SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                9/6/2009




                                                                    HRM




                           โดย
                           อจ.ศักดิ์ดา หวานแกว
                           ผูจัดการฝายบริหารและ
                           ทรัพยากรมนุษย
                           บริษัท ที ไอ พี เอส จํากัด
                           ทาบี4 ทาเรือแหลมฉบัง



                  วิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                sakda@tips.co.th




                         • ความหมายของการวางแผนอาชีพและการ
                           พฒนาอาชพ
                           พัฒนาอาชีพ
                         • ความสําคัญของวางแผนอาชีพ
                         • ขั้นตอนการวางแผนอาชีพและการ
                           เชื่อมโยงอาชีพ
                         • การวางแผนอาชีพบุคคลและการพัฒนา
                           องคกร
                           องคกร




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                             1
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                            9/6/2009




                                   ประวัติยอ        การประเมิน        การบริหาร              การบริหารสายอาชีพ
                                   พนักงาน            ผลงาน         ผลการปฏิบัตงาน
                                                                               ิ
                                                                                              กับการพัฒนาองคกร


                  ระบบดั้งเดิม
                                                                           การพัฒนาบุคลากร
                                        ผสมัครงาน
                                        ผู มครงาน
                                                                                                                 สรรหา
                                         (Supply)
                                                                          การบริหารสายอาชีพ
                                   การวางแผนกําลังแรงงาน
                                   (Workforce Planning)                                                          พัฒนา
                                                                              การวางแผน
                  กระบวนการ         แหลงงาน/นายจาง                     การสืบทอดตําแหนงงาน
                                        (Demand)                                                               เกษียณอายุ
                                                                            การรักษาคนเกง



                                      กําหนดบทบาท
                                                                                              การพัฒนาองคกร
                                   เลือกคนเกง(Talent)
                  ระบบสมัยใหม

                                                                  กลุยทธ เปาหมายองคกร




                     Career Management

                       การบริหารอาชีพ คือ ระบบชวยเหลือพนักงาน ใหเขาใจ/เรียนรู
                     วิธีใชความสามารถที่พวกเขาควรจะมีในตลอดชีวิตของการทํางาน
                       (เริ่มงาน-เกษียณ) เพื่อใหชีวิตมีความสมบูรณ พึงพาตนเองได
                                                                       ่
                      และ สามารถทํางานงานที    ี่ตนเองรััก รวมถึงสรางความยืดหยุนใ
                                                                ึ          ื    ใน
                         การเปลี่ยนแปลงอาชีพ หรือมีความสมดุลระหวางการทํางาน


                                  Career Plan                           Career Development
                          การวางแผนอาชีพ คือ การตั้ง                  การพัฒนาอาชีพ: การดึงดูดทักษะ
                           วตถุประสงคในอาชพและ
                           วัตถประสงคในอาชีพและ                      ประสบการณและการศกษาเพอให
                                                                      ประสบการณและการศึกษาเพือให
                                                                                                 ่
                           กําหนดวิธีการที่จะบรรลุถึง                 บรรลุวัตถุประสงคอาชีพ. คุณตอง
                             ความกาวหนาดังกลาว                      รับผิดชอบตอการทํางานของคุณ
                                 (ระยะยาว)                                  และแผนพัฒนาอาชีพ.


                                 ความหมายเกี่ยวกับ Career



อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                         2
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                        9/6/2009




                    เชิงบุคคล:
                           - สืบคนสาขา อาชีพและ หนวยงานที่ตนสนใจ
                                 - เขาใจบริบทของสภาพแวดลอม SCAN – PESTLED
                                - กําหนดเปาหมายอาชีพ Goal Setting


                    เชิงองคการ:
                               -  กําหนดนโยบาย แบบแผน เสนทางอาชีพ Career path
                                - เตรีียมกิิจกรรมโปรแกรมฐานขอมูลส ับสนุนการพััฒนา
                                                 โป               สนั ส
                                  อาชีพ
                               - กําหนดบทบาทหนาที่ของผูเกี่ยวของ




                    Career Path
                     เสนทางอาชีพ คือ เสนทางที่บริษัทวางไว สําหรับตลอดชวงอายุ
                       การทํางานของพนักงาน ซึ่งจะมีการกําหนดเงื่อนไขของการ
                                    เจริญเติบโตใหพนักงานทราบ
                     อายุตวั
                      (ป)
                      (ป)
                                   22
                                             25
                                                        30
                         Getting Start
                                                                      35
                           Developing job skills                                 40 up

                                     Develop management
                                     expertise
                                                   Expertise in middle-
                                                   management                            ความกาวหนา
                                                              Potential has become
                                                             clear

                   Career Stages




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                     3
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                                   9/6/2009




                   คือ การวางแผนความกาวหนาทางสายอาชีพ (Career Path Profile) ของพนักงานตาม
                   ความสามารถและคุณลักษณะ(Competency)ที่จําเปนแตละตําแหนงงาน รวม ทั้งการสรางเสริม
                   คุณลักษณะ (Competency) ที่จําเปนในการปฏิบัติงานในสายอาชีพนั้นๆ ตลอดจนการ
                   เตรียมพรอมในการเลื่อนตําแหนงหรือโยกยายไปสูตําแหนงอื่น
                                                                     ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ       ขอพึงระวัง/ ผลกระทบ     ระยะเวลาที่คาดวา
                      วัตถุประสงค         สิ่งที่ตองมีเบื้องตน
                                                                     จากการพฒนาแนวทางน
                                                                     จากการพัฒนาแนวทางนี้                 ทอาจเกดขน
                                                                                                          ที่อาจเกิดขึ้น    จะใชในการดาเนนงาน
                                                                                                                            จะใชในการดําเนินงาน

                  • เพื่อสรางแนวทางที่ • มีโครงสรางสวน           • สามารถพัฒนาบุคลากร •       จะตองมีการกําหนด • ระยะเวลาทีใชในการ
                                                                                                                                   ่
                    ชัดเจนในการ           หนวยงานที่ชดเจน
                                                         ั            ไดถูกตองตาม              คุณลักษณะและ            ดําเนินงานนั้นขึ้นอยู
                    พัฒนาคุณลักษณะ • จะตองมีการกําหนด                คุณลักษณะที่ตองการใน      คุณสมบัติที่ตองการ
                                                                                                                        กับจํานวนของ
                    ที่ตองการของแต      คุณลักษณะและ                สายอาชีพ                   ของแตละตําแหนง        หนวยงานยอยและ
                    ละตําแหนงงานใน       คุณสมบัติที่ตองการ
                                                                   • มีพนักงานที่มี             งานที่ถูกตองและ        ตําแหนงงานที่มอยูใน
                                                                                                                                          ี 
                    แตละสายอาชีพ         ของแตละตําแหนง            ความสามารถตรงตาม           สะทอนบทบาทหนาที่ สวนหนวยงาน แต
                    และเพือเปนการ
                            ่             งาน (Job                    ความตองการในการ           ที่ถูกตองมิฉะนั้นจะทํา โดยทัวไปมักจะใช
                                                                                                                                ่
                    สงเสริมให           Competency                  ปฏิบัติงาน                 ใหเกิดการวางแผนที่     เวลาประมาณ 3-6
                    ผูปฏิบัติงานไดอง    Profile)                  • เตรียมความพรอมใหกบั      ผิดพลาด                 เดือน
                    เห็นแนวทางในการ                                   บุคลากรในการพัฒนา •        จะตองมีการพิจารณา
                    เจริญเติบโตของ                                    ไปสู าแหนงงานทสูงขึ้น
                                                                      ไปสตาแหนงงานที่สงขน
                                                                            ํ                    ปรบเปลยน
                                                                                                 ปรับเปลี่ยน
                    ตนเองวาสามารถจะ                                  (Career Development)       คุณลักษณะที่กาหนดํ
                    เจริญกาวหนาได                                • แนวทางทีใชในการ
                                                                                ่                ไวเมื่อตําแหนงงาน
                    อยางไร                                           พิจารณาโยกยาย             นั้นๆถูกปรับเปลี่ยน
                                                                      ตําแหนงงานทีเหมาะสม
                                                                                     ่           หนาทีและความ
                                                                                                         ่
                                                                      ตามคุณลักษณะที่มีของ       รับผิดชอบหรือมีการ
                                                                      พนักงาน (Lateral           ปรับเปลี่ยนประเด็น
                                                                      Transfer/Job Rotation)     ยุทธศาสตรของ
                                                                    • พนักงานสามารถวางแผน        องคกรที่แตกตางจาก
                                                                      ในการพัฒนาเพื่อ            เดิมเปนอยางมาก
                                                                      ความกาวหนาในสาย
                                                                      อาชีพของตนเอง




