SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม แร่รัตนชาติ ครูประโลม สุขเกษม  ครู คศ. 2 โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย 1
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม แร่รัตนชาติ       - ความหมาย       - สมบัติของแร่รัตนชาติ       - การแบ่งประเภทแร่รัตนชาติ       - เพชรเทียม และเพชรสังเคราะห์ 2
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม สถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา “Gemological Institute of America” GIA“เป็นแร่และหรือสารประกอบอินทรีย์ที่นำมาใช้เป็นเครื่องประดับ” 3
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ประเภทของแร่รัตนชาติ       1. สารอนินทรีย์ คือ อัญมณีที่ได้จากแร่ และหิน ซึ่งเกิดตามธรรมชาติ เช่น ทับทิม ไพลิน มรกต โอปอล และหยก 4
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ประเภทของแร่รัตนชาติ 	หินเกิดจากแร่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันแบบไม่เป็นระเบียบเช่น ลาพิสลาซูรี ออบซิเดียน 5
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ประเภทของแร่รัตนชาติ        2. สารอินทรีย์ คือ อัญมณีที่ได้จากสิ่งมีชีวิต การเรียงตัวภายในไม่เป็นระเบียบเช่น ปะการัง ไข่มุก อำพัน และงาช้าง เป็นต้น 6
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินอัญมณี ความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ ดัชนีหักเหของแสง  7
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม สมบัติแร่รัตนชาติ 1. ความสวยงาม  2.ความคงทน  3.ความหายาก  4.ความนิยม  5. ความสามารถในการพกพา 8
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ประเภทของรัตนชาติ 1. พลอย หรือหินสี 2. เพชร 9
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 1. พลอย หรือหินสี        - พลอยในตระกูลคอรันดัม ซึ่งประกอบด้วย Al2O3โดยมี Al : O = 52.9 : 47.1 โดยมวล  10
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 1. พลอย หรือหินสี          ทับทิม มีสีแดง เพราะมี โครเมียม เจือปนอยู่ 0.1 – 1.25 โดยมวล  11
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 1. พลอย หรือหินสี         บุษราคัม (แซฟไฟร์สีเหลือง) มี เหล็ก และไทเทเนียม เจือปน  12
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 1. พลอย หรือหินสี     ไพลิน (แซฟไฟร์สีน้ำเงิน) มีสีน้ำเงินเพราะมีเหล็กและ ไทเทเนียม เจือปน  13
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 1. พลอย หรือหินสี 	- พลอยในตระกูลควอทซ์ เช่น ซานิดีนเบริล เพอริดอท โทแปช เป็นต้น  14
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 2. เพชร              เพชร เป็นธาตุคาร์บอนที่บริสุทธิ์มีความแข็งแรงมากที่สุด เพชรที่ดีจะต้องไม่มีสี 15
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การตรวจสอบว่าเพชรแท้หรือเพชรเทียม            1.  ดูค่าความถ่วงจำเพาะโดยหย่อนเพชร ที่สงสัยในน้ำยามาตรฐาน ที่มีความถ่วงจำเพาะ 3.52          ถ้าเป็นเพชรแท้จะลอยปริ่มระดับเดียวกับน้ำยา  เพชรเทียมส่วนมากจะจม 16
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การตรวจสอบว่าเพชรแท้หรือเพชรเทียม            2. ดูความแข็งเป็นวิธีที่แน่นอน เพราะเพชรแท้ต้องถูกคอรันดัมขีดบนหน้าผลึกแล้วไม่เป็นรอย 17
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การตรวจสอบว่าเพชรแท้หรือเพชรเทียม “เทอร์มอลคอนดัคทิวิตี้โพรบ” (Themal conductivity probe )      3. ทดสอบการนำความร้อน โดยใช้เครื่องมือตรวจสอบการนำความร้อน เรียกว่า 18
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพของแร่ การเจียระไน การเผา การอาบรังสี การย้อมเคลือบสี การฉายแสงเลเซอร์ 19
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การเผาพลอย        การเผาพลอยหรือการหุงพลอย คือ การทำให้พลอยมีสีสันสวยงามยิ่งขึ้น โดยการนำพลอยมาให้ความร้อนในช่วงอุณหภูมิและภาวะที่เหมาะสม จนธาตุต่างๆในเนื้อพลอยใสขึ้นและมีสีเปลี่ยนไปถาวร 20
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม อุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการหุงพลอย 	1.  เตาเผาพลอย ปัจจุบันที่นิยมใช้มีหลากหลายชนิดตั้งแต่ราคาถูกไปจนถึงราคาแพงได้แก่ เตาไฟฟ้า เตาแก๊ส เตาน้ำมันเป็นต้น แต่ที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบันคือเตาไฟฟ้า 21
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม อุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการหุงพลอย 2.  เบ้าทนไฟ "เบ้า" มีรูปร่างคล้ายถ้วย มีฝาปิดได้สนิท ในปัจจุบันมีจำหน่ายแบบสำเร็จรูป 22
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม กรรมวิธีในการหุง(เผา)พลอย 	1.นำพลอยที่ต้องการเผาใส่ลงในเบ้า จากนั้นปิดฝาเบ้าให้สนิทแล้วใช้น้ำยาเคลือบ ทาเคลือบทับบริเวณฝาปิดเพื่อป้องกันความร้อนรั่วออกมา 23
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม กรรมวิธีในการหุง(เผา)พลอย 2. ใส่เบ้าพลอยลงในเตาเผา 3. ให้ความร้อน 24
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม กรรมวิธีในการหุง(เผา)พลอย การใช้ความร้อนจะสูงหรือต่ำนั้นขึ้นอยู่กับ ขนาด ชนิด สีที่ต้องการและแหล่งที่มาของพลอยเหล่านั้น เช่น ต้องการให้พลอยมีสีเข้มหรืออ่อนลง ระดับความร้อนที่ใช้กันอยู่มีตั้งแต่ระดับไม่ถึง 1000 องศาเซลเซียสไปจนถึง 1900 องศาเซลเซียส หรืออาจเกิน 2000 องศาเซลเซียส 25
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม กรรมวิธีในการหุง(เผา)พลอย 4.  ระยะเวลาในการเผา ในการเผาพลอยบางชนิดอาจใช้ระยะเวลาเพียง 6 ถึง 10 ชั่วโมง 5.ปล่อยให้เตาเผาและเบ้าเย็นสนิท 26
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม กรรมวิธีในการหุง(เผา)พลอย 6.  พลอยที่ผ่านการเผาด้วยความร้อนนั้น สี และคุณสมบัติ ความสวยงามจะคงอยู่ตลอดไป คุณสามารถนำไปเจียระไนเพื่อทำเครื่องประดับได้ทันที 27
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม การประเมินคุณค่าและราคาของอัญมณี กรรมวิธีในการหุง(เผา)พลอย -  สี  -  ความใสสะอาด  -  การเจียระไน  -  หนักกะรัต 28
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 29 	1. ประเภทของแร่รัตนชาติ จำแนกออกเป็นกี่ประเภท ได้แก่ ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 30 	2. เกณฑ์ในการตัดสิน อัญมณี ได้แก่เกณฑ์ใด ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 31 	3. ประเภทของรัตนชาติ แบ่งออกเป็นกี่ประเภทได้แก่ ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 32 	4. ประเภทของรัตนชาติ แบ่งออกเป็นกี่ประเภทได้แก่ ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 33 	5. การตรวจสอบว่าเพชรเทียม หรือเพชรแท้ สามารถตรวจสอบได้กี่วิธี ได้แก่วิธีใดบ้าง ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 34 	6. การเพิ่มคุณค่าของแร่โดยใช้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้นักเรียนนำเสนอ มาอย่างน้อย 4 วิธี ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 35 	7. การเพิ่มคุณค่าของแร่โดยใช้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้นักเรียนนำเสนอ มาอย่างน้อย 4 วิธี ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 36 	7. การเผาพลอย หมายถึง ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 37 	8. จงอธิบายกระบวนการ “เผาพลอย” มาพอเข้าใจ ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 38 	9. อุปกรณ์สำคัญในกระบวนการเผาพลอย ได้แก่อุปกรณ์ใดบ้าง ?
บทเรียนธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม คำถามท้ายบทเรียน เรื่อง แร่รัตนชาติ 39 	10. การประเมินคุณค่าและราคาของอัญมณี เราใช้เกณฑ์ใดบ้างในการประเมิน ?

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von sailom

อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์sailom
 
อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่sailom
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมsailom
 
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์sailom
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกsailom
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3sailom
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2sailom
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 

Mehr von sailom (9)

อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 2
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 

แร่รัตนชาติ