SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 58
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
    วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา

 แสงธรรม                                             ฉบับ มุทิตาสักการะ
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔๓๔ ประจำาเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
 Saeng Dhamma
         Vol.36 No.434 June 2011
                                                     ๘๖ ปี หลวงตาชี
สื่อส่องทาง สว่างอ�าไพ
                                                        แสงธรรม
                                                    ทุกชีวิตมีปัญหำ		พระพุทธศำสนำมีทำงแก้
                                                  วำรสำรธรรมะรำยเดือนที่เก่ำแก่ที่สุดในอเมริกำ
      ปีที่	36		ฉบับที่	434		ประจ�ำเดือนมิถุนำยน			พ.ศ.	2554			Vol.36		No.434			June,		2011

  Objectives :
 �To	promote	Buddhist	activities.                                                  สำรบัญ
 �To	foster	Thai	culture	and	tradition.
 �To	inform	the	public	of	the	temple’s	activities.
                                                                                  Contents
 �To	promide	a	public	relations	center	for	
  	 Buddhists	living	in	the	United	States.             		The		Buddha’s	Words..............................................	1
                                                       	 ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ........................................ 2
  เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.                   ใครคือคนใกล้พระ คนใกล้พระคือใคร? .................... 3
  ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี                          ภาวะผู้น�า... กับธรรมะ ............................................ 6
  กองบรรณาธิการ :                                        ก�าหนดการ “ธรรมสมโภช ๘๖ ปี ชีวานันทะ” .........	7
	 ดร.พระมหำถนัด		อตฺถจำรี                              		Emptiness		By	Ven.	Buddhadasa.....................................	11
	 พระสมุห์ณัฐิวุฒิ	ปภำกโร                              		About	Being	Careful		By	Ven.	Ajanh	Chah..............	15
	 พระจรินทร์		อำภสฺสโร                                 			TOMORROW	MAN			By	Ven.	Laung	Ta	Chi.................................	18
	 พระมหำเรืองฤทธิ์		สมิทฺธิญำโณ
	 พระสุริยำ		เตชวโร                                    		ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมิถุนำยน...............................	22
	 พระมหำสรำวุธ		สรำวุโธ                                		เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 			23
	 พระมหำประดู่ชัย		ภทฺทธมฺโม                           		ประมวลภาพกิจกรรมเดือนพฤษภาคม....................	30
	 พระมหำศรีสุพรณ์		อตฺตทีโป                            		เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ......................................	32
	 พระมหำค�ำตัล		พุทฺธงฺกุโร                            		ท่องแดนพระพุทธศำสนำ	๒,๓๐๐	ปี	ดร.พระมหำถนัด	 39
	 พระอนันต์ภิวัฒน์		พุทฺธรกฺขิโต                       		สำระธรรมจำก...พระไตรปิฎก	...................................	42	
	 และอุบำสก-อุบำสิกำวัดไทยกรุงวอชิงตัน,	ดี.ซี.	        		อนุโมทนำพิเศษ	/	Special	Thanks............................	43
                                                       		Thai Temple’s News...............โดย	ดร.แฮนดี้					45
  SAENG DHAMMA	Magazine                                		รำยนำมผู้บริจำคเดือนพฤษภำคม	Ven.Pradoochai		48
	 is	published	monthly	by                              		รำยนำมผู้บริจำคออมบุญประจ�ำปีและเจ้ำภำพภัตตำหำรเช้ำ..53
  Wat Thai Washington, D.C. Temple                     		รำยนำมเจ้ำภำพถวำยเพล	/	Lunch............................54
	 At	13440	Layhill	Rd.,
	 Silver	Spring,	MD	20906                              	ก�ำหนดกำรท�ำบุญวันอำสำฬหบูชำ-วันเข้ำพรรษำ	.......62
  Tel.	(301)	871-8660,	871-8661
  Fax :	301-871-5007                                                           Photos taken by
  E-mail :	watthaidc@hotmail.com                                        Ven.	Pradoochai,	Ven.	Khumtan
  Homepage : www.watthaidc.org                                          Ven.	Ananphiwat,	Ven.Srisuporn	
  Radio Network :	www.watthai.iirt.net                                        Mr.	Kevin	&	Mr.	Sam	
  2,500 Copies                                                                  Bank	&	Ms.	Golf
ถ้อยแถลง
	 	 	          	            เย็นร่างกายเมื่อได้อาศัยร่ม เย็นอารมณ์เมื่อฟังธรรมน�าวิถี
                            เย็นจิตใจเมื่อได้ปฏิบัติดี          เพราะเรามี “ หลวงตาชี ” คอยชี้ทาง
	 นีคอถ้อยธรรมค�ำประพันธ์ท	“ไม้ออน”	ได้กล่ำวถึงบทบำทของควำมเป็นนักเทศน์	นักปรำชญ์		นักเขียน	นักประพันธ์	
         ่ื                        ี่        ่
ทีพระวิเทศธรรมรังษี	(หลวงตำชี)	ได้มอดมกำรณ์เพือปฏิบตศำสนกิจ	ณ	ดินแดนแห่งนีดวยควำมทุมเทชีวตจิตใจ		เผยแผ่
   ่                                      ีุ            ่  ัิ                               ้้   ่     ิ
พระพุทธศำสนำโดยกำรเทศน์สอน		เขียนบทควำมธรรมะให้อ่ำนให้คิด		โดยยึดหลักที่ว่ำ		“เมื่อศีลธรรมกลับมาพาใจ
สุข ไล่ความทุกข์เศร้าโศกวิโยคหนี ให้ลูกหลานหมั่นท�าแต่ความดี ชีวิตนี้มีแต่สุขทุกวันเอย”		อีกทั้งยังได้ปฏิบัติ
ตนเพือเป็นแบบอย่ำงให้พระธรรมทูต		ตลอดถึงชำวพุทธทังหลำยได้ชวยกันสืบสำนงำนพระพุทธศำสนำให้เจริญรุงเรือง
       ่                                                      ้            ่                               ่
ยิ่ง	ๆ	ขึ้นไป		
	 “แสงธรรม”	ฉบับเดือนมิถนำยนนี	เป็นฉบับวำระพิเศษ		เนืองในโอกำสวันคล้ำยวันเกิดของพระเดชพระคุณพระวิเทศ
                                 ุ         ้                      ่
ธรรมรังษี	 (หลวงตำชี)	 ซึงได้เวียนมำบรรจบอีกครังในวันที	 ๙	 มิถนำยน	 	โดยในปีนคณะศิษยำนุศษย์	 “กลุมรวมน�าใจ
                          ่                           ้     ่         ุ                ี้          ิ     ่   ้
ใฝ่ธรรม” เมืองไมอามี่ รัฐฟลอริดา	น�ำโดยคุณยงยุทธ – คุณศิรพรรณ เนตรทองค�า ได้รบเป็นประธานจัดงาน “ท�าบุญ
                                                                    ิ                          ั
ธรรมสมโภชอายุวฒนมงคลครบ ๘๖ ปี พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)” 	ในวันที่ ๑๑ – ๑๒ มิถนายน ๒๕๕๔	
                      ั                                                                              ุ
โดยมีกำรประพฤติวตรปฏิบตธรรม		บรรยำยธรรม		สนทนำธรรม		เพือน้อมถวำยเป็นอำจริยบูชำในส่วนกตัญญูกตเวทิตำ
                        ั     ัิ                                         ่
ธรรม	นอกจำกนัน		ยังมีกำรนิมนต์พระสงฆ์ทรงสมณศักดิเ์ จริญพระพุทธมนต์ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร	สวดทักษิณำนุประทำน	
                ้
และแสดงพระธรรมเทศนำ	จึงขอเชิญชวนท่ำนสำธุชนทั้งหลำยร่วมเป็นเจ้ำภำพโรงทำน		ถวำยภัตตำหำรเช้ำ	–	เพล	               	
น�้ำปำนะ		และเครืองไทยธรรมแด่พระสงฆ์	โดยพร้อมเพรียงกัน	ติดต่อได้ทคณะสงฆ์วดไทยฯ	ดี.ซี.
                    ่                                                        ี่           ั
	 ส�ำหรับท่ำนที่มีควำมประสงค์จะส่งบุตรหลำนมำเรียนภำษำไทย	ศิลปวัฒนธรรมไทย	มำรยำทไทย	และดนตรีไทย	
ปีนี้โครงกำรโรงเรียนวัดไทยกรุงวอชิงตัน,	 ดี.ซี.	 ภำคฤดูร้อน	 ร่วมกับคณะครุศำสตร์ฯ	 จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย	
ปฐมนิเทศเปิดเรียนในวันอาทิตย์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๔		อย่ำลืม!	ติดต่อขอใบสมัครได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป		
	 สุดท้ำย		ขอฝำกมรดกธรรม		“ใหม่ตลอดกาล”		จำกหนังสือ		“๗ รอบ ๑๒ ราศี หลวงตาชีแจกธรรม”		เพื่อ
เชิญทุกท่ำนได้ร่วมประพฤติปฏิบัติธรรมและร่วมงำนธรรมสมโภช		๘๖	ปี		หลวงตำชี		ในวันอาทิตย์ที่ ๑๒ มิถุนายน	
๒๕๕๔		ตั้งแต่เวลำ		๐๘.๓๐		น.		เป็นต้นไป	
	 	 	             	         	         	        ธรรมะทันสมัย             เป็นของใหม่ตลอดกาล
                                      คงทนอยู่ได้นาน                    ตลอดกาลนิรันดร
                                               ขอเชิญทุกทุกท่าน         สมาทานประพฤติธรรม
                                      ชีวิตจะชื่นฉ�่า                   ในพระธรรมทุกวันคืน
                                               จะหลับหรือจะตื่น         ทุกวันคืนจิตผ่องใส
                                      จะพบแต่ของใหม่                    ตลอดไปชั่วชีวันฯ
	 ขออ�ำนวยพรให้ทุกท่ำนจงจริญรุ่งเรืองอยู่ภำยใต้ร่มโพธิ์ทองของพระพุทธศำสนำโดยทั่วหน้ำกัน	เทอญ
                                                คณะผู้จัดท�า
แสงธรรม 1    Saeng Dhamma




                The Buddha’s Words
                               พุทธสุภาษิต
     อตฺตนา ว กตํ ปาปํ                 อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ
     อตฺตนา อกตํ ปาปํ                  อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ
     สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ           นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย. (๑๖๕)
ตนทําบาปเอง ตนก็เศร้าหมองเอง ตนไม่ทาบาป ตนก็บริสทธิเ์ อง ความบริสทธิ์
                                        ํ              ุ         ุ
หรือไม่บริสทธิเ์ ป็นของเฉพาะตน คนอืนจะให้คนอืนบริสทธิแทนไม่ได้
           ุ                       ่         ่ ุ ์
By oneself is evil done, by oneself does one get defiled, by oneself is evil
left undone. Purity or impurity depends on oneself, no one can purify
another.
แสงธรรม 2   Saeng Dhamma

               ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ
                 	


                 	 บรรดาสานุศิษย์	จิตเกษม
                 ลูกโยคีไมอามี่	เปรมปรีดิ์ศรี
                 พุทธศาสนิกชน	ร่วมยินดี
                 อัญชลีหลวงตาชี	บุราจารย์
                 	 ในวาระที่พ่อพระ	เจริญพรรษา
                 ๙	มิถุนา	๘๖	ปี	ศรีพิศาล
                 ศิษย์ทุกคนแซ่ซ้อง	สาธุการ
                 ด้วยดวงมานชื่นชม	สมฤดี
                 	 ข้าพเจ้าผู้แทน	สานุศิษย์
                 อัญชลิตสิ่งศักดิ์สิทธิ์	ทุกราศี
                 ขออัญเชิญพระตรัยรัตน์	นฤบดี
                 องค์นารายณ์เรืองฤทธี	ทั้งภพตรัย
                 	 โปรดประทานสรรพสิ่ง	พรวิเศษ
                 พระวิเทศธรรมรังษี	สุขสดใส
                 พรรษายืนกว่าร้อย	เป็นร่มไทร
                 คุ้มโพยภัยสานุศิษย์	นิจนิรันดร์

                        สุรเชฐษ์	เฟื่องฟู
                       ประพันธ์บทในนาม
               คุณยงยุทธ-คุณศิริพรรณ	เนตรทองค�า
                       และสานุศิษย์ไมอามี่
แสงธรรม 3      Saeng Dhamma




                    ใครคือคนใกล้พระ คนใกล้พระคือใคร?
        มุทิตำสักกำระ	ข้ำพเจ้ำขอน้อมรับโอกำสอันทรงเกียรติอีกครั้ง	ที่ได้เป็นตัวแทนของกลุ่มรวมน�้ำใจใฝ่ธรรม	
เมืองไมอำมี่	 ในกำรแสดงควำมกตัญญูกตเวทิตำต่อท่ำนเจ้ำคุณอำจำรย์	 พระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี	
(ท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี)	ที่พวกเรำสำธุชนเคำรพรักอย่ำงสูง	ข้ำพเจ้ำได้เคยเขียนถึงปฏิปทำของท่ำนเจ้ำคุณหลวง
ตำชีเอำไว้มำกมำยในหนังสือ	ที่ได้เคยพิมพ์แจกเป็นธรรมทำนมำแล้วตั้งแต่ปี	๒๕๔๖-๒๕๕๓	จนมำถึง	๒๕๕๔	
คือเล่มที่ท่ำนถืออยู่ในมือขณะนี้	 ข้ำพเจ้ำขออนุญำตกรำบเรียนท่ำนผู้อ่ำนตำมตรง	เนื่องด้วยข้ำพเจ้ำทรำบถึง
ตัวเองดีว่ำ	ยังเป็นผู้มีควำมรู้น้อยด้อยปัญญำนัก	ยังไม่สำมำรถเขียนพรรณนำออกมำเป็นตัวอักษรให้ท่ำนผู้อ่ำน
เข้ำใจได้อย่ำงลึกซึ้งในปฏิปทำอันตั้งมั่นของท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี	ที่มีต่อสังคมไทยและพระพุทธศำสนำ	ท่ำน
เป็นพระแท้	 	ท่ำนเลือกที่จะเสียสละประโยชน์ส่วนตน	เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกำสให้ได้มีโอกำส	มองเห็นแต่
ผลประโยชน์ส่วนรวมก่อนเสมอ
        ท่ำนสร้ำงโรงเรียนให้เด็กนักเรียนยำกจนให้มทเี่ รียนในหลำยสิบปีทผำนมำ	นักเรียนยำกจนเหล่ำนันได้เติบโต
                                                 ี                    ี่ ่                       ้
เป็นผู้ใหญ่เรียนจบปริญญำโทหลำยรุ่นและก็ได้กลับไปช่วยรุ่นหลังต่อไป	 ท่ำนให้ทุนพระภิกษุสำมเณรเพื่อศึกษำ
วิชำควำมรู้	ท่ำนบอกกับข้ำพเจ้ำว่ำกำรศึกษำคือสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดมำกกว่ำสิ่งอื่นใด	ท่ำนจะสอนเสมอว่ำ
แสงธรรม 4        Saeng Dhamma