                      ขั้นตอนในการดําเนินงาน
                                           ศึกษาโครงสราง                                              กําหนด                   ทบทวน
                    ทําความเขาใจ                                         จัดกลุมสาย
                                            องคกร/ศึกษา                                             แนวทางและ                 หลักสูตร
                       กลยุทธ                                               อาชีพ
                                             ตําแหนงงาน                                             หลักเกณฑ                การฝกอบรม
                     ขององคกร

                   •ทําความเขาใจ  • ศึกษาโครงสรางองคกร           • ทบทวนวาบทบาทของแต            •กําหนดแนวทางและ       •ทบทวนหลักสูตร
                    เปาหมายและกล    แตละตําแหนงงานใน               ละหนวยงานนั้นมีหนวยงาน        หลักเกณฑในการ         การฝกอบรมทีมีอยู
                                                                                                                                          ่
                    ยุทธขององคกร   หนวยงานนั้น โดย                 ใดที่สามารถรวมกันเปน           เลื่อนหรือโยกยาย      ใหมีความสอดคลอง
                   •ทําการทบทวน      พิจารณาบทบาทและ                  กลุมงานในสายอาชีพ              ตําแหนงงาน โดยยึด     กับ Competency
                    ภารกิจหลักของ    หนาทีความรับผิดชอบ
                                             ่                        เดียวกัน (Occupational          หลักของ                ที่ตองการในกลุม
                    สวนหนวยงาน/    ทั้งหมดที่มอยู
                                                   ี                  Group) ได ยกตัวอยางเชน       Competency มาเปน      สายชีพ และ
                    จังหวัด        • อาจใชวธีการสอบถาม
                                               ิ                      งานธุรการกับงานการ              เกณฑหลักในการ         สอดคลองกับการ
                                     ผูที่ปฏิบัตงานใน
                                                 ิ                    เจาหนาที่ โดยอาจจะ            พิจารณา เชน           สรางความกาวหนา
                                     ตําแหนงงานนั้นๆ และ             พิจารณาจาก                      พนักงานทีจะขอยาย
                                                                                                                 ่           ในสายอาชัพ
                                     ศึกษาเพิ่มเติมจาก                Competency หลักของแต           จากตําแหนง A ไปสู
                                     เอกสารบรรยาย                     ละหนวยงาน (Job                 ตําแหนง B จะตอง
                                     ลักษณะงาน (Job                   Competency Profile)             Competency ที่
                                     Description)                   • จัดกลุมตําแหนงงานที่          จําเปนในการ
                                   • ทบทวน Competency                 ตองการ Competency ที่          ปฏิบัติงานของ
                                     ที่จาเปนสําหรับแตละ
                                         ํ                            ใกลเคียงกันไวดวยกัน เพื่อ    ตําแหนงB ครบถวน
                                     ตําแหนงงานรวมทัง ้              เปนการสรางแนวทางใน
                                     ระดับของ                         การปรับเปลี่ยนตําแหนง
                                     Competency ที่                   งานไปสูตําแหนงอืนที่
                                                                                        ่
                                     ตองการในแตละ                   ตองการ Competency
                                     ตําแหนงงาน                      ใกลเคียงกัน




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                                                4
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                             9/6/2009




                       แจงความคาดหวังที่ชัดเจนแกพนักงานใหทราบ
                       ใหโอกาสพนักงานไดเปลี่ยนยายงาน
                       เตรียมแผนสืบถอดตําแหนงไวรองรับ
                       ผูกโยงผลการทํางานเขากับรางวัลและการยอมรับ
                       จัดหาทรัพยากรเพื่อสนองเปาหมายระยะสั้นและ
                       ยาวของพนกงาน
                       ยาวของพนักงาน
                       สงเสริมใหมีการประเมินเพื่อการพัฒนาอยาง
                       ตอเนื่องและจริงจัง




                       ประโยชนของการบริหารสายอาชีพ

                                    นําศักยภาพของพนักงานที่มีการประเมินมาเพิ่มผลงาน
                                    ใหองคกร
                                             สามารถกาหนดหลกเกณฑในการสรางความกาวหนา
                                             สามารถกําหนดหลักเกณฑในการสรางความกาวหนา
                                             ของพนักงานไดเปนมาตรฐาน

                                              สรางความยุติธรรมการระบบการเลื่อนตําแหนงงาน


                                             ชวยในการวางแผนพัฒนาพนักงานไดเปนรายบุคคล


                                         ชวยในการรักษาคนเกงใหอยูกับองคกร
                                                                    ู

                                ชวยในการสรางบุคลากรทดแทนหรือสืบทอดตําแหนง




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                          5
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                    9/6/2009




                   •   ความสนใจในอาชีพ                                       •   ประเภทอาชีพตางๆ
                   •   จุดแข็ง จุดออนตนเอง                                  •   กลุมอุตสาหกรรมตางๆ
                   •   ความมั่นคง คุณภาพชีวิต                                •   คุณสมบัติของอาชีพ
                   •   เปาหมายทางการเงิน                                    •   ขอเสนอแนะของตําแหนง
                   •   เปาหมายของครอบครัว                                   •   อาชีพสํารอง/ทางเลือก
                   •   อุดมการณของอาชีพ                                     •   อิทธิพล/แรงจูงใจ



                                                     ประเมินตนเอง                คัดเลือกอาชีพ




                                                                                                                   กําหนดเปาหมาย
                       ลาดแรงงาน




                                                                                                                    วัตถุประสงค
                      อาชีพตางๆ




                                      เปาหมาย                                                         อาชีพ
                                        อาชีพ                                                      ทีตองการ
                                                                                                     ่
                        ชี
                    ในตล




                                                                                                                              ห
                                                            การวางแผน / พัฒนา / ควบคุม



                                   การพัฒนาทักษะ ประเมินความสามารถ ปรับปรุงเปาหมาย ติดตามผล




                   ขอกําหนดเกี่ยวกับอาชีพ
                                         วุฒิ สาขาที่จบ เกรดเฉลีย
                                                                ่                                  คาจาง
                          ความรู        Transcript ความสามารถพิเศษ
                                         ฯลฯ

                                         ทักษะคอมพิวเตอร ทักษะการ
                           ทักษะ         สื่อสาร ภาษาตางประเทศ ภาวะผูนํา                   การตัดสินใจ
                                         ฯลฯ
                                                                                               พื้นฐาน
                                         สภาพอันตรายในงาน อุปกรณ
                         สภาพ
                                         อํานวยสะดวก สถานที่ทํางาน เพื่อน            เงินเพิ่ม                 สวัสดิการ
                        แวดลอม          รวมงาน ฯลฯ




                       ผูจัดการ               ผูเชี่ยวชาญ              เจาหนาที่             เจาของกิจการ




                        การเจริ ญ เติ บ โตในสายอาชี พ




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                                 6
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                  9/6/2009




                                                                        ผูอํานวยการ



                                                                     ผููชวยผููอานวยการ
                                                                                  ํ


                                 เสนทางอาชีพใน                    ผูจัดการแผนก /ฝาย
                               ตําแหนงทางเทคนิค
                      หัวหนานักวิทยาศาสตรทางการวิจัย                    ผูจัดการ



                          นักวิทยาศาสตรทางการวิจัย                    ผูชวยผูจัดการ

                                                                    เสนทางอาชีพใน
                                  นักวิทยาศาสตร
                                                                    ตําแหนงผูบริหาร




                                   การพัฒนา
                                    Title in
                                    ฝกอบรม
                                      here                     ขอเสนอในการตัดสินใจ

                    Title in                       Title in
                                                      ความ    • เลือกในสิ่งที่ชอบ/ถนัด(ระยะยาว)
                     here
                    รายได                          here า
                                                    กาวหน   • รายไดสอดคลองกับการจางงานใน
                                                                ตลาดงาน(ระยะสั้น)
                                                                         ่
                                                              • ความมันคงขององคกร(ระยะยาว)
                                                              • มีโอกาสกาวหนาในอาชีพ(ระยะยาว)
                                                              • มีโอกาสในการการพัฒนา/ฝกอบรม
                                                    มุมมอง      เพื่อเพิ่มทักษะความสามารถ(ระยะ
                     มุมมอง
                                                                ยาว)
                                                              • เลือกในอาชีพที่ใกลเคียงกัน และ
                                                                เมื่อมีโอกาสเหมาะสม คอยกลับมา
                                                                ในสาขาที่ตรงกับที่จบการศึกษา
                   Supply - Demand       สภาวะเศรษฐกจ
                                         สภาวะเศรษฐกิจ
                          การตัดสินใจขั้นสูง


