SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การจัดการเรียนรู้แบบ STAD หมายถึง รูปแบบการจัดการ
เรียนการสอนแบบร่ว มมือกันเรี ยนรู้อีกรูปแบบหนึ่ง ที่ มีชื่อเต็มว่ า
Student Teams Achievement Divisions เป็นการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน ซึ่งกาหนดให้นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน
ทางานร่วมกันเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5 คน ซึ่งประกอบด้วย นักเรียนที่
เรียนเก่ง 1 คน นักเรียนที่เรียนปานกลาง 2-3 คน และนักเรียนที่
เรียนอ่อน 1 คน
จุดประสงค์
      เพื่อจูงใจผู้เรียนให้กระตือรือร้นกล้าแสดงออกและช่วยเหลือกันในการ
ทาความเข้าใจเนื้อหานั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่งเป็นเทคนิคที่สามารถใช้ได้กับทุก
วิชา ตั้งแต่คณิตศาสตร์ ศิลปะ ภาษา และสังคมศึกษา และใช้ได้กับระดับ
ประถมศึกษาจนถึงมหาวิทยาลัย
แนวคิด
     การสอนแบบ STAD พัฒนาขึ้นโดย Robert E. Slavin ผู้อานวยการโครงการ
ศึกษาระดับ ประถมศึกษาศูนย์วิจัยประสิทธิภาพการเรียนของผู้เรียนมีปัญหาทางด้าน
วิชาการ แห่งมหาวิทยาลัยจอห์น ฮอฟกินส์ สหรัฐอเมริกา และเป็นผู้เชี่ยวชาญการ
สอนคณิตศาสตร์ Slavin ได้พัฒนาเทคนิคนี้ขึ้นเพื่อขจัดปัญหาทางการศึกษาโดย
มุ่งเน้นทักษะการคิด การเรียนที่เป็นระบบ เป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับการเรียนเป็น
กลุ่มและเป็นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน
องค์ประกอบสาคัญของเทคนิค STAD
     รางวัลของกลุ่ม

     ผลการรับผิดชอบรายบุคคล

     โอกาสความสาเร็จทีเ่ ท่าเทียมกัน
แนวทางการจัดการเรียนรู้
การสอนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD มี 5 ขั้นตอนหลักดังนี้

              การนาเสนอข้อมูล
              การทางานร่วมกัน
              การทดสอบ
              การปรับปรุงคะแนน
              การตัดสินผลงานของกลุ่ม
การเรียนการสอนตามรูปแบบ STAD
    มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้
1.    ครูอธิบายงานที่ต้องทาในกลุ่ม ลักษณะการเรียนภายในกลุ่ม กฎ กติกา ข้อตกลงในการ
     ทางานกลุ่ม
2.   ครู เ ป็ น ผู้ ก าหนดกลุ่ ม โดยผู้ เ รี ย นจะได้ รั บ มอบหมายให้ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม คละเพศ คละ
     ความสามารถ ในกลุ่มหนึ่งจะมีสมาชิกจานวน 4 – 5 คน
3.   หลังจากที่ผู้สอนได้สอนเนื้อหาตามบทเรียนแล้ว มีการมอบหมายใบงาน/แบบฝึกหัดให้
     ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยกันในกลุ่มของตนเอง
4.   มีการประเมินในสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนไป โดยทดสอบคะแนนเป็นรายบุคคล
บทบาทของผู้สอนกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD

1. จัดผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อยกลุมละ 4-5 คน โดยให้สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกัน
                                 ่
2. ให้ผู้เรียนจัดที่นั่งเป็นกลุ่มโดยมีช่องว่างระหว่างกลุ่มที่ผู้สอนสามารถเดินดูการทางานของกลุ่ม
   ได้
3. ชี้แจงบทบาทของผู้เรียน เกี่ยวกับวิธีการเรียนรูแบบร่วมมือเทคนิค STAD และกิจกรรม
                                                     ้
   ภายในกลุม   ่
บทบาทของผู้สอนกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD

