๋ยวสาธิตใหดู นั่งสมาธิหลับตามารมารอบดาน มาทุกอยางเลย
จิญจมาณวิกาก็หาวาพระพุทธเจาทองกับเขา ทานก็ไมวา เอาแผเมตตาดวย
                                                                  
การสวดพาหุงฯ นี่ ทานก็สวดไปสวดมาชนะ ชนะแลวเนี่ย ชนะแลว
สะดงมาร เรียกวาชนะเรียกปางมารวิชย เนียปางมารวิชยชนะมารได นี่
          ุ                                    ั ่                    ั
บทนีชนะมาร ถาบานสาธุชนไดสวดแลวชนะมาร มารไมมบารมีไมเกิด
            ้                                                              ี
ถาคนไหนไมมมาร คนนันไมมบารมีนะ นีขอใหทานทังหลายไปตีความ
                       ี            ้   ี          ่           ้
เอาเอง เพราะเวลามันจำกัด นี่พาหุงมหากาฯ เปนอยางนี้ ขอเจริญพร
พิธกร: ทำยังไงคะ ทีจะสวดมนตไมวาจะเปนพุทธคุณก็ดนะคะ พาหุงฯ
      ี                      ่                                         ี
ก็ดี มหาการุณโกฯ ก็ดี ใหเปนอานิสงสกบตัวของเราคะ
                         ิ                       ั
หลวงพอจรัญ: เพราะงั้นตองมีศรัทธา..ตองมีความเชื่อความเลื่อมใส
ในการสวด ถึงจะเปนอานิสงสในศรัทธาของเขากอน แตบางคนเนียนะ..                    ่
ตางชาติตางภาษา เขาไมเขาใจเลย ถาสวดไปนาน ๆ จะรเู องนะ ถาเกิด
                  

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ                                            ๓๗
สมาธิจะรวาเนียแปลวากะไร มีคนทำไดเยอะ แตคนเราสวดจิม ๆ จ้ำ ๆ
               ู ่                                         ้
ไปมันจะไดอะไร บางคนเนียรวาสวดพุทธคุณ สวดมนตละก็ดี สวดไป
                              ่ ู                        
มันก็ไมดเี พราะอะไร จิตไมถง เขาไมถงธรรมะ ถาจิตมีศรัทธาเลือมใส
                                ึ          ึ                  ่
สวดใหมนเขาถึง ๑. เขาถึง ๒. จะซึงใจ ๓. จะใฝดี ๔. จะมีสจจะ
             ั                           ้                      ั
พูดจริงทำจริงเลยเนี่ยนะออกมาชัดเลย นี่อานิสงส มีสัจจะ แลวก็จะมี
กตัญูกตเวทิตาธรรม รูหนาที่การงานของตน นี่สวดเขาไมถึงเนี่ยมัน
จะไปรไดยงไงจะซึงใจไหม ไมมศรัทธาเลยสวดจิม ๆ จ้ำ ๆ เหมือนพอคา
           ู ั      ้              ี              ้
แมคาไปแลกเปลี่ยนของในตลาดกันไดเปนธุรกิจ การสวดมนตไมใช
นักธุรกิจ สวดมนตเนียตองการใหระลึกถึงตัวเอง มีสติสมปชัญญะใหสวด
                      ่                                 ั
เขาไปสวดไป พอถึงจิตถึงใจแลว เหมือนอยางเนียยกตัวอยาง เขายังทอง
                                                    ้
ไมได อานไปยังไมเปนสมาธิ อานไปอานใหดง ๆ คลองปาก พอคลอง
                                                ั
ปากแลวก็คลองใจ พอคลองใจแลวติดใจแลวมันก็เกิดสมาธิ นี.่ . พอเกิด
สมาธิจิตก็ถึง พอถึงหนักเขาแลวจะซึ้งใจ พอซึ้งใจแลว.. ซึ้งธรรม
ซึ้งธรรมะมันจะใฝดี
พิธกร: ที่วาจิตเปนสมาธินี่ก็คือวา จิตเปนหนึ่ง
         ี
หลวงพอจรัญ: จิตเปนหนึ่ง นั่นเอกัตคตา ถาหากวาจิตยังวุนวายหรือ
อะไร สวดมังแลวก็ไปทำงานบางไมไดผล
                  ่
พิธีกร: ในลักษณะนี้หลวงพอขา การที่สวดมนตเนี่ยนะคะพอจิตเปน
หนึ่งแลวเนี่ยก็มีคุณคาเทากับทำสมาธิเหมือนกัน
หลวงพอจรัญ: ใชได ใชได นี่คือสมาธิ การสวดมนตเปนยาทา
วิปสสนาเปนยากิน ทาไปกอน สวดไปกอน สวดแลวเนี่ยมันซึ้งใจ
จะเปนตางชาติ ตางภาษา คนจีนหรือคนฝรังเขานิยมเนีย เขาสวดโดยไม
                                             ่        ่
รเู รือง แตสวดไปสวดไปเกิดสมาธินะสิ เกิดสมาธิเกิดจิตสำนึกเกิดหนาที่
       ่                             

๓๘                                 สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด
บทสวด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์Patchara Kornvanich
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Was ist angesagt? (20)

บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
 
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี ๙๐ พระคาถา
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี  ๙๐ พระคาถา9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี  ๙๐ พระคาถา
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี ๙๐ พระคาถา
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

Ähnlich wie บทสวด

สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้าPanuwat Beforetwo
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชniralai
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 

Ähnlich wie บทสวด (20)

สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
บทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัลบทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัล
 
tes
testes
tes
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 

บทสวด

  • 1.