                          ทางเลือกในการตัดสินใจ




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                               7
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                              9/6/2009




                      Employee                      Career Path             Supervisor




                              Objective

                              1. เพื่อชวยใหพนักงานและองคการบรรลุถึง
                                 วัตถุประสงคไดรวมกัน
                              2. เพืื่อทีี่จะเปนเครื่องมืือปองกัันมิใหมีการหวงคน
                                              ป      ื     ป
                                 เอาไว
                              3. ชวยลดความลาสมัยของพนักงานแตละคน
                              4. ชวยลดอัตราการลาออกและลดตนทุนดาน
                                 บุคคล




                    ผลงาน
                     ระดับ            กลุมบริหาร           กลุมหัวหนา       กลุมพนักงาน

                     สูงมาก         • ชาญยุทธ           • องอาจ             • เดนดวง
                                    • เชี่ยวชาญ          • เกงกาจ           • รุงโรจน
                      สูง           • เกรียงไกร



                                    • สมชาย              • วิไลพร           • พลพิไชย
                      ปกติ          • สมชาติ             • นัยนา            • วีระ
                                                                            • สามารถ



                       ต่ํา         • รักสบาย            • สําราญ           • สุขใจ
                                    • อิิ่มใ
                                           ใจ            • บันเทิง          • รืื่นฤดีี
                     ต่ํามาก        • เอกเขนก            • เดือนเต็ม        • ปรีดา


                   ศักยภาพ

                    การบริหารอาชีพตามกลุมพนักงาน




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                           8
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                    9/6/2009




                                           Career Changes
                      Career Plateau




                                                    GLASS CEILING




                  ตัวอยางของการวางแผนความกาวหนาในสายอาชีพ - การวางแผนความกาวหนาในกลุม
                            สายอาชีพเดียวกัน (Functional Breadth Development Path)

                                             2. ยายไปสูสายอาชีพ A ในสวน
                                                หนวยงานอื่นเพื่อการพัฒนา ใหมี           3. เลื่อนตําแหนงมาเปน
                                                Competency ที่กวางขึ้น                     ระดับหัวหนางานภายใน
                  1. เรียนรูและไดรับ                                                      กลุมสายอาชีพเดิมใน
                     การพัฒนา                                            กลุมสาย
                                                                             ุ              สวนหนวยงานใหม
                                          กลุ
                                          กลมสาย
                     Competency                                          อาชีพ A
                     ภายในกลุมสาย        อาชีพ A
                     อาชีพ A


                                                                             หัวหนางาน
                                             หัวหนา
                                              งาน


                                                 หรอ 2. เลอนตาแหนงมาเปนระดบ
                                                 หรือ 2 เลื่อนตําแหนงมาเปนระดับ
                                                  หัวหนาภายในกลุมสายอาชีพ A

                   การโยกยายในกลุมสายอาชีพเดิม
                   • การโยกยายตําแหนงงานในระดับเดิมของกลุมสายอาชีพเดียวกันโดยไมมีการเลื่อนตําแหนง
                     ทําใหเกิดการพัฒนา Competency ที่เพิ่มมากขึ้นจากการเรียนรูและไดประสบการณใหมๆ
                     จากสวนหนวยงานอื่น
                   • เปนการเตรียมตัวใหมีทักษะที่เชี่ยวชาญมากขึ้นในกลุมสายอาชีพเดิม และเปนการเตรียม
                     ความพรอมไปสูการเลื่อนตําแหนงในระดับหัวหนางาน




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                 9
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                        9/6/2009




                  ตัวอยางของการวางแผนความกาวหนาในสายอาชีพ - การวางแผนความกาวหนาในกลุม
                            สายอาชีพเดียวกัน (Functional Breadth Development Path)

                              1. เรียนรูและไดรับการ
                                พัฒนา ทักษะ ภายใน                                                4. เลื่อนตําแหนงงาน
                                  กลุมสายอาชีพ A                                                  มาเปนระดับ
                                                               กลุมสาย
                                                               อาชีพ A                             หัวหนางานไดทั้ง
                                                                                                   กลุ สายอาชพ
                                                                                                   กลมสายอาชีพ A
                                                                                                   หรือ B
                     2. บทบาทและหนาที่ใหม
                       นอกเหนือ จากงานใน                                   หัวหนางานใน
                       กลุมสายอาชีพ                                       กลุมสายอาชีพ
                                                                             A หรือ B           3.โยกยายไปสูกลุมสาย
                                                                                                             
                                                                                                  อาชีพ B และเรียนรู
                                                               กลุมสาย                           ทักษะหมๆ
                                                               อาชีพ B

                  การโยกยายขามกลุมสายอาชีพ
                  • การโยกยายงานในระดับตําแหนงงานเดิมแตขามกลุมสายอาชีพเปนการพัฒนาใหเกิด
                    Competency ตัวอื่นๆเพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากการทํางานในบทบาทหนาที่ใหมหรือกลุม
                    สายอาชีพใหมในสวนหนวยงานเดิม
                  • การยายวิธีนี้สามารถทําใหเกิดประโยชน ไดทั้ง (1) เพื่อเปนการเตรียมตัวใหเกิดความเขาใจ
                    ในการทํางานและมีประสบการณจากหลายๆหนาที่ความรับผิดชอบเพื่อการเตรียมพรอมใน
                    การเลื่อนตําแหนงมาสูระดับหัวหนางาน (2) เพื่อเสริมสรางการประสานสัมพันธและการ
                    ทํางานเปนทีมใหเกิดขึ้นภายในสวนหนวยงาน
                  • สวนหนวยงานควรจะมีกฎเกณฑในการพิจารณาการโยกยายขามกลุมสายอาชีพวากลุมสาย
                    อาชีพใดสามารถโยกยายไปสูกลุมสายอาชีพใดไดบาง
                                                *




                         เสนทางความกาวหนาของตําแหนงใน HR




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                    10
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                                    9/6/2009




                          Communicator                                                               Counselor/Advisor

                        - สนทนาเปนทางการและเปนกันเอง                                  - ชวยใหพนักงานระบุอาชีพทีเกี่ยวของกับ
                                                                                                                   ่
                        - ฟงและเขาใจเรื่องจริงของพนักงาน.                               ทักษะความสนใจ
                        - ชัดเจนและมีประสิทธิภาพการกับพนักงาน                           - ชวยใหพนักงานมีทางเลือกที่หลากหลาย
                        - สรางสิงแวดลอมสําหรับปฏิสัมพันธเปด
                                 ่                                                        อาชีพและแนวทางในการพัฒนาฝกอบรม
                        - กําหนดระยะเวลาคาดหวังกับพนักงาน                               - ชวยใหพนักงานประเมินความเหมาะสมของ
                                                                                          ตัวเลือกตางๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายอาชีพ


                        Appraiser                                        Career                                                  Coach
                                                                         Growth
                         - ระบุความสําคัญ/องคประกอบงาน
                         - กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคในการ                            - เปนพีเลี้ยง สอนงานเฉพาะ-ทักษะหรือ
                                                                                                 ่
                           ประเมินประสิทธิภาพ                                               เทคนิคทีเกี่ยวของ
                                                                                                    ่
                         - ประเมินประสิทธิภาพของพนักงาน                                  - มุงเนนประสิทธิภาพมากกวาประสิทธิผล
                         - สื่อสารและแจงผลการประเมินใหพนักงาน.                         - แนะนําพฤติกรรมเฉพาะใหปรับปรุงเพิ่มเติม
                         - การออกแบบแผนพัฒนารายบุคคล
                                                 ุ                                       - ชี้แจงเปาหมายและวัตถุประสงคของงาน
                                                                                                                 ุ
                         - ปรับปรุงแผนพัฒนาอยางตอเนื่อง                                   บทบาท ตามเปาหมายขององคกร




                    ผูเกี่ยวของกับการบริหารสายอาชีพ
                   (อางอิงจาก Z. B. Leibowitz, C. Farren, & B. L. Kaye, Designing Career Development Systems (San Francisco: Jossey-Bass, 1986))