                	       	                     หากจะพัฒนาชาติ		            ก็ให้เริ่มที่บุคคล
                	       	                     ถ้าจะพัฒนาคน	 	             ก็ให้เริ่มที่ใจ
                	       	                     อยากจะพัฒนาอะไร		 ก็ให้เริ่มที่ตัวเรา
         เงินทุกบำททุกสตำงค์ทสำธุชนถวำยท่ำนนันก็จะไปเป็นสำธำรณประโยชน์ทงสิน	กล่ำวคือสร้ำงอำคำรเรียน	
                                         ี่                   ้                             ั้ ้
ไฟฟ้ำ	น�ำประปำ	ให้ผคนจ�ำนวนมำกในถินทีขำดแคลนได้มโอกำสทัดเทียมเหมือนดังถินทีเจริญแล้ว	และสร้ำงคน
            ้                   ู้                 ่ ่                ี                          ่ ่
ให้เป็นมนุษย์ที่ประเสริฐ	ท่ำนพักผ่อนน้อยมำกเพียงวันละสองสำมชั่วโมงเท่ำนั้น	เวลำทั้งหมดที่เหลือก็คือทุ่มเท
รับใช้พระศำสนำ	เมตตำธรรมที่เปี่ยมล้นของท่ำนมำกเกินกว่ำที่ข้ำพเจ้ำจะอธิบำยได้	เพรำะท่ำนคือธรรมทำยำท
ในพระพุทธศำสนำ	ด�ำเนินตำมค�ำตรัสสังสอนขององค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทีมตอสำวกของพระองค์	ท่ำนยึดหลัก
                                               ่                                      ่ี่
พุทธวิธอย่ำงแน่วแน่	ส�ำหรับข้ำพเจ้ำท่ำนคือพระโพธิสตว์เมืองคน	ส่วนพวกเรำเหล่ำสำนุศษย์กคอเวไนยสัตว์ทรอ
          ี                                                     ั                                     ิ ็ื      ี่
ให้ทำนโปรด	รอให้ทำนสอน		และค�ำสอนของท่ำนก็เป็นสิงทีทำได้ไม่ยำก	ไม่เกินควำมสำมำรถของคนธรรมดำอย่ำง
      ่                       ่                                     ่ ่ �
เรำจะกระท�ำได้	วิธีกำรสอนของท่ำนมีครบทั้ง	๓	โวหำร	คือ	
                    ๑. ชี้แจงแสดงให้เข้าใจ (เทศนา)
                    ๒. ขยายความเพิ่มให้เข้าใจ (พรรณนา)
                    ๓. ยกตัวอย่างให้เข้าใจ (สาธก)
         ผูใดก็ตำมทีได้ปฏิบตตำมค�ำสอนของท่ำนใน“เจ็ดรักและเจ็ดทรัพย์” ข้ำพเจ้ำขอรับรองว่ำผูนนจะมีเทวดำ
              ้            ่       ัิ                                                                      ้ ั้
รักษำ	เป็นที่รักของบุคคลทั่วไป	ทั้งยังเป็นผู้ที่อุดมสมบูรณ์ในโภคทรัพย์และอริยทรัพย์อีกด้วย	พระพุทธองค์ทรง
ตรัสสอนไว้ว่ำ	
         หากต้องการจะดูบุคคลใด เป็นบุคคลที่ดีหรือไม่ดีอย่างไร ก็ให้ดูที่ภายนอกและภายในของบุคคลนั้น
ภายนอกคือการกระท�า ภายในคือค�าสอน ทั้งสองประการนี้จะต้องตรงกัน
         พุทธวิธีในข้อนี้ตรงกับท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชีเป็นอย่ำงยิ่ง	 เพรำะท่ำนสอนพวกเรำอย่ำงไร	 	 ท่ำนก็รักษำ
คุณธรรมเป็นปกติของท่ำนอย่ำงนันหรือยิงกว่ำนันกล่ำวคือ	ท่ำนสอนให้พวกเรำขยันเป็นผ้ไม่สนโดษในกำรปฏิบติ
                                            ้        ่      ้                                        ู ั           ั
ดีและไม่ทอถอยในกำรปฏิบตควำมเพียร	ซึงสิงทีทำนท�ำให้พวกเรำดูนนแสนยำกยิงกว่ำ	หำกจะเปรียบกับค�ำกล่ำว
                  ้                   ัิ               ่ ่ ่ ่              ั้            ่
ที่ว่ำ	 ยอมสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตนั้น คงไม่อาจใช้กับท่านได้เพราะส�าหรับท่านคือการยอมสละชีวิตเพื่อ
รักษาธรรม	 	 ท่ำนได้เสียสละทั้งชีวิตของท่ำนมำยำวนำนตั้งแต่ข้ำพเจ้ำและท่ำนผู้อ่ำนยังไม่ได้เกิดมำเป็นมนุษย์
ชำติ	จนมำบัดนี้แม้พรรษำท่ำนจะ	๘๖	ปี	แล้วก็ตำม	ท่ำนก็ยังคงมุ่งมั่นที่จะลำก	จะจูง	พวกเรำเหล่ำสำธุชนและ
    คนเป็นศิษยำนุศษย์ทงหลำย	ให้เป็นผูรทนโลกธรรมทังแปดและให้เป็นผูตนจำกกิเลสอันก่อให้เกิดทุกข์ควำม
                             ิ ั้                ้ ู้ ั           ้              ้ ื่
แสงธรรม 5      Saeng Dhamma

 เศร้ำหมอง	 ท่ำนสอนศิษย์ให้รู้เท่ำทันกับตัณหำและอวิชชำ	 เป็นเพรำะเรำรู้ไม่เท่ำทันเรำจึงทุกข์	 ท่ำนได้ให้
เครื่องมือส�ำหรับก�ำจัดทุกข์แก่พวกเรำก็คือกำรฝึกสติให้เกิดปัญญำ	ท่ำนสอนข้ำพเจ้ำว่ำ	สติปัญญำ	ไม่มีเพศ	ไม่มี
ชนชั้น	ไม่มีรวย	ไม่มีจน	และปัญญำคือแก้วสำรพัดนึก		ปัญญาสว่างทั้งกลางวันกลางคืน ปัญญาปกครองคนได้
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญานั้นไม่มี		หำกจะให้ข้ำพเจ้ำเขียนถึงท่ำนเจ้ำคุณอำจำรย์หลวงตำชีรูปนี้	ข้ำพเจ้ำคงไม่
สำมำรถเขียนเป็นที่สุดได้	 เพรำะคงจะเขียนเล่ำเรื่องรำวของท่ำนไปไม่รู้จบ	 คุณธรรมอันยิ่งใหญ่และเมตตำธรรม
อันไพศำลทีทำนได้ทำให้แล้วแด่ปวงชน		มีมำกมำยเกินกว่ำศิษย์นอยๆ	อย่ำงข้ำพเจ้ำจะเขียนออกมำเป็นตัวอักษร
             ่ ่        �                                        ้
อันวิจิตรได้ดั่งใจ		ฉะนั้น	ก่อนจะถึงบทสุดท้ำย	ข้ำพเจ้ำขออนุญำตท่ำนผู้อ่ำนอีกครั้งเพื่อเฉลยค�ำตอบ	ใครคือคน
ใกล้พระ	คนใกล้พระก็คือคนที่มี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ อยู่ในใจตลอดเวลา ทั้งยามหลับและยามตื่น
ไม่ใช่คนที่มีบ้ำนใกล้วัด	 ไม่ใช่คนที่สำมำรถได้นั่งใกล้และจับชำยจีวรท่ำนอยู่	 เรื่องคนใกล้พระนี้ท่ำนเจ้ำคุณหลวง
ตำชี	ท่ำนได้เขียนไว้ตั้งแต่เดือนมีนำคม	พ.ศ.	๒๕๓๙	(๑๙๙๗)	และท่ำนได้เขียนเป็นโคลงกลอนที่ไพเรำะดังนี้
             	 	                 คนใกล้พระ	 ใกล้ธรรม	 นั้นล�้าเลิศ
             	 	                 ใจประเสริฐ	 เพราะมีธรรม	 พระพร�่าสอน
             	 	                 อยู่ใกล้พระ	 ได้ช�าระ		           ละนิวรณ์
             	 	                 พระท่านสอน	 ให้เจริญ	             เดินตามธรรม
        ข้ำพเจ้ำขอเชิญชวนท่ำนผู้อ่ำนและสำธุชนทั้งหลำยจงมำเป็นคนใกล้พระกันเถอะ	
        สุดท้ำยนี้เนื่องในศุภวำระอำยุครบ	๘๖	ปี	ของท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี	ข้ำพเจ้ำในฐำนะตัวแทนของศิษย์กลุ่ม
รวมน�้ำใจใฝ่ธรรม	ไมอำมี่	 รัฐฟลอริดำ	ขอตั้งจิตอธิษฐำนถวำยชัยมงคล	กรำบอำรำธนำคุณพระศรีรัตนตรัยและ
หลวงพ่อพระพุทธมงคลวิมล,	ดี.ซี.	และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วสำกลโลกโปรดคุ้มครองให้ท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี	มีสุขภำพ
ที่แข็งแรง	อำยุยืน	อยู่เป็นร่มโพธิ์	ร่มไทรของศิษย์และปวงชน	ตรำบนำนเท่ำนำนด้วยเทอญ

                                กรำบนมัสกำรด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง
                                        ศิริพรรณ เนตรทองค�า
                                         ในนำมของศิษย์ลูกโยคี	
                                    กลุ่มรวมน�้าใจใฝ่ธรรม ไมอามี่
                          ประธานจัดงานท�าบุญฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๘๖ ปี
แสงธรรม 6         Saeng Dhamma

                      ภาวะผู้น�า...กับธรรมะ

                                                  	
	 ถิ่นขวานทอง	ของไทย	ในอีสาน                     	 ปณิธาน	“หลวงตาชี”	ที่แน่วแน่
มุกดาหาร	ค�าชะอี	ที่อาศัย                        คือเผยแผ่	หลักธรรม	น�าถึงแก่น
บ้านโพนงาม	ถิ่นก�าเนิด	น่าภูมิใจ                 เสียสละ	อุทิศตน	เพื่อตอบแทน
จารึกไว้	“สุรศักดิ์	ธรรมรัตน์”	ชื่อชัดเจน        เป็นแบบแผน	ชาวพุทธ	สุดบูชา
	 เกิดผู้น�า	ตามรอย	พระพุทธศาสนา                 	 ท่านสอนให้	ใช้แสงธรรม	น�าชีวิต
อันล�้าค่า	ด้วยค�าสอน	ที่โดดเด่น                 สติคิด	รู้แก้ไข	ในปัญหา
ได้มาบวช	ด้วยศรัทธา	เป็นสามเณร		                 ประเพณี	วัฒนธรรม	สืบทอดมา
ท่านมุ่งเน้น	ปฏิบัติธรรม	น�าจิตใจ                น้อมวันทา	จากมวลศิษย์	นิจนิรันดร์
	 อุปสมบท	บ�าเพ็ญพรต	งดงามนัก                    	 มี	“ภาวะ	ผู้น�า...กับธรรมะ”
“พระสุรศักดิ์	ชีวานนฺโท”	ร่มโพธิ์ใหญ่            ไม่ลดละ	สร้างสังคม	ให้สุขสันต์
ครูผู้สอน	ปริยัติ	ธรรมวินัย                      สามัคคี	ปรองดอง	พี่น้องกัน
วิปัสสนาจารย์	ครูผู้ให้	ใฝ่ท�าดี                 รักผูกพัน	สายเลือดไทย	ให้ยาวนาน
	 ปีหนึ่งแปด	จากเมืองไทย	ไกลลัดฟ้า               	 คือหลวงพ่อ	“พระวิเทศธรรมรังษี”
สู่อเมริกา	เผยแผ่ธรรม	น�าวิถี                    “แปดสิบหกปี”	อายุวัฒน	เกษมศานต์
สาธุชน	คุ้นนามว่า	“หลวงตาชี”                     ขออ�านาจ	สิ่งศักดิ์สิทธิ์	โปรดอภิบาล
ณ	วัดไทยฯ	ดี.ซี.	ชี้ทางธรรม                      คุ้มครองท่าน	“หลวงตาชี”	นี้ด้วยเทอญ
	 สามสิบหกปี	ที่สืบสาน	งานพุทธศาสน์
ให้ต่างชาติ	พร้อมชาวไทย	ใจชุ่มฉ�่า                            นางสาวยุพา มาตยะขันธ์ (ครูยุ)
ท�าให้ดู	อยู่ให้เห็น	เป็นประจ�า                       ครูใหญ่โรงเรียนวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.
ทุกถ้อยค�า	สั่งสอนศิษย์	จิตเมตตา                                       ภาคฤดูร้อน ปี ๒๕๕๓
	 เป็นแบบอย่าง	พระสงฆ์ไทย	ในต่างถิ่น
ทุกศาสตร์ศิลป์	เชี่ยวชาญ	การศึกษา
พระธรรมทูต	ผู้น�า	มีธรรมา
พัฒนา	วัดไทย	ในต่างแดน
แสงธรรม 7
                                   Saeng Dhamma
                            ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำาบุญ
                           ธรรมสมโภชอายุวัฒนมงคล ๘๖ ปี
                           พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)
                      ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. มลรัฐแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา
                                                            ่
                               ๑๑ - ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๔

                                         กำ�หนดก�ร

วันเสาร์ที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ จัดปฏิบัติธรรม “ธรรมสมโภช ๘๖ ปีชีวานันทะ”	
	      ท�ำวัตรสวดมนต์	สมำทำนศีล	ปฏิบตธรรม	ฟังกำรบรรยำยธรรม	สนทนำธรรม	ถำมตอบปัญหำธรรมะ	
                                       ัิ
วันอาทิตย์ที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พิธีท�าบุญอายุวัฒนมงคล ครบ ๘๖ ปี พระวิเทศธรรมรังษี
	      เวลำ	๐๗.๐๐	น.	        ถวำยภัตตำหำรเช้ำ	
	      เวลำ	๐๘.๓๐	น.	        พระสงฆ์และพุทธศำสนิกชนพร้อมกัน	ณ	อุโบสถ	
	      เวลำ	๐๙.๐๐	น.	        พระวิเทศธรรมรังษี	จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย	
	      	       	       	     จุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย	พิธีทักษิณำนุปทำน	
	      เวลำ	๑๐.๓๐	น.	        ประธำนกรรมกำรจัดงำนฝ่ำยฆรำวำส	จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย	
	      	       	       	     พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์	๑๐	รูป	เจริญพระพุทธมนต์	
	      	       	       	     ถวำยเครื่องไทยธรรม	พระสงฆ์อนุโมทนำ	กรวดน�้ำ-รับพร	
	      เวลำ	๑๑.๐๐	น.	        ถวำยภัตตำหำรเพลแด่พระสงฆ์	เปิดโรงทำนผู้ร่วมงำนรับประทำนอำหำร	
	      เวลำ	๑๒.๓๐	น.	        พระสงฆ์และพุทธศำสนิกชนพร้อมกันภำยในอุโบสถ
	      เวลำ	๑๒.๔๐	น.	        พิธีน้อมถวำยคำรวะ	๘๖	ปี	หลวงตำชี
	      	       	       	     โดย	กลุ่มรวมน�้ำใจใฝ่ธรรม	ไมอำมี	และคณะศิษยำนุศิษย์	
	      เวลำ	๑๓.๐๐	น.	        ฯพณฯ	เอกอัครรำชทูตไทย	ณ	กรุงวอชิงตัน	จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย	
	      	       	       	     เจ้ำภำพกัณฑ์เทศน์	จุดเทียนบูชำพระธรรม	ฟังพระธรรมเทศนำ	๑	กัณฑ์	
	      เวลำ	๑๔.๐๐	น.	        พิธีถวำยมุทิตำสักกำระแด่พระวิเทศธรรมรังษี	
	      	       	       	     -พระวิเทศธรรมรังษี	กล่ำวสัมโมทนียกถำ	
	      	       	       	     -พิธีถวำยน�้ำสรง	–ถวำยผ้ำไตรจีวร	
	      	       	       	     -มอบของที่ระลึก	เป็นอันเสร็จพิธี
                                  ������������
      หมายเหตุ ก�ำหนดกำรอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมควำมเหมำะสม
แสงธรรม 8      Saeng Dhamma
          ขออนุโมทนาพิเศษ
งานทำาบุญอายุวัฒนมงคลธรรมสมโภช ๘๖ ปี
  พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)

         เจ้าภาพถวายพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญพระพุทธมนต์	๑๐	รูป
                      โดย	กลุ่มรวมน�้าใจใฝ่ธรรม	ไมอามี่	ฟลอริดา
                          --------------------------
                                    เจ้าภาพกัณฑ์เทศน์
                           คุณณรงศักดิ์-คุณรัตนา	โชติกเวชกุล
                           -------------------------
                                รายนามผู้ร่วมบริจาคทั่วไป
                           อาจารย์เกลี้ยง	ชูเต	๓,๐๐๐	เหรียญ
                      -------------------------------
      เจ้าภาพถวายพระสงฆ์สวดทักษิณานุปทาน	๕๐	รูปๆ	ละ	๒๐๐	เหรียญ
                                 ***********************
๑.	คุณกัญญา-คุณกุลชาติ	สว่างโรจน์	 	           	      	     ๕	รูป	๑,๐๐๐	เหรียญ
๒.	คุณพยุง-คุณจินตนา	งามสอาด	 		               	      	     ๕	รูป	๑,๐๐๐	เหรียญ
๓.	คุณพิณทอง	เกาฏีระ	                   		     	      	     ๕	รูป	๑,๐๐๐	เหรียญ
๔.	นพ.อรุณ-คุณสุมนา	สวนศิลป์พงศ์	 	            	      	     ๕	รูป	๑,๐๐๐	เหรียญ
๕.	คณะพยาบาลบัลติมอร์	                  		     	      	     ๓	รูป	๖๐๐	เหรียญ
๖.	สมาคมไทยอีสาน		                      		     	      	     ๒	รูป	๔๐๐	เหรียญ
๗.	ครอบครัว	มานะกุล	                    		     	      	     ๒	รูป	๔๐๐	เหรียญ
๘.	คุณชัยรัตน์-คุณสุกานดา	เจตบุตร	และครอบครัว	 	            ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๙.	คุณวิโรจน์-คุณมาลี	บาลี	และครอบครัว	 	             	     ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๐.	คุณศักดิเกษม	(แมน)	วิรยะ-คุณธินภรณ์	(ตาล)	งามสอาด	 ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
             ์                ิ           ี
๑๑.	คุณธนศักดิ์	(บูม)	วิริยะ-น้องธนกร	(แบ็งค์)	วิริยะ		     ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๒.	คุณพิชัย	(บู๊)-คุณธัญญาภรณ์	(หลี)	กุลประเสริฐรัตน์	 ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
แสงธรรม 9   Saeng Dhamma