  • 2. สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ คณะผจดทำไดสงตนฉบับหนังสือเลมนี้ ใหกบพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม ูั  ั เพือขอความเมตตาตรวจสอบความถูกตอง และไดขออนุญาตจัดพิมพ เพือเผยแผเปนธรรมทานแลว ่ ่ พระเดชพระคุณหลวงพอจรัญทานไดเมตตาอนุญาตใหจัดพิมพ พรอมทั้งอนุโมทนากับคณะผูจัดทำ นับเปนความเมตตากรุณาจากครูบาอาจารยอยางหาที่สุดมิได ทานสามารถติดตอขอหนังสือเลมนีไดฟรีที่ เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย ้ http://www.jarun.org/v6/board/ สามารถดาวนโหลดตนฉบับหนังสือเลมนีไดที่ เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย ้ http://www.jarun.org/v6/th/digitallibraly-book.html
  • 3. ผแตง (ผรวบรวม) ู ู ณัฐวรรธน ภรนรา nattawat@connexpeople.com คณะทำงาน สมศักดิ์ ชูศรีขาว somsak887@hotmail.com ประมวล วิทยบำรุงกุล mv2219@hotmail.com ปติ ลลิตโรจนวงศ และทานอืน ๆ ทีมไดเอยนามไว ณ ทีนี้ ่ ่ ิ ่ ออกแบบศิลป สุนสา แกวชม, จักรี จายกระโทก, ณัฐวรรธน ภรนรา ิ ออกแบบรูปเลม ณัฐวรรธน ภรนรา จัดรูปเลม ศรินยา พึงทรัพย ่ พิสจนอกษร ู ั วารุณี จิตตรตน ั ประสานงานการผลิต เสรีรตน ปนทอง, ณัฐวรรธน ภรนรา ั  ไมสงวนลิขสิทธิ์ ตามคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม “ของดีของเราไมตองสงวนลิขสิทธิ์ ใครอยากไดก็ใหเขาไป แตของไมดของเราตองสงวนไว ไมใหคนอืนมาใช” ี ่ จากหนังสือกฎแหงกรรม เลม ๑๖ เรือง ความเสือม โดยพระธรรมสิงหบุราจารย ่ ่ http://www.jarun.org/v6/th/lrule16p1301.html ทานสามารถอานเจตนารมณของการจัดทำหนังสือเลมนีไดททายเลม ้ ี่  ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๑๓-๓๒๔๔-๑ พิมพครังที่ ๑ ้ ธันวาคม ๒๕๕๐ จำนวนทีพมพ ่ ิ ๑๐,๐๐๐ เลม ราคา จัดพิมพเพือเผยแผเปนธรรมทาน ่ สรางสรรคผลงานโดย บริษท คอนเน็ค พีเพิล จำกัด ั ๓๐๕ ซ. รังสิต-นครนายก ๔๔ ซ.๑ ต.ประชาธิปตย อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ๑๒๑๓๐  โทรศัพท ๐-๒๙๗๔-๑๐๐๑ แฟกซ ๐-๒๙๗๔-๑๑๒๐ อีเมลล info@connexpeople.com เว็บไซต http://www.connexpeople.com จัดพิมพและดูแลโดย บริษท รงเรืองวิรยะพัฒนาโรงพิมพ จำกัด ั ุ ิ ๑๐๖/๒๐๔ หมู ๔ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๓๐ โทรศัพท ๐-๒๙๑๘-๐๑๙๒ แฟกซ ๐-๒๙๑๗-๙๐๗๒ อีเมลล viriya_999@yahoo.com
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. สารบัญ สวดมนต บทสวดมนต ๑๐ บทแผเมตตา ๑๙ บทอุทศสวนกุศล (บทกรวดน้ำ) ิ ๑๙ วิธการสวดมนต ี ๒๑ ลำดับการสวดมนต ๒๔ เหตุใดตองสวดอิตปโสเทาอายุ + ๑ ิ  ๒๕ การเปลียนจาก “เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต ่ ๒๖ วิธการแผเมตตาและอุทศสวนกุศล ี ิ ๒๗ ถามตอบเรืองการสวดมนต โดยพระธรรมสิงหบุราจารย ่ ๓๔ บทสวดมนตแปล ๔๕ ทำกรรมฐาน วิปสสนากรรมฐานเบืองตน  ้ ๕๓ คติธรรมคำสอน เรืองการปฏิบตกรรมฐาน ่ ัิ ๖๐ กรรมฐาน โดยพระธรรมสิงหบุราจารย ๗๘ วิปสสนากรรมฐานคืออะไร  ๘๐ ธุระในพระศาสนา ๘๔ การเรียนรวปสสนากรรมฐาน ูิ  ๘๕ สติปฏฐาน ๔  ๘๖ อานิสงสของการปฏิบตธรรม ัิ ๘๙ ประโยชนของการปฏิบตวปสสนากรรมฐาน ัิิ  ๙๑ สติปฏฐาน ๔ ปดอบายภูมได  ิ ๙๓
  • 10. “อยาลืมนะ ทีลนป ่ ิ้ หายใจยาว ๆ สำรวมเวลาสวดมนต นันนะไดบญแลว” ้ ุ จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง วิธแผเมตตาและอุทศสวนกุศล ่ ี ิ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html
  • 11. บทสวดมนต กราบพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธั ม โม ธั ม มั ง นะมัสสามิ (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง  นะมามิ (กราบ) นมัสการ (นะโม) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ) ไตรสรณคมน (พุทธัง ธัมมัง สังฆัง) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ๑๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 12. ทุตยมป ิั พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุตยมป ิั ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุตยมป ิั สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมป ั พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมป ั ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมป ั สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ พระพุทธคุณ (อิตป โส) ิ อิตป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ิ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต ตะโร ปุรสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ิ พุทโธ ภะคะวาติฯ พระธรรมคุณ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตพโพ วิญูหตฯ (อานวา วิญูฮต)ิ ั ี ิ ี สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๑
