SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 46
ชื่อโครงงาน     ขายสิ นค้าเพื่อสุ ขภาพและความงามผ่านเว็บไซต์




                                             บทที่ 2

                           แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                            ่

           การวิจยครั้งนี้ผวิจยได้คนคว้า ศึกษาตํารา เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์เพื่อ
                 ั          ู้ ั     ้                              ั
สุ ขภาพและความงามของผูคนที่สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าข้อมูล ของการเลือกบริ โภคอาหารเพื่อ
                                   ้
สุ ขภาพ และความงามของร่ ายกาย การออกแบบเว็บไซต์ จะแบ่งออกเป็ นส่ วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ให้
ความรู ้ดานสุ ขภาพ และความงาม ระบบสั่งซื้ อสิ นค้า กรณี สั่งซื้อหนังสื อเพื่อสุ ขภาพ ส่ วนของ
         ้
การสมัครสมาชิก และส่ วนของการรับข้อเสนอ แนะของเว็บไซต์เพื่อนําไปปรับปรุ ง โดยอาศัย
หลักการและทฤษฏี ดังต่อไปนี้
         2.1 ความรู ้เกี่ยวกับการเลือกบริ โภคอาหารเพื่อสุ ขภาพและความงาม
         2.2 แนวคิดทัวไปเกี่ยวกับสุ ขภาพและความงาม
                          ่
         2.3 ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database management system : DBMS)
         2.4 เทคโนโลยีที่นามาใช้ในการพัฒนาระบบ
                                 ํ
         2.5 งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                       ั

1. ความรู้เกียวกับการเลือกบริโภคอาหารเพือสุ ขภาพและความงาม
                 ่                           ่
            เรื่ องของการรับประทานอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ก็คงจะเหมือนกับที่เราคุย
กัน ในสมัยก่อนว่า ควรรับประทานอาหาร ให้ครบทั้ง 5 หมู่ แต่ในปั จจุบนนี้ อาจจะมีรายละเอียด
                                                                         ั
เพิ่มเติม อาทิ สัดส่ วนของอาหาร อาหาร 5 หมู่ ไม่ได้หมายถึง การรับประทานอาหาร แต่ละหมู่เท่าๆ
กันหมด แต่กลุ่มที่เป็ นอาหารหลัก คือ กลุ่มข้าวที่เป็ นธัญพืช ผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็ นข้าวกล้อง ข้าว
เหนียว ก๋ วยเตี๋ยว บะหมี่ ส่ วนปริ มาณที่เพิ่มขึ้นมา ก็คือ ผักและผลไม้ ซึ่ งจะได้ประโยชน์ ทั้ง
ใยอาหารและแร่ ธาตุต่างๆ ส่ วนปริ มาณที่จะต้องจํากัด รับประทานอาหาร ในปริ มาณที่พอสมควร
เท่านั้น ก็คือ พวกเนื้อสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะเนื้อแดง นํ้ามัน นอกเหนือจากนั้น ก็คือ เรื่ องของการดูแล
                      ่
เรื่ องนํ้าหนักให้อยูในเกณฑ์ปกติ เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดโรคขาดอาหาร และโรคที่เกิดจากโภชนาการ
อาหารเกิน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิ ตสู ง โรคหัวใจ โรคอัมพฤกษ์ ข้อปฏิบติเกี่ยวกับั
อาหารประเภทอื่ นๆ ก็คือ พวกอาหาร และเกลือโซเดี ยมในปริ มาณที่ สมควร งดเหล้า เบียร์
แอลกอฮอล์ ส่ วนการกระจายอาหารในแต่ละมื้อ ก็ควรจะให้ครบถ้วนทั้ง 3 มื้อ
          ในปั จจุบน อย. กําหนดให้เรี ยก ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร มีหลายรู ปแบบ ทั้งในแง่ของ
                     ั
วิตามิน แร่ ธาตุ หรื อสารอื่นๆ ที่สกัดจากธรรมชาติ ถ้าจะถามว่ามีประโยชน์หรื อไม่ คงจะต้องดูจาก
วัย หรื อบางขณะของโรคที่เป็ นอยู่ ก็อาจจะมีความต้องการสารอาหาร หรื อแร่ ธาตุต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
ซึ่ งบางกลุ่มช่วงอายุ ก็มีขอมูลยืนยันชัดเจนว่า การให้ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารบางชนิ ด อาจจะช่วยได้
                           ้
เช่น ขณะที่ต้ งครรภ์ เราก็จะให้ธาตุเหล็กเสริ ม หรื อผูหญิงที่วนหมดประจําเดือน ก็จะแนะนําให้
               ั                                       ้       ั
รับประทานแคลเซียมเพิ่มมากขึ้น หรื อในคนป่ วยที่รับประทานอาหารได้นอย ก็ควรจะรับประทาน
                                                                          ้
อาหารเสริ มแร่ ธาตุ หรื อวิตามินในช่วงสั้นๆ สําหรับคนทัวไปที่ไม่เจ็บป่ วย และสามารถรับประทาน
                                                         ่
อาหารตามปกติได้ท้ ง 3 มื้อ เรื่ องของการใช้ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ก็ไม่มีความจําเป็ น
                       ั