   4. สร้างบรรยากาศที่เสริมสร้างการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
   เช่น ยกย่อง ชมเชยตามโอกาสที่เหมาะสม
   5. เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุมย่อย ติดตามความก้าวหน้าในการ
                              ่
   เรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิกในกลุม่
   6. เป็นผู้กาหนดว่า ผู้เรียนควรอยู่ในกลุ่มเดิมนานเท่าใด
บทบาทของผู้เรียนกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD
1. สมาชิกในกลุ่มต้องมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน
2. ทุกคนต้องพัฒนาให้สามารถสื่อความหมายได้ดี
3. สมาชิกแต่ละคนจะต้องได้รับมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ
4. ทุกคนต้องให้เกียรติและรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มสามารถวิจารณ์ความคิดเห็น
   ของเพื่อนได้ แต่ไม่วจารณ์ตัวบุคคลและควรวิจารณ์ในลักษณะที่ทาให้ชัดเจนขึ้น
                       ิ
5. ทุกคนรับผิดชอบการเรียนรู้ด้วยตนเองและสมาชิกในกลุ่ม
ข้อดีและข้อจากัด ของการเรียนแบบร่วมมือ STAD

ข้อดี
         1. ผู้เรียนมีความเอาใจใส่รับผิดชอบตนเองและกลุ่มร่วมกับเพื่อน
สมาชิก
      2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันได้ร่วมมือกันเรียนรู้
      3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนผลัดกันเป็นผู้นา ผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้
ทักษะทางสังคม
      4. ผู้เรียนมีความตื่นเต้นสนุกกับการเรียนรู้
ข้อจากัด
         1. ถ้าผู้เรียนขาดความรับผิดชอบจะส่งผลให้งานกลุ่มและการ
เรียนรู้ไม่ประสบความสาเร็จ

        2. เป็นวิธีที่ผู้สอนจะต้องเตรียมการและดูแลเอาใจใส่เป็น
อย่างดีจึงจะได้ผลทาให้ผู้สอนมีภาระงานเพิ่มมากขึ้น
สรุป
            จากการศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มผลลัพธ์ (stad )จะเห็นได้ว่า
เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนเรียนเป็นกลุ่ม เปิดโอกาสให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียน
มีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มทาให้นักเรียนช่วยเหลือกันในขณะเรียน ซักถามปัญหากันอย่างอิสระคนเก่ง
สามารถอธิบายให้เพื่อนในกลุ่มเข้าใจ และนักเรียนสามารถอภิปรายถึงข้อดีข้อเสียของการหาคาตอบ
ในปัญหาคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งปัญหาคณิตศาสตร์เป็นปัญหาทีท้าทาย และมีปัญหาที่แปลกใหม่ซึ่งไม่
                                                           ่
เคยพบเห็นมาก่อน ความพยายามของนักเรียนแต่ละคนในการหาคาตอบจากปัญหาเดียวกัน จะทาให้
เกิดความก้าวหน้าทีละน้อย และประสบการณ์ ที่มีค่าดั้งนั้นจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้น
มีความหมายมากกว่า แค่การอานักเรียนมารวมกันทางานเป็นกลุ่มย่อยเท่านั้น แต่เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน
เพื่อกลุ่มและส่วนรวมโดยการช่วยเหลือซึ่งกันและกันเห็นคุณค่าของความแตกต่างระหว่างบุคคล
การจัดการเรียนรู้ Stad

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
thkitiya
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
krupornpana55
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
SophinyaDara
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
Jaar Alissala
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
Petsa Petsa
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
krupornpana55
 

Was ist angesagt? (20)

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
Present perfect tense
Present  perfect  tensePresent  perfect  tense
Present perfect tense
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 

Andere mochten auch

การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
thitinanmim115
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
Teeraporn Pingkaew
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
Krumath Pawinee
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
pairop
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
ananphar
 
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTADการวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
Kumah Al-yufree
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
wannaphakdee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
yuapawan
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Kunwater Tianmongkon
 

Andere mochten auch (20)

การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stadการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTADการวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
แบนดูรา
แบนดูราแบนดูรา
แบนดูรา
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 

Ähnlich wie การจัดการเรียนรู้ Stad

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
Junya Punngam
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
Sukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
Sukanya Burana
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
Kroo Keng
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
wattanaka
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
wannisa_bovy
 
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tieการจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
tie_weeraphon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
benty2443
 

Ähnlich wie การจัดการเรียนรู้ Stad (20)

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
C
CC
C
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tieการจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 

Mehr von Sandee Toearsa

ศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุก
ศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุกศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุก
ศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุก
Sandee Toearsa
 