  • 13. พระสังฆคุณ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ  อุชปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ุ  ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ  สามีจปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ิ  ยะทิทง จัตตาริ ปุรสะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสะปุคคะลา ั ิ ิ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (อานออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย โดยสระเอ กึงสระไอ) ่ พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) พาหุง สะหัสสะมะภินมมิตะสาวุธนตัง ิ ั ครีเมขะลัง อุทตะโฆระสะเสนะมารัง ิ ทานาทิธมมะวิธนา ชิตะวา มุนนโท ั ิ ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ ๑๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 14. มาราติเรกะมะภิยชฌิตะสัพพะรัตติง ุ โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสทนตะวิธนา ชิตะวา มุนนโท ุ ั ิ ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ นาฬาคิรง คะชะวะรัง อะติมตตะภูตง ิ ั ั ทาวัคคิจกกะมะสะนีวะ สุทารุณนตัง ั ั เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนนโท ิ ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ อุกขิตตะขัคคะมะติหตถะสุทารุณนตัง ั ั ธาวันติโยชะนะปะถังคุลมาละวันตัง ิ อิทธีภสงขะตะมะโน ชิตะวา มุนนโท ิ ั ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินยา ี จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธนา ชิตะวา มุนนโท ิ ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๓
  • 15. สัจจัง วิหายะ มะติสจจะกะวาทะเกตุง ั วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอนธะภูตง ั ั ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนนโท ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธง มะหิทธิง ุั ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธนา ชิตะวา มุนนโท ิ ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ ทุคคาหะทิฏฐิภชะเคนะ สุทฏฐะหัตถัง ุ ั พรัหมัง* วิสทธิชตมทธิพะกาภิธานัง ุ ุ ิ ิ ญาณาคะเทนะ วิธนา ชิตะวา มุนนโท ิ ิ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวธานิ จุปททะวานิ ิ  โมกขัง สุขง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญฯ ั * พรัหมัง อานวา พรัมมัง ๑๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 16. มหาการุณิโก มะหาการุณโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินง ิ ั ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมตตะมัง ุ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวฑฒะโน เอวัง ั ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา ชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติฯ สุนัก ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมหตโต จะ สุยฏฐัง พรัหมะ** จาริสุ ปะทักขิณง ุ ุ ิ ั กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ ** พรัหมะ อานวา พรัมมะ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๕
  • 17. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ หลังจากสวดมนตตงแตตนจนจบบทพาหุงมาหากาฯ แลว ั้  ก็ใหสวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิตปโส ใหไดจำนวนจบ ิ  เทากับอายุของตนเอง แลวสวดเพิมไปอีกหนึงจบ ตัวอยางเชน ่ ่ ถาอายุ ๓๕ ป ตองสวด ๓๖ จบ จากนันจึงคอยแผเมตตา ้ อุทิศสวนกุศล พุทธคุณเทาอายุเกิน ๑ (อิตปโสเทาอายุ+๑) ิ  อิตป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ิ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต ตะโร ปุรสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ิ พุทโธ ภะคะวาติฯ ๑๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 18. “สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ อโหสิกรรมเสียกอน และเราก็แผเมตตา ใหสรรพสัตวทั้งหลาย” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html
  • 19. “หายใจยาว ๆ ตั้งกัลยาณจิตไวที่ลิ้นป ไม ใชพดสงเดช” ู “จำนะทีลนป เปนการแผเมตตา” ่ ิ้ “จะอุทศก็ยกจากลินป ิ ้ สหนาผาก เรียกวา ู อุณาโลมา ปจชายเต....” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html
  • 20. บทแผเมตตา สัพเพ สัตตา สัตวทงหลาย ทีเ่ ปนเพือนทุกข เกิดแกเจ็บ ั้ ่ ตาย ดวยกันทังหมดทังสิน ้ ้ ้ อะเวรา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีเวรแกกัน และกันเลย อั พ ยาป ช ฌา โหนตุ จงเป น สุ ข เป น สุ ข เถิ ด อย า ได พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อะนีฆา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมความทุกข ี กาย ทุกขใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนใหพนจากทุกขภัยทั้งสิ้นเทอญ บทอุทศสวนกุศล (บทกรวดน้ำ) ิ อิทง เม มาตาปตนง โหตุ สุขตา โหนตุ มาตา ั ู ั ิ ปตะโร ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกมารดาบิดาของขาพเจา ขอใหมารดาบิดาของขาพเจา จงมีความสุข สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๙