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                                                11
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                               9/6/2009




                      การแบงศักยภาพของพนักงาน

                        ศักยภาพสูง

                             Fast Track             Normal Track              Slow Track
                          มีความสามารถโดด          มีความสามารถใน         มีความสามารถต่ํา
                          เดนเปนที่ประจักษ      ระดับปกติ สามาถ        กวาเกณฑปกติมาก
                          มีโอกาสกาวหนา          เติบโตไดตามสาย        จําเปนตองมีการ
                          เร็วกวาปกติ และ         งาน แตตองไดรับ      ชะลอและพัฒนา
                          พัฒนาเฉพาะดาน           การพัฒนาเพิ่ม          ความสามารถเพิ่ม


                                                                                  ศักยภาพต่ํา




                    แนวทางการดูแลพนักงานจัดการตามระดับศักยภาพ

                     ระดับศักยภาพ               การพัฒนาพนักงาน                     การเติบโตในวิชาชีพ

                                                 พัฒนา & ฝกอบรม
                      ศักยภาพสง
                          ภ สูง                    เปนรายบุคคล
                                                   เปนรายบคคล                              เตบโตไดเรว
                                                                                            เติบโตไดเร็ว


                                                  ตามกลุมวิชาชีพ                       เติบโตได แตชากวา
                          ปกติ
                                                ภายใตระบบปจจุบัน                       กลุม FAST TRACK



                                                                       ปรับปรุงได ภายใน 2 ป
                                                   พัฒนา & ยกระดับ
                       ตองปรับปรุง
                                                สู
                                                ส NORMAL TRACK
                                                                       ปรับปรุงไมได ภายใน 2 ป



                    ต่ํากวามาตรฐานมาก
                                                TEM                                ดําเนินการเปนราย ๆ ไป




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                           12
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                       9/6/2009




                                                   สัญญาจาง                                     ทีปรึกษา
                                                                                                   ่
                                                    ชั่วคราว
                                                                                                                     TeleWork


                       พนักงาน                                      พนักงาน
                       รับเหมา                                       ประจํา




                        SUPPLY                    MAINTENANCE                   DEPLOYMENT/                      LIFE CYCLE
                      MANAGEMENT                    SUPPORT                    DISTRIBUTION/                     LOGISTICS
                                                                              TRANSPORTATION




                  การจัดหาวัสดุ การหาแหลง         การวางแผนและการ              การขนสงบรรจุภัณฑ เวลาใน   การวางแผน การพัฒนาการ
                   วัสดุสารอง เพื่อตอบสนอง
                         ํ                    บํารุงรักษาเครื่องมือ ทั้งที่อยู การสงมอบสินคาและ บริการ    ปฏิบัติงาน และการจัดการ
                  ความตองการหนวยงาน และ        ในแผนงานและไมอยูใน               ระบบสนับสนุนเพื่อ         อยางมีประสิทธิภาพและ
                   รักษาความสามารถในการ             แผนงานที่กาหนด
                                                                ํ               ตอบสนองความตองการและ       สนับสนุนกลยุทธของบริษัท
                       แขงขันของบรืษทั                                            รักษาความพึงพอใจ
                                                                                        ของลูกคา




                                             ระบบฐานรากอื่นๆ ที่สนุบสนุนการแขงขันของธุรกิจ




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                                   13
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                         9/6/2009




                         SUPPLY                      MAINTENANCE                 DEPLOYMENT/                      LIFE CYCLE
                       MANAGEMENT                      SUPPORT                  DISTRIBUTION/                     LOGISTICS
                                                                               TRANSPORTATION




                                                                                                                 Logistics Design
                                                 Maintenance Operations         Physical Distribution/              Influence
                  Forecasting and Demand
                                                     (includes depot               Transportation
                         Planning                                                                              Integrated Logistics
                                                      maintenance)                   Operations                 Support Planning
                      Supply Planning              Production & Support         Deployment Planning             Product Support &
                                                                                                                   Sustainment
                          Sourcing                                                                                Configuration
                                                                                                                   Management
                                                                                                                  Reliability and
                   Inventory Management                                                                       Maintainability Analysis
                                                                                                                            y     y
                                                                                                              Technical/Product Data
                                                                                                                  Management
                                                                                                              Supportability Analysis




                                                                                                                  นําองคกร
                  Career Development
                  พัฒนาโดยแสดงถึงโอกาสในการเรียนรูกาวหนา (การศึกษา
                                                                                         นําหนวยงาน         External Awareness
                  การฝกอบรมดวยตนเอง การพัฒนางานไดรบมอบหมาย) การ
                                                       ั
                                                                                                                      Vision
                  สรางประสบการณและเพิ่มความรับผิดชอบสูงขึ้น                            Technology Mgmt       Strategic Thinking
                                                                                          Financial Mgmt         Political Savvy
                                                                                            Creativity &       Global Perspective
                                                                                            Innovation
                                                              นําผูใตบังคับบัญชา                             Security Strategy
                                                                                             Partnering
                                                                                         Entrepreneurship
                                           นําทีม /บริหาร      Human Capital Mgmt
                                              โครงการ                                   Defense Integration
                                                                Leveraging Diversity
                                                                L       i Di     it
                      นําตนเอง                                                         Security Environment
                                                               Conflict Management
                                          Team Building        Corporate Perspective
                    Service Specific      Accountability        Security Foundation
                  Fundamental Skills       Decisiveness
                  Mission and CultureInfluencing/Negotiatin
                  Core Fundamental Competencies: g
                  Flexibility          Integrity/Honesty                      Interpersonal Skills   Resilience Customer Service
                  Oral Communication Technical Credibility      Continual Learning     Problem Solving       Written Communication
                  Computer Literacy   Service Motivation

                                                                                Distribution/
                    Supply Management            Maintenance Support            Deployment/              Life Cycle Logistics
                                                                               Transportation


                                                                  สายงานโลจิสตกิส


                      สมรรถนะในการบริหารงานโลจิสติกส




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                                     14
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                   9/6/2009




                                                            Development Framework

                                                                   Click to
                                                                   add Text




                                                             Career Path Roadmaps
                    Logistics
                      Career




                                                             Logistics Competencies
                                                                and Proficiencies




                     The Logistics Career Development
                     Framework

                                                  Desired Position &
                                                  Required Competencies
                                                  R    i dC       t  i

                                                 Supply Management:        4
                                               Deployment/Distr/Trans:     5
                                                Maintenance Support:       1
                                                  Life Cycle Logistics:    2
                     • Regular assessment &
                    career progress tracking

                   • Consistent expectations
                       and job requirements

                     • Well-defined roadmap
                  for achieving career goals

                                                  Current Position &
                                                  Competency Levels

                                                  Supply Management:       4
                                                Deployment/Distr/Trans:    2
                                                 Maintenance Support:      1
                                                   Life Cycle Logistics:   2




                                                                                      Notional example of the framework’s format




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                               15
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                                                                                      9/6/2009




                       The Logistics Career Development




                  Workforce Inventory by workforce       Inventory Analysis by competency -               Inventory Analysis by proficiency -
                  category- enable life-cycle            enable identification of current and             enable identification of capability and
                  management of workforce                future staffing requirements                     skill gaps



                                                                         Serial     Name           Org          Project   Util%   YrsExp   Eligible

                                                                         54613      G Washington   USAF         B-2 PBL   110     35       Y

                                                                         54321      J Adams        DLA          AFPTEF    75      27       N

                                                                         65412      T Jefferson    USAF         AFRL/RX   95      40       N

                                                                         54863      J Madison      USA          JSF       15      30       Y

                                                                         84562      J Monroe       TRANSCOM     F-22 Mx   90      25       Y



                        Inventory by individuals’ level of                        Inventory by individual – enable
                        proficiency – enable individual career                    identification of resources for teams and
                        development to match future mission needs                 special projects




                       Reference

                         • DoD Logistics, Human Capital Strategy (HCS), 17 September 2008
                         • Linda Crane, Human Relations in Organizations: Chapter 15 Time
                             and Career Management
                         • ผศ. ดร. วีระวัฒน ปนนิตามัย, การวางแผนและการพัฒนาอาชีพ, การบริหาร
                             และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย รุนที่ 3, วันที่ 3 พฤศจิกายน 255




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                                                                                                  16
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย                                  9/6/2009