          1.1 การเลือกอาหารตามช่ วงอายุ
              การรู ้จกเลือกรับประทานอาหารไม่เพียงแต่ช่วยเรื่ องสุ ขภาพเท่านั้น หากยังเอื้อต่อความ
                      ั
สวยความงามอีกด้วย ความจริ งการเลือกอาหารให้เหมาะสมตามช่วงวัยก็เป็ นอีกวิธีหนึ่ งที่ช่วยให้
สุ ขภาพดีได้ เพราะในแต่ละช่วงอายุมีความแตกต่างกันในด้านพัฒนาการของร่ างกายและลักษณะ
การ ดําเนินชีวิต วันนี้ จึงขอเสนอเรื่ องราวของอาหารที่เกี่ยวข้องกับช่วงอายุท้ ง 4 ซึ่งไม่ใช่เรื่ องยาก
                                                                                  ั
               วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 2 ช่วงอายุต้ งแต่ 20 ปี ขึ้นไปเป็ นช่วงที่ร่างกายมีการพัฒนาและ
                                                  ั
                  ่
เติบโตเต็มที่ ไม่วาจะเป็ นเรื่ องการเรี ยน การทํางาน และเป็ นวัยที่ใช้ชีวิตอย่างไม่รู้จกเหน็ดเหนื่ อย ยิง
                                                                                       ั                ่
มีการเคลื่อนไหวในชีวิตประจําวันมากเท่าไร ร่ างกายก็ยิ่งเผาผลาญและใช้พลังงานมากขึ้นเท่านั้น
ดังนั้น ควรเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม โดยเลือกรับประทานจําพวกเนื้อสัตว์และถัวต่างๆ            ่
รวมถึงข้าวและแป้ งมากเป็ นอันดับหนึ่ ง ตามด้วยผักผลไม้เป็ นอันดับสอง ส่ วนนมและอาหาร
ทดแทนแคลเซียมต่างๆ เช่น เต้าหู ้ ปลาเล็กปลาน้อย นมถัวเหลืองเสริ มแคลเซี ยม ตามมาเป็ นอันดับ
                                                            ่
สาม และให้ความสําคัญของไขมันเป็ นอันดับสุ ดท้าย ปลาเป็ นอาหารสมองที่ช่วยรักษาผนังเซลล์
ประสาทในสมองให้แข็งแรง ไม่หลงลืมอะไรง่ายๆ ผักสี เขียวอย่างผักบุง ผักกระเฉด ผักคะน้า
                                                                                ้
ถัวฝักยาว ช่วยบํารุ งสายตา สร้างกระดูกและฟั นให้แข็งแรง ผักผลไม้สีเหลืองอย่างกล้วยหอม ก็ถือ
   ่
เป็ นผลไม้คลายเครี ยดชนิดหนึ่ง
วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 3 อายุข้ ึนเลข 3 หลายคนเริ่ มตกใจกลัว แต่การรู ้จกเลือกรับประทาน
                                                                                                ั
จะทําให้ผอื่นไม่สามารถเดาอายุคุณจากรู ปร่ าง หน้าตาได้เลย ในช่วงเริ่ มวัยผูใหญ่ความต้องการ
              ู้                                                                              ้
พลังงานยังคงอยู่ เพราะเป็ นช่วงชีวิตของการทํางาน แต่ตองเพิ่มความระมัดระวังในเรื่ องของไขมัน
                                                                        ้
และคลอเรสเตอรอลที่จะส่ งผลกระทบ กับรู ปร่ างหน้าตาภายนอกที่เห็นการเปลี่ยนแปลงได้ชดเจน                      ั
นอกจากนี้ยงส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพร่ างกายในอนาคตด้วย เพราะการรับประทานอาหารที่มีไขมัน
                   ั
หรื อคลอเรสเตอรอลสู ง เช่น หมูสามชั้น เนยแข็ง กะทิ เนยเทียม เป็ นต้น จะสร้างปั ญหาให้หลอด
เลือดและหัวใจ แต่คุณสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยลดไขมันและคลอเรสเตอรอล เช่น
ปลาทะเล ช่วยลดความดันโลหิ ต พวกถัวเมล็ดแห้งอย่างถัวแดง ถัวเขียว ถัวเหลือง ช่วยลดความเสี่ ยง
                                                     ่                ่        ่      ่
จากโรคหัวใจ และมีโปรตีนสู งเพื่อให้พลังงานแทนสัตว์ใหญ่ได้อีก อาหารจําพวกข้าว ธัญพืชไม่ขด                       ั
สี อย่างข้าวซ้อมมือ ขนมปั งโฮลวีท มีใยอาหารสู ง ช่วยให้อิ่มท้องนานและส่ งผลดีต่อระบบลําไส้
                      วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 4 วัยทองถูกเรี ยกแทนวัย 40 ปี ขึ้นไป เนื่องจากสภาพร่ างกายเริ่ ม
เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะผูหญิง ส่ วนผูชายวัยนี้ ก็จะเริ่ มมีโรคต่างๆที่ไม่เคยออกอาการ ซึ่งเรี ยกกันว่า
                                      ้          ้