  • 21. อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกญาติท้ังหลายของขาพเจา ขอให ญาติทั้งหลายของขาพเจา จงมีความสุข อิทง เม คุรปชฌายาจะริยานังโหตุ สุขตา โหนตุ ั ู  ิ คุรปชฌายาจะริยา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จ แกครูอปชฌาย ู  ้ ุ  อาจารยของขาพเจา ขอใหครูอุปชฌายอาจารยของขาพเจา จงมีความสุข อิทง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ ั ิ เทวา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จแกเทวดาทังหลายทังปวง ขอให ้ ้ ้ เทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข อิทง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ ั ิ เปตา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จ แกเปรตทังหลายทังปวง ขอให ้ ้ ้ เปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข อิทง สัพพะ เวรีนง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ เวรี ั ั ิ ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอใหเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข อิทง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขตา โหนตุ สัพเพ ั ิ สัตตา ขอสวนบุญนีจงสำเร็จ แกสตวทงหลายทังปวง ขอให ้ ั ั้ ้ สัตวทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข ๒๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 22. วิธีการสวดมนต การสวดมนตเปนนิจนี้ มงใหจตแนบสนิทติดในคุณของพระพุทธเจา ุ ิ พระธรรม และพระสงฆ จิตใจจะสงบเยือกเย็นเปนบัณฑิต มีความคิดสูง ทิฏฐิมานะทังหลายก็จะคลายหายไปได เราจะไดรบอานิสงสเปนผลของ ้ ั ตนเองอยางนี้จากสวดมนตเปนนิจ การอธิษฐานจิตเปนประจำนัน มงหมายเพือแกกรรมของผมกรรม ้ ุ ่ ู ี จากการกระทำครั้งอดีตที่เรารำลึกได และจะแกกรรมในปจจุบันเพื่อสู อนาคต กอนทีจะมีเวรมีกรรม กอนอืนใด เราทราบเราเขาใจแลว โปรด ่ ่ อโหสิกรรมแกสัตวท้ังหลาย เราจะไมกอเวรกอกรรมกอภัยพิบัติ ไมมี เสนียดจัญไรติดตัวไปเรียกวา เปลา ปราศจากทุกข ถึงบรมสุข คือนิพพาน ได เราจะรไดวากรรมติดตามมา และเราจะแกกรรมอยางไร ในเมือกรรม ู  ่ ตามมาทันถึงตัวเรา เราจะรตวไดอยางไร เราจะแกอยางไร เพราะมันเปน ูั เรืองทีแลว ๆ มา ่ ่ การอโหสิกรรม หมายความวา เราไมโกรธ ไมเกลียด เรามีเวร กรรมตอกันก็ใหอภัยกัน อโหสิกันเสีย อยางที่ทานมาอโหสิกรรม ณ บัดนี้ ใหอภัยซึงกันและกัน พอใหอภัยได ทานก็แผเมตตาได ถาทานมี ่ อารมณคางอยูในใจ เสียสัจจะ ผูกใจโกรธ อิจฉาริษยา อาสวะไมสิ้น ไหนเลยละทานจะแผเมตตาออกได เราจึงไมพนเวรพนกรรมในขอนี้ การอโหสิกรรมไมใชทำงาย จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๔ เรือง แกกรรมดวยการกำหนด โดย พระธรรมสิงหบุราจารย ่ http://www.jarun.org/v6/th/lrule04p0301.html จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง ทำความดีนแสนยาก โดย พระธรรมสิงหบุราจารย ่ ี้ http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๑
  • 23. วิธในการสวดมนตพระเดชพระคุณหลวงพอไดสอนไววา ี  “เอาตำรามาดูกนก็ไมไดผล แตดตำราเพือใหถกวรรคตอน ั ู ่ ู และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ” ทานสามารถฟงเสียงสวดมนต บทพาหุงมหากาฯ ไดท่ี http://fs1.netdiskbytrue.com/Pub014/44/249321_praypahung.wma การวางจิต เมือสวดมนตไดถกวรรคตอน เปนสมาธิดแลว ก็วางจิตใหถกตอง ่ ู ี ู สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลินป) ้  อโหสิกรรมเสียกอนและเราก็แผเมตตา... (ลินป) ้  มีเมตตาดีแลว ไดกศลแลวเราก็อทศเลย (อุณาโลม) ุ ุ ิ “แผสวนกุศลทำอยางไร อุทศตรงไหน ทำตรงไหน และวาง  ิ จิตไวตรงไหน ถึงจะได อยาลืมนะ ทีลนป หายใจยาว ๆ สำรวม ่ ิ้ เวลาสวดมนตนนนะ ไดบญแลว ไมตองเอาสตางคไปถวายองคโนน ั้ ุ  องคนหรอก แลวสำรวมจิต สงกระแสจิตทีหนาผาก อุทศสวนกุศล..” ี้ ่ ิ สวดมนตเปนนิจ (ลินป) ้  “ลินป จะอยครึงทางระหวางจมูกถึงสะดือ” ้ ู ่ ๒๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 24. “........อธิษฐานจิต หมายความวา ตังสติสมปชัญญะ ไวทลนป ้ ั ี่ ิ้ สำรวมกาย วาจา จิตใหตงมันแลว จึงขอแผเมตตาไวในใจ สักครหนึง ั้ ่ ู ่ แลวก็อทศใหมารดา บิดาของเรา วาเราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบญ ุ ิ ุ ไดกุศลแน ๆ เดี๋ยวนี้ดวย ผมเรียนถวายนะ มิฉะนั้นผมจะอุทิศไป ยุโรปไดอยางไร..........” อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลินป) ้  แผเมตตากับอุทศ มันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสทธิกอน ิ ุ ์ ไมอจฉา ริษยา ไมผกพยาบาทใครไวในใจ ทำใจใหแจมใส ทำให ิ ู ใจสบาย คือ เมตตาแลวเราจะอุทศใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลังสูง ิ สามารถจะอุทิศให คุณพอคุณแม ของเรากำลังปวยไขใหหายจาก โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวยที่เคยมาบวชที่วัดนี้ เปนตน...” อโหสิกรรมกอนแลวคอยแผเมตตา “หายใจยาว ๆ ตังกัลยาณจิตไวทลนป ไมใชพดสงเดช จำนะ ้ ี่ ิ้ ู ทีลนป เปนการแผเมตตาจะอุทศก็ยกจากลินป สหนาผาก เรียกวา ่ ิ้ ิ ้ ู อุณาโลมา ปจชายเต....” แผเมตตา (ลินป) อุทศสวนกุศล (อุณาโลม) ้  ิ จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง การอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html และหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๓