๑๓.	คุณประภา	(นก)	จันทร-คุณอานนท์	(ฝุ่น)	แสนวิเศษ	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๔.	คุณกษิมา	(จี๊ด)	ปรุงธัญญะพฤกษ์	และครอบครัว		         	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๕.	คุณพรพรรณ-คุณสิทธิศักดิ์	ปรางข�า	 	          	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๖.	คุณกรองกาญจน์-คุณรัตนา	ธารพิพิธชัย	 	        	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๗.	คุณสุภาพ	ดูบัวร์	               		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๘.	คุณป้าบุญเสริม	งามสอาด	         		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๑๙.	คุณยายซู่เฮียง	รุสิตานนท์	และลูกหลาน	 	      	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๐.	คุณสมศักดิ์-คุณสุดารัตน์	ตั้งตรงวานิช	และครอบครัว	   	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๑.	คุณวาสนา-คุณมงคล-น้องเพียงอัมพร	น้อยวัน	 	           	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๒.	คุณมาลินี	วังศเมธีกูร	          		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๓.	ดร.สุทัศน์	เสาว์มั่น-คุณสุภาพ	อุดดานนท์	     	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๔.	คุณดารัตน์	แสงอรุณ	             		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๕.	คุณชัยยุทธ-คุณยุพา	สมเขาใหญ่	และครอบครัว	 	          	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๖.	Mr.Edward	–	Mr.William-Ms.Siriporn	Gresser	          	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๗.	คุณกฤช-คุณพรรณี-คุณพอล-คุณไซม่อน	เกษมพันธัย	         	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๘.	คุณพัชรา	ตวงเศรษฐวุฒิ	          		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๒๙.	คุณวนิดา	สุนทรพิทักษ์	          		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๓๐.	คุณสุพรรณี	สัตตวัตรกุล-คุณสุวภี	เดชติศักดิ์	 	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๓๑.	คุณจงดี		Right	และครอบครัว	 		          	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๓๒.	คุณวรชัย-คุณกัญญภัทร	กลึงโพธิ์	         	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๓๓.	ครอบครัว	มุขกัง	                		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
๓๔.	คุณสุกานดา	บุบพานนท์	           		      	    	       	   ๑	รูป	๒๐๐	เหรียญ
แสงธรรม 10    Saeng Dhamma




ภาพกิจกรรมงานทำาบุญธรรมสมโภชอายุวฒนมงคล ๘๕ ปี ชีวานันโท (พระวิเทศธรรมรังษี) ประจำาปี พ.ศ. ๒๕๕๓
                                 ั
แสงธรรม 11        Saeng Dhamma


                                              EMPTINESS
                                                    by Buddhadasa Bhikkhu
                                          http://www.what-buddha-taught.net/Books/BhikkhuBuddhadasa_Heart_Wood_from_the_Bo_Tree.htm



  ...Continued from last issue...

	‘T        his	practice	is	every	practice’.	Try	to	
           think	if	there’s	anything	that	remains	
to	 be	 practised,	 At	 	 any	 	 moment	 	 that	 	 any	
                                                            entrance	and	is	an	external	matter;	it	doesn’t	
                                                            penetrate	to	the	Buddha,	Dhamma,	and	Sangha	
                                                            in	the	heart.	If	at	any	moment	any	person	at	all	
person,	whether	it’s	Mr.	Smith	or		Mrs.	Jones	or	           has	a	mind	empty	of	grasping	at	and	clinging	to	
anyone	at	all,	has	a	mind	that	is	free	of	grasping	         ‘I’	and	‘mine’,	even	if	it’s	only	for	an	instant,	
and	clinging,	what	will	there	be	present	in	their	          it	means	that	the	mind	has	realized	emptiness.	
minds?	                                                     It	 is	 pure,	 radiant	 and	 at	 peace.	 It	 is	 one	 and	
	 Please	think	it	over.	We	can	take	it	step	by	             the	same	thing	as	the	heart	of	the	Buddha,	the	
step	from	the	Triple	Refuge	to	virtuous	conduct,	           Dhamma,	and	the	Sangha.	Thus	at	any	moment	
samadhi	and	the	discernment	of	truth,	on	to	the	            that	one	has	a	mind	empty	in	this	way	one	has	
Path	 Realizations,	 their	 Fruits	 and	 Nibbana.	 At	      taken	refuge,	one	has	reached	the	Triple	Gem.	
that	 moment	 they	 have	 reached	 the	 Buddha,	            	 To	 move	 onto	 giving	 dana	 (alms)	 and	 mak-
the	Dhamma	and	the	Sangha	for	to	have	a	heart	              ing	donations.	The	meaning	of	giving	dana	and	
free	of	the	mental	defilements	and	Dukkha	is	to	            donations	 is	 to	 relinquish,	 to	 end	 all	 grasping	
be	one	with	the	heart	of	the	Triple	Gem.	They	              at	and	clinging	to	things	as	being	‘I’	or	‘mine’.	
have	 reached	 them	 without	 having	 to	 shout	            As	for	giving	in	order	to	receive	a	much	greater	
out	Buddham	saranam	gacchami	[16]	or	any	of	                reward,	such	as	giving	a	tiny	amount	and	asking	
the	rest	of	it.	Crying	out	Buddham	saranam	gac-             for	a	mansion	up	in	heaven,	that’s	not	giving,	
chami	and	so	on	is	just	a	ritual,	a	ceremony	of	            it’s	just	a	business	deal.	Giving	must	be	without
แสงธรรม 12      Saeng Dhamma
strings	attached	a	casting	off	of	things	that	we	          As	for	samadhi,	an	empty	mind	is	the	supreme	
grasp	 at	 and	 cling	 to	 as	 being	 ‘I’	 and	 ‘mine’,	   samadhi,	 the	 supremely	 focused	 firmness	 of	
At	 the	 moment	 that	 	 one	 has	 a	 mind	 empty	         mind.	The	straining	and	striving	sort	of	samadhi	
of	ego	-	consciousness	then	one	has	made	the	              isn’t	the	real	thing	and	the	samadhi	which	aims	
supreme	 offering,	 for	 when	 even	 the	 self	 has	       at	anything	other	than	non-clinging	to	the	five	
been	given	up,	what	can	there	be	left?	When	               khandas	is	micchasamadhi	(wrong	or	perverted	
the	‘I	-	feeling’	has	come	to	an	end	then	the	             samadhi).	 You	 should	 be	 aware	 that	 there	 is	
‘mine	-	feeling’	will	vanish	by	itself.	Thus	at	any	       both	micchasamadhi	and	sammasamadhi	(right	
moment	that	a	person	has	a	mind	truly	empty	               or	correct	samadhi).	Only	the	mind	that	is	emp-
of	self,	when	even	the	self	has	been	completely	           ty	of	grasping	at	and	clinging	to	‘I’	and	‘mine’	
relinquished,	he	or	she	has	developed	giving	to	           can	have	the	true	and	perfect	stability	of	sam-
its	perfection.	                                           masamadhi.	One	who	has	an	empty	mind	has	
	 To	 move	 onto	 Sila	 (Virtuous	 Conduct),	 one	         correct	samadhi.	
who	has	an	empty	mind,	free	of	grasping	at	and	            	 Here	 we	 reach	 panna	 (the	 discernment	 of	
clinging	to	a	(non-existent)	self	or	to	things	as	         truth).	 It	 is	 clearly	 indicated’	 that	 knowing	 or	
being	possessions	of	a	self,	is	one	whose	bodily	          realizing	 emptiness,	 or	 being	 emptiness	 itself	
and	 verbal	 actions	 are	 truly	 and	 perfectly	 vir-     is	the	supreme	panna	because	at	the	moment	
tuous.	Any	other	sort	of	sila	is	just	an	up-and-           that	 the	 mind,	 is	 empty	 it	 is	 supremely	 keen	
down	affair.	We	make	resolutions	to	refrain	from	          and	discerning.	In	contrast,	when	delusion	and	
this	and	abstained	from	that	and	then	we	can’t	            ignorance	enter	and	envelop	the	mind,	causing	
keep	 them.	 It’s	 up	 -	 and	 -	 down	 because	 we	       grasping	at	and	clinging	to	things	as	self	or	pos-
don’t	know	how	to	let	go	of	self	and	the	posses-           sessions	of	self	then	there	is	supreme	foolish-
sions	of	self	right	from	the	start.	There	being	no	        ness.	If	you	think	it	over	you	will	easily	see	for	
freedom	from	self	there	can	be	no	real	sila,	or	if	        yourself	 quite	 clearly	 that	 when	 these	 things	
there	is,	it’s	inconsistent.	It	is	not	ariyakantasila,	    have	left	the	mind	there	can	be	no	foolishness.	
the	virtuous	conduct	that	is	of	contentment	to	            When	the	mind	is	empty	of	foolishness,	emp-
the	Noble	Ones,	it	is	worldly	sila,	continually	up	        ty	 of	 ‘I’	 and	 ‘mine’,	 there	 is	 perfect	 knowing	
and	down.	It	can	never	become	transcendental	              or	panna.	So	the	wise	say	that	emptiness	and	
sila.	Whenever	the	mind	is	empty,	if	it’s	only	for	        panna,	the	discernment	of	truth	(or	satipanna-
a	moment,	or	if	it’s	for	a	day	or	a	night	or	how-          truth-discerning	awareness)	are	one.	It’s	not	that	
ever	long,	for	that	length	of	time	one	has	true	           they	are	two	similar	things	they	are	one	and	the	
sila.	                                                     same	thing.	True	or	perfect	panna	is	emptiness,
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma
absence	of	the	foolish	clinging	of	delusion.	Once	     teachings,	to	have	put	it	into	practice	is	to	have	
the	mind	is	rid	of	delusion	it	discovers	its	primal	   done	all	the	practices	and	to	have	reaped	the	
state,	the	true	original	mind	which	is	panna	or	       fruits	of	that	practice	is	to	have	reaped	all	fruits.	
truth	-	discerning	awareness.	                         The	meaning	of	the	word	‘emptiness’	is	an	es-
	 The	word	mind	(citta)	is	being	used	here	in	         sential	point	that	you	must	try	to	keep	in	mind.	
a	specific	way.	Don’t		confuse		it	with	the		89	   	   	 Now	let	us	consider	that	all	things	are	includ-
cittas	or	121	cittas	of	the	Abhidhamma.	They	are	      ed	 in	 the	 term	 ‘dhamma’.	 ‘Dhamma’	 means	
a	different	matter.	That	which	we	call	the	true	       ‘thing’,	 sabbe	 dhamma	 means	 ‘all	 things’.	
original	mind,	the	mind	that	is	one	with	panna	        You	must	be	clear	when	you	use	the	term	‘all	
refers	to	the	mind	that	is	empty	of	grasping	at	       things’	as	to	what	it	signifies.	‘All	things’	must	
and	clinging	to	self.	Actually	this	state	shouldn’t	   refer	 to	 absolutely	 everything	 without	 excep-
be	called	mind	at	all,	it	should	be	called	empti-      tion,	 whether	 worldly	 or	 spiritual,	 material	 or	
ness	but	since	it	has	the	property	of	knowing	we	      mental.	Even	if	there	was	something	outside	of	
call	it	mind.	The	various	schools	call	it	by	vari-     these	categories	it	would	still	be	included	in	the	
ous	names	but	strictly	speaking	it’s	enough	to	        term	all	things	and	would	still	be	a	dhamma.	So	I	
say	that	the	true	fundamental	nature	of	mind	is	       would	like	you	all	to	observe	that:
satipanna,	 truth-discerning	 awareness,	 absence	     	 The	worlds	of	material	objects	i.e.	all	realms	
of	grasping	and	clinging.	Thus	in	emptiness	lie	       of	material	objects	are	dhammas.	The	mind	that	
perfect	panna.		                                       is	aware	of	all	worlds	is	a	dhamma.	If	the	mind	
		 Now	going	on	to	the	Path	Realizations,	their	       and	the	world	come	into	contact,	that	contact	is	
Fruits	and	Nibbana.	Here	the	progressively	higher	     a	dhamma.	Any	result	of	that	contact,	be	it	feel-
                                                       ings	of	love,	hate,	dislike	or	fear,	or	satipanna,	
levels	of	emptiness	reach	their	culmination	in	
                                                       the	clear	seeing	of	things	as	they	truly	are,	these	
Nibbana,	which	is	called	paramasunnata	or	para-        are	all	dhammas.	Right	or	wrong,	good	or	bad,	
mam	sunnam	-	supreme	emptiness.	So	now	you	            they	are	all	dhammas.	If	satipanna,	gives	rise	to	
may	see	that	right	from	taking	refuge	onto	giving	     various	interior	know	ledges,	those	know	ledges	
dana,	sila,	samadhi	and	panna	there	is	nothing	        are	dhammas.	If	those	know	ledges	lead	to	the	
other	than	emptiness,	non-clinging	to	self.	Even	      practice	of	sila,	samadhi,	and	panna	or	any	other	
the	Path	Realizations,	their	Fruits	and	Nibbana	       type	of	practice,	that	practice	is	a	dhamma.	The	
itself	do	not	exceed	emptiness	but	are	its	high-       results	of	practice,	abbreviated	as	the	Path	Re-
est,	supreme	level.	                                   alizations,	their	Fruits	and	Nibbana,	even	these	
	 Consequently,	 the	 Buddha	 declared	 that	          are	dhammas.”	
                                                       	 To	 sum	 up,	 all	 these	 things	 are	 dhammas.	
having	heard	this	teaching	is	to	have	heard	all	       ‘Dhamma’	 encompasses	 everything	 from	 the
แสงธรรม 14      Saeng Dhamma
truly	peripheral,	the	world	of	material	objects,	         to	than	the	dhammas	of	form	because	they	are	
up	to	the	results	of	Dhamma	practice,	the	Path	           illusions,	born	of	an	illusion	arising	in	the	realm	
Realizations,	 their	 Fruits	 and	 Nibbana.	 Seeing	      of	defilements.	Grasping	at	or	clinging	to	them	is	
each	 of	 these	 things	 clearly	 is	 called	 seeing	     extremely	dangerous.	
‘all	things’	and	regarding	all	things	the	Buddha	         	 The	Buddha	taught	that	even	truth	-	discern-
taught	that	‘none	whatsoever	should	be	grasped	           ing	awareness	should	not	be	grasped	at	or	clung	
at	or	clung	to.	This	body	cannot	be	grasped	at	or	        to	because	it	is	merely	a	part	of	Nature.	Attach-
clung	to.	Even	more	so	the	mind;	it	is	an	even	           ing	to	it	will	give	rise	to	fresh	delusion;	there	will	
greater	illusion.	Thus	the	Buddha	said	that	if	one	       be	a	person	who	has	truth	-	discerning	aware-
is	 determined	 to	 cling	 to	 something	 as	 self	 it	   ness,	there	will	be	MY	truth	-	discerning	aware-
would	be	better	to	cling	to	the	body	because	             ness.	Due	to	this	attachment	the	mind	will	be	
it	changes	more	slowly.	It	is	not	as	deceptive	as	        weighed	 down	 with	 grasping	 and	 clinging,	 and	
the	mind,	that	which	we	call	namadhamma.	                 lurch	about	in	accordance	with	the	changes	that	
‘Mind’	here	does	not	refer	to	the	mind	previous-          those	things	undergo;	then	there	will	be	Dukkha.	
ly	spoken	of	as	being	one	and	the	same	thing	as	          Knowledge	should	be	looked	on	as	being	simply	
emptiness,	but	to	mentality,	the	mind	known	by	           knowledge.	If	one	deludedly	grasps	at	or	clings	
ordinary	people.	The	contact	between	the	mind	            to	it,	it	will	give	rise	to	the	various	kinds	of	‘At-
and	the	world	results	in	the	various	feelings	of	         tachments	to	Rites	and	Rituals’	[17]	and	one	will	
love,	hate,	anger	and	so	on.	These	are	dhammas	           experience	Dukkha	without	realizing	why.	
which	are	even	less	to	be	grasped	at	or	clung	
                                                                          To be continued
                                                                                WELCOME TO JOIN
                                                                                 THE MEDITATION
                                                                                  2nd and 4th Sat. of
                                                                                     every month.
                                                                                  �Based on 2,500-year-old
                                                                                  tradition �FREE! We never
                                                                                  charge for lessons.
                                                                                  �Taught by Thai monk
                                                                                  with decades of experience
                                                                                  �All levels welcome
                                                                                  09.00 a.m. - 11.00 a.m.
                                                                                   Wat Thai Buddhist Temple 13440
                                                                                     Layhill Rd. Silver Spring, MD
                                                                                       20906 Tel: 301-871-8661
                                                                                         www.watthaidc.org
                                                                                     E-mail: handy@t-dhamma.org
                                                                                  Contact Alistair Bell 202 527 1050 /
                                                                                         aa_bell@hotmail.com
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma

                                                       About Being
                                               CAREFUL
                                    A Dhammatalk By Ajahn Chah
                                        http://www.ajahnchah.org/book/About_Being_Careful.php

  ...Continued from last issue...
                                                           done	 for	 the	 purpose	 of	 developing	 wisdom.	
About being careful                                        Developing	 wisdom	 is	 for	 the	 purpose	 of	 lib-
	 Like	these	bodies	of	ours:	earth,	water,	fire	           eration,	freedom	from	all	these	conditions	and	
and	wind	-	where	is	the	person?	There	isn’t	any	           phenomena.	When	we	are	free	then	no	matter	
person.	 These	 few	 different	 things	 are	 put	 to-      what	our	situation,	we	don’t	have	to	suffer.	If	
gether	and	it’s	called	a	person.	That’s	a	false-           we	 have	 children,	 we	 don’t	 have	 to	 suffer.	 If	
hood.	 It’s	 not	 real;	 it’s	 only	 real	 in	 the	 way	   we	work,	we	don’t	have	to	suffer.	If	we	have	a	
of	 convention.	 When	 the	 time	 comes	 the	 el-          house,	we	don’t	have	to	suffer.	It’s	like	a	lotus	
ements	 return	 to	 their	 old	 state.	 We’ve	 only	       in	the	water.	‘’I	grow	in	the	water,	but	I	don’t	
come	to	stay	with	them	for	a	while	so	we	have	             suffer	because	of	the	water.	I	can’t	be	drowned	
to	let	them	return.	The	part	that	is	earth,	send	          or	burned,	because	I	live	in	the	water.’’	When	
back	to	be	earth.	The	part	that	is	water,	send	            the	water	ebbs	and	flows	it	doesn’t	affect	the	
back	to	be	water.	The	part	that	is	fire,	send	back	        lotus.	The	water	and	the	lotus	can	exist	together	
to	be	fire.	The	part	that	is	wind,	send	back	to	           without	conflict.	They	are	together	yet	separate.	
be	wind.	Or	will	you	try	to	go	with	them	and	              Whatever	is	in	the	water	nourishes	the	lotus	and	
keep	something?	We	come	to	rely	on	them	for	               helps	it	grow	into	something	beautiful.	
a	while;	when	it’s	time	for	them	to	go,	let	them	          	 Here	 it’s	 the	 same	 for	 us.	 Wealth,	 home,	
go.	When	they	come,	let	them	come.	All	these	              family,	 and	 all	 defilements	 of	 mind,	 they	 no	
phenomena	(sabhāva)	appear	and	then	disap-                 longer	defile	us	but	rather	they	help	us	develop	
pear.	That’s	all.	We	understand	that	all	these	            pāramı,	 the	 spiritual	 perfections.	 In	 a	 grove	 of	
things	are	flowing,	constantly	appearing	and	dis-          bamboo	the	old	leaves	pile	up	around	the	trees	
appearing.	                                                and	 when	 the	 rain	 falls	 they	 decompose	 and	
	 Making	offerings,	listening	to	teachings,	prac-          become	fertilizer.	Shoots	grow	and	the	trees	de-
ticing	 meditation,	 whatever	 we	 do	 should	 be	         velop	because	of	the	fertilizer,	and	we	have	a
แสงธรรม 16     Saeng Dhamma
source	of	food	and	income.	But	it	didn’t	look	          Things	degenerate	and	reach	their	limit.	But	we	
like	anything	good	at	all.	So	be	careful	-	in	the	      remain	constant.	It’s	like	when	there	was	a	fire	
dry	season,	if	you	set	fires	in	the	forest	they’ll	     in	Ubon	city.	People	bemoaned	the	destruction	
burn	up	all	the	future	fertilizer	and	the	fertilizer	   and	shed	a	lot	of	tears	over	it.	But	things	were	
will	turn	into	fire	that	burns	the	bamboo.	Then	        rebuilt	after	the	fire	and	the	new	buildings	are	
you	won’t	have	any	bamboo	shoots	to	eat.	So	if	         actually	bigger	and	a	lot	better	than	what	we	
you	burn	the	forest	you	burn	the	bamboo	ferti-          had	 before,	 and	 people	 enjoy	 the	 city	 more	
lizer.	If	you	burn	the	fertilizer	you	burn	the	trees	   now.	
and	the	grove	dies.	                                    	 This	is	how	it	is	with	the	cycles	of	loss	and	
	 Do	you	understand?	You	and	your	families	             development.	 Everything	 has	 its	 limits.	 So	 the	
can	 live	 in	 happiness	 and	 harmony	 with	 your	     Buddha	 wanted	 us	 to	 always	 be	 contemplat-
homes	 and	 possessions,	 free	 of	 danger	 from	       ing.	 While	 we	 still	 live	 we	 should	 think	 about	
floods	or	fire.	If	a	family	is	flooded	or	burned	it	    death.	Don’t	consider	it	something	far	away.	If	
is	only	because	of	the	people	in	that	family.	It’s	     you’re	poor,	don’t	try	to	harm	or	exploit	oth-
just	like	the	bamboo’s	fertilizer.	The	grove	can	       ers.	 Face	 the	 situation	 and	 work	 hard	 to	 help	
be	burned	because	of	it,	or	the	grove	can	grow	         yourself.	If	you’re	well	off,	don’t	become	for-
beautifully	because	of	it.	                             getful	in	your	wealth	and	comfort.	It’s	not	very	
	 Things	 will	 grow	 beautifully	 and	 then	 not	      difficult	for	everything	to	be	lost.	A	rich	person	
beautifully	 and	 then	 become	 beautiful	 again.	      can	 become	 a	 pauper	 in	 a	 couple	 of	 days.	 A	
Growing	 and	 degenerating,	 then	 growing	 again	      pauper	can	become	a	rich	person.	It’s	all	ow-
and	degenerating	again	-	this	is	the	way	of	world-      ing	to	the	fact	that	these	conditions	are	imper-
ly	phenomena.	If	we	know	growth	and	degen-              manent	 and	 unstable.	 Thus,	 the	 Buddha	 said,	
eration	for	what	they	are	we	can	find	a	conclu-         ‘’Pamādo	maccuno	padam:	Heedlessness	is	the	
sion	to	them.	Things	grow	and	reach	their	limit.	       way	to	death.’’	The	heedless	are	like	the	dead.	




  คุณอรพรรณ	ดีวอย	พร้อมคณะญาติมิตร	ร่วมกันท�าบุญอุทิศส่วนกุศลให้แด่คุณพ่อคุณแม่และสามี	๑	พฤษภาคม	๒๕๕๔
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma
Don’t	be	heedless!	All	beings	and	all	sankhārā             the	world.	All	the	things	they	do	are	worldly	and	
are	unstable	and	impermanent.	Don’t	form	any	              have	their	limits,	like	the	beetle	scratching	away	
attachment	to	them!	Happy	or	sad,	progressing	             at	the	earth.	The	hole	may	go	deep,	but	it’s	in	
or	falling	apart,	in	the	end	it	all	comes	to	the	          the	earth.	The	pile	may	get	high,	but	it’s	just	a	
same	place.	Please	understand	this.	                       pile	of	dirt.	Doing	well,	getting	a	lot,	we’re	just	
	 Living	in	the	world	and	having	this	perspec-             doing	well	and	getting	a	lot	in	the	world.	
tive	we	can	be	free	of	danger.	Whatever	we	may	            	 Please	 understand	 this	 and	 try	 to	 develop	
gain	or	accomplish	in	the	world	because	of	our	            detachment.	 If	 you	 don’t	 gain	 much,	 be	 con-
good	kamma,	it	is	still	of	the	world	and	subject	          tented,	understanding	that	it’s	only	the	worldly.	
to	decay	and	loss,	so	don’t	get	too	carried	away	          If	you	gain	a	lot,	understand	that	it’s	only	the	
by	it.	It’s	like	a	beetle	scratching	at	the	earth.	        worldly.	 Contemplate	 these	 truths	 and	 don’t	
It	can	scratch	up	a	pile	that’s	a	lot	bigger	than	         be	heedless.	See	both	sides	of	things,	not	get-
itself,	but	it’s	still	only	a	pile	of	dirt.	If	it	works	   ting	stuck	on	one	side.	When	something	delights	
hard	it	makes	a	deep	hole	in	the	ground,	but	it’s	         you,	hold	part	of	yourself	back	in	reserve,	be-
still	only	a	hole	in	dirt.	If	a	buffalo	drops	a	load	      cause	 that	 delight	 won’t	 last.	 When	 you	 are	
of	 dung	 there,	 it	 will	 be	 bigger	 than	 the	 bee-    happy,	don’t	go	completely	over	to	its	side	be-
tle’s	pile	of	earth,	but	it	still	isn’t	anything	that	     cause	soon	enough	you’ll	be	back	on	the	other	
reaches	to	the	sky.	It’s	all	dirt.	Worldly	accom-          side	with	unhappiness.	
plishments	are	like	this.	No	matter	how	hard	the	
beetles	work,	they’re	just	involved	in	dirt,	mak-                            The End
ing	holes	and	piles.	
	 People	who	have	good	worldly	kamma	have	
the	intelligence	to	do	well	in	the	world.	But	no	
matter	how	well	they	do	they’re	still	living	in	




 “คณะกลุมเพือนรัก”	โดยคุณพวงทิพย์	และเพือน	ๆ	ท�าบุญบังสุกลรวมญาติ	ปัจจัยสมทบทุนสร้างอาคาร	๘๐	ปี	$	700
        ่ ่                             ่                ุ
แสงธรรม 18     Saeng Dhamma

     Tomorrow
        Man
      Essays On The Dhamma
         By Luang Ta Chi
     Edited by Du Wayne Engelhart

    ...Continued from last issue...                      and	 not	 race	 against	 time	 in	 performing	 good	
                                                         deeds?	 	 Do	 not	 let	 time	 pass	 without	 making	
	 V. Tomorrow Man
	  	                                                     good	use	of	it.		As	minute	by	minute	passes,	life	

	F      rom	 the	 time	 we	 are	 born,	 time	 con-
        tinuously	from	the	beginning	to	the	end	
shortens	 our	 lives.	 	 Depending	 upon	 various	
                                                         is	getting	shorter.		We	therefore	must	hurriedly	
                                                         carry	out	some	worthy	work	now,	this	minute,	
                                                         today,	 this	 month,	 this	 year.	 	 Do	 not	 put	 off	
conditions	and	causes	added	up	through	time,	            working	on	something	good.		Remind	yourself	of	
some	 of	 us	 have	 a	 short	 life	 and	 some	 of	 us	   what	the	Buddha	asked:	“As	day	and	night	are	
have	a	long	one.		Life	is	usually	short	for	those	       passing	by,	what	have	you	been	doing?”
who	 have	 not	 kept	 themselves	 healthy,	 and	         					There	are	three	steps	for	worthy	actions:
long	for	those	who	have	done	the	right	thing.	       	   					 First, one must have knowledge.
The	Buddha	once	said,		                                           Secondly, one must seek riches.
	 Yatha dandana gopala gavo pajeti gocaram                        Thirdly, one must seek what is moral
   Evam jara ca najju ja ayum pajenti pani-              and what is righteous.
nam                                                      					In	present-day	society	most	people	can	per-
	 Just	as	a	person	taking	care	of	cows	leads	            form	the	first	two	steps	for	worthy	actions	very	
them	to	land	where	they	can	eat,	so	do	aging	            well.		There	are,	of	course,	some	exceptions.		A	
and	death	the	lives	of	all	beings.	                      few	people,	who	prefer	“folding	their	arms”	to	
	 Those	 of	 you	 who	 desire	 happiness	 and	           trying	to	do	something,	can	be	viewed	as	ones	
progress	in	life	should	not	feel	so	overconfident	       who	are	careless	and	neglect	their	own	living.	        	
that	you	fail	to	do	the	good	things	your	duty	           Since	knowledge	and	riches	are	basic	to	happi-
and	 professions	 require.	 	 As	 time	 never	 stops	    ness	and	a	life	free	from	harm,	lacking	the	two	
running,	how	can	one	feel	satisfied	with	oneself	        will	cause	a	difficult	life,	suffering	from	living	be-
แสงธรรม 19 Saeng Dhamma
low	the	usual	level,	and	missing	the	commonly	                      Fighting for possession of a husband or
expected	 enjoyment	 of	 life.	 	 Therefore,	 one	           wife.
should	 not	 wait	 until	 tomorrow	 but	 act	 now,	                 Fighting for possession of power.
today,	to	undertake	these	worthy	actions.	                   					Those	who	keep	away	from	spiritual	develop-
	 The	third	worthy	action,	however,	does	not	                ment	lack	one	important	foundation	of	life.		No	
attract	most	of	us.		We	are	not	as	much	inter-               matter	how	high	their	knowledge	and	degrees	
ested	in	it	as	we	should	be.		We	often	put	it	off	           are—whether	they	are	the	B.A.,	the	M.A.,	or	the	
until	 tomorrow	 and	 tomorrow.	 	 Some	 people	             Ph.D.—together	with	the	riches	of	a	millionaire,	
keep	delaying,	and	until	the	time	they	reach	the	            they	 are	 only	 to	 be	 haunted	 by	 the	 riches	 of	
cemetery,	they	never	suitably	live	a	moral	and	              a	 millionaire,	 they	 are	 only	 to	 be	 haunted	 by	
righteous	life.		This	type	of	person	always—as	it	           mental	disorder	and	have	mental	hospitals	as	
is	said	in	Thai—“closes	his	ears	whenever	some-              the	places	where	they	stay.		It	seems	proper,	
one	asks	him	to	hear	the	Dhamma.”		This	is	es-               therefore,	to	present	the	story	of	the	“Tomor-
pecially	true	for	those	who	are	so	attached	to	              row	Man”	to	you	as	something	to	think	about.		
material	things,	they	hardly	want	to	hear	about	             	 Our	 Buddha	 is	 the	 one	 who	 has	 been	 en-
spiritual	 things.	 	 Anything	 spiritual,	 to	 them,	 is	   lightened,	who	has	been	awakened	and	who	has	
out	 of	 date,	 prehistoric,	 and	 suitable	 only	 for	      helped	awaken	others	to	become	like	himself.	         	
a	mind	not	able	to	think	very	much.		To	them,	               He	was	not	guilty	of	neglect—letting	time,	days,	
problems	can	be	solved	only	by	what	is	mate-                 months,	and	years	pass	by	uselessly.		Without	
rial;	material	things	can	provide	happiness	in	all	          him,	our	lives	would	not	be	producing	anything,	
parts	of	life	in	modern	societies.		To	them,	look-           like	fallen	logs	in	the	jungle;	even	those	logs	are	
ing	 for	 spiritual	 knowledge	 is	 wasting	 valuable	       more	useful	than	those	who	lack	what	is	moral	
time	and	useful	only	to	a	way	of	thinking	that	              and	righteous.		
is	out	of	date.		Spiritual	development	is	not	for	           	 Many	 of	 us,	 when	 encouraged	 to	 perform	
those	who	were	born	in	more	modern	scientific	               good	deeds	according	to	religious	principles,	of-
and	technological	times.		These	are	in	general	              ten	say	it	is	not	quite	the	right	time	yet.		Spiritual	
the	ways	people	concerned	about	what	is	ma-                  things	can	wait.		This	is	the	time	to	make	a	liv-
terial	look	at	things.		This,	in	turn,	leads	them	to	        ing.		No	need	to	be	concerned	yet	about	moral	
take	advantage	of	one	another,	to	race	against	              and	righteous	things.		Making	a	living	takes	a	lot	
one	another	in	greed.				Finally,	undesirable	ten-           of	 time;	 I	 have	 no	 time	 left	 for	 the	 Dhamma,	
dencies	are	developed:                                       for	spiritual	development.		There	are	365	days	
                                                             or	12	months	in	a	year.		Couldn’t	one	set	aside	
				Fighting for possession of food.                         about	50	days	or	one	and	a	half	months	for	the	
    Fighting for possession of land.                         Dhamma?
แสงธรรม 20      Saeng Dhamma
	 The	 Dhamma	 is	 none	 other	 than	 what	 is	            								Abhittharetha kalayane
good,	what	is	righteous,	and	what	is	true.		Those	                 Papa cittam nivarave
who	 are	 interested	 in	 the	 Dhamma	 are	 inter-                 Dantham hi karato punnam
ested	in	these	things.		Whatever	our	race,	lan-                    Papasmim ramati mano
guage,	 or	 religion,	 we	 all	 desire	 what	 is	 good,	        Lose no time to do good and protect
righteous,	 and	 true.	 	 Goodness	 is	 so	 universal	          one’s mind from bad thoughts, because
that	everyone	should	be	interested	in	it.		Those	               when one delays doing good, one’s
who	ignore	goodness	and	constantly	delay	mak-                   mind will turn to enjoyment of bad ideas.
ing	good	efforts	are	the	ones	who	deserve	the	             	 As	 water,	 by	 its	 nature,	 always	 flows	 to	 a	
name	of	“Tomorrow	Man.” Not	a	bad	name.	               	   lower	level,	the	mind	will	flow	to	bad	thoughts.	   	
A	nice	name,	one	might	say.		That	is	why	there	            To	protect	one’s	mind	from	looking	for	a	lower	
are	unbelievably	large	numbers	of	“Tomorrow	               level,	the	Buddha	encourages	us	to	not	delay	
Men”	and	“Tomorrow	Women”	in	our	society	                  in	doing	good	deeds.		It	is	the	good	deed	that	
today.		The	tomorrow	men	and	women	delay	                  protects	the	mind	from	turning	to	what	is	bad.	     	
doing	 good	 and	 delay	 spiritual	 development.	      	   If	one	is	talking	about	what	is	bad,	everybody	is	
They	think	they	should	enjoy	as	much	as	pos-               afraid	of	it.		Nobody	wants	it.		Even	the	word	bad	
sible	their	“youth”	(however	they	define	it)	and	          nobody	wants	to	hear.		No	one	should,	there-
save	the	spiritual	for	“old”	age.		                        fore,	act	like	the	“Tomorrow	Man.”		Instead	eve-
                                                           ryone	should	become	the	“Today	Person,”	doing	
					The	Buddha	teaches	us	good	activities	today,	
                                                           good	deeds	now.		
right	now	at	this	minute.		As	for	tomorrow,	no-            					The	Buddha	says,
body	knows	what	is	going	to	happen.		Besides,	
nobody	can	ever	catch	up	with	tomorrow,	be-                										Accenti kala tarayanti rattiyo
cause	tomorrow	always	keeps	moving	one	day	                          Vayo guna anupubbam jahanti
ahead	of	us,	just	like	a	Western	saying,	“Tomor-                     Atam bhayam marane pekkhamano
row never comes.” 	Tomorrow	does	not	really	                         Punnank kayiratha sukhavahani
exist;	there	is	only	today.		Therefore,	my	dear	
friends,	do	perform	good	deeds	today.		As	was	                    Time passes by, day, night, month, and
said	earlier,	we	may	not	live	to	see	tomorrow.	        	          year slowly disappear. Old age comes
When	the	time	to	die	comes,	nobody	can	argue,	                    closer, and lifetime gets shorter.
delay,	 or	 come	 to	 an	 agreement	 with	 death.	     	          Considering such danger, all of you
The	right	thing	to	do	is	to	follow	the	Buddha’s	                  should do only good things that will
teaching	that	says,                                               bring happiness.
แสงธรรม 21 Saeng Dhamma
						Think	about	this,	all	you	tomorrow	men!	 									 Punnance puriso kayira
                                                    	