                                                                                                  ุ่
เป็ น “วิถีทางธรรมชาติ” แต่ท้ งนี้การชะลอวัยหรื อป้ องกันโรคต่างๆที่มากับวัยไม่ได้ยงยากเกินกว่า ที่
                                         ั
เราจะทําได้ สําหรับช่วงวัยนี้ ความต้องการพลังงานจะลดลง แต่ความต้องการแคลเซียมและวิตามิน
ต่างๆเพิ่มขึ้น ซึ่ งจะได้รับจากผักผลไม้ที่มีกากใยอาหารสู ง แล้วยังมีสารต้านอนุ มูลอิสระอย่าง
วิตามินซี จากอาหารที่หารับประทานได้ง่าย เช่น ส้ม ฝรั่ง มะเขือเทศ แคนตาลูป ส่ วนอาหารที่มี
วิตามินอี ได้แก่ นํ้ามันพืช เนยถัว ถัวลิสง อัลมอนด์ นอกจากนี้ควรรับประทานเต้าหู ้ โปรตีนไขมัน
                                           ่ ่
ตํ่า ซึ่ งให้แคลเซี ยมมากกว่าเนื้อสัตว์อย่างอื่น แต่ไม่ควรลืมหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็ นตัวเร่ งความแก่ให้
เร็ วขึ้น เช่น อาหารไขมันสู งประเภททอดกรอบหรื อผัดนํ้ามันมากๆ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ และ
เครื่ องดื่มคาเฟอีนทั้งหลาย
                     วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 5 การก้าวเข้าสู่ ช่วงวัย 50 เป็ นต้นไปนั้นไม่ได้ส่งผลต่อร่ างกายอย่าง
เดียว แต่ยงส่ งผลต่อสภาพจิตใจด้วย เพื่อเตรี ยมพร้อมรับมือกับวัยนี้ คุณควรเข้าใจการทํางานของ
                 ั
ร่ างกายที่มี ประสิ ทธิ ภาพลดลง โดยเฉพาะระบบการย่อยการดูดซึ มอาหาร ทําให้ร่างกายขาด
สารอาหารบางอย่าง ช่วงนี้คุณอาจไม่รู้สึกกระหายนํ้าเท่าไหร่ แต่ควรดื่มนํ้าให้สมํ่าเสมอ อย่างน้อย
วันละ 8-12 แก้ว เพื่อป้ องกันการขาดนํ้าโดยไม่รู้ตว ควรรับประทานคาร์โบไฮเดรตให้นอยลงและ
                                                                ั                                      ้
พยายามเลือกชนิ ดไม่ขดสี เน้นอาหารจําพวกปลาเพื่อไม่ให้ขาดโปรตีน ที่สาคัญคือเป็ นเนื้อสัตว์ที่
                                   ั                                                      ํ
ย่อยง่าย
                       วัยนี้ จะพบปั ญหากระดูกเปราะ กระดูกพรุ นอย่างชัดเจน ดังนั้น ควรได้รับแคลเซี ยม
                                               ่
อย่างเพียงพอ อาหารแคลเซียมสู งอยูในนม โยเกิร์ตชนิดครี ม เนยแข็ง หรื อแม้แต่ปลาตัวเล็กตัวน้อย
พวกผักใบเขียวก็มี เช่ น คะน้า กวางตุง และบรอกโคลี จะช่ วยลดปั ญหาเรื่ องกระดูกให้รุนแรง
                                           ้
น้อ ยลง        การแก้ไ ขภาวะขาดนํ้า อาจให้ดื่ ม นํ้า สมุ น ไพร เช่ น กระเจี๊ ย บ เก๊ ก ฮวย นํ้า ใบเตย
นอกเหนื อจากนํ้าเปล่า เพราะช่วยบรรเทาโรคบางอย่างและให้ประโยชน์กว่าการดื่มเครื่ องดื่มที่มี
คาเฟอีน
              สิ่ งสําคัญไม่ว่าคุณจะอยูในช่วงวัยใดควรดูแลเรื่ องการกินอยูตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็ น
                                      ่                                  ่
โรคหรื อไม่ก็ตาม เพราะคนส่ วนใหญ่มกจะดูแลตัวเองเมื่อพบว่าตัวเองมีโรคหรื อมีปัญหาสุ ขภาพ
                                         ั
แล้ว เท่านั้น นอกจากนี้ การเพิ่มกิจกรรมเคลื่อนไหวระหว่างวันให้มาก ทําบ่อยๆจนติดเป็ นนิ สัย จะ
ช่วยให้สุขภาพดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะประโยชน์ดานระบบการไหลเวียนเลือด ควบคุมนํ้าหนักตัว
                                                   ้
และลดความเครี ยดของร่ างกายได้
             การบริ โ ภคอาหารอย่า งมี สั ด ส่ ว น อาหารในแต่ ล ะมื้ อ ควรมี ส ารอาหารครบทั้ง 5
ประเภทเพื่อการกินดี มีสุข คือประกอบด้วยสารอาหารดังต่อไปนี้ อาหารที่มีสารอาหารประเภท
คาร์ โบไฮเดรตและไขมัน จะให้พลังงานและความอบอุ่น อาหารที่มีสารอาหารประเภทโปรตีนจะ
ช่วยสร้างเสริ มและซ่ อมแซมส่ วนที่สึกหรอ อาหารที่มีสารอาหารประเภทเกลือแร่ และวิตามินจะ
ช่วยควบคุมการทํางานของร่ างกายให้เป็ นปกติ ความต้อง การสารอาหารมนุษย์ทุกคนต้องการ
อาหารหรื อสารอาหารในจํานวนที่ เพียงพอต่อความต้องการของร่ างกาย ซึ่ งในแต่ละวัยก็มีความ
ต้องการสารอาหารที่แตกต่างกันออกไป