  • 25. ลำดับการสวดมนต “พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาวา บางคนเขาไปหาหมอดู เคราะหรายก็ตองสะเดาะเคราะห อาตมาก็มาดูเหตุการณโชคลาง ไมดกเ็ ปนความจริงของหมอดู อาตมาก็ตงตำราขึนมาดวยสติ บอกวา ี ั้ ้ โยมไปสวดพุทธคุณเทาอายุใหเกินกวา ๑ ใหได เพื่อใหสติดี แลวสวด “พาหุงมหากาฯ” หายเลย สติกดขน เทาทีใชไดผล สวด ็ ี ึ้ ่ ตังแต นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ้ พาหุงมหากาฯ จบแลวยอนกลับมาขางตน เอาพุทธคุณหองเดียว (อิตปโส ภะคะวา จนถึง พุทโธ ภะคะวาติ) หองละ ๑ จบ ตอ ๑ ิ  อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ไดผล” ตังนะโม ๓ จบ ้ สวดพุทธัง ธัมมัง สังฆัง สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ สวดพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) สวดมหาการุณิโก สวดพุทธคุณ อยางเดียวเทากับอายุ บวก ๑ เชน อายุ ๒๘ ป ใหสวด ๒๙ จบ อายุ ๕๔ ป ใหสวด ๕๕ จบ เปนตน แผเมตตา อุทศสวนกุศล ิ จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง อานิสงสของการสวดพุทธคุณ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03r0801.html ๒๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 26. เหตุใดตองสวดพุทธคุณเทาอายุเกิน ๑ (อิติปโสเทาอายุ+๑) “อาตมาเคยพบคนแกอายุ ๑๐๐ กวาป มีคนเอากับขาวมาให ก็สวด อิตปโส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทโธ ๑ จบ ใหตวเองกอน ิ  ั สวนอีกจบหนึงใหคนทีนำมาให เสร็จแลวใหถวยคืนไป อาตมาจับ ่ ่  เคล็ดลับได จะใหใครตองเอาทุนไวกอน ถึงไดเรียกวา สวดพุทธคุณ  เทาอายุเกินหนึ่งไงเลา” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง ทำความดีนแสนยาก ่ ี้ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html ทีวาใหวาสวดเทาอายุนี่ หมายความวาอายุเทาไหร ๒๐ ถาเรา ่  สวดแค ๑๐ เดียว มันก็ไมเทาอายุสวดไปเนียเทาอายุกอนนะมันคุม ่  ใหมีสติ แลวก็เกินหนึ่งเพราะอะไร ที่พูดเกินหนึ่งเนี่ยหมายความ คนมักงายมักได คือมันมีเวลานอย ถาสวดแคเกินหนึงทำอะไรใหมน ่ ั เกินไว เหมือนคุณโยมเนี่ยไปคาขาย ยังไมไดขายไดสักกะตังคเลย จะเอาอะไรไปใหทาน ยังไมไดกำไรเลยตองใหตวเองกอนนะ นีตอง ั ่ คาขายตองลงทุนนี่ ตองลงทุนก็สวดไป แตสวดมากเทาไรยิงดีมาก ่ ไดมสมาธิมาก แตอาตมาทีพดไวคอคนมันไมมเี วลา ก็เอาเกินหนึงได ี ่ ู ื ่ ไหม เกินหนึงไดกใชไดนะ แตถาเกินถึง ๑๐๘ ไดไหม ยิงดีใหญ ่ ็  ่ ทำใหเกิดสมาธิสูงขึ้น จากบทสัมภาษณในรายการ “ชีวิตไมสิ้นหวัง” ทางชอง ๓ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๕
  • 27. การเปลียนจาก “เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต ่ “เม” คือ ขา หมายถึง ผสวดนันแหละ สวน “เต” คือทาน ู ่ พระเดชพระคุณหลวงพอ ไดเทศนตอบผใหสมภาษณจากเทปธรรมบรรยาย ู ั “สวดมนตจนหายปวย” และ “มารไมมี บารมีไมเกิด” เราสามารถเลือกสวดไดทง “เม” และ “เต” แตขอฝากย้ำคำสอน ั้ ของพระเดชพระคุณหลวงพอเรืองการแผเมตตาและอุทศสวนกุศล มาให ่ ิ พิจารณาดังนี้ “ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ ถวาย เรืองจริงเปนอยางนัน” ่ ้ จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง วิธแผเมตตาและอุทศสวนกุศล ่ ี ิ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html ๒๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 28. วิธีการแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล วันนี้จะขอฝากญาติโยมไว การอุทิศสวนกุศล และการแผ สวนกุศลไมเหมือนกัน การแผคอการแพรขยาย เปนการเคลียรพนที่ ื ื้ แผสวนบุญออกไป เรียกวา สัพเพสัตตา สัตวทงหลายทีเ่ ปนเพือนทุกข  ั้ ่ เกิดแกเจ็บตายดวยกันทังหมดทังสิน เรียกวาการแผแพรขยาย แตการ ้ ้ ้ อุทศให เปนการใหโดยเจาะจง ถาเราจะใหตวเองไมตองบอก ไมตอง ิ ั   บอกวาขอใหขาพเจารวย ขอใหขาพเจาดี ขอใหขาพเจาหมดหนี้ ทำบุญก็รวยเอง เราเปนคนทำ เราก็เปนคนได และการใหบดามารดา ิ นันก็ไมตองออกชือแตประการใด ลูกทำดีมปญญา ไดถงพอแม เพราะ ้  ่ ี  ึ ใกลตวเรา พอแมอยในตัวเรา เราสรางความดีมากเทาไรจะถึงพอแม ั ู มากเทานัน เรามีลก ลูกเราดี ลูกมีปญญา พอแมกชนใจโดยอัตโนมัติ ้ ู  ็ ่ื ไมตองไปบอก จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง การอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๗
  • 29. ผปรารถนาจะปลูกเมตตาใหงอกงามอยในจิต พึงปลูกดวยการ ู ู คิดแผ ในเบืองตนแผไปโดยเจาะจงกอน ในบุคคลทีชอบพอ มีมารดา ้ ่ บิดา ญาติมตร เปนตน โดยนัยวาผนน ๆ จงเปนผไมมเี วร ไมมี ิ ู ั้ ู ความเบียดเบียน ไมมทกข มีสขสวัสดี รักษาตนเถิด เมือจิตไดรบ ี ุ ุ ่ ั การฝกหัดคุนเคยกับเมตตาเขาแลว ก็แผขยายใหกวางออกไปโดย ลำดับดังนี้ ในคนทีเ่ ฉย ๆ ไมชอบไมชง ในคนไมชอบนอย ในคนที่ ั ไมชอบมาก ในมนุษยและดิรจฉานไมมประมาณ เมตตาจิต เมือคิด ั ี ่ แผกวางออกไปเพียงใด มิตรและไมตรีกมความกวางออกไปเพียงนัน ็ ี ้ เมตตา ไมตรีจตมิใชอำนวยความสุขใหเฉพาะบุคคล ยอมใหความสุข ิ แกชนสวนรวมตั้งแตสองคนขึ้นไป คือ หมูชนที่มีไมตรีจิตตอกัน ยอมหมดความระแวง ไมตองจายทรัพย จายสุข ในการระวังหรือ เตรียมรุกรับ มีโอกาสประกอบการงาน อันเปนประโยชนแกตนเอง