Time	is	taking	the	life	of	all	living	beings,	one	by	         Kayirathenam punapunam
one;	the	old	and	the	young,	the	poor	and	the	                 Tamhi chandam kayiratha
rich,	the	foolish	and	the	wise,	the	bad	and	the	              Sukho punnassa uccaayo
good,	all	are	taken	by	time.		No	one	has	an	ad-
vantage	over	another.		Everyone’s	life	is	treated	            When one makes an effort to do good,
equally	by	time.		The	Buddha	reminds	us,                      one should do it again and again and
                                                              be happy for having done so. The
									As days and nights pass by, life will                adding up of good deeds will bring
         pass away. All living things will come to            happiness.
        an end, like water in a dried-up river. 	 Happiness	is	the	top	desire	of	all	of	us.		Hap-
					The	voice	of	the	Dhamma	speaks	to	all	of	you,	 py	lives	need	food	from	good	deeds.		Life	with-
friends	of	Buddhism,	the	wish	that	you	will	not	 out	good	deeds	will	dry	up	and	endlessly	burn	
be	careless,	not	lack	mindfulness	(sati),	and	will	 with	 the	 heat	 of	 a	 desire	 for	 things	 one	 does	
not	keep	delaying	good	deeds	until	tomorrow,	 not	have.		 Therefore,	look	for	good	deeds	 by	
next	month,	or	next	year.		We	wish	you	to	stop	 strengthening,	 developing,	 and	 gaining	 moral-
deceiving	yourselves	and	putting	yourselves	in	 ity	(sila),	concentration	(samādhi),	and	wisdom	
an	 inescapable	 trap	 of	 bad	 thoughts	 and	 ac- (paññā);	for	such	will	bring	peacefulness,	clean-
tions.		Make	a	good	effort	now,	this	minute,	to- liness,	and	Enlightenment	of	the	mind	leading	
day,	this	month	and	this	year.		When	you	make	 you	 to	 eternal	 happiness.	 	 The	 voice	 of	 the	
a	good	effort	once,	do	it	again	and	again,	with	 Dhamma	wishes	each	and	every	person	peace-
the	satisfaction	that	you	have	done	well—as	in	 fulness	and	happiness	under	the	golden	canopy	
one	of	the	Buddha’s	sayings:                          of	the	Buddha’s	teaching.




 คุณจินตนา	งามสอาด	พร้อมลูกหลาน	ท�าบุญวันเกิดให้คณพยุง
                                                 ุ       คุณแซม-คุณทรวง-น้องแมทธิว	ท�าบุญวันเกิดให้นองเมย์
                                                                                                    ้
แสงธรรม 22    Saeng Dhamma
                 ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี.
                                                 ิ




                 Those	who	are	interested	in	Thai	Theravada	Buddhism	and	mem-
                 bers	of	the	general	public	are	cordially	invited	to	Wat	Thai,	D.C.,	
                 Temple	to	pay	their	respect	to	or	simply	view	the	Buddha	relics	on	
                 display	in	the	chanting	hall.


ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือน มิถุนายน
ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 11 มิถุนายน 2554
ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามแนวพระไตรปิฎก
          � สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี
          � ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากัจฉา
          � เจริญจิตตภาวนา - แผ่เมตตา
            พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
แสงธรรม 23           Saeng Dhamma



                                                      เสียงธรรม.. จากวัดไทย  พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)



                                                      ความทุกข์
	 	         ทุกฺขเมว			หิ		สมฺโภติ								 ทุกฺขํ		ติฏฺฐติ		เวติ		จ
	         	 นาญฺญตฺร		ทุกฺขา		สมฺโภติ		 นาญฺญตฺร		ทุกฺขา		นิรุชฺฌติ.
	         ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น		ทุกข์เท่านั้นตั้งอยู่และดับไป		นอกจากทุกข์
	         ไม่มีอะไรเกิด		นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ


	ท่          านสาธุชนผู้สนใจในธรรมทั้งหลาย	 	 ท่านอ่าน
             ธรรมบรรยายข้างบนนั้นแล้ว	 	 เป็นอย่างไรบ้าง	
ท่านมีความรูสกนึกคิดอะไรบ้างหรือเปล่าหรือเฉย	ๆ		เอาละ	
                ้ึ
                                                                        	
                                                                            ลักษณะพินิจพิเคราะห์ถึงข้อธรรมที่เคยศึกษาเล่าเรียนมา
                                                                            แล้วในอดีต		ทันใดนั้น			สภาพแวดล้อมต่าง	ๆ	ก็ปรากฏ
                                                                            ขึ้นในมโนภาพ	 	 ท�าให้เห็นปรากฏการณ์สารพัดอย่างใน
!	 ข้าพเจ้าจะไม่เดาใจหรือทายใจอะไรของท่านทั้งนั้น	                          สังคมมนุษย์		ยิงพินจจิตก็ยงเห็นสภาพเหล่านันแจ่มชัดขึน
                                                                                            ่ ิ        ิ่                  ้          ้
ปล่อยให้ท่านตัดสินใจ	 	 แล้วก็ตอบตัวเองก็แล้วกัน	 	 แต่                     ทุกที		สภาพอะไรหรือท่าน?		อ๋อ		ก็สภาพความทุกข์ของ
ส�าหรับตัวของข้าพเจ้าเอง	 	 พอโสตประสาทกระทบกับ                             มนุษย์ไงเล่า!	 	 เกิดมาเป็นมนุษย์	 	 หรือที่เราเรียกกันเป็น
เสียงธรรมข้างบนนั้นเข้า	 	 ก็ดูเหมือนมีอะไรมาสะกิดใจ	                       ภาษาสามัญว่า “คน”	นี่	 		มันช่างเต็มไปด้วยความทุกข์
ท�าให้ระบบการท�างานของประสาททุกส่วนสงบเงียบอยู่                             นานาประการ		สารพัดทุกข์ยากที่จะบอกได้	 	ถ้าจะเรียก
ครู่หนึ่ง	 	 	 แล้วก็ร�าพึงออกมากับตัวเองอย่างแผ่วเบาว่า	                   ว่ามนุษย์แต่ละคนนี้คือ		“ก้อนแห่งความทุกข์”		ก็คงไม่
ความทุกข์				หลังจากนั้น		เมื่อจิตกลับเข้าสู่สภาพปกติมี                     ผิด	 	 ท่านทั้งหลายจะเห็นด้วยกับข้าพเจ้าหรือเปล่าก็ไม่
สติ สั ม ปชั ญ ญะดี แ ล้ ว 	 	 ความคิ ด ชนิ ด หนึ่ ง ก็ เ กิ ด ขึ้ น ใน     ทราบ		แต่ข้าพเจ้ามีความเห็นอย่างนี้จริง	ๆ
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี Panuwat Beforetwo
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 

Was ist angesagt? (18)

สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 

Ähnlich wie Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011

ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 

Ähnlich wie Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 (20)

Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 

Mehr von Wat Thai Washington, D.C.

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"Wat Thai Washington, D.C.
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 

Mehr von Wat Thai Washington, D.C. (11)

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C. Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
 
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDCLoykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
คนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
 

Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011

  • 1. ทุกชีวิตมีปัญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ วารสารธรรมะรายเดือนที่เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา แสงธรรม ฉบับ มุทิตาสักการะ ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔๓๔ ประจำาเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ Saeng Dhamma Vol.36 No.434 June 2011 ๘๖ ปี หลวงตาชี
  • 2. สื่อส่องทาง สว่างอ�าไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปัญหำ พระพุทธศำสนำมีทำงแก้ วำรสำรธรรมะรำยเดือนที่เก่ำแก่ที่สุดในอเมริกำ ปีที่ 36 ฉบับที่ 434 ประจ�ำเดือนมิถุนำยน พ.ศ. 2554 Vol.36 No.434 June, 2011 Objectives : �To promote Buddhist activities. สำรบัญ �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. Contents �To promide a public relations center for Buddhists living in the United States. The Buddha’s Words.............................................. 1 ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ........................................ 2 เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ใครคือคนใกล้พระ คนใกล้พระคือใคร? .................... 3 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี ภาวะผู้น�า... กับธรรมะ ............................................ 6 กองบรรณาธิการ : ก�าหนดการ “ธรรมสมโภช ๘๖ ปี ชีวานันทะ” ......... 7 ดร.พระมหำถนัด อตฺถจำรี Emptiness By Ven. Buddhadasa..................................... 11 พระสมุห์ณัฐิวุฒิ ปภำกโร About Being Careful By Ven. Ajanh Chah.............. 15 พระจรินทร์ อำภสฺสโร TOMORROW MAN By Ven. Laung Ta Chi................................. 18 พระมหำเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญำโณ พระสุริยำ เตชวโร ปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือนมิถุนำยน............................... 22 พระมหำสรำวุธ สรำวุโธ เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23 พระมหำประดู่ชัย ภทฺทธมฺโม ประมวลภาพกิจกรรมเดือนพฤษภาคม.................... 30 พระมหำศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 พระมหำค�ำตัล พุทฺธงฺกุโร ท่องแดนพระพุทธศำสนำ ๒,๓๐๐ ปี ดร.พระมหำถนัด 39 พระอนันต์ภิวัฒน์ พุทฺธรกฺขิโต สำระธรรมจำก...พระไตรปิฎก ................................... 42 และอุบำสก-อุบำสิกำวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. อนุโมทนำพิเศษ / Special Thanks............................ 43 Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45 SAENG DHAMMA Magazine รำยนำมผู้บริจำคเดือนพฤษภำคม Ven.Pradoochai 48 is published monthly by รำยนำมผู้บริจำคออมบุญประจ�ำปีและเจ้ำภำพภัตตำหำรเช้ำ..53 Wat Thai Washington, D.C. Temple รำยนำมเจ้ำภำพถวำยเพล / Lunch............................54 At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 ก�ำหนดกำรท�ำบุญวันอำสำฬหบูชำ-วันเข้ำพรรษำ .......62 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 Fax : 301-871-5007 Photos taken by E-mail : watthaidc@hotmail.com Ven. Pradoochai, Ven. Khumtan Homepage : www.watthaidc.org Ven. Ananphiwat, Ven.Srisuporn Radio Network : www.watthai.iirt.net Mr. Kevin & Mr. Sam 2,500 Copies Bank & Ms. Golf
  • 3. ถ้อยแถลง เย็นร่างกายเมื่อได้อาศัยร่ม เย็นอารมณ์เมื่อฟังธรรมน�าวิถี เย็นจิตใจเมื่อได้ปฏิบัติดี เพราะเรามี “ หลวงตาชี ” คอยชี้ทาง นีคอถ้อยธรรมค�ำประพันธ์ท “ไม้ออน” ได้กล่ำวถึงบทบำทของควำมเป็นนักเทศน์ นักปรำชญ์ นักเขียน นักประพันธ์ ่ื ี่ ่ ทีพระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตำชี) ได้มอดมกำรณ์เพือปฏิบตศำสนกิจ ณ ดินแดนแห่งนีดวยควำมทุมเทชีวตจิตใจ เผยแผ่ ่ ีุ ่ ัิ ้้ ่ ิ พระพุทธศำสนำโดยกำรเทศน์สอน เขียนบทควำมธรรมะให้อ่ำนให้คิด โดยยึดหลักที่ว่ำ “เมื่อศีลธรรมกลับมาพาใจ สุข ไล่ความทุกข์เศร้าโศกวิโยคหนี ให้ลูกหลานหมั่นท�าแต่ความดี ชีวิตนี้มีแต่สุขทุกวันเอย” อีกทั้งยังได้ปฏิบัติ ตนเพือเป็นแบบอย่ำงให้พระธรรมทูต ตลอดถึงชำวพุทธทังหลำยได้ชวยกันสืบสำนงำนพระพุทธศำสนำให้เจริญรุงเรือง ่ ้ ่ ่ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป “แสงธรรม” ฉบับเดือนมิถนำยนนี เป็นฉบับวำระพิเศษ เนืองในโอกำสวันคล้ำยวันเกิดของพระเดชพระคุณพระวิเทศ ุ ้ ่ ธรรมรังษี (หลวงตำชี) ซึงได้เวียนมำบรรจบอีกครังในวันที ๙ มิถนำยน โดยในปีนคณะศิษยำนุศษย์ “กลุมรวมน�าใจ ่ ้ ่ ุ ี้ ิ ่ ้ ใฝ่ธรรม” เมืองไมอามี่ รัฐฟลอริดา น�ำโดยคุณยงยุทธ – คุณศิรพรรณ เนตรทองค�า ได้รบเป็นประธานจัดงาน “ท�าบุญ ิ ั ธรรมสมโภชอายุวฒนมงคลครบ ๘๖ ปี พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)” ในวันที่ ๑๑ – ๑๒ มิถนายน ๒๕๕๔ ั ุ โดยมีกำรประพฤติวตรปฏิบตธรรม บรรยำยธรรม สนทนำธรรม เพือน้อมถวำยเป็นอำจริยบูชำในส่วนกตัญญูกตเวทิตำ ั ัิ ่ ธรรม นอกจำกนัน ยังมีกำรนิมนต์พระสงฆ์ทรงสมณศักดิเ์ จริญพระพุทธมนต์ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร สวดทักษิณำนุประทำน ้ และแสดงพระธรรมเทศนำ จึงขอเชิญชวนท่ำนสำธุชนทั้งหลำยร่วมเป็นเจ้ำภำพโรงทำน ถวำยภัตตำหำรเช้ำ – เพล น�้ำปำนะ และเครืองไทยธรรมแด่พระสงฆ์ โดยพร้อมเพรียงกัน ติดต่อได้ทคณะสงฆ์วดไทยฯ ดี.ซี. ่ ี่ ั ส�ำหรับท่ำนที่มีควำมประสงค์จะส่งบุตรหลำนมำเรียนภำษำไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย มำรยำทไทย และดนตรีไทย ปีนี้โครงกำรโรงเรียนวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ภำคฤดูร้อน ร่วมกับคณะครุศำสตร์ฯ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ปฐมนิเทศเปิดเรียนในวันอาทิตย์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๔ อย่ำลืม! ติดต่อขอใบสมัครได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สุดท้ำย ขอฝำกมรดกธรรม “ใหม่ตลอดกาล” จำกหนังสือ “๗ รอบ ๑๒ ราศี หลวงตาชีแจกธรรม” เพื่อ เชิญทุกท่ำนได้ร่วมประพฤติปฏิบัติธรรมและร่วมงำนธรรมสมโภช ๘๖ ปี หลวงตำชี ในวันอาทิตย์ที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๔ ตั้งแต่เวลำ ๐๘.๓๐ น. เป็นต้นไป ธรรมะทันสมัย เป็นของใหม่ตลอดกาล คงทนอยู่ได้นาน ตลอดกาลนิรันดร ขอเชิญทุกทุกท่าน สมาทานประพฤติธรรม ชีวิตจะชื่นฉ�่า ในพระธรรมทุกวันคืน จะหลับหรือจะตื่น ทุกวันคืนจิตผ่องใส จะพบแต่ของใหม่ ตลอดไปชั่วชีวันฯ ขออ�ำนวยพรให้ทุกท่ำนจงจริญรุ่งเรืองอยู่ภำยใต้ร่มโพธิ์ทองของพระพุทธศำสนำโดยทั่วหน้ำกัน เทอญ คณะผู้จัดท�า
  • 4. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต อตฺตนา ว กตํ ปาปํ อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ อตฺตนา อกตํ ปาปํ อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย. (๑๖๕) ตนทําบาปเอง ตนก็เศร้าหมองเอง ตนไม่ทาบาป ตนก็บริสทธิเ์ อง ความบริสทธิ์ ํ ุ ุ หรือไม่บริสทธิเ์ ป็นของเฉพาะตน คนอืนจะให้คนอืนบริสทธิแทนไม่ได้ ุ ่ ่ ุ ์ By oneself is evil done, by oneself does one get defiled, by oneself is evil left undone. Purity or impurity depends on oneself, no one can purify another.
  • 5. แสงธรรม 2 Saeng Dhamma ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ บรรดาสานุศิษย์ จิตเกษม ลูกโยคีไมอามี่ เปรมปรีดิ์ศรี พุทธศาสนิกชน ร่วมยินดี อัญชลีหลวงตาชี บุราจารย์ ในวาระที่พ่อพระ เจริญพรรษา ๙ มิถุนา ๘๖ ปี ศรีพิศาล ศิษย์ทุกคนแซ่ซ้อง สาธุการ ด้วยดวงมานชื่นชม สมฤดี ข้าพเจ้าผู้แทน สานุศิษย์ อัญชลิตสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทุกราศี ขออัญเชิญพระตรัยรัตน์ นฤบดี องค์นารายณ์เรืองฤทธี ทั้งภพตรัย โปรดประทานสรรพสิ่ง พรวิเศษ พระวิเทศธรรมรังษี สุขสดใส พรรษายืนกว่าร้อย เป็นร่มไทร คุ้มโพยภัยสานุศิษย์ นิจนิรันดร์ สุรเชฐษ์ เฟื่องฟู ประพันธ์บทในนาม คุณยงยุทธ-คุณศิริพรรณ เนตรทองค�า และสานุศิษย์ไมอามี่
  • 6. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma ใครคือคนใกล้พระ คนใกล้พระคือใคร? มุทิตำสักกำระ ข้ำพเจ้ำขอน้อมรับโอกำสอันทรงเกียรติอีกครั้ง ที่ได้เป็นตัวแทนของกลุ่มรวมน�้ำใจใฝ่ธรรม เมืองไมอำมี่ ในกำรแสดงควำมกตัญญูกตเวทิตำต่อท่ำนเจ้ำคุณอำจำรย์ พระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี (ท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี) ที่พวกเรำสำธุชนเคำรพรักอย่ำงสูง ข้ำพเจ้ำได้เคยเขียนถึงปฏิปทำของท่ำนเจ้ำคุณหลวง ตำชีเอำไว้มำกมำยในหนังสือ ที่ได้เคยพิมพ์แจกเป็นธรรมทำนมำแล้วตั้งแต่ปี ๒๕๔๖-๒๕๕๓ จนมำถึง ๒๕๕๔ คือเล่มที่ท่ำนถืออยู่ในมือขณะนี้ ข้ำพเจ้ำขออนุญำตกรำบเรียนท่ำนผู้อ่ำนตำมตรง เนื่องด้วยข้ำพเจ้ำทรำบถึง ตัวเองดีว่ำ ยังเป็นผู้มีควำมรู้น้อยด้อยปัญญำนัก ยังไม่สำมำรถเขียนพรรณนำออกมำเป็นตัวอักษรให้ท่ำนผู้อ่ำน เข้ำใจได้อย่ำงลึกซึ้งในปฏิปทำอันตั้งมั่นของท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี ที่มีต่อสังคมไทยและพระพุทธศำสนำ ท่ำน เป็นพระแท้ ท่ำนเลือกที่จะเสียสละประโยชน์ส่วนตน เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกำสให้ได้มีโอกำส มองเห็นแต่ ผลประโยชน์ส่วนรวมก่อนเสมอ ท่ำนสร้ำงโรงเรียนให้เด็กนักเรียนยำกจนให้มทเี่ รียนในหลำยสิบปีทผำนมำ นักเรียนยำกจนเหล่ำนันได้เติบโต ี ี่ ่ ้ เป็นผู้ใหญ่เรียนจบปริญญำโทหลำยรุ่นและก็ได้กลับไปช่วยรุ่นหลังต่อไป ท่ำนให้ทุนพระภิกษุสำมเณรเพื่อศึกษำ วิชำควำมรู้ ท่ำนบอกกับข้ำพเจ้ำว่ำกำรศึกษำคือสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดมำกกว่ำสิ่งอื่นใด ท่ำนจะสอนเสมอว่ำ
  • 7. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma หากจะพัฒนาชาติ ก็ให้เริ่มที่บุคคล ถ้าจะพัฒนาคน ก็ให้เริ่มที่ใจ อยากจะพัฒนาอะไร ก็ให้เริ่มที่ตัวเรา เงินทุกบำททุกสตำงค์ทสำธุชนถวำยท่ำนนันก็จะไปเป็นสำธำรณประโยชน์ทงสิน กล่ำวคือสร้ำงอำคำรเรียน ี่ ้ ั้ ้ ไฟฟ้ำ น�ำประปำ ให้ผคนจ�ำนวนมำกในถินทีขำดแคลนได้มโอกำสทัดเทียมเหมือนดังถินทีเจริญแล้ว และสร้ำงคน ้ ู้ ่ ่ ี ่ ่ ให้เป็นมนุษย์ที่ประเสริฐ ท่ำนพักผ่อนน้อยมำกเพียงวันละสองสำมชั่วโมงเท่ำนั้น เวลำทั้งหมดที่เหลือก็คือทุ่มเท รับใช้พระศำสนำ เมตตำธรรมที่เปี่ยมล้นของท่ำนมำกเกินกว่ำที่ข้ำพเจ้ำจะอธิบำยได้ เพรำะท่ำนคือธรรมทำยำท ในพระพุทธศำสนำ ด�ำเนินตำมค�ำตรัสสังสอนขององค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทีมตอสำวกของพระองค์ ท่ำนยึดหลัก ่ ่ี่ พุทธวิธอย่ำงแน่วแน่ ส�ำหรับข้ำพเจ้ำท่ำนคือพระโพธิสตว์เมืองคน ส่วนพวกเรำเหล่ำสำนุศษย์กคอเวไนยสัตว์ทรอ ี ั ิ ็ื ี่ ให้ทำนโปรด รอให้ทำนสอน และค�ำสอนของท่ำนก็เป็นสิงทีทำได้ไม่ยำก ไม่เกินควำมสำมำรถของคนธรรมดำอย่ำง ่ ่ ่ ่ � เรำจะกระท�ำได้ วิธีกำรสอนของท่ำนมีครบทั้ง ๓ โวหำร คือ ๑. ชี้แจงแสดงให้เข้าใจ (เทศนา) ๒. ขยายความเพิ่มให้เข้าใจ (พรรณนา) ๓. ยกตัวอย่างให้เข้าใจ (สาธก) ผูใดก็ตำมทีได้ปฏิบตตำมค�ำสอนของท่ำนใน“เจ็ดรักและเจ็ดทรัพย์” ข้ำพเจ้ำขอรับรองว่ำผูนนจะมีเทวดำ ้ ่ ัิ ้ ั้ รักษำ เป็นที่รักของบุคคลทั่วไป ทั้งยังเป็นผู้ที่อุดมสมบูรณ์ในโภคทรัพย์และอริยทรัพย์อีกด้วย พระพุทธองค์ทรง ตรัสสอนไว้ว่ำ หากต้องการจะดูบุคคลใด เป็นบุคคลที่ดีหรือไม่ดีอย่างไร ก็ให้ดูที่ภายนอกและภายในของบุคคลนั้น ภายนอกคือการกระท�า ภายในคือค�าสอน ทั้งสองประการนี้จะต้องตรงกัน พุทธวิธีในข้อนี้ตรงกับท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชีเป็นอย่ำงยิ่ง เพรำะท่ำนสอนพวกเรำอย่ำงไร ท่ำนก็รักษำ คุณธรรมเป็นปกติของท่ำนอย่ำงนันหรือยิงกว่ำนันกล่ำวคือ ท่ำนสอนให้พวกเรำขยันเป็นผ้ไม่สนโดษในกำรปฏิบติ ้ ่ ้ ู ั ั ดีและไม่ทอถอยในกำรปฏิบตควำมเพียร ซึงสิงทีทำนท�ำให้พวกเรำดูนนแสนยำกยิงกว่ำ หำกจะเปรียบกับค�ำกล่ำว ้ ัิ ่ ่ ่ ่ ั้ ่ ที่ว่ำ ยอมสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตนั้น คงไม่อาจใช้กับท่านได้เพราะส�าหรับท่านคือการยอมสละชีวิตเพื่อ รักษาธรรม ท่ำนได้เสียสละทั้งชีวิตของท่ำนมำยำวนำนตั้งแต่ข้ำพเจ้ำและท่ำนผู้อ่ำนยังไม่ได้เกิดมำเป็นมนุษย์ ชำติ จนมำบัดนี้แม้พรรษำท่ำนจะ ๘๖ ปี แล้วก็ตำม ท่ำนก็ยังคงมุ่งมั่นที่จะลำก จะจูง พวกเรำเหล่ำสำธุชนและ คนเป็นศิษยำนุศษย์ทงหลำย ให้เป็นผูรทนโลกธรรมทังแปดและให้เป็นผูตนจำกกิเลสอันก่อให้เกิดทุกข์ควำม ิ ั้ ้ ู้ ั ้ ้ ื่
  • 8. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma เศร้ำหมอง ท่ำนสอนศิษย์ให้รู้เท่ำทันกับตัณหำและอวิชชำ เป็นเพรำะเรำรู้ไม่เท่ำทันเรำจึงทุกข์ ท่ำนได้ให้ เครื่องมือส�ำหรับก�ำจัดทุกข์แก่พวกเรำก็คือกำรฝึกสติให้เกิดปัญญำ ท่ำนสอนข้ำพเจ้ำว่ำ สติปัญญำ ไม่มีเพศ ไม่มี ชนชั้น ไม่มีรวย ไม่มีจน และปัญญำคือแก้วสำรพัดนึก ปัญญาสว่างทั้งกลางวันกลางคืน ปัญญาปกครองคนได้ แสงสว่างเสมอด้วยปัญญานั้นไม่มี หำกจะให้ข้ำพเจ้ำเขียนถึงท่ำนเจ้ำคุณอำจำรย์หลวงตำชีรูปนี้ ข้ำพเจ้ำคงไม่ สำมำรถเขียนเป็นที่สุดได้ เพรำะคงจะเขียนเล่ำเรื่องรำวของท่ำนไปไม่รู้จบ คุณธรรมอันยิ่งใหญ่และเมตตำธรรม อันไพศำลทีทำนได้ทำให้แล้วแด่ปวงชน มีมำกมำยเกินกว่ำศิษย์นอยๆ อย่ำงข้ำพเจ้ำจะเขียนออกมำเป็นตัวอักษร ่ ่ � ้ อันวิจิตรได้ดั่งใจ ฉะนั้น ก่อนจะถึงบทสุดท้ำย ข้ำพเจ้ำขออนุญำตท่ำนผู้อ่ำนอีกครั้งเพื่อเฉลยค�ำตอบ ใครคือคน ใกล้พระ คนใกล้พระก็คือคนที่มี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ อยู่ในใจตลอดเวลา ทั้งยามหลับและยามตื่น ไม่ใช่คนที่มีบ้ำนใกล้วัด ไม่ใช่คนที่สำมำรถได้นั่งใกล้และจับชำยจีวรท่ำนอยู่ เรื่องคนใกล้พระนี้ท่ำนเจ้ำคุณหลวง ตำชี ท่ำนได้เขียนไว้ตั้งแต่เดือนมีนำคม พ.ศ. ๒๕๓๙ (๑๙๙๗) และท่ำนได้เขียนเป็นโคลงกลอนที่ไพเรำะดังนี้ คนใกล้พระ ใกล้ธรรม นั้นล�้าเลิศ ใจประเสริฐ เพราะมีธรรม พระพร�่าสอน อยู่ใกล้พระ ได้ช�าระ ละนิวรณ์ พระท่านสอน ให้เจริญ เดินตามธรรม ข้ำพเจ้ำขอเชิญชวนท่ำนผู้อ่ำนและสำธุชนทั้งหลำยจงมำเป็นคนใกล้พระกันเถอะ สุดท้ำยนี้เนื่องในศุภวำระอำยุครบ ๘๖ ปี ของท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี ข้ำพเจ้ำในฐำนะตัวแทนของศิษย์กลุ่ม รวมน�้ำใจใฝ่ธรรม ไมอำมี่ รัฐฟลอริดำ ขอตั้งจิตอธิษฐำนถวำยชัยมงคล กรำบอำรำธนำคุณพระศรีรัตนตรัยและ หลวงพ่อพระพุทธมงคลวิมล, ดี.ซี. และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วสำกลโลกโปรดคุ้มครองให้ท่ำนเจ้ำคุณหลวงตำชี มีสุขภำพ ที่แข็งแรง อำยุยืน อยู่เป็นร่มโพธิ์ ร่มไทรของศิษย์และปวงชน ตรำบนำนเท่ำนำนด้วยเทอญ กรำบนมัสกำรด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง ศิริพรรณ เนตรทองค�า ในนำมของศิษย์ลูกโยคี กลุ่มรวมน�้าใจใฝ่ธรรม ไมอามี่ ประธานจัดงานท�าบุญฉลองอายุวัฒนมงคลครบ ๘๖ ปี
  • 9. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma ภาวะผู้น�า...กับธรรมะ ถิ่นขวานทอง ของไทย ในอีสาน ปณิธาน “หลวงตาชี” ที่แน่วแน่ มุกดาหาร ค�าชะอี ที่อาศัย คือเผยแผ่ หลักธรรม น�าถึงแก่น บ้านโพนงาม ถิ่นก�าเนิด น่าภูมิใจ เสียสละ อุทิศตน เพื่อตอบแทน จารึกไว้ “สุรศักดิ์ ธรรมรัตน์” ชื่อชัดเจน เป็นแบบแผน ชาวพุทธ สุดบูชา เกิดผู้น�า ตามรอย พระพุทธศาสนา ท่านสอนให้ ใช้แสงธรรม น�าชีวิต อันล�้าค่า ด้วยค�าสอน ที่โดดเด่น สติคิด รู้แก้ไข ในปัญหา ได้มาบวช ด้วยศรัทธา เป็นสามเณร ประเพณี วัฒนธรรม สืบทอดมา ท่านมุ่งเน้น ปฏิบัติธรรม น�าจิตใจ น้อมวันทา จากมวลศิษย์ นิจนิรันดร์ อุปสมบท บ�าเพ็ญพรต งดงามนัก มี “ภาวะ ผู้น�า...กับธรรมะ” “พระสุรศักดิ์ ชีวานนฺโท” ร่มโพธิ์ใหญ่ ไม่ลดละ สร้างสังคม ให้สุขสันต์ ครูผู้สอน ปริยัติ ธรรมวินัย สามัคคี ปรองดอง พี่น้องกัน วิปัสสนาจารย์ ครูผู้ให้ ใฝ่ท�าดี รักผูกพัน สายเลือดไทย ให้ยาวนาน ปีหนึ่งแปด จากเมืองไทย ไกลลัดฟ้า คือหลวงพ่อ “พระวิเทศธรรมรังษี” สู่อเมริกา เผยแผ่ธรรม น�าวิถี “แปดสิบหกปี” อายุวัฒน เกษมศานต์ สาธุชน คุ้นนามว่า “หลวงตาชี” ขออ�านาจ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ โปรดอภิบาล ณ วัดไทยฯ ดี.ซี. ชี้ทางธรรม คุ้มครองท่าน “หลวงตาชี” นี้ด้วยเทอญ สามสิบหกปี ที่สืบสาน งานพุทธศาสน์ ให้ต่างชาติ พร้อมชาวไทย ใจชุ่มฉ�่า นางสาวยุพา มาตยะขันธ์ (ครูยุ) ท�าให้ดู อยู่ให้เห็น เป็นประจ�า ครูใหญ่โรงเรียนวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ทุกถ้อยค�า สั่งสอนศิษย์ จิตเมตตา ภาคฤดูร้อน ปี ๒๕๕๓ เป็นแบบอย่าง พระสงฆ์ไทย ในต่างถิ่น ทุกศาสตร์ศิลป์ เชี่ยวชาญ การศึกษา พระธรรมทูต ผู้น�า มีธรรมา พัฒนา วัดไทย ในต่างแดน
  • 10. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำาบุญ ธรรมสมโภชอายุวัฒนมงคล ๘๖ ปี พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. มลรัฐแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ่ ๑๑ - ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๔ กำ�หนดก�ร วันเสาร์ที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ จัดปฏิบัติธรรม “ธรรมสมโภช ๘๖ ปีชีวานันทะ” ท�ำวัตรสวดมนต์ สมำทำนศีล ปฏิบตธรรม ฟังกำรบรรยำยธรรม สนทนำธรรม ถำมตอบปัญหำธรรมะ ัิ วันอาทิตย์ที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พิธีท�าบุญอายุวัฒนมงคล ครบ ๘๖ ปี พระวิเทศธรรมรังษี เวลำ ๐๗.๐๐ น. ถวำยภัตตำหำรเช้ำ เวลำ ๐๘.๓๐ น. พระสงฆ์และพุทธศำสนิกชนพร้อมกัน ณ อุโบสถ เวลำ ๐๙.๐๐ น. พระวิเทศธรรมรังษี จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย จุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย พิธีทักษิณำนุปทำน เวลำ ๑๐.๓๐ น. ประธำนกรรมกำรจัดงำนฝ่ำยฆรำวำส จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ ถวำยเครื่องไทยธรรม พระสงฆ์อนุโมทนำ กรวดน�้ำ-รับพร เวลำ ๑๑.๐๐ น. ถวำยภัตตำหำรเพลแด่พระสงฆ์ เปิดโรงทำนผู้ร่วมงำนรับประทำนอำหำร เวลำ ๑๒.๓๐ น. พระสงฆ์และพุทธศำสนิกชนพร้อมกันภำยในอุโบสถ เวลำ ๑๒.๔๐ น. พิธีน้อมถวำยคำรวะ ๘๖ ปี หลวงตำชี โดย กลุ่มรวมน�้ำใจใฝ่ธรรม ไมอำมี และคณะศิษยำนุศิษย์ เวลำ ๑๓.๐๐ น. ฯพณฯ เอกอัครรำชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัย เจ้ำภำพกัณฑ์เทศน์ จุดเทียนบูชำพระธรรม ฟังพระธรรมเทศนำ ๑ กัณฑ์ เวลำ ๑๔.๐๐ น. พิธีถวำยมุทิตำสักกำระแด่พระวิเทศธรรมรังษี -พระวิเทศธรรมรังษี กล่ำวสัมโมทนียกถำ -พิธีถวำยน�้ำสรง –ถวำยผ้ำไตรจีวร -มอบของที่ระลึก เป็นอันเสร็จพิธี ������������ หมายเหตุ ก�ำหนดกำรอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมควำมเหมำะสม
  • 11. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma ขออนุโมทนาพิเศษ งานทำาบุญอายุวัฒนมงคลธรรมสมโภช ๘๖ ปี พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) เจ้าภาพถวายพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญพระพุทธมนต์ ๑๐ รูป โดย กลุ่มรวมน�้าใจใฝ่ธรรม ไมอามี่ ฟลอริดา -------------------------- เจ้าภาพกัณฑ์เทศน์ คุณณรงศักดิ์-คุณรัตนา โชติกเวชกุล ------------------------- รายนามผู้ร่วมบริจาคทั่วไป อาจารย์เกลี้ยง ชูเต ๓,๐๐๐ เหรียญ ------------------------------- เจ้าภาพถวายพระสงฆ์สวดทักษิณานุปทาน ๕๐ รูปๆ ละ ๒๐๐ เหรียญ *********************** ๑. คุณกัญญา-คุณกุลชาติ สว่างโรจน์ ๕ รูป ๑,๐๐๐ เหรียญ ๒. คุณพยุง-คุณจินตนา งามสอาด ๕ รูป ๑,๐๐๐ เหรียญ ๓. คุณพิณทอง เกาฏีระ ๕ รูป ๑,๐๐๐ เหรียญ ๔. นพ.อรุณ-คุณสุมนา สวนศิลป์พงศ์ ๕ รูป ๑,๐๐๐ เหรียญ ๕. คณะพยาบาลบัลติมอร์ ๓ รูป ๖๐๐ เหรียญ ๖. สมาคมไทยอีสาน ๒ รูป ๔๐๐ เหรียญ ๗. ครอบครัว มานะกุล ๒ รูป ๔๐๐ เหรียญ ๘. คุณชัยรัตน์-คุณสุกานดา เจตบุตร และครอบครัว ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๙. คุณวิโรจน์-คุณมาลี บาลี และครอบครัว ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๐. คุณศักดิเกษม (แมน) วิรยะ-คุณธินภรณ์ (ตาล) งามสอาด ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ์ ิ ี ๑๑. คุณธนศักดิ์ (บูม) วิริยะ-น้องธนกร (แบ็งค์) วิริยะ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๒. คุณพิชัย (บู๊)-คุณธัญญาภรณ์ (หลี) กุลประเสริฐรัตน์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ
  • 12. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma ๑๓. คุณประภา (นก) จันทร-คุณอานนท์ (ฝุ่น) แสนวิเศษ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๔. คุณกษิมา (จี๊ด) ปรุงธัญญะพฤกษ์ และครอบครัว ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๕. คุณพรพรรณ-คุณสิทธิศักดิ์ ปรางข�า ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๖. คุณกรองกาญจน์-คุณรัตนา ธารพิพิธชัย ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๗. คุณสุภาพ ดูบัวร์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๘. คุณป้าบุญเสริม งามสอาด ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๑๙. คุณยายซู่เฮียง รุสิตานนท์ และลูกหลาน ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๐. คุณสมศักดิ์-คุณสุดารัตน์ ตั้งตรงวานิช และครอบครัว ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๑. คุณวาสนา-คุณมงคล-น้องเพียงอัมพร น้อยวัน ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๒. คุณมาลินี วังศเมธีกูร ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๓. ดร.สุทัศน์ เสาว์มั่น-คุณสุภาพ อุดดานนท์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๔. คุณดารัตน์ แสงอรุณ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๕. คุณชัยยุทธ-คุณยุพา สมเขาใหญ่ และครอบครัว ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๖. Mr.Edward – Mr.William-Ms.Siriporn Gresser ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๗. คุณกฤช-คุณพรรณี-คุณพอล-คุณไซม่อน เกษมพันธัย ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๘. คุณพัชรา ตวงเศรษฐวุฒิ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๒๙. คุณวนิดา สุนทรพิทักษ์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๓๐. คุณสุพรรณี สัตตวัตรกุล-คุณสุวภี เดชติศักดิ์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๓๑. คุณจงดี Right และครอบครัว ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๓๒. คุณวรชัย-คุณกัญญภัทร กลึงโพธิ์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๓๓. ครอบครัว มุขกัง ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ ๓๔. คุณสุกานดา บุบพานนท์ ๑ รูป ๒๐๐ เหรียญ
  • 13. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma ภาพกิจกรรมงานทำาบุญธรรมสมโภชอายุวฒนมงคล ๘๕ ปี ชีวานันโท (พระวิเทศธรรมรังษี) ประจำาปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ั
  • 14. แสงธรรม 11 Saeng Dhamma EMPTINESS by Buddhadasa Bhikkhu http://www.what-buddha-taught.net/Books/BhikkhuBuddhadasa_Heart_Wood_from_the_Bo_Tree.htm ...Continued from last issue... ‘T his practice is every practice’. Try to think if there’s anything that remains to be practised, At any moment that any entrance and is an external matter; it doesn’t penetrate to the Buddha, Dhamma, and Sangha in the heart. If at any moment any person at all person, whether it’s Mr. Smith or Mrs. Jones or has a mind empty of grasping at and clinging to anyone at all, has a mind that is free of grasping ‘I’ and ‘mine’, even if it’s only for an instant, and clinging, what will there be present in their it means that the mind has realized emptiness. minds? It is pure, radiant and at peace. It is one and Please think it over. We can take it step by the same thing as the heart of the Buddha, the step from the Triple Refuge to virtuous conduct, Dhamma, and the Sangha. Thus at any moment samadhi and the discernment of truth, on to the that one has a mind empty in this way one has Path Realizations, their Fruits and Nibbana. At taken refuge, one has reached the Triple Gem. that moment they have reached the Buddha, To move onto giving dana (alms) and mak- the Dhamma and the Sangha for to have a heart ing donations. The meaning of giving dana and free of the mental defilements and Dukkha is to donations is to relinquish, to end all grasping be one with the heart of the Triple Gem. They at and clinging to things as being ‘I’ or ‘mine’. have reached them without having to shout As for giving in order to receive a much greater out Buddham saranam gacchami [16] or any of reward, such as giving a tiny amount and asking the rest of it. Crying out Buddham saranam gac- for a mansion up in heaven, that’s not giving, chami and so on is just a ritual, a ceremony of it’s just a business deal. Giving must be without
  • 15. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma strings attached a casting off of things that we As for samadhi, an empty mind is the supreme grasp at and cling to as being ‘I’ and ‘mine’, samadhi, the supremely focused firmness of At the moment that one has a mind empty mind. The straining and striving sort of samadhi of ego - consciousness then one has made the isn’t the real thing and the samadhi which aims supreme offering, for when even the self has at anything other than non-clinging to the five been given up, what can there be left? When khandas is micchasamadhi (wrong or perverted the ‘I - feeling’ has come to an end then the samadhi). You should be aware that there is ‘mine - feeling’ will vanish by itself. Thus at any both micchasamadhi and sammasamadhi (right moment that a person has a mind truly empty or correct samadhi). Only the mind that is emp- of self, when even the self has been completely ty of grasping at and clinging to ‘I’ and ‘mine’ relinquished, he or she has developed giving to can have the true and perfect stability of sam- its perfection. masamadhi. One who has an empty mind has To move onto Sila (Virtuous Conduct), one correct samadhi. who has an empty mind, free of grasping at and Here we reach panna (the discernment of clinging to a (non-existent) self or to things as truth). It is clearly indicated’ that knowing or being possessions of a self, is one whose bodily realizing emptiness, or being emptiness itself and verbal actions are truly and perfectly vir- is the supreme panna because at the moment tuous. Any other sort of sila is just an up-and- that the mind, is empty it is supremely keen down affair. We make resolutions to refrain from and discerning. In contrast, when delusion and this and abstained from that and then we can’t ignorance enter and envelop the mind, causing keep them. It’s up - and - down because we grasping at and clinging to things as self or pos- don’t know how to let go of self and the posses- sessions of self then there is supreme foolish- sions of self right from the start. There being no ness. If you think it over you will easily see for freedom from self there can be no real sila, or if yourself quite clearly that when these things there is, it’s inconsistent. It is not ariyakantasila, have left the mind there can be no foolishness. the virtuous conduct that is of contentment to When the mind is empty of foolishness, emp- the Noble Ones, it is worldly sila, continually up ty of ‘I’ and ‘mine’, there is perfect knowing and down. It can never become transcendental or panna. So the wise say that emptiness and sila. Whenever the mind is empty, if it’s only for panna, the discernment of truth (or satipanna- a moment, or if it’s for a day or a night or how- truth-discerning awareness) are one. It’s not that ever long, for that length of time one has true they are two similar things they are one and the sila. same thing. True or perfect panna is emptiness,
  • 16. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma absence of the foolish clinging of delusion. Once teachings, to have put it into practice is to have the mind is rid of delusion it discovers its primal done all the practices and to have reaped the state, the true original mind which is panna or fruits of that practice is to have reaped all fruits. truth - discerning awareness. The meaning of the word ‘emptiness’ is an es- The word mind (citta) is being used here in sential point that you must try to keep in mind. a specific way. Don’t confuse it with the 89 Now let us consider that all things are includ- cittas or 121 cittas of the Abhidhamma. They are ed in the term ‘dhamma’. ‘Dhamma’ means a different matter. That which we call the true ‘thing’, sabbe dhamma means ‘all things’. original mind, the mind that is one with panna You must be clear when you use the term ‘all refers to the mind that is empty of grasping at things’ as to what it signifies. ‘All things’ must and clinging to self. Actually this state shouldn’t refer to absolutely everything without excep- be called mind at all, it should be called empti- tion, whether worldly or spiritual, material or ness but since it has the property of knowing we mental. Even if there was something outside of call it mind. The various schools call it by vari- these categories it would still be included in the ous names but strictly speaking it’s enough to term all things and would still be a dhamma. So I say that the true fundamental nature of mind is would like you all to observe that: satipanna, truth-discerning awareness, absence The worlds of material objects i.e. all realms of grasping and clinging. Thus in emptiness lie of material objects are dhammas. The mind that perfect panna. is aware of all worlds is a dhamma. If the mind Now going on to the Path Realizations, their and the world come into contact, that contact is Fruits and Nibbana. Here the progressively higher a dhamma. Any result of that contact, be it feel- ings of love, hate, dislike or fear, or satipanna, levels of emptiness reach their culmination in the clear seeing of things as they truly are, these Nibbana, which is called paramasunnata or para- are all dhammas. Right or wrong, good or bad, mam sunnam - supreme emptiness. So now you they are all dhammas. If satipanna, gives rise to may see that right from taking refuge onto giving various interior know ledges, those know ledges dana, sila, samadhi and panna there is nothing are dhammas. If those know ledges lead to the other than emptiness, non-clinging to self. Even practice of sila, samadhi, and panna or any other the Path Realizations, their Fruits and Nibbana type of practice, that practice is a dhamma. The itself do not exceed emptiness but are its high- results of practice, abbreviated as the Path Re- est, supreme level. alizations, their Fruits and Nibbana, even these Consequently, the Buddha declared that are dhammas.” To sum up, all these things are dhammas. having heard this teaching is to have heard all ‘Dhamma’ encompasses everything from the
  • 17. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma truly peripheral, the world of material objects, to than the dhammas of form because they are up to the results of Dhamma practice, the Path illusions, born of an illusion arising in the realm Realizations, their Fruits and Nibbana. Seeing of defilements. Grasping at or clinging to them is each of these things clearly is called seeing extremely dangerous. ‘all things’ and regarding all things the Buddha The Buddha taught that even truth - discern- taught that ‘none whatsoever should be grasped ing awareness should not be grasped at or clung at or clung to. This body cannot be grasped at or to because it is merely a part of Nature. Attach- clung to. Even more so the mind; it is an even ing to it will give rise to fresh delusion; there will greater illusion. Thus the Buddha said that if one be a person who has truth - discerning aware- is determined to cling to something as self it ness, there will be MY truth - discerning aware- would be better to cling to the body because ness. Due to this attachment the mind will be it changes more slowly. It is not as deceptive as weighed down with grasping and clinging, and the mind, that which we call namadhamma. lurch about in accordance with the changes that ‘Mind’ here does not refer to the mind previous- those things undergo; then there will be Dukkha. ly spoken of as being one and the same thing as Knowledge should be looked on as being simply emptiness, but to mentality, the mind known by knowledge. If one deludedly grasps at or clings ordinary people. The contact between the mind to it, it will give rise to the various kinds of ‘At- and the world results in the various feelings of tachments to Rites and Rituals’ [17] and one will love, hate, anger and so on. These are dhammas experience Dukkha without realizing why. which are even less to be grasped at or clung To be continued WELCOME TO JOIN THE MEDITATION 2nd and 4th Sat. of every month. �Based on 2,500-year-old tradition �FREE! We never charge for lessons. �Taught by Thai monk with decades of experience �All levels welcome 09.00 a.m. - 11.00 a.m. Wat Thai Buddhist Temple 13440 Layhill Rd. Silver Spring, MD 20906 Tel: 301-871-8661 www.watthaidc.org E-mail: handy@t-dhamma.org Contact Alistair Bell 202 527 1050 / aa_bell@hotmail.com
  • 18. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma About Being CAREFUL A Dhammatalk By Ajahn Chah http://www.ajahnchah.org/book/About_Being_Careful.php ...Continued from last issue... done for the purpose of developing wisdom. About being careful Developing wisdom is for the purpose of lib- Like these bodies of ours: earth, water, fire eration, freedom from all these conditions and and wind - where is the person? There isn’t any phenomena. When we are free then no matter person. These few different things are put to- what our situation, we don’t have to suffer. If gether and it’s called a person. That’s a false- we have children, we don’t have to suffer. If hood. It’s not real; it’s only real in the way we work, we don’t have to suffer. If we have a of convention. When the time comes the el- house, we don’t have to suffer. It’s like a lotus ements return to their old state. We’ve only in the water. ‘’I grow in the water, but I don’t come to stay with them for a while so we have suffer because of the water. I can’t be drowned to let them return. The part that is earth, send or burned, because I live in the water.’’ When back to be earth. The part that is water, send the water ebbs and flows it doesn’t affect the back to be water. The part that is fire, send back lotus. The water and the lotus can exist together to be fire. The part that is wind, send back to without conflict. They are together yet separate. be wind. Or will you try to go with them and Whatever is in the water nourishes the lotus and keep something? We come to rely on them for helps it grow into something beautiful. a while; when it’s time for them to go, let them Here it’s the same for us. Wealth, home, go. When they come, let them come. All these family, and all defilements of mind, they no phenomena (sabhāva) appear and then disap- longer defile us but rather they help us develop pear. That’s all. We understand that all these pāramı, the spiritual perfections. In a grove of things are flowing, constantly appearing and dis- bamboo the old leaves pile up around the trees appearing. and when the rain falls they decompose and Making offerings, listening to teachings, prac- become fertilizer. Shoots grow and the trees de- ticing meditation, whatever we do should be velop because of the fertilizer, and we have a