             1. วัยทารก (แรกเกิด- 1 ปี ) อาหารหลักคือ นํ้านม นมแม่เป็ นอาหารทีดีและเหมาะที่สุด
สํา หรั บ ทารกนอกจากนมแม่ แ ล้ว           ทารกยังจํา เป็ นต้อ งได้รับ อาหารเสริ มดัง ตารางต่ อ ไปนี้
             2. เด็กวัยก่อนเรี ยน (2 - 5 ปี ) เด็กวัยนี้ ตองการอาหารเช่นเดียวกับทารกในระยะ 1 ปี
                                                          ้
แรกแต่ตองการปริ มาณมากขึ้นเพราะมีความสําคัญต่อการเจริ ญเติบโต
          ้

             3. เด็กวัยเรี ยน (6 - 13 ปี ) เป็ นวัยที่ร่างกายกําลังเจริ ญเติบโตช้า ๆ แต่สมํ่าเสมอ การที่จะ
เจริ ญเติบโตอย่างสมบูรณ์ได้เด็กต้องได้อาหารถูกต้อง ตามหลักโภชนาการในปริ มาณที่เหมาะสม
และเพียงพอกับความต้องการของร่ างกาย ปั ญหาโภชนาการของเด็กวัยนี้ คือได้รับอาหารโปรตีน
และแคลอรี ไม่เพียงพอกับ ความต้องการของร่ างกาย ทําให้มีน้ าหนักตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน
                                                                             ํ
กลายเป็ นโรคขาดสารอาหาร หรื อได้รับมากเกินไปทําให้ภาวะโภชนาการเกินหรื อเป็ นโรคอ้วน ซึ่ง
อาจเกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ความดันโลหิ ตสู ง ไขข้อ
อักเสบ
4. เด็กวัยรุ่ น (13 - 19 ปี ) วัยรุ่ นควรได้รับสารอาหารครบทุกประเภท คือ กินข้าว
เนื้อสัตว์ ถัว ไข่ นํ้านม ไขมัน ผักและผลไม้ทุกวัน เนื่องจากเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้ง
             ่
ด้านรู ปร่ าง หน้าตา จิตใจ อารมณ์ และการร่ วมสังคมกับคนอื่นๆ
               5. วัยผูใหญ่ (20-40 ปี ) เป็ นวัยที่ร่างกายเจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ว แต่ร่างกายก็ยงต้องการ
                        ้                                                                      ั
สารอาหารเพื่อนําไปใช้ในการทํางานของร่ างกาย และซ่อมแซมส่ วนที่ชารุ ดทรุ ดโทรม ผูใหญ่ควร
                                                                              ํ                  ้
กินอาหารให้ครบได้สัดส่ วนตามความต้องการของร่ างกาย ความต้องการวิตามินยังคงเท่ากับวัยรุ่ น
สําหรับธาตุเหล็กร่ างกายยังต้องการมาก ควรลดปริ มาณการกินของหวาน นํ้าตาล ไขมันโดยเฉพาะ
ไขมันจากสัตว์เพิ่ม ปริ มาณการกินผักและผลไม้มากขึ้น
               6. วัยชรา ไม่ตองการแคลอรี มากเพราะมีการเคลื่อนไหวน้อย จึงต้องการอาหาร
                                  ้
ประเภทไขมัน และคาร์โบไฮเดรตน้อยแต่ตองการเหล็กและแคลเซียมมากเพื่อความแข็งแรง ของ
                                                ้
กระดูก ควบคุมการทํางานของประสาท กล้ามเนื้ อ และการแข็งตัวของโลหิ ตส่ วน ที่เป็ นนักกีฬา
อาหารของนักกีฬาที่ให้พลังงานอย่างมาก จะต้องมีสดส่ วนดังนี้ คือ โปรตีน 12 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 33
                                                           ั
เปอร์ เซ็นต์ และคาร์ โบไฮเดรต 55 เปอร์เซ็นต์ แต่ตองดื่มนํ้าให้เพียงพอต่อการดูดซึมอาหารและทํา
                                                         ้
ให้กากอาหารไม่จบตัวแข็ง และถ่ายสะดวก ก่อนการแข่งขันนักกีฬาต้องกินอาหารน้อยๆ เพราะถ้า
                      ั
กิ นมาก เลือดจะถูกดึ งจากกล้ามเนื้ อไปให้กระเพาะเพื่อย่อยอาหาร ทําให้เล่นกี ฬาได้ไม่เต็ม
ความสามารถ ดังนั้นก่อนการแข่งขันควรดื่มนํ้าผลไม้เพื่อป้ องกันการเสี ยนํ้ามากเกินไปซึ่ง ทําให้
เหนื่อยเร็ ว สําหรับผูใหญ่ที่มีร่างกายเล็กหรื อใหญ่หรื อ ทํางานหนักก็รับประทานอาหารลดลงหรื อ
                          ้
เพิ่มขึ้นจากปริ มาณดังกล่าวนี้