                                                                     HRM




                     ศักดิ์ดา หวานแกว
                     ผูจัดการฝายบริหารและทรัพยากรมนุษย
                     บริษัท ที ไอ พี เอส จํากัด(ทาเรือบี 4)
                                                               sakda@tips.co.th




อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา)
        ์                                                                              17

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3Lumyai Pirum
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนeafbie
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 

Was ist angesagt? (20)

การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 

Andere mochten auch

การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพArunee Muangma
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003Thidarat Termphon
 
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครNus Venus
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)Suntichai Inthornon
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedบทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedPatteera Somsong
 
ประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศ
ประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศ
ประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศnirutnon
 
Chapter 10: Managing Human Resources
Chapter 10: Managing Human ResourcesChapter 10: Managing Human Resources
Chapter 10: Managing Human ResourcesNonglak Kongsinchai
 
Career path r2
Career path r2Career path r2
Career path r2siroros
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะmarena06008
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกChacrit Sitdhiwej
 
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.jeyjanejane
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพณัฐะ หิรัญ
 

Andere mochten auch (20)

การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedบทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
 
ประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศ
ประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศ
ประกาศสอบเครื่องดูดสูญญากาศ
 
Chapter 10: Managing Human Resources
Chapter 10: Managing Human ResourcesChapter 10: Managing Human Resources
Chapter 10: Managing Human Resources
 
Com1 2
Com1 2Com1 2
Com1 2
 
Career path r2
Career path r2Career path r2
Career path r2
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
 
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
 
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์.
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
Marketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overviewMarketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overview
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 

Ähnlich wie บทที่10 CareerManagement

บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานSakda Hwankaew
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนSakda Hwankaew
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job EvaluationSakda Hwankaew
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_SelectionSakda Hwankaew
 
บทที่4 Recruitment and Selection
บทที่4 Recruitment and Selectionบทที่4 Recruitment and Selection
บทที่4 Recruitment and SelectionSakda Hwankaew
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554DrDanai Thienphut
 
ทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลงทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลงSuntichai Inthornon
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554DrDanai Thienphut
 
หลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัส
หลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัสหลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัส
หลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัสBusiness educator - HRD.
 
บทที่ 2 Modern Human Resources Management
บทที่ 2 Modern Human Resources Managementบทที่ 2 Modern Human Resources Management
บทที่ 2 Modern Human Resources ManagementSakda Hwankaew
 
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Sakda Hwankaew
 

Ähnlich wie บทที่10 CareerManagement (20)

บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluation
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selection
 
บทที่4 Recruitment and Selection
บทที่4 Recruitment and Selectionบทที่4 Recruitment and Selection
บทที่4 Recruitment and Selection
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 
AEC2015-HRD 2/9
AEC2015-HRD 2/9AEC2015-HRD 2/9
AEC2015-HRD 2/9
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
งานชิ้นที่ 2
งานชิ้นที่ 2งานชิ้นที่ 2
งานชิ้นที่ 2
 
งานชิ้นที่ 2
งานชิ้นที่ 2งานชิ้นที่ 2
งานชิ้นที่ 2
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
 
ทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลงทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง
ทุนมนุษย์กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
อ.วิสูตร
อ.วิสูตรอ.วิสูตร
อ.วิสูตร
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 2 2554
 
หลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัส
หลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัสหลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัส
หลักสูตรอบรม วิธีสอนการพิมพ์สัมผัส
 
บทที่ 2 Modern Human Resources Management
บทที่ 2 Modern Human Resources Managementบทที่ 2 Modern Human Resources Management
บทที่ 2 Modern Human Resources Management
 
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 

Mehr von Sakda Hwankaew

เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบSakda Hwankaew
 
Thailand Country Report: Join Study in Vietnam
Thailand Country Report: Join Study in VietnamThailand Country Report: Join Study in Vietnam
Thailand Country Report: Join Study in VietnamSakda Hwankaew
 
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32Sakda Hwankaew
 
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...Sakda Hwankaew
 
Mgt tools problem_solving_techniques
Mgt tools problem_solving_techniquesMgt tools problem_solving_techniques
Mgt tools problem_solving_techniquesSakda Hwankaew
 
AEC and Human Resources Development
AEC and Human Resources DevelopmentAEC and Human Resources Development
AEC and Human Resources DevelopmentSakda Hwankaew
 
Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011Sakda Hwankaew
 
บทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomesบทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student OutcomesSakda Hwankaew
 
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางานบทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางานSakda Hwankaew
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingSakda Hwankaew
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2Sakda Hwankaew
 
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)Sakda Hwankaew
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource ManagementSakda Hwankaew
 
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1Sakda Hwankaew
 
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงานบทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงานSakda Hwankaew
 
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)Sakda Hwankaew
 
บทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Managementบทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation ManagementSakda Hwankaew
 
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหารบทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหารSakda Hwankaew
 

Mehr von Sakda Hwankaew (18)

เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
Thailand Country Report: Join Study in Vietnam
Thailand Country Report: Join Study in VietnamThailand Country Report: Join Study in Vietnam
Thailand Country Report: Join Study in Vietnam
 
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
People 4 54-บทบาทของ hr กับการบริหารสารสนเทศต้นทุนแรงงาน p.29-32
 
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
People Magazine Vol 3. 54-ประเทศไทยกับการบริหารค่าจ้างขั้นต่ำเชิงสารสนเทศ p.3...
 
Mgt tools problem_solving_techniques
Mgt tools problem_solving_techniquesMgt tools problem_solving_techniques
Mgt tools problem_solving_techniques
 
AEC and Human Resources Development
AEC and Human Resources DevelopmentAEC and Human Resources Development
AEC and Human Resources Development
 
Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011Labor employment in thailand as 2011
Labor employment in thailand as 2011
 
บทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomesบทที่12(c) Student Outcomes
บทที่12(c) Student Outcomes
 
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางานบทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
บทที่12(a) เทคนิคชั้นยอดในการหางาน
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMapping
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
 
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
บทที่11 HRIS(HRM-Logistics)
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource Management
 
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
บทที่ 7 การประเมินการปฏิบัติงาน1
 
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงานบทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
บทที่12(b) เทคนิคการสมัครงาน
 
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
ความสำคัญของ HRIS (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Managementบทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Management
 
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหารบทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
 