โครงการนิทานชวนคิด
โครงการนิทานชวนคิดโครงการนิทานชวนคิด
โครงการนิทานชวนคิด
Sandee Toearsa
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
Sandee Toearsa
 
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน กงานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
Sandee Toearsa
 
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน กงานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
Sandee Toearsa
 
โรงเรียนปงสนุก
โรงเรียนปงสนุกโรงเรียนปงสนุก
โรงเรียนปงสนุก
Sandee Toearsa
 

Mehr von Sandee Toearsa (8)

ศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุก
ศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุกศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุก
ศึกษาสังเกตโรงเรียนบ้านปงสนุก
 
โครงการนิทานชวนคิด
โครงการนิทานชวนคิดโครงการนิทานชวนคิด
โครงการนิทานชวนคิด
 
การ์ตูน
การ์ตูนการ์ตูน
การ์ตูน
 
การ์ตูน
การ์ตูนการ์ตูน
การ์ตูน
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน กงานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
 
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน กงานนำเสนอ1.ปงสน ก
งานนำเสนอ1.ปงสน ก
 
โรงเรียนปงสนุก
โรงเรียนปงสนุกโรงเรียนปงสนุก
โรงเรียนปงสนุก
 

การจัดการเรียนรู้ Stad

  • 1.
  • 2. การจัดการเรียนรู้แบบ STAD หมายถึง รูปแบบการจัดการ เรียนการสอนแบบร่ว มมือกันเรี ยนรู้อีกรูปแบบหนึ่ง ที่ มีชื่อเต็มว่ า Student Teams Achievement Divisions เป็นการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ซึ่งกาหนดให้นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน ทางานร่วมกันเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5 คน ซึ่งประกอบด้วย นักเรียนที่ เรียนเก่ง 1 คน นักเรียนที่เรียนปานกลาง 2-3 คน และนักเรียนที่ เรียนอ่อน 1 คน
  • 3. จุดประสงค์ เพื่อจูงใจผู้เรียนให้กระตือรือร้นกล้าแสดงออกและช่วยเหลือกันในการ ทาความเข้าใจเนื้อหานั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่งเป็นเทคนิคที่สามารถใช้ได้กับทุก วิชา ตั้งแต่คณิตศาสตร์ ศิลปะ ภาษา และสังคมศึกษา และใช้ได้กับระดับ ประถมศึกษาจนถึงมหาวิทยาลัย
  • 4. แนวคิด การสอนแบบ STAD พัฒนาขึ้นโดย Robert E. Slavin ผู้อานวยการโครงการ ศึกษาระดับ ประถมศึกษาศูนย์วิจัยประสิทธิภาพการเรียนของผู้เรียนมีปัญหาทางด้าน วิชาการ แห่งมหาวิทยาลัยจอห์น ฮอฟกินส์ สหรัฐอเมริกา และเป็นผู้เชี่ยวชาญการ สอนคณิตศาสตร์ Slavin ได้พัฒนาเทคนิคนี้ขึ้นเพื่อขจัดปัญหาทางการศึกษาโดย มุ่งเน้นทักษะการคิด การเรียนที่เป็นระบบ เป็นทางเลือกหนึ่งสาหรับการเรียนเป็น กลุ่มและเป็นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน
  • 5. องค์ประกอบสาคัญของเทคนิค STAD  รางวัลของกลุ่ม  ผลการรับผิดชอบรายบุคคล  โอกาสความสาเร็จทีเ่ ท่าเทียมกัน
  • 6. แนวทางการจัดการเรียนรู้ การสอนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD มี 5 ขั้นตอนหลักดังนี้  การนาเสนอข้อมูล  การทางานร่วมกัน  การทดสอบ  การปรับปรุงคะแนน  การตัดสินผลงานของกลุ่ม
  • 7. การเรียนการสอนตามรูปแบบ STAD  มีลักษณะการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ครูอธิบายงานที่ต้องทาในกลุ่ม ลักษณะการเรียนภายในกลุ่ม กฎ กติกา ข้อตกลงในการ ทางานกลุ่ม 2. ครู เ ป็ น ผู้ ก าหนดกลุ่ ม โดยผู้ เ รี ย นจะได้ รั บ มอบหมายให้ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม คละเพศ คละ ความสามารถ ในกลุ่มหนึ่งจะมีสมาชิกจานวน 4 – 5 คน 3. หลังจากที่ผู้สอนได้สอนเนื้อหาตามบทเรียนแล้ว มีการมอบหมายใบงาน/แบบฝึกหัดให้ ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยกันในกลุ่มของตนเอง 4. มีการประเมินในสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนไป โดยทดสอบคะแนนเป็นรายบุคคล