          1.2 การเลือกอาหารป้ องกันโรค
              1.2.1 การเลือกอาหารป้ องกันโรคหัวใจ
                       1.2.1.1 ไขมันกับโรคหัวใจ
                               อาหารสุ ขภาพจะต้องประกอบไปด้วยอาหาร 5 หมู่ได้คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน ผักผลไม้ และนม ไขมันเป็ นอาหารที่ให้พลังงานมากที่สุดเมื่อเทียบกับนํ้าหนักที่
เท่ากัน ไขมันที่เรารับประทานมีอยู่ 3 รู ปแบบ คือ
                             1. Triglyceride
                             2. Cholesterol
                             3. Phospholiphid
กรดไขมัน(Fatty acid) คืออะไร กรดไขมันเป็ นการเรี ยงตัวของธาตุคาร์ บอน(
Carbon ,C) โดยที่ปลายด้านหนึ่ งเป็ น methyl group อีกด้านหนึ่งเป็ น carboxyl group ความยาวของ
Cมีได้หลายตัวหากมีความยาวน้อยกว่า 6 เรี ยก Short chainsk หากมี C มากกว่า 12 เรี ยก long chain
fatty acid กรดไขมันเป็ นอาหารของกล้ามเนื้อ หัวใจ อวัยวะภายในร่ างกาย กรดไขมันส่ วนที่เหลือ
ใช้จะถูกสะสมในรู ป triglyceride(ใช้กรดไขมัน3 ตัวรวมกับ glycerol)ซึ่ งจะสะสมเป็ นไขมันใน
ร่ างกาย




                    ภาพที่ 2.1 แสดง Essential features of a fatty acid

              ไขมันอิ่มตัว Saturated fat หมายถึง กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย single bond
เท่านั้นการรับประทานอาหารไขมันชนิ ดอิ่มตัวจะทําให้ไขมันในเลือดสู งและเป็ น ปั จจัยเสี่ ยงของ
โรคหลอดเลือดตีบ แหล่งอาหารของไขมันอิ่มตัวได้แก่ นํ้ามันปาล์ม กะทิ เนย นม เนื้อแดง
ชอคโกแลต




                   ภาพที่ 2.2 แสดง Steaic acid , a saturated fatty acid
ไขมันไม่อิ่มตัวเชิ งเดี่ ยว Monounsaturated เป็ นกรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย
Double bond เพียงหนึ่ งตําแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่าการรับประทานอาหารไขมันประเภทนี้
ทดแทนไขมันอิ่มตัวจะ ช่วยลดระดับ LDL Cholesterol ซึ่ งเป็ นไขมันที่ไม่ดีก่อให้เกิดโรคหลอด
เลือดตีบ อาหารที่มีไขมัน Monounsaturatedได้แก่ avocados, nuts, and olive, peanut and canola
oils




                                ภาพที่ 2.3 แสดง Oleic acid

               กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน Polyunsaturated หมายถึง กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อ
                       ่
กันด้วย Double bond อยูหลายตําแหน่ง หากรับประทานแทนไขมันอิ่มตัวจะไม่เพิ่มระดับไขมันใน
ร่ างกาย อาหารที่มีไขมันชนิ ดนี้ คือ นํ้ามันพืชทั้งหลายเช่น นํ้ามันข้าวโพด นํ้ามันดอกทานตะวัน
นํ้ามันถัวเหลือง
         ่