บทที่10 CareerManagement

  • 1. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 HRM โดย อจ.ศักดิ์ดา หวานแกว ผูจัดการฝายบริหารและ ทรัพยากรมนุษย บริษัท ที ไอ พี เอส จํากัด ทาบี4 ทาเรือแหลมฉบัง วิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย sakda@tips.co.th • ความหมายของการวางแผนอาชีพและการ พฒนาอาชพ พัฒนาอาชีพ • ความสําคัญของวางแผนอาชีพ • ขั้นตอนการวางแผนอาชีพและการ เชื่อมโยงอาชีพ • การวางแผนอาชีพบุคคลและการพัฒนา องคกร องคกร อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 1
  • 2. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 ประวัติยอ การประเมิน การบริหาร การบริหารสายอาชีพ พนักงาน ผลงาน ผลการปฏิบัตงาน ิ กับการพัฒนาองคกร ระบบดั้งเดิม การพัฒนาบุคลากร ผสมัครงาน ผู มครงาน สรรหา (Supply) การบริหารสายอาชีพ การวางแผนกําลังแรงงาน (Workforce Planning) พัฒนา การวางแผน กระบวนการ แหลงงาน/นายจาง การสืบทอดตําแหนงงาน (Demand) เกษียณอายุ การรักษาคนเกง กําหนดบทบาท การพัฒนาองคกร เลือกคนเกง(Talent) ระบบสมัยใหม กลุยทธ เปาหมายองคกร Career Management การบริหารอาชีพ คือ ระบบชวยเหลือพนักงาน ใหเขาใจ/เรียนรู วิธีใชความสามารถที่พวกเขาควรจะมีในตลอดชีวิตของการทํางาน (เริ่มงาน-เกษียณ) เพื่อใหชีวิตมีความสมบูรณ พึงพาตนเองได ่ และ สามารถทํางานงานที ี่ตนเองรััก รวมถึงสรางความยืดหยุนใ ึ  ื  ใน การเปลี่ยนแปลงอาชีพ หรือมีความสมดุลระหวางการทํางาน Career Plan Career Development การวางแผนอาชีพ คือ การตั้ง การพัฒนาอาชีพ: การดึงดูดทักษะ วตถุประสงคในอาชพและ วัตถประสงคในอาชีพและ ประสบการณและการศกษาเพอให ประสบการณและการศึกษาเพือให ่ กําหนดวิธีการที่จะบรรลุถึง บรรลุวัตถุประสงคอาชีพ. คุณตอง ความกาวหนาดังกลาว รับผิดชอบตอการทํางานของคุณ (ระยะยาว) และแผนพัฒนาอาชีพ. ความหมายเกี่ยวกับ Career อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 2
  • 3. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 เชิงบุคคล: - สืบคนสาขา อาชีพและ หนวยงานที่ตนสนใจ - เขาใจบริบทของสภาพแวดลอม SCAN – PESTLED - กําหนดเปาหมายอาชีพ Goal Setting เชิงองคการ: - กําหนดนโยบาย แบบแผน เสนทางอาชีพ Career path - เตรีียมกิิจกรรมโปรแกรมฐานขอมูลส ับสนุนการพััฒนา โป สนั ส อาชีพ - กําหนดบทบาทหนาที่ของผูเกี่ยวของ Career Path เสนทางอาชีพ คือ เสนทางที่บริษัทวางไว สําหรับตลอดชวงอายุ การทํางานของพนักงาน ซึ่งจะมีการกําหนดเงื่อนไขของการ เจริญเติบโตใหพนักงานทราบ อายุตวั (ป) (ป) 22 25 30 Getting Start 35 Developing job skills 40 up Develop management expertise Expertise in middle- management ความกาวหนา Potential has become clear Career Stages อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 3
  • 4. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 คือ การวางแผนความกาวหนาทางสายอาชีพ (Career Path Profile) ของพนักงานตาม ความสามารถและคุณลักษณะ(Competency)ที่จําเปนแตละตําแหนงงาน รวม ทั้งการสรางเสริม คุณลักษณะ (Competency) ที่จําเปนในการปฏิบัติงานในสายอาชีพนั้นๆ ตลอดจนการ เตรียมพรอมในการเลื่อนตําแหนงหรือโยกยายไปสูตําแหนงอื่น ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ขอพึงระวัง/ ผลกระทบ ระยะเวลาที่คาดวา วัตถุประสงค สิ่งที่ตองมีเบื้องตน จากการพฒนาแนวทางน จากการพัฒนาแนวทางนี้ ทอาจเกดขน ที่อาจเกิดขึ้น จะใชในการดาเนนงาน จะใชในการดําเนินงาน • เพื่อสรางแนวทางที่ • มีโครงสรางสวน • สามารถพัฒนาบุคลากร • จะตองมีการกําหนด • ระยะเวลาทีใชในการ ่ ชัดเจนในการ หนวยงานที่ชดเจน ั ไดถูกตองตาม คุณลักษณะและ ดําเนินงานนั้นขึ้นอยู พัฒนาคุณลักษณะ • จะตองมีการกําหนด คุณลักษณะที่ตองการใน คุณสมบัติที่ตองการ  กับจํานวนของ ที่ตองการของแต คุณลักษณะและ สายอาชีพ ของแตละตําแหนง หนวยงานยอยและ ละตําแหนงงานใน คุณสมบัติที่ตองการ  • มีพนักงานที่มี งานที่ถูกตองและ ตําแหนงงานที่มอยูใน ี  แตละสายอาชีพ ของแตละตําแหนง ความสามารถตรงตาม สะทอนบทบาทหนาที่ สวนหนวยงาน แต และเพือเปนการ ่ งาน (Job ความตองการในการ ที่ถูกตองมิฉะนั้นจะทํา โดยทัวไปมักจะใช ่ สงเสริมให Competency ปฏิบัติงาน ใหเกิดการวางแผนที่ เวลาประมาณ 3-6 ผูปฏิบัติงานไดอง Profile) • เตรียมความพรอมใหกบั ผิดพลาด เดือน เห็นแนวทางในการ บุคลากรในการพัฒนา • จะตองมีการพิจารณา เจริญเติบโตของ ไปสู าแหนงงานทสูงขึ้น ไปสตาแหนงงานที่สงขน ํ ปรบเปลยน ปรับเปลี่ยน ตนเองวาสามารถจะ (Career Development) คุณลักษณะที่กาหนดํ เจริญกาวหนาได • แนวทางทีใชในการ ่ ไวเมื่อตําแหนงงาน อยางไร พิจารณาโยกยาย นั้นๆถูกปรับเปลี่ยน ตําแหนงงานทีเหมาะสม ่ หนาทีและความ ่ ตามคุณลักษณะที่มีของ รับผิดชอบหรือมีการ พนักงาน (Lateral ปรับเปลี่ยนประเด็น Transfer/Job Rotation) ยุทธศาสตรของ • พนักงานสามารถวางแผน องคกรที่แตกตางจาก ในการพัฒนาเพื่อ เดิมเปนอยางมาก ความกาวหนาในสาย อาชีพของตนเอง ขั้นตอนในการดําเนินงาน ศึกษาโครงสราง กําหนด ทบทวน ทําความเขาใจ จัดกลุมสาย องคกร/ศึกษา แนวทางและ หลักสูตร กลยุทธ อาชีพ ตําแหนงงาน หลักเกณฑ การฝกอบรม ขององคกร •ทําความเขาใจ • ศึกษาโครงสรางองคกร • ทบทวนวาบทบาทของแต •กําหนดแนวทางและ •ทบทวนหลักสูตร เปาหมายและกล แตละตําแหนงงานใน ละหนวยงานนั้นมีหนวยงาน หลักเกณฑในการ การฝกอบรมทีมีอยู ่ ยุทธขององคกร หนวยงานนั้น โดย ใดที่สามารถรวมกันเปน เลื่อนหรือโยกยาย ใหมีความสอดคลอง •ทําการทบทวน พิจารณาบทบาทและ กลุมงานในสายอาชีพ ตําแหนงงาน โดยยึด กับ Competency ภารกิจหลักของ หนาทีความรับผิดชอบ ่ เดียวกัน (Occupational หลักของ ที่ตองการในกลุม สวนหนวยงาน/ ทั้งหมดที่มอยู ี Group) ได ยกตัวอยางเชน Competency มาเปน สายชีพ และ จังหวัด • อาจใชวธีการสอบถาม ิ งานธุรการกับงานการ เกณฑหลักในการ สอดคลองกับการ ผูที่ปฏิบัตงานใน ิ เจาหนาที่ โดยอาจจะ พิจารณา เชน สรางความกาวหนา ตําแหนงงานนั้นๆ และ พิจารณาจาก พนักงานทีจะขอยาย ่ ในสายอาชัพ ศึกษาเพิ่มเติมจาก Competency หลักของแต จากตําแหนง A ไปสู เอกสารบรรยาย ละหนวยงาน (Job ตําแหนง B จะตอง ลักษณะงาน (Job Competency Profile) Competency ที่ Description) • จัดกลุมตําแหนงงานที่ จําเปนในการ • ทบทวน Competency ตองการ Competency ที่ ปฏิบัติงานของ ที่จาเปนสําหรับแตละ ํ ใกลเคียงกันไวดวยกัน เพื่อ ตําแหนงB ครบถวน ตําแหนงงานรวมทัง ้ เปนการสรางแนวทางใน ระดับของ การปรับเปลี่ยนตําแหนง Competency ที่ งานไปสูตําแหนงอืนที่  ่ ตองการในแตละ ตองการ Competency ตําแหนงงาน ใกลเคียงกัน อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 4