  • 8. บทบาทของผู้สอนกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD 1. จัดผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อยกลุมละ 4-5 คน โดยให้สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกัน ่ 2. ให้ผู้เรียนจัดที่นั่งเป็นกลุ่มโดยมีช่องว่างระหว่างกลุ่มที่ผู้สอนสามารถเดินดูการทางานของกลุ่ม ได้ 3. ชี้แจงบทบาทของผู้เรียน เกี่ยวกับวิธีการเรียนรูแบบร่วมมือเทคนิค STAD และกิจกรรม ้ ภายในกลุม ่
  • 9. บทบาทของผู้สอนกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD 4. สร้างบรรยากาศที่เสริมสร้างการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น ยกย่อง ชมเชยตามโอกาสที่เหมาะสม 5. เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุมย่อย ติดตามความก้าวหน้าในการ ่ เรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิกในกลุม่ 6. เป็นผู้กาหนดว่า ผู้เรียนควรอยู่ในกลุ่มเดิมนานเท่าใด
  • 10. บทบาทของผู้เรียนกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD 1. สมาชิกในกลุ่มต้องมีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน 2. ทุกคนต้องพัฒนาให้สามารถสื่อความหมายได้ดี 3. สมาชิกแต่ละคนจะต้องได้รับมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ 4. ทุกคนต้องให้เกียรติและรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มสามารถวิจารณ์ความคิดเห็น ของเพื่อนได้ แต่ไม่วจารณ์ตัวบุคคลและควรวิจารณ์ในลักษณะที่ทาให้ชัดเจนขึ้น ิ 5. ทุกคนรับผิดชอบการเรียนรู้ด้วยตนเองและสมาชิกในกลุ่ม
  • 11. ข้อดีและข้อจากัด ของการเรียนแบบร่วมมือ STAD ข้อดี 1. ผู้เรียนมีความเอาใจใส่รับผิดชอบตนเองและกลุ่มร่วมกับเพื่อน สมาชิก 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันได้ร่วมมือกันเรียนรู้ 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนผลัดกันเป็นผู้นา ผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้ ทักษะทางสังคม 4. ผู้เรียนมีความตื่นเต้นสนุกกับการเรียนรู้
  • 12. ข้อจากัด 1. ถ้าผู้เรียนขาดความรับผิดชอบจะส่งผลให้งานกลุ่มและการ เรียนรู้ไม่ประสบความสาเร็จ 2. เป็นวิธีที่ผู้สอนจะต้องเตรียมการและดูแลเอาใจใส่เป็น อย่างดีจึงจะได้ผลทาให้ผู้สอนมีภาระงานเพิ่มมากขึ้น
  • 13. สรุป จากการศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มผลลัพธ์ (stad )จะเห็นได้ว่า เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนเรียนเป็นกลุ่ม เปิดโอกาสให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียน มีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มทาให้นักเรียนช่วยเหลือกันในขณะเรียน ซักถามปัญหากันอย่างอิสระคนเก่ง สามารถอธิบายให้เพื่อนในกลุ่มเข้าใจ และนักเรียนสามารถอภิปรายถึงข้อดีข้อเสียของการหาคาตอบ ในปัญหาคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งปัญหาคณิตศาสตร์เป็นปัญหาทีท้าทาย และมีปัญหาที่แปลกใหม่ซึ่งไม่ ่ เคยพบเห็นมาก่อน ความพยายามของนักเรียนแต่ละคนในการหาคาตอบจากปัญหาเดียวกัน จะทาให้ เกิดความก้าวหน้าทีละน้อย และประสบการณ์ ที่มีค่าดั้งนั้นจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้น มีความหมายมากกว่า แค่การอานักเรียนมารวมกันทางานเป็นกลุ่มย่อยเท่านั้น แต่เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อกลุ่มและส่วนรวมโดยการช่วยเหลือซึ่งกันและกันเห็นคุณค่าของความแตกต่างระหว่างบุคคล