                        ภาพที่ 2.4 แสดงกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน
essential fatty acids เป็ นกรดไขมันที่จาเป็ นสําหรับร่ างกาย แต่ร่างกายไม่สามารถ
                                                     ํ
สร้างเองได้ตองได้รับจากอาหารที่เรารับประทาน
            ้
               Trans fatty acids เป็ นไขมันที่เตรี ยมจากนํ้ามันพืช เช่น นํ้ามันข้าวโพด ไปทําให้
ร้ อน เพื่อทําให้น้ ามันมี อายุใช้งานได้นานขึ้น และทําให้น้ ามันข้นขึ้นจนเป็ นของแข็ง การ
                    ํ                                         ํ
รับประทานนํ้ามันชนิ ดนี้ มากจะทําให้ไขมัน LDL ในเลือดเพิ่มขึ้นซึ่ งเป็ นปั จจัยเสี่ ยงทําให้เกิ ด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
               omega-3 fatty acids และ omega-6 fatty acids เป็ นกรดไขมันที่จาเป็ นสําหรับ
                                                                                       ํ
ร่ างกาย แต่ร่างกายไม่สามารถผลิตเองต้องได้รับจากสารอาหาร omega-3 fatty acids จะมี Double
bond ที่ตาแหน่ง C3 นับจากกลุ่ม Methyl group omega-3 fatty acids จะพบมากในอาหารจําพวก
          ํ
ปลาและนํ้ามันพืช เช่น salmon, halibut, sardines, albacore, trout, herring, walnut, flaxseed oil, and
canola oil
               omega-6 fatty acids เป็ นกรดไขมันที่จาเป็ นสําหรับร่ างกาย แต่ร่างกายไม่สามารถ
                                                       ํ
ผลิตเองต้องได้รับจากสารอาหารomega-6 fatty acids จะมี Double bond ที่ตาแหน่ง C6 นับจากกลุ่ม
                                                                            ํ
Methyl group omega-6 fatty acids จะพบมากในอาหารจําพวกปลาและนํ้ามันพืช corn, safflower,
sunflower, soybean, and cottonseed oil

                                         ่
            ไขมันในเลือด เมื่อ 20 ปี ที่ผานมาเมื่อท่านไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุ ขภาพและพบว่า
ไขมันในเลือดสู งแพทย์ มักจะแนะนําว่า ให้รับประทานอาหารที่มีไขมันตํ่า แต่ปัจจุบนต้องเน้นถึง
                                                                              ั
ชนิ ดของไขมันในอาหาร หากมีไขมันที่ไม่ดีมากก็จะทําให้เกิดโรคหัวใจได้ง่ายขึ้น หากมีไขมันดี
มากจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจ




                                   ภาพที่ 2.5 ไขมันในอาหาร
โรคหลอดเลื อดไปเลี้ยงหัวใจตี บเป็ นสาเหตุการตายอันดับ ต้นๆของประเทศ
Cholesterol จะพบว่าเป็ นส่ วนประกอบของเซลล์ผิวและอยู่ในกระแสเลือด ร่ างกายของคนเราได้
cholesterol จากสองแหล่งคือ จากอาหารที่เรารับประทาน เช่น เครื่ องใน เนื้อ นม และจากการ
สร้างของตับ

                ไขมันในเลือดมีกี่แบบ เนื่ องจากไขมันในเลือดไม่ละลายนํ้าจึงจําเป็ นต้องมีตวทํา
                                                                                            ั
ละลายที่เราเรี ยกว่า Lipoprotein lipoprotein ที่สร้างจาดตับมีสองชนิดคือ low-density lipoproteins
(VLDL) และ high-density lipoproteins (HDL) ไขมัน VLDL cholesterol เมื่อเข้ากระแสเลือดจะถูก
เปลี่ยนไปเป็ น LDL cholesterol ส่ วนไขมันที่จบกับ hdl เรี ยก HDL cholesterol
                                              ั

              ไขมันสู งกับภาวะสุ ขภาพ




                                                     ่
                               ภาพที่ 2.6 ไขมันที่อยูภายใต้ช้ น
                                                              ั

                โรคหลอดเลือดไปเลี้ยงหัวใจตีบเป็ นสาเหตุการตายอันดับ ต้นๆของประเทศ ไขมัน
ในโลหิ ตสู งเป็ นปั จจัยเสี่ ยงข้อหนึ่ งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ การเปลี่ยนแปลงอาหารและการ
ออกกําลังกายสามารถระดับไขมันในเลือดได้ และลดอัตราเสี่ ยงต่อการเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบ ถ้า
หากcholesterol ในเลือดสู งไขมันจะเกาะติดผนังหลอดเลือดแดงที่เรี ยกว่า plaque ขบวนการที่ทาให้
                                                                                        ํ
หลอดเลือดตีบเรี ยก Atherosclerosis ซึ่งหากเป็ นมากทําให้ หลอดเลือดแดงตีบ เลือดไปเลี้ยงไม่พอ
จึงเกิดอาการ เช่นเจ็บหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด หรื ออัมพฤกษ์ นอกจากนั้นคราบไขมันอาจจะหลุด
จากผนังหลอดเลือดทําให้เกิดอาการหัวใจขาดเลือดเฉี ยบพลัน

            นอกจากระดับ cholesterol แล้วปั จจัยที่มีผลต่อการเกิดหลอดเลือดแข็งคือ ตัวที่จะพา
ไขมันไปตามเส้นเลือดซึ่งเรี ยกว่า lipoprotein ที่สาคัญมีสองชนิดคือ
                                                 ํ
•   Low-density lipoproteins (LDL) ซึ่งจะพา cholesterol จากตับไปสู่ ร่างกาย LDL เป็ นไขมัน
        ที่ไม่ดีหากมีมากจะทําให้เกิดหลอดเลือดแดงตีบได้ง่าย
    •   High-density lipoproteins (HDL) เป็ นตัวที่พา cholesterol จากร่ างกายเข้าสู่ ตบ หากมีHDL
                                                                                      ั
        สูงการเกิดโรคหลอดเลือดจะน้อยลง