และหมูเต็มที่ มีความเจริญรุงเรืองและความสงบสุขโดยสวนเดียว จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๑๓ เรื่อง สุจริตธรรมเหตุแหงความสุขที่แทจริง โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule13p0303.html ๒๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 30. สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ อโหสิกรรมเสียกอน และเราก็แผเมตตาใหสรรพสัตวทั้งหลาย ที่เราไปสรางกรรมมา ครังอดีต รบาง ไมรบาง รเู ทาทันหรือไมเทาทันก็ตาม ถารเู ทาไมถง ้ ู  ู  ึ การณเชนนี้แลว ขอสรรพสัตวทั้งหลายจงอโหสิกรรมใหแกขาพเจา มันก็จะนอยลงไป จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html “ตังสติหายใจยาว ๆ ตอนทีกรวดน้ำเสร็จแลวอธิษฐานจิตไวกอน ้ ่  อธิษฐานจิตหมายความวา ตั้งสติสัมปชัญญะไวที่ลิ้นป สำรวมกาย วาจา จิต ไดตงมันแลว จึงขอแผเมตตาไวในใจสักครหนึง แลวก็ขอ ั้ ่ ู ่ อุทิศใหบิดามารดาของเราวา เราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบุญได ผลแน ๆ เดียวนีดวย...” ๋ ้ “หายใจยาว ๆ ตังสติกอน หายใจลึก ๆ ยาว ๆ แลวก็แผเมตตา ้  กอน มีเมตตาดีแลว ไดกศลแลว เราก็อทศเลย อโหสิกรรม ไมโกรธ ุ ุ ิ ไมเกลียด ไมพยาบาทใครอีกตอไป และเราจะขออุทศใหใคร ญาติ ิ บุพเพสันนิวาสจะไดกอน ญาติเมือชาติกอนจะไดมารับ เราก็มทราบ  ่  ิ วาใครเปนพอแมในชาติอดีตใครเปนพีนองของเราเราก็ไมทราบ แต ่  แลวเราจะไดทราบตอนอุทิศสวนกุศลนี้ไปให เหมือนโทรศัพทไป เขาจะไดรบหรือไม เราจะรไดทนที” ั ู ั สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๙
  • 31. “นีกเ็ ชนเดียวกัน เราจะปลืมปตทนทีนะ เราจะตืนตันขึนมาเลย ่ ้ ิ ั ้ ้ ถาทานมีสมาธิ น้ำตาทานจะรวงนะ ขนพองสยองเกลาเปนปติ เบืองตน ถาทานมาสวดมนตกนสงเดช ไมเอาเหนือเอาใต ทานไมอทศ ้ ั ุ ิ ทานจะไมรเู ลยนะ... ” “วันนี้ทานทำบุญอะไร สรางความดีอะไรบาง ดูหนังสือ ทองจำบทอะไรไดบาง ก็อทศได เมืองฝรังเขาไมมการทำบุญ เราไป  ุ ิ ่ ี ทอดกฐิน ผาปา ถวายสังฆทาน เขาทำไมเปน แตทำไมเขาเปนเศรษฐี ทำไมเขามีความเจริญทางดานเทคโนโลยี ทำไมถึงเจริญดวยอารยธรรม ของเขา เพราะเขามีบญวาสนา เขาตังใจทำ มีกจกรรมในชีวตของเขา ุ ้ ิ ิ จะยกตัวอยาง วันนี้เขาคาขายไดเปนพันเปนหมื่นดวยสุจริตธรรม เขาก็เอาอันนันแหละอุทศไป วันนีเ้ ขาปลูกตนไมไดมากมาย เขาก็เอา ้ ิ สิ่งนี้อุทิศไป วาไดสรางความดีในวันนี้ ไมไดอยูวางแตประการใด เขาก็ไดบุญ ไมจำเปนตองเอาสตางคมาถวายพระเหมือนเมืองไทย ถวายสังฆทานกันไมพก ถวายโนนถวายนีแตใจเปนบาป อุทศไมออก ั ่ ิ บอกไมไดอยางนีเ้ ปนตน จะไมไดอะไรเลยนะ ... ” “...ทีผมแผเมตตาและอุทศสวนกุศล ไปเขาบานลูกสาวญวนที่ ่ ิ กรุงปารีส ฝรังเศส ทำอยางนีนะ เวลาสวดมนต อิตปโส... ยาเทวตา... ่ ้ ิ  ตังใจสวดดวยภาษาบาลีเชนนี้ ทีหยุดเงียบไปนะ ผมสำรวมจิตตังสติ ้ ่ ้ แผเมตตา จิตสงบดีแลวจึงอุทศไป” ิ “… ที่ทองจำโคลงใหไดนะเพื่อใหคลองปาก วาใหคลองปาก แลวก็จะคลองใจ คลองใจแลวถึงจะเปนสมาธิ เปนสมาธิแลวถึง จะอุทศได ไมอยางนันไมไดนะ” ิ ้ ๓๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 32. “เอาตำรามาดูกันก็ไมไดผล แตดูตำราเพื่อใหถูกวรรคตอน และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ ถึงจะมีกำลังสงอุทศ ิ ไมอยางนั้นไมมีกำลังสงเลยนะ” “การอุทศสวนกุศล นีสำคัญนะ แตตองแผเมตตากอน แผเมตตา ิ ่  ใหมสติกอน แผเมตตาใหมความรวาเราบริสทธิ์ ใจมีเมตตาไหม และ ี  ี ู ุ อุทศเลย มันคนละขันตอนกันนะ ิ ้ แผเมตตากับอุทิศมันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสุทธิ์กอน ไมอจฉา ไมรษยา ไมผกพยาบาทใครไวในใจ ทำใหแจมใส ทำใจ ิ ิ ู ใหสบาย คือเมตตา แลวเราจะอุทศใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลัง ิ สูง สามารถจะอุทศใหคณพอคุณแมของเรากำลังปวยไข ใหหายจาก ิ ุ โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวย ทีเ่ คยมาบวชทีวดนี้ ่ั เปนตน” “เรามาสวดมนตไหวพระกันวา โยโสภะคะวา.... ใจเปนบุญ ไหม สวากขาโต... สุปฏิปนโน... ใจเปนบุญไหม ทานจะฟงซานไป  ุ ทางไหน สำรวมอินทรีย หนาทีคอยระวัง เอาของจริงไปใช อยาเอา ่ ของปลอมมาใชเลย ... ทานทำประโยชนอะไรในวันนี้ เอามาตีความ สำรวมตังสติไว ้ กอน วาขาดทุนหรือไดกำไรชีวต และจะไปเรียงสถิตในจิตใจเรียกวา ิ ิ เมตตา แปลวาระลึกกอน เมตตาแปลวาปรารถนาดีกบตนเอง สงสาร ั ตัวเองที่ไดสรางความดีหรือความชั่วเชนนี้” สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๑