  • 5. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 แจงความคาดหวังที่ชัดเจนแกพนักงานใหทราบ ใหโอกาสพนักงานไดเปลี่ยนยายงาน เตรียมแผนสืบถอดตําแหนงไวรองรับ ผูกโยงผลการทํางานเขากับรางวัลและการยอมรับ จัดหาทรัพยากรเพื่อสนองเปาหมายระยะสั้นและ ยาวของพนกงาน ยาวของพนักงาน สงเสริมใหมีการประเมินเพื่อการพัฒนาอยาง ตอเนื่องและจริงจัง ประโยชนของการบริหารสายอาชีพ นําศักยภาพของพนักงานที่มีการประเมินมาเพิ่มผลงาน ใหองคกร สามารถกาหนดหลกเกณฑในการสรางความกาวหนา สามารถกําหนดหลักเกณฑในการสรางความกาวหนา ของพนักงานไดเปนมาตรฐาน สรางความยุติธรรมการระบบการเลื่อนตําแหนงงาน ชวยในการวางแผนพัฒนาพนักงานไดเปนรายบุคคล ชวยในการรักษาคนเกงใหอยูกับองคกร ู ชวยในการสรางบุคลากรทดแทนหรือสืบทอดตําแหนง อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 5
  • 6. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 • ความสนใจในอาชีพ • ประเภทอาชีพตางๆ • จุดแข็ง จุดออนตนเอง • กลุมอุตสาหกรรมตางๆ • ความมั่นคง คุณภาพชีวิต • คุณสมบัติของอาชีพ • เปาหมายทางการเงิน • ขอเสนอแนะของตําแหนง • เปาหมายของครอบครัว • อาชีพสํารอง/ทางเลือก • อุดมการณของอาชีพ • อิทธิพล/แรงจูงใจ ประเมินตนเอง คัดเลือกอาชีพ กําหนดเปาหมาย ลาดแรงงาน วัตถุประสงค อาชีพตางๆ เปาหมาย อาชีพ อาชีพ ทีตองการ ่ ชี ในตล ห การวางแผน / พัฒนา / ควบคุม การพัฒนาทักษะ ประเมินความสามารถ ปรับปรุงเปาหมาย ติดตามผล ขอกําหนดเกี่ยวกับอาชีพ วุฒิ สาขาที่จบ เกรดเฉลีย ่ คาจาง ความรู Transcript ความสามารถพิเศษ ฯลฯ ทักษะคอมพิวเตอร ทักษะการ ทักษะ สื่อสาร ภาษาตางประเทศ ภาวะผูนํา การตัดสินใจ ฯลฯ พื้นฐาน สภาพอันตรายในงาน อุปกรณ สภาพ อํานวยสะดวก สถานที่ทํางาน เพื่อน เงินเพิ่ม สวัสดิการ แวดลอม รวมงาน ฯลฯ ผูจัดการ ผูเชี่ยวชาญ เจาหนาที่ เจาของกิจการ การเจริ ญ เติ บ โตในสายอาชี พ อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 6
  • 7. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 ผูอํานวยการ ผููชวยผููอานวยการ ํ เสนทางอาชีพใน ผูจัดการแผนก /ฝาย ตําแหนงทางเทคนิค หัวหนานักวิทยาศาสตรทางการวิจัย ผูจัดการ นักวิทยาศาสตรทางการวิจัย ผูชวยผูจัดการ เสนทางอาชีพใน นักวิทยาศาสตร ตําแหนงผูบริหาร การพัฒนา Title in ฝกอบรม here ขอเสนอในการตัดสินใจ Title in Title in ความ • เลือกในสิ่งที่ชอบ/ถนัด(ระยะยาว) here รายได here า กาวหน • รายไดสอดคลองกับการจางงานใน ตลาดงาน(ระยะสั้น) ่ • ความมันคงขององคกร(ระยะยาว) • มีโอกาสกาวหนาในอาชีพ(ระยะยาว) • มีโอกาสในการการพัฒนา/ฝกอบรม มุมมอง เพื่อเพิ่มทักษะความสามารถ(ระยะ มุมมอง ยาว) • เลือกในอาชีพที่ใกลเคียงกัน และ เมื่อมีโอกาสเหมาะสม คอยกลับมา ในสาขาที่ตรงกับที่จบการศึกษา Supply - Demand สภาวะเศรษฐกจ สภาวะเศรษฐกิจ การตัดสินใจขั้นสูง ทางเลือกในการตัดสินใจ อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 7
  • 8. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 Employee Career Path Supervisor Objective 1. เพื่อชวยใหพนักงานและองคการบรรลุถึง วัตถุประสงคไดรวมกัน 2. เพืื่อทีี่จะเปนเครื่องมืือปองกัันมิใหมีการหวงคน ป ื ป เอาไว 3. ชวยลดความลาสมัยของพนักงานแตละคน 4. ชวยลดอัตราการลาออกและลดตนทุนดาน บุคคล ผลงาน ระดับ กลุมบริหาร กลุมหัวหนา กลุมพนักงาน สูงมาก • ชาญยุทธ • องอาจ • เดนดวง • เชี่ยวชาญ • เกงกาจ • รุงโรจน สูง • เกรียงไกร • สมชาย • วิไลพร • พลพิไชย ปกติ • สมชาติ • นัยนา • วีระ • สามารถ ต่ํา • รักสบาย • สําราญ • สุขใจ • อิิ่มใ ใจ • บันเทิง • รืื่นฤดีี ต่ํามาก • เอกเขนก • เดือนเต็ม • ปรีดา ศักยภาพ การบริหารอาชีพตามกลุมพนักงาน อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 8
  • 9. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 Career Changes Career Plateau GLASS CEILING ตัวอยางของการวางแผนความกาวหนาในสายอาชีพ - การวางแผนความกาวหนาในกลุม สายอาชีพเดียวกัน (Functional Breadth Development Path) 2. ยายไปสูสายอาชีพ A ในสวน หนวยงานอื่นเพื่อการพัฒนา ใหมี 3. เลื่อนตําแหนงมาเปน Competency ที่กวางขึ้น ระดับหัวหนางานภายใน 1. เรียนรูและไดรับ กลุมสายอาชีพเดิมใน การพัฒนา กลุมสาย ุ สวนหนวยงานใหม กลุ กลมสาย Competency อาชีพ A ภายในกลุมสาย อาชีพ A อาชีพ A หัวหนางาน หัวหนา งาน หรอ 2. เลอนตาแหนงมาเปนระดบ หรือ 2 เลื่อนตําแหนงมาเปนระดับ หัวหนาภายในกลุมสายอาชีพ A การโยกยายในกลุมสายอาชีพเดิม • การโยกยายตําแหนงงานในระดับเดิมของกลุมสายอาชีพเดียวกันโดยไมมีการเลื่อนตําแหนง ทําใหเกิดการพัฒนา Competency ที่เพิ่มมากขึ้นจากการเรียนรูและไดประสบการณใหมๆ จากสวนหนวยงานอื่น • เปนการเตรียมตัวใหมีทักษะที่เชี่ยวชาญมากขึ้นในกลุมสายอาชีพเดิม และเปนการเตรียม ความพรอมไปสูการเลื่อนตําแหนงในระดับหัวหนางาน อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 9
  • 10. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 ตัวอยางของการวางแผนความกาวหนาในสายอาชีพ - การวางแผนความกาวหนาในกลุม สายอาชีพเดียวกัน (Functional Breadth Development Path) 1. เรียนรูและไดรับการ พัฒนา ทักษะ ภายใน 4. เลื่อนตําแหนงงาน กลุมสายอาชีพ A มาเปนระดับ กลุมสาย อาชีพ A หัวหนางานไดทั้ง กลุ สายอาชพ กลมสายอาชีพ A หรือ B 2. บทบาทและหนาที่ใหม นอกเหนือ จากงานใน หัวหนางานใน กลุมสายอาชีพ กลุมสายอาชีพ A หรือ B 3.โยกยายไปสูกลุมสาย  อาชีพ B และเรียนรู กลุมสาย ทักษะหมๆ อาชีพ B การโยกยายขามกลุมสายอาชีพ • การโยกยายงานในระดับตําแหนงงานเดิมแตขามกลุมสายอาชีพเปนการพัฒนาใหเกิด Competency ตัวอื่นๆเพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากการทํางานในบทบาทหนาที่ใหมหรือกลุม สายอาชีพใหมในสวนหนวยงานเดิม • การยายวิธีนี้สามารถทําใหเกิดประโยชน ไดทั้ง (1) เพื่อเปนการเตรียมตัวใหเกิดความเขาใจ ในการทํางานและมีประสบการณจากหลายๆหนาที่ความรับผิดชอบเพื่อการเตรียมพรอมใน การเลื่อนตําแหนงมาสูระดับหัวหนางาน (2) เพื่อเสริมสรางการประสานสัมพันธและการ ทํางานเปนทีมใหเกิดขึ้นภายในสวนหนวยงาน • สวนหนวยงานควรจะมีกฎเกณฑในการพิจารณาการโยกยายขามกลุมสายอาชีพวากลุมสาย อาชีพใดสามารถโยกยายไปสูกลุมสายอาชีพใดไดบาง * เสนทางความกาวหนาของตําแหนงใน HR อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 10
  • 11. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 Communicator Counselor/Advisor - สนทนาเปนทางการและเปนกันเอง - ชวยใหพนักงานระบุอาชีพทีเกี่ยวของกับ ่ - ฟงและเขาใจเรื่องจริงของพนักงาน. ทักษะความสนใจ - ชัดเจนและมีประสิทธิภาพการกับพนักงาน - ชวยใหพนักงานมีทางเลือกที่หลากหลาย - สรางสิงแวดลอมสําหรับปฏิสัมพันธเปด ่ อาชีพและแนวทางในการพัฒนาฝกอบรม - กําหนดระยะเวลาคาดหวังกับพนักงาน - ชวยใหพนักงานประเมินความเหมาะสมของ ตัวเลือกตางๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายอาชีพ Appraiser Career Coach Growth - ระบุความสําคัญ/องคประกอบงาน - กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคในการ - เปนพีเลี้ยง สอนงานเฉพาะ-ทักษะหรือ ่ ประเมินประสิทธิภาพ เทคนิคทีเกี่ยวของ ่ - ประเมินประสิทธิภาพของพนักงาน - มุงเนนประสิทธิภาพมากกวาประสิทธิผล - สื่อสารและแจงผลการประเมินใหพนักงาน. - แนะนําพฤติกรรมเฉพาะใหปรับปรุงเพิ่มเติม - การออกแบบแผนพัฒนารายบุคคล ุ - ชี้แจงเปาหมายและวัตถุประสงคของงาน ุ - ปรับปรุงแผนพัฒนาอยางตอเนื่อง บทบาท ตามเปาหมายขององคกร ผูเกี่ยวของกับการบริหารสายอาชีพ (อางอิงจาก Z. B. Leibowitz, C. Farren, & B. L. Kaye, Designing Career Development Systems (San Francisco: Jossey-Bass, 1986)) อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 11