                   1.2.1.2 มะเร็ งเต้านม
                  พบว่าประเทศที่รับประทานอาหารมันจะมีอุบติการณ์ของโรค มะเร็ งเต้านมสู ง แต่ยง
                                                             ั                               ั
ไม่ มี ห ลัก ฐานที่ แ น่ ชัด       ประเทศทางยุ โ รปได้พ บว่ า หากรั บ ประทานอาหารที่ มี ไ ขมัน
monounsaturated fats (พบมากในนํ้ ามัน olive oil) จะเกิดโรคมะเร็ งเต้านมตํ่า
                   1.2.1.3 มะเร็ งลําไส้ใหญ่
                  ก่อนหน้านี้ มีความเชื่อว่ารับประทานไขมันมากจะเกดโรค มะเร็ งลําไส้ได้มาก แต่
                                                         ั
ปัจจุบนพบว่าการรับประทานเนื้อแดงจะมีความสัมพันธ์กบการเกิดมะเร็ งลํา ไส้ใหญ่
        ั
                   1.2.1.4 มะเร็ งต่อมลูกหมาก
                    จากข้อมูลที่ได้ยงไม่พบความสัมพันธ์ที่ชดเจน แต่มีความเชื่อว่าการรับประทาน
                                    ั                      ั
อาหารไขมันอิ่มตัว มากจะเพิ่มความเสี่ ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ งต่อมลูกหมาก
                   1.2.1.5 โรคอ้วน
                  ก่อนหน้านี้ แพทย์จะแนะนําเรื่ องลดนํ้าหนักโดยการลดอาหาร มันซึ่ งไม่ถูกต้อง
ทั้งหมด ปั จจุบนแนะนําให้รับประทานปริ มาณไขมันไม่เกิน 30 %ของปริ มาณพลังงานทั้งหมดและ
                ั
ให้ลดปริ มาณพลังงานที่รับประทานในแต่ละวัน
                                                                  ํ
                  ระดับไขมันแค่ไหนถึงจะดี ประเทศอเมริ กาได้กาหนดระดับไขมันที่เหมาะสม
สําหรับคนที่ มีอายุมากกว่า 20 ปี ไว้ดงนี้
                                        ั

    •   Total cholesterolน้อยกว่า 200 (mg/dl)
    •   HDL cholesterol มากกว่า 40 mg/dl
    •   LDL cholesterol น้อยกว่า 100 mg/dl

                 ปริมาณไขมันทีต้องการในแต่ ละวัน
                              ่

               สมาคมโรคหัวเบาหวาน สมาคมโรคหัวใจและสมาคมโภชนาของประเทศอเมริ กา
ได้แนะนําให้รับประทานอาหารที่ เป็ นไขมันไม่เกินร้อยละ 30 ของปริ มาณพลังงานทั้งหมด แต่จาก
การศึกษาพบว่าชนิ ดของไขมันที่รับประทานจะมีผลต่อสุ ขภาพมากกว่าปริ มาณ โดยพบว่าหาก
รับประทานอาหารไขมันชนิ ดไขมันอิ่มตัวและ tran-fatty acid จะทําให้ความเสี่ ยงต่อโรคหัวใจ
เพิ่มขึ้น ในทางกลับกันหากให้รับประทานอาหารที่มีไขมันไม่อิ่มตัว ( monounsaturated or
polyunsaturated fat ) จะทําให้การเกิดโรคหัวใจลดลง นอกจากนั้นควรจะรับประทานไขมันที่ได้
จากปลา omega-3 ซึ่ งจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจ สมาคมโรคหัวใจแนะนําให้รับประทานปลา
สัปดาห์ละ 2 ครั้ง

                      1.2.1.6 ไขมันกับไข่




                                    ภาพที่ 2.7 ไขมันกับไข่

เป็ นที่ทราบกันดี ว่าไขมันสู งเป็ น ปั จจัยเสี่ ยงต่อการเกิ ดโรคหัวใจ และปริ มาณไขมันในไข่ก็มี
ปริ มาณค่อนข้างสู ง ทําให้แพทย์มกจะแนะนําให้ลดการรับประทานไข่ แต่จากการศึกษาพบว่าการ
                                   ั
รับประทานไข่วนละฟองไม่เพิ่มอุบติการณ์การเกิดโรค หัวใจ และมีผลต่อระดับไขมันน้อยมาก
                ั                    ั
นอกจากนั้นในไข่แดงยังมี protein, vitamins B12 and D, riboflavin, and folate ซึ่ งช่วยลดการเกิด
โรคหัวใจ ดังนั้นจึงแนะนําว่าคนปกติสามารถรับประทานได้ทุกวัน สําหรับผูป่วยโรคเบาหวานให้
                                                                           ้
รับประทานสัปดาห์ละ 2-3ฟอง