  • 33. “หายใจยาว ๆ ตังกัลยาณจิตไวทลนป ไมใชพดสงเดช จำนะ ้ ี่ ิ้ ู ทีลนปเ ปนการแผเมตตา จะอุทศก็ยกจากลินปสหนาผาก เรียกวา อุณา ่ ิ้ ิ ้  ู โลมา ปจชายเต นะอยหว สามตัวอยาละ นะอยทไหน ตามเอามา แลวก็อทศ ู ั ู ่ี ุ ิ ทันที จึงถึงตามทีปรารถนา ไมวาเปนโยมพอ โยมแม จะใหนองเรียน ่   หนังสือ จะใหพเี่ รียนหนังสือ หรือจะใหบตรธิดาของตน จะไดผลขึน ุ ้ มาทันที” “ลู ก ว า นอนสอนยาก ลู ก ติ ด ยาเสพติ ด ถ า ทำถู ก วิ ธี แ ล ว มันจะหันเหเรมาทางดีได พอแมกนเหลาเมายา เลนการพนัน ลูกจะ ิ ไปสอนพอแมไมได มีทางเดียวคือ เจริญพระกรรมฐาน สำรวมจิต แผเมตตา อุทศสวนกุศล ิ นะอยหว สามตัวอยาละ นะอยทไหนตามเอามาใหได หมาย ู ั ู ี่ ความวากระไร ถาทานทำกรรมฐาน ทานจะทายออก นะตัวนีสำคัญ ้ นะ มีทงเมตตามหานิยม นะ แปลวา การกระทำอกุศลใหเปนกุศล ้ั นะ แปลวา ทำศัตรูใหเปนมิตร สรางชีวตในธรรม แลวก็อทศสวน ิ ุ ิ กุศลไป” “… อยาทำดวยอารมณ อยาทำดวยความผูกพยาบาท อาฆาต ตอกัน ละเวรละกรรมเสียบาง แลวจิตจะโปรงใส ใจก็จะสะอาด แลวก็อุทิศไป ๓๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 34. จิตมันไมติดไฟแดง จิตไมเลี้ยวซายเลี้ยวขวา จิตมันทะลุฝา ผนังได ทานเขาใจคำนี้หรือยัง จิตมันตรงที่หมาย จิตไมมีตัวตน จิตคิดอานอารมณ มีจิตโปรง ทานจะทำอะไรก็โลงใจ สบายอก สบายใจ นะอยหว สามตัวอยาละ เอานะไปอุทศใหได ถาทานมี ู ั ิ ครอบครัวแลวโปรดตังปฏิญาณในใจวา ใหบตรธิดาของเรารวยสวย ้ ุ เกง เรงเปนดอกเตอร อยางนีซถงจะถูกวิธของผม” ้ ิึ ี “ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ ถวาย เรืองจริงเปนอยางนัน” ่ ้ “…อยาลืมนะ ทีลนป หายใจยาว ๆ สำรวมเวลาสวดมนตนนนะ ่ ้ิ ั้ ไดบญแลว … แลวสำรวมจิตสงกระแสจิตทีหนาผาก อุทศสวนกุศล ุ ่ ิ เวลาแผเมตตาเอาไวที่ลิ้นป สำรวมอินทรีย หนาที่คอยระวัง นะ อุ อุอะมะ อุอะมะ อะอะอุ นะอยตรงไหน เอามาไวตรงไหน จับให ู ไดแลวอุทิศไป” “ผมทำมา ๔๐ กวาปแลว ทำไดผล ขอถวายความรเู ปนบุญ เปนกุศล ใหทานไดบุญอยางประเสริฐไป จะไดอุทิศใหโยมเขา เขาเปนโรคภัยไขเจ็บ ถาไมเหลือวิสยมันก็หายได” ั คัดยอความจากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือง วิธแผเมตตาและอุทศสวนกุศล ่ ี ิ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๓
  • 35. ถามตอบเรื่องการสวดมนต พิธีกร: กราบนมัสการหลวงพอเจาคะ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร พิธีกร: วันนี้ลูกอยากเรียนถามหลวงพอวาการสวดพุทธคุณหมายความ วาอยางไรคะ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพรพุทธคุณหมายความวากระไร พุทธคุณมีมา นานแลว ไมจำเปนตองกลาวพุทธคุณมันเรียกรวมกันเรียกพุทธคุณ ถาจะเรียกใหครบถวนก็เรียกวาไตรรัตน รัตนตรัย คือ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ อยูรวมกันเปนพุทธคุณ เปนอำนาจของ พุทธคุณ อำนาจของพระพุทธเจา แตทวาสวดพุทธคุณอานิสงสหรืออะไร ี่  ก็ตามมีความหมายยังไง มีความหมายมานานแลวคนไทยชาวพุทธไมได ศึกษา มาทีวดกันเยอะแยะ อาตมาบอกวาโยมไมสบายใจสวดพุทธคุณสิ ่ั ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ สวดพุทธคุณ ยาว.. ยาว... ไมสวด แตเสียใจดวย สรางความดี ยาว... สรางความดีนดเดียว ไปสรางความ ิ ชัวยาวกวาความดี มันจะไปกันไดหรือ ไปไมได ่ พุทธคุณนีคอคุณพระพุทธเจา เอาคุณพระพุทธเจามาไวในใจ มีมา ่ื นานแลว พระธรรมคุณ ก็หมายความวาเอาธรรมะมาไวในใจ ปฏิบติ ั สังฆคุณ ปฏิบตไดแลว คือสังฆะแปลวาสามัคคี กายสามัคคี จิตสามัคคี ัิ มีรูปแบบดีเปนพฤติกรรม แสดงออกประพฤติดีแลว ปฏิบัติชอบแลว ก็สอนตัวเองไดสอนคนอื่นตอไปเรียกวาสังฆคุณ พุทธคุณนี่ก็หมาย ความวาเอาคุณพระพุทธเจา มาไวในใจ คุณพระพุทธเจาคืออะไร มี ๓ ประการทุกทาน ๑. พระปญญาคุณ ๒. พระวิสทธิคณ ๓. พระมหากรุณาธิคณ ุ ุ ุ ๓๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 36. แต ถ า จะตี ค วามให ชั ด เดี๋ ย วจะไม เ ข า ใจ ว า พุ ท ธคุ ณ เนี่ ย คุ ณ พระพุทธเจา ปญญาคุณหมายความวาไร คนไทยชาวพุทธไมเขาใจเยอะ ปญญาเกิด ๓ ทาง ทางที่ ๑ คือ สุตะมยปญญา แปลวาสดับตรับฟง สดับตรับฟง ตองมีครรลอง ๕ ประการ ๑. ศรัทธาฟง ๒. สนใจฟง ๓. จดหัวขอไว ๔. ทบทวน ๕. ปฏิบตทนทีอยารอรีแตประการใด เกิดปญญาในการฟง ั ิ ั เดียวนีไปฟงเปนนักเรียนก็ตาม ฟงหลับ แลวก็ญาติโยมฟงเทศนกหลับ ๋ ้ ็ นี่มันมีศรัทธาฟงไหม ไมสนใจฟงเลย ไมจดหัวขอไว ไมเกิดปญญา ในการฟง ๒. ก็ยง ยังไมครรลอง ยังไมเต็มคราบ ยังไมเขาจุด ตองมี ั จินตามยปญญา ตองเอาฟงแลวเนียเอาไปคิดประดิษฐสรางสรรค ริเริม ่ ่ ดำเนินงานทันทีอยารอรีแตประการใดถึงจะเกิดปญญา ถาฟงแลวเอาไปทิง ้ มันไมเกิดปญญาจะไมไดคดไมไดรเิ ริม จึงเรียกวาความคิด มันเกิดปญญา ิ ่ เดียวนีมคนความรมากเปนดอกเตอรกเ็ ยอะ แตไมมความคิดอยู ประการที่ ๋ ้ ี ู ี ๓ สประการที่ ๓ ไมได ภาวนามยปญญา สวดมนตไหวพระ สวดมนต ู ไหวพระไว แลวก็จะนึกถึงภาวนา เชนเด็กดูหนังสือสามหนเรียกวา ภาวนา ดูหนังสือหนเดียวเรียกวาดูหนังสือพิมพทงขวางไป ดูครังทีหนึง ิ้ ้ ่ ่ หมายความวา รนเี่ รืองพระเวสสันดร ยกตัวอยาง ดูครังสองซ้ำไปมีกตอน ู ่ ้ ี่ มีกี่กัณฑ ดูครั้งที่สามเนื้อหาสาระเปนประการใด นี่เรียกวาภาวนา ภาวนาแปลวาอะไรอีก แปลวา “สวดมนตเปนยาทา วิปสสนาเปน  ยากิน” ที่พูดมานานแลว ทำใหมันผุดขึ้นมาเอง และสามารถจะกำจัด ความชัวออกจากตัวได จึงเรียกวาบริสทธิ์ ในเมือเกิดบริสทธิแลว บริสทธิ์ ่ ุ ่ ุ ์ ุ นีไดมาจากไหน ตีความตอไป คนจะบริสทธิไดกไมเปนคนหละหลวม ่ ุ ์ ็ เหลาะแหละเหลวไหลขึนหวยลงเขา คนบริสทธินจะ คนมีจริงจัง จริงใจ ้ ุ ์ ี่ ตอตัวเอง จริงใจตอคนอื่นเขา เรียกตีครรลองเปนธรรมะใหเด็กเขาใจ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๕