  • 19. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma source of food and income. But it didn’t look Things degenerate and reach their limit. But we like anything good at all. So be careful - in the remain constant. It’s like when there was a fire dry season, if you set fires in the forest they’ll in Ubon city. People bemoaned the destruction burn up all the future fertilizer and the fertilizer and shed a lot of tears over it. But things were will turn into fire that burns the bamboo. Then rebuilt after the fire and the new buildings are you won’t have any bamboo shoots to eat. So if actually bigger and a lot better than what we you burn the forest you burn the bamboo ferti- had before, and people enjoy the city more lizer. If you burn the fertilizer you burn the trees now. and the grove dies. This is how it is with the cycles of loss and Do you understand? You and your families development. Everything has its limits. So the can live in happiness and harmony with your Buddha wanted us to always be contemplat- homes and possessions, free of danger from ing. While we still live we should think about floods or fire. If a family is flooded or burned it death. Don’t consider it something far away. If is only because of the people in that family. It’s you’re poor, don’t try to harm or exploit oth- just like the bamboo’s fertilizer. The grove can ers. Face the situation and work hard to help be burned because of it, or the grove can grow yourself. If you’re well off, don’t become for- beautifully because of it. getful in your wealth and comfort. It’s not very Things will grow beautifully and then not difficult for everything to be lost. A rich person beautifully and then become beautiful again. can become a pauper in a couple of days. A Growing and degenerating, then growing again pauper can become a rich person. It’s all ow- and degenerating again - this is the way of world- ing to the fact that these conditions are imper- ly phenomena. If we know growth and degen- manent and unstable. Thus, the Buddha said, eration for what they are we can find a conclu- ‘’Pamādo maccuno padam: Heedlessness is the sion to them. Things grow and reach their limit. way to death.’’ The heedless are like the dead. คุณอรพรรณ ดีวอย พร้อมคณะญาติมิตร ร่วมกันท�าบุญอุทิศส่วนกุศลให้แด่คุณพ่อคุณแม่และสามี ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔
  • 20. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma Don’t be heedless! All beings and all sankhārā the world. All the things they do are worldly and are unstable and impermanent. Don’t form any have their limits, like the beetle scratching away attachment to them! Happy or sad, progressing at the earth. The hole may go deep, but it’s in or falling apart, in the end it all comes to the the earth. The pile may get high, but it’s just a same place. Please understand this. pile of dirt. Doing well, getting a lot, we’re just Living in the world and having this perspec- doing well and getting a lot in the world. tive we can be free of danger. Whatever we may Please understand this and try to develop gain or accomplish in the world because of our detachment. If you don’t gain much, be con- good kamma, it is still of the world and subject tented, understanding that it’s only the worldly. to decay and loss, so don’t get too carried away If you gain a lot, understand that it’s only the by it. It’s like a beetle scratching at the earth. worldly. Contemplate these truths and don’t It can scratch up a pile that’s a lot bigger than be heedless. See both sides of things, not get- itself, but it’s still only a pile of dirt. If it works ting stuck on one side. When something delights hard it makes a deep hole in the ground, but it’s you, hold part of yourself back in reserve, be- still only a hole in dirt. If a buffalo drops a load cause that delight won’t last. When you are of dung there, it will be bigger than the bee- happy, don’t go completely over to its side be- tle’s pile of earth, but it still isn’t anything that cause soon enough you’ll be back on the other reaches to the sky. It’s all dirt. Worldly accom- side with unhappiness. plishments are like this. No matter how hard the beetles work, they’re just involved in dirt, mak- The End ing holes and piles. People who have good worldly kamma have the intelligence to do well in the world. But no matter how well they do they’re still living in “คณะกลุมเพือนรัก” โดยคุณพวงทิพย์ และเพือน ๆ ท�าบุญบังสุกลรวมญาติ ปัจจัยสมทบทุนสร้างอาคาร ๘๐ ปี $ 700 ่ ่ ่ ุ
  • 21. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma Tomorrow Man Essays On The Dhamma By Luang Ta Chi Edited by Du Wayne Engelhart ...Continued from last issue... and not race against time in performing good deeds? Do not let time pass without making V. Tomorrow Man good use of it. As minute by minute passes, life F rom the time we are born, time con- tinuously from the beginning to the end shortens our lives. Depending upon various is getting shorter. We therefore must hurriedly carry out some worthy work now, this minute, today, this month, this year. Do not put off conditions and causes added up through time, working on something good. Remind yourself of some of us have a short life and some of us what the Buddha asked: “As day and night are have a long one. Life is usually short for those passing by, what have you been doing?” who have not kept themselves healthy, and There are three steps for worthy actions: long for those who have done the right thing. First, one must have knowledge. The Buddha once said, Secondly, one must seek riches. Yatha dandana gopala gavo pajeti gocaram Thirdly, one must seek what is moral Evam jara ca najju ja ayum pajenti pani- and what is righteous. nam In present-day society most people can per- Just as a person taking care of cows leads form the first two steps for worthy actions very them to land where they can eat, so do aging well. There are, of course, some exceptions. A and death the lives of all beings. few people, who prefer “folding their arms” to Those of you who desire happiness and trying to do something, can be viewed as ones progress in life should not feel so overconfident who are careless and neglect their own living. that you fail to do the good things your duty Since knowledge and riches are basic to happi- and professions require. As time never stops ness and a life free from harm, lacking the two running, how can one feel satisfied with oneself will cause a difficult life, suffering from living be-
  • 22. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma low the usual level, and missing the commonly Fighting for possession of a husband or expected enjoyment of life. Therefore, one wife. should not wait until tomorrow but act now, Fighting for possession of power. today, to undertake these worthy actions. Those who keep away from spiritual develop- The third worthy action, however, does not ment lack one important foundation of life. No attract most of us. We are not as much inter- matter how high their knowledge and degrees ested in it as we should be. We often put it off are—whether they are the B.A., the M.A., or the until tomorrow and tomorrow. Some people Ph.D.—together with the riches of a millionaire, keep delaying, and until the time they reach the they are only to be haunted by the riches of cemetery, they never suitably live a moral and a millionaire, they are only to be haunted by righteous life. This type of person always—as it mental disorder and have mental hospitals as is said in Thai—“closes his ears whenever some- the places where they stay. It seems proper, one asks him to hear the Dhamma.” This is es- therefore, to present the story of the “Tomor- pecially true for those who are so attached to row Man” to you as something to think about. material things, they hardly want to hear about Our Buddha is the one who has been en- spiritual things. Anything spiritual, to them, is lightened, who has been awakened and who has out of date, prehistoric, and suitable only for helped awaken others to become like himself. a mind not able to think very much. To them, He was not guilty of neglect—letting time, days, problems can be solved only by what is mate- months, and years pass by uselessly. Without rial; material things can provide happiness in all him, our lives would not be producing anything, parts of life in modern societies. To them, look- like fallen logs in the jungle; even those logs are ing for spiritual knowledge is wasting valuable more useful than those who lack what is moral time and useful only to a way of thinking that and righteous. is out of date. Spiritual development is not for Many of us, when encouraged to perform those who were born in more modern scientific good deeds according to religious principles, of- and technological times. These are in general ten say it is not quite the right time yet. Spiritual the ways people concerned about what is ma- things can wait. This is the time to make a liv- terial look at things. This, in turn, leads them to ing. No need to be concerned yet about moral take advantage of one another, to race against and righteous things. Making a living takes a lot one another in greed. Finally, undesirable ten- of time; I have no time left for the Dhamma, dencies are developed: for spiritual development. There are 365 days or 12 months in a year. Couldn’t one set aside Fighting for possession of food. about 50 days or one and a half months for the Fighting for possession of land. Dhamma?
  • 23. แสงธรรม 20 Saeng Dhamma The Dhamma is none other than what is Abhittharetha kalayane good, what is righteous, and what is true. Those Papa cittam nivarave who are interested in the Dhamma are inter- Dantham hi karato punnam ested in these things. Whatever our race, lan- Papasmim ramati mano guage, or religion, we all desire what is good, Lose no time to do good and protect righteous, and true. Goodness is so universal one’s mind from bad thoughts, because that everyone should be interested in it. Those when one delays doing good, one’s who ignore goodness and constantly delay mak- mind will turn to enjoyment of bad ideas. ing good efforts are the ones who deserve the As water, by its nature, always flows to a name of “Tomorrow Man.” Not a bad name. lower level, the mind will flow to bad thoughts. A nice name, one might say. That is why there To protect one’s mind from looking for a lower are unbelievably large numbers of “Tomorrow level, the Buddha encourages us to not delay Men” and “Tomorrow Women” in our society in doing good deeds. It is the good deed that today. The tomorrow men and women delay protects the mind from turning to what is bad. doing good and delay spiritual development. If one is talking about what is bad, everybody is They think they should enjoy as much as pos- afraid of it. Nobody wants it. Even the word bad sible their “youth” (however they define it) and nobody wants to hear. No one should, there- save the spiritual for “old” age. fore, act like the “Tomorrow Man.” Instead eve- ryone should become the “Today Person,” doing The Buddha teaches us good activities today, good deeds now. right now at this minute. As for tomorrow, no- The Buddha says, body knows what is going to happen. Besides, nobody can ever catch up with tomorrow, be- Accenti kala tarayanti rattiyo cause tomorrow always keeps moving one day Vayo guna anupubbam jahanti ahead of us, just like a Western saying, “Tomor- Atam bhayam marane pekkhamano row never comes.” Tomorrow does not really Punnank kayiratha sukhavahani exist; there is only today. Therefore, my dear friends, do perform good deeds today. As was Time passes by, day, night, month, and said earlier, we may not live to see tomorrow. year slowly disappear. Old age comes When the time to die comes, nobody can argue, closer, and lifetime gets shorter. delay, or come to an agreement with death. Considering such danger, all of you The right thing to do is to follow the Buddha’s should do only good things that will teaching that says, bring happiness.
  • 24. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma Think about this, all you tomorrow men! Punnance puriso kayira Time is taking the life of all living beings, one by Kayirathenam punapunam one; the old and the young, the poor and the Tamhi chandam kayiratha rich, the foolish and the wise, the bad and the Sukho punnassa uccaayo good, all are taken by time. No one has an ad- vantage over another. Everyone’s life is treated When one makes an effort to do good, equally by time. The Buddha reminds us, one should do it again and again and be happy for having done so. The As days and nights pass by, life will adding up of good deeds will bring pass away. All living things will come to happiness. an end, like water in a dried-up river. Happiness is the top desire of all of us. Hap- The voice of the Dhamma speaks to all of you, py lives need food from good deeds. Life with- friends of Buddhism, the wish that you will not out good deeds will dry up and endlessly burn be careless, not lack mindfulness (sati), and will with the heat of a desire for things one does not keep delaying good deeds until tomorrow, not have. Therefore, look for good deeds by next month, or next year. We wish you to stop strengthening, developing, and gaining moral- deceiving yourselves and putting yourselves in ity (sila), concentration (samādhi), and wisdom an inescapable trap of bad thoughts and ac- (paññā); for such will bring peacefulness, clean- tions. Make a good effort now, this minute, to- liness, and Enlightenment of the mind leading day, this month and this year. When you make you to eternal happiness. The voice of the a good effort once, do it again and again, with Dhamma wishes each and every person peace- the satisfaction that you have done well—as in fulness and happiness under the golden canopy one of the Buddha’s sayings: of the Buddha’s teaching. คุณจินตนา งามสอาด พร้อมลูกหลาน ท�าบุญวันเกิดให้คณพยุง ุ คุณแซม-คุณทรวง-น้องแมทธิว ท�าบุญวันเกิดให้นองเมย์ ้
  • 25. แสงธรรม 22 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and mem- bers of the general public are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือน มิถุนายน ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. 11 มิถุนายน 2554 ศึกษาและปฏิบัติธรรมตามแนวพระไตรปิฎก � สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี � ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากัจฉา � เจริญจิตตภาวนา - แผ่เมตตา พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
  • 26. แสงธรรม 23 Saeng Dhamma เสียงธรรม.. จากวัดไทย พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ความทุกข์ ทุกฺขเมว หิ สมฺโภติ ทุกฺขํ ติฏฺฐติ เวติ จ นาญฺญตฺร ทุกฺขา สมฺโภติ นาญฺญตฺร ทุกฺขา นิรุชฺฌติ. ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น ทุกข์เท่านั้นตั้งอยู่และดับไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ ท่ านสาธุชนผู้สนใจในธรรมทั้งหลาย ท่านอ่าน ธรรมบรรยายข้างบนนั้นแล้ว เป็นอย่างไรบ้าง ท่านมีความรูสกนึกคิดอะไรบ้างหรือเปล่าหรือเฉย ๆ เอาละ ้ึ ลักษณะพินิจพิเคราะห์ถึงข้อธรรมที่เคยศึกษาเล่าเรียนมา แล้วในอดีต ทันใดนั้น สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ก็ปรากฏ ขึ้นในมโนภาพ ท�าให้เห็นปรากฏการณ์สารพัดอย่างใน ! ข้าพเจ้าจะไม่เดาใจหรือทายใจอะไรของท่านทั้งนั้น สังคมมนุษย์ ยิงพินจจิตก็ยงเห็นสภาพเหล่านันแจ่มชัดขึน ่ ิ ิ่ ้ ้ ปล่อยให้ท่านตัดสินใจ แล้วก็ตอบตัวเองก็แล้วกัน แต่ ทุกที สภาพอะไรหรือท่าน? อ๋อ ก็สภาพความทุกข์ของ ส�าหรับตัวของข้าพเจ้าเอง พอโสตประสาทกระทบกับ มนุษย์ไงเล่า! เกิดมาเป็นมนุษย์ หรือที่เราเรียกกันเป็น เสียงธรรมข้างบนนั้นเข้า ก็ดูเหมือนมีอะไรมาสะกิดใจ ภาษาสามัญว่า “คน” นี่ มันช่างเต็มไปด้วยความทุกข์ ท�าให้ระบบการท�างานของประสาททุกส่วนสงบเงียบอยู่ นานาประการ สารพัดทุกข์ยากที่จะบอกได้ ถ้าจะเรียก ครู่หนึ่ง แล้วก็ร�าพึงออกมากับตัวเองอย่างแผ่วเบาว่า ว่ามนุษย์แต่ละคนนี้คือ “ก้อนแห่งความทุกข์” ก็คงไม่ ความทุกข์ หลังจากนั้น เมื่อจิตกลับเข้าสู่สภาพปกติมี ผิด ท่านทั้งหลายจะเห็นด้วยกับข้าพเจ้าหรือเปล่าก็ไม่ สติ สั ม ปชั ญ ญะดี แ ล้ ว ความคิ ด ชนิ ด หนึ่ ง ก็ เ กิ ด ขึ้ น ใน ทราบ แต่ข้าพเจ้ามีความเห็นอย่างนี้จริง ๆ