  • 12. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 การแบงศักยภาพของพนักงาน ศักยภาพสูง Fast Track Normal Track Slow Track มีความสามารถโดด มีความสามารถใน มีความสามารถต่ํา เดนเปนที่ประจักษ ระดับปกติ สามาถ กวาเกณฑปกติมาก มีโอกาสกาวหนา เติบโตไดตามสาย จําเปนตองมีการ เร็วกวาปกติ และ งาน แตตองไดรับ ชะลอและพัฒนา พัฒนาเฉพาะดาน การพัฒนาเพิ่ม ความสามารถเพิ่ม ศักยภาพต่ํา แนวทางการดูแลพนักงานจัดการตามระดับศักยภาพ ระดับศักยภาพ การพัฒนาพนักงาน การเติบโตในวิชาชีพ พัฒนา & ฝกอบรม ศักยภาพสง ภ สูง เปนรายบุคคล เปนรายบคคล เตบโตไดเรว เติบโตไดเร็ว ตามกลุมวิชาชีพ เติบโตได แตชากวา ปกติ ภายใตระบบปจจุบัน กลุม FAST TRACK ปรับปรุงได ภายใน 2 ป พัฒนา & ยกระดับ ตองปรับปรุง สู ส NORMAL TRACK ปรับปรุงไมได ภายใน 2 ป ต่ํากวามาตรฐานมาก TEM ดําเนินการเปนราย ๆ ไป อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 12
  • 13. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 สัญญาจาง ทีปรึกษา ่ ชั่วคราว TeleWork พนักงาน พนักงาน รับเหมา ประจํา SUPPLY MAINTENANCE DEPLOYMENT/ LIFE CYCLE MANAGEMENT SUPPORT DISTRIBUTION/ LOGISTICS TRANSPORTATION การจัดหาวัสดุ การหาแหลง การวางแผนและการ การขนสงบรรจุภัณฑ เวลาใน การวางแผน การพัฒนาการ วัสดุสารอง เพื่อตอบสนอง ํ บํารุงรักษาเครื่องมือ ทั้งที่อยู การสงมอบสินคาและ บริการ ปฏิบัติงาน และการจัดการ ความตองการหนวยงาน และ ในแผนงานและไมอยูใน  ระบบสนับสนุนเพื่อ อยางมีประสิทธิภาพและ รักษาความสามารถในการ แผนงานที่กาหนด ํ ตอบสนองความตองการและ สนับสนุนกลยุทธของบริษัท แขงขันของบรืษทั รักษาความพึงพอใจ ของลูกคา ระบบฐานรากอื่นๆ ที่สนุบสนุนการแขงขันของธุรกิจ อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 13
  • 14. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 SUPPLY MAINTENANCE DEPLOYMENT/ LIFE CYCLE MANAGEMENT SUPPORT DISTRIBUTION/ LOGISTICS TRANSPORTATION Logistics Design Maintenance Operations Physical Distribution/ Influence Forecasting and Demand (includes depot Transportation Planning Integrated Logistics maintenance) Operations Support Planning Supply Planning Production & Support Deployment Planning Product Support & Sustainment Sourcing Configuration Management Reliability and Inventory Management Maintainability Analysis y y Technical/Product Data Management Supportability Analysis นําองคกร Career Development พัฒนาโดยแสดงถึงโอกาสในการเรียนรูกาวหนา (การศึกษา  นําหนวยงาน External Awareness การฝกอบรมดวยตนเอง การพัฒนางานไดรบมอบหมาย) การ ั Vision สรางประสบการณและเพิ่มความรับผิดชอบสูงขึ้น Technology Mgmt Strategic Thinking Financial Mgmt Political Savvy Creativity & Global Perspective Innovation นําผูใตบังคับบัญชา Security Strategy Partnering Entrepreneurship นําทีม /บริหาร Human Capital Mgmt โครงการ Defense Integration Leveraging Diversity L i Di it นําตนเอง Security Environment Conflict Management Team Building Corporate Perspective Service Specific Accountability Security Foundation Fundamental Skills Decisiveness Mission and CultureInfluencing/Negotiatin Core Fundamental Competencies: g Flexibility Integrity/Honesty Interpersonal Skills Resilience Customer Service Oral Communication Technical Credibility Continual Learning Problem Solving Written Communication Computer Literacy Service Motivation Distribution/ Supply Management Maintenance Support Deployment/ Life Cycle Logistics Transportation สายงานโลจิสตกิส สมรรถนะในการบริหารงานโลจิสติกส อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 14
  • 15. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 Development Framework Click to add Text Career Path Roadmaps Logistics Career Logistics Competencies and Proficiencies The Logistics Career Development Framework Desired Position & Required Competencies R i dC t i Supply Management: 4 Deployment/Distr/Trans: 5 Maintenance Support: 1 Life Cycle Logistics: 2 • Regular assessment & career progress tracking • Consistent expectations and job requirements • Well-defined roadmap for achieving career goals Current Position & Competency Levels Supply Management: 4 Deployment/Distr/Trans: 2 Maintenance Support: 1 Life Cycle Logistics: 2 Notional example of the framework’s format อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 15
  • 16. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 The Logistics Career Development Workforce Inventory by workforce Inventory Analysis by competency - Inventory Analysis by proficiency - category- enable life-cycle enable identification of current and enable identification of capability and management of workforce future staffing requirements skill gaps Serial Name Org Project Util% YrsExp Eligible 54613 G Washington USAF B-2 PBL 110 35 Y 54321 J Adams DLA AFPTEF 75 27 N 65412 T Jefferson USAF AFRL/RX 95 40 N 54863 J Madison USA JSF 15 30 Y 84562 J Monroe TRANSCOM F-22 Mx 90 25 Y Inventory by individuals’ level of Inventory by individual – enable proficiency – enable individual career identification of resources for teams and development to match future mission needs special projects Reference • DoD Logistics, Human Capital Strategy (HCS), 17 September 2008 • Linda Crane, Human Relations in Organizations: Chapter 15 Time and Career Management • ผศ. ดร. วีระวัฒน ปนนิตามัย, การวางแผนและการพัฒนาอาชีพ, การบริหาร และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย รุนที่ 3, วันที่ 3 พฤศจิกายน 255 อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 16
  • 17. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย 9/6/2009 HRM ศักดิ์ดา หวานแกว ผูจัดการฝายบริหารและทรัพยากรมนุษย บริษัท ที ไอ พี เอส จํากัด(ทาเรือบี 4) sakda@tips.co.th อจ.ศักดิดา หวานแกว (คณะโลจิสติกส ม.บูรพา) ์ 17