  • 37. สัจจะ เมตตา สามัคคี มีวนย ถึงจะบริสทธิได ถาไมมหลักสีประการ ิ ั ุ ์ ี ่ เปนการรับรองแลว คนนันไมบริสทธิและคนบริสทธิแลวทีมกจะมีเมตตา ้ ุ ์ ุ ์ ่ ั เรียกวาพระมหากรุณาธิคณของพระพุทธเจา นีเ่ รียกวาพุทธคุณ นีเ่ อามา ุ ไวในใจ อยางนี้ไง และธรรมคุณก็เชนเดียวกัน พอมีพุทธคุณซะแลว ธรรมคุณมาเอง มีธรรมะมาเอง พอธรรมะมีแลวพระสงฆมาเลยเรียกวา พระรัตนตรัย ขอเจริญพร อยางนี้ความหมาย ขอเจริญพร พิธกร: ประเด็นถัดมานะคะ สวดพาหุงฯ นะคะ มีความเกียวเนืองกัน ี ่ ่ ยังไงคะ ที่หลวงพอใหอุบาสกอุบาสิกาที่นี่สวดพาหุงฯ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร ดีแลว ถามนีดแลวคนไมเขาใจเยอะ แลวไป ่ี สวดอยางอื่นกันลามปาม พาหุงมหากาฯ มันบทติดตอกัน พาหุงฯ เนียมันมีมานานแลว แตเราก็ไมทราบตนเหตุสาเหตุทมนมาจากไหน ก็มี ่ ี่ ั ในหนังสือสวดมนตกเ็ ยอะแยะ คนเปดขามหญาปากคอกแท ๆ พาหุงมหากาฯ ก็แปลวาพระพุทธเจาพิชิตมาร เรียกวาปางมารวิชัย ผจญมารมา ๘ บท อยูในนั้นเลยไปดูเอาหาดูได ผจญมาร พระพุทธเจา ชนะมารแลว เรียกวาพาหุงมหากาฯ มหากาแปลวาอะไร ชยันโตโพธิยาฯ ใชไหม สุนกขัตตัง สุมงคะลัง ทำดีตอนไหนไดตอนนัน “ฤกษ” จึงเอามานิยม ั ั ้ สวดมนตดวยการเจิมปาย และก็เปดสำนักงานและก็วางศิลาฤกษ หมาย  ความวา (๑.) ฤกษคออากาศดี (๒.) ยามแปลวาเวลาวาง ๓. เครืองพรอม ื ่ ที่จะดำเนินงานไดทันทีอยารอรีแตประการใด ถึงไดเริ่มดำเนินงานใด ๆ เรียกวามหากาฯ พาหุงฯ บทนี้คือพระพุทธเจาเรากอนจะสำเร็จสัมโพธิญาณ พระองคผจญมารมาก มารมาผจญกับพระองคมากมาย ใชวาอธิบายทุกบท ทุกขอ มันมี ๘ ขอ แตจะเสียเวลามากจะไมสามารถจะจบในที่นี้ได ขอใหทานสาธุชนทั้งหลายไปดูเอาในหนังสือสวดมนตแปลในพาหุง มหากาฯ หรือ เรียกวาฎีกาพาหุงฯ นี่อยางนี้เปนตน ๓๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ
  • 38. แสดงวาพระพุทธเจานังหลับตาก็ไปสมาร ไปตอสกบมาร “มาร ่ ู ูั ไมมบารมีไมเกิด ประเสริฐไมได” พระองคผจญมารมาครบแลวชนะรวด ี ชนะรวดเรียกวาพาหุงฯ นี่ เรามีมานานแลวแตคนนะ ไมสวดกัน ตนสาย ปลายเหตุมาจากไหนเดียวคอยถามทีหลัง บางคนไมรจริง ๆ พาหุงมหากาฯ ๋ ู ไมรเู ลย หญาปากคอกแท ๆ ขามไปหมด เราเนีย..เราเกิดมาเนียขอฝาก ่ ่ ทานนุ.. โยมดวยวา มารไมมี บารมีไมเกิด คนเกิดมาเนียสรางความดีตอง่  มีอปสรรค ถาเปนความชัวจะไมมอปสรรค มันจะไหลไปเลยนะ จะไหล ุ ่ ีุ ไปเลยนะ คนเราเนี่ยไมตีความ ความชั่ว นี่มันก็ไหลไปเลยไมมีใครมา ขัดคอ ถาหากวาทานด็อกเตอรสรางความดีปบมีคนขัดคอ มีมารผจญแลว  ตองสมารตอไปคือขันติ ขันติความอดทนอดกลัน อดออมประนีประนอม ู ้ ยอมความ ตองตรากตรำลำบาก อดทนตอการทำงาน อดทนตอความ เจ็บใจในสังคมดวย นีถงจะพนเรียกวาพระพุทธเจาพนมาร แลวก็ทานเขา ่ึ  สมาธิเดี๋ยวสาธิตใหดู นั่งสมาธิหลับตามารมารอบดาน มาทุกอยางเลย จิญจมาณวิกาก็หาวาพระพุทธเจาทองกับเขา ทานก็ไมวา เอาแผเมตตาดวย  การสวดพาหุงฯ นี่ ทานก็สวดไปสวดมาชนะ ชนะแลวเนี่ย ชนะแลว สะดงมาร เรียกวาชนะเรียกปางมารวิชย เนียปางมารวิชยชนะมารได นี่ ุ ั ่ ั บทนีชนะมาร ถาบานสาธุชนไดสวดแลวชนะมาร มารไมมบารมีไมเกิด ้ ี ถาคนไหนไมมมาร คนนันไมมบารมีนะ นีขอใหทานทังหลายไปตีความ ี ้ ี ่  ้ เอาเอง เพราะเวลามันจำกัด นี่พาหุงมหากาฯ เปนอยางนี้ ขอเจริญพร พิธกร: ทำยังไงคะ ทีจะสวดมนตไมวาจะเปนพุทธคุณก็ดนะคะ พาหุงฯ ี ่  ี ก็ดี มหาการุณโกฯ ก็ดี ใหเปนอานิสงสกบตัวของเราคะ ิ ั หลวงพอจรัญ: เพราะงั้นตองมีศรัทธา..ตองมีความเชื่อความเลื่อมใส ในการสวด ถึงจะเปนอานิสงสในศรัทธาของเขากอน แตบางคนเนียนะ.. ่ ตางชาติตางภาษา เขาไมเขาใจเลย ถาสวดไปนาน ๆ จะรเู องนะ ถาเกิด  สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๗
  • 39. สมาธิจะรวาเนียแปลวากะไร มีคนทำไดเยอะ แตคนเราสวดจิม ๆ จ้ำ ๆ ู ่ ้ ไปมันจะไดอะไร บางคนเนียรวาสวดพุทธคุณ สวดมนตละก็ดี สวดไป ่ ู  มันก็ไมดเี พราะอะไร จิตไมถง เขาไมถงธรรมะ ถาจิตมีศรัทธาเลือมใส ึ ึ ่ สวดใหมนเขาถึง ๑. เขาถึง ๒. จะซึงใจ ๓. จะใฝดี ๔. จะมีสจจะ ั ้ ั พูดจริงทำจริงเลยเนี่ยนะออกมาชัดเลย นี่อานิสงส มีสัจจะ แลวก็จะมี กตัญูกตเวทิตาธรรม รูหนาที่การงานของตน นี่สวดเขาไมถึงเนี่ยมัน จะไปรไดยงไงจะซึงใจไหม ไมมศรัทธาเลยสวดจิม ๆ จ้ำ ๆ เหมือนพอคา ู ั ้ ี ้ แมคาไปแลกเปลี่ยนของในตลาดกันไดเปนธุรกิจ การสวดมนตไมใช นักธุรกิจ สวดมนตเนียตองการใหระลึกถึงตัวเอง มีสติสมปชัญญะใหสวด ่ ั เขาไปสวดไป พอถึงจิตถึงใจแลว เหมือนอยางเนียยกตัวอยาง เขายังทอง ้ ไมได อานไปยังไมเปนสมาธิ อานไปอานใหดง ๆ คลองปาก พอคลอง ั ปากแลวก็คลองใจ พอคลองใจแลวติดใจแลวมันก็เกิดสมาธิ นี.่ . พอเกิด สมาธิจิตก็ถึง พอถึงหนักเขาแลวจะซึ้งใจ พอซึ้งใจแลว.. ซึ้งธรรม ซึ้งธรรมะมันจะใฝดี พิธกร: ที่วาจิตเปนสมาธินี่ก็คือวา จิตเปนหนึ่ง ี หลวงพอจรัญ: จิตเปนหนึ่ง นั่นเอกัตคตา ถาหากวาจิตยังวุนวายหรือ อะไร สวดมังแลวก็ไปทำงานบางไมไดผล ่ พิธีกร: ในลักษณะนี้หลวงพอขา การที่สวดมนตเนี่ยนะคะพอจิตเปน หนึ่งแลวเนี่ยก็มีคุณคาเทากับทำสมาธิเหมือนกัน หลวงพอจรัญ: ใชได ใชได นี่คือสมาธิ การสวดมนตเปนยาทา วิปสสนาเปนยากิน ทาไปกอน สวดไปกอน สวดแลวเนี่ยมันซึ้งใจ จะเปนตางชาติ ตางภาษา คนจีนหรือคนฝรังเขานิยมเนีย เขาสวดโดยไม ่ ่ รเู รือง แตสวดไปสวดไปเกิดสมาธินะสิ เกิดสมาธิเกิดจิตสำนึกเกิดหนาที่ ่  ๓๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