          1.3 การเลือกอาหารเพือความงาม
                                    ่
                          ่
               กินเพื่ออยูอย่างเดียวเห็นจะไม่พอควรมอง ไกลไปถึงสุ ขภาพด้วย อย่างที่เรา ๆ ท่าน ๆ
ทราบกันดี นันแหละ คนเราจะมีสุขภาพดีได้น้ ันขึ้นอยู่กบปั จจัยหลายประการ เช่ น กรรมพันธุ์
             ่                                                ั
สุ ขภาพจิต วิถีการดําเนินชีวิต สิ่ งแวดล้อม รวมถึงอาหารการกินของเรา อาหารบางประเภท สามารถ
ป้ องกันหรื อลดโอกาสการเกิดโรคบางชนิด เช่น ผักผลไม้ช่วยป้ องกันโรคต่าง ๆ ได้ อาทิ โรคหัวใจ
มะเร็ ง เบาหวาน ไขมันในเลือดสู ง ความดันโลหิ ตสู ง โรคในระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องผูก
ริ ดสี ดวงทวาร เป็ นต้น
                อย่างไรก็ตาม เดี๋ยวนี้เราไม่ได้คานึงแค่กินเพื่อสุ ขภาพอย่างเดียว เทรนด์การกินมีการ
                                                ํ
ปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย คนรุ่ นใหม่มองไปถึงว่ากินยังไงให้สวย กระแสอาหารเพื่อสุ ขภาพจึง
ขยับมาสู่ อาหารเพื่อความงาม (Food for Beauty) เพื่อความสวยที่มาจากภายในสะท้อนผ่านสู่
ภายนอกมิใช่ความงามจากการตกแต่งภายนอกเพียงฉาบฉวย อาหารมีบทบาทสําคัญกว่าที่คุณ เคย
คิดมากนัก จะประทินโฉมด้วยครี มบํารุ งดี เลิศขนาดไหนก็คงช่ วยได้ไม่ มาก ถ้ายังมองข้าม
ความสําคัญของอาหารการกิ นที่ถูกต้อง ดังนั้นลองหันมาใส่ ใจอาหารที่คุณรับประทาน เพื่อ
เสริ มสร้างผิวพรรณของคุณให้สวยงาม เปล่งปลัง ดูอ่อนกว่าวัย เส้นผมเงางามเป็ นประกาย ไม่
                                                    ่
เปราะหรื อร่ วงง่าย ตลอดจนมีสุขภาพเล็บที่สมบูรณ์แข็งแรง เรี ยกว่างามกันตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า
เลยทีเดียว คงมีคาถามตามมาว่าแล้วจะเริ่ มต้นกินอย่างไรดี ง่าย ๆ ไม่มีอะไรซับซ้อนค่ะ เพียงแค่คุณ
                  ํ
ไม่เลือกกินเฉพาะในสิ่ งที่ชอบ แต่เลือกกินให้หลากหลายเข้าไว้ นันก็คือรับประทานอาหารให้ครบ
                                                                  ่
5 หมู่ เพื่อให้ได้รับสารอาหารที่จาเป็ นต่าง ๆ ไปช่วยบํารุ งผิวพรรณ เส้นผมและเล็บของคุณให้
                                    ํ
สวยงามแข็งแรง
               สารอาหารต่าง ๆ ที่เข้าสู่ ร่างกาย คือกุญแจสําคัญที่ไขไปสู่ ความงาม พวกเราส่ วน
ใหญ่มกได้ยนชื่อสารอาหารเหล่านี้ กนอยูเ่ สมอ แต่ไม่ทราบว่าเกี่ยวพันกับความสวยงามของร่ างกาย
       ั ิ                            ั
ของเรา อย่างแคลเซียม ชื่อนี้คงคุนเคยกันดี เรารู ้วาแคลเซียมมีส่วนช่วยในการสร้างกระดูก และฟัน
                                  ้               ่
แต่อาจไม่ทราบว่า แคลเซี ยมนั้นช่วยสร้างความแข็งแรงให้เส้นผมและเล็บด้วยค่ะ สารอาหารตัวอื่น
ๆ ก็เช่นเดียวกัน ซ่อนคุณค่าที่หลายคนอาจนึกไม่ถึง เป็ นต้นว่า กรดไขมันโอเมก้า 3 ที่พบมากใน
ปลาทะเลไทย เช่น ปลาทู ปลารัง ปลากะพง ปลาเก๋ า ปลาสําลี ปลาอินทรี ปลาโอ ฯลฯ ช่วยป้ องกัน
การอักเสบและติดเชื้อภายในร่ างกาย เพื่อความแข็งแรงของเซลล์ต่าง ๆ                ธาตุเหล็ก เป็ น
องค์ประกอบสําคัญ อย่างหนึ่งในการสร้างเม็ดเลือดแดง จึงช่วยให้ผิวพรรณดูเปล่งปลังมีเลือดฝาด
                                                                                     ่
ทองแดงช่วยในการสร้างคอลลาเจน สังกะสี ช่วยในการซ่ อมแซมคอลลาเจนที่สึกหรอ เสริ มสร้าง
การเจริ ญเติบโตของเซลล์ และช่วยรักษาสิ วอีกด้วย โปรตีน หนึ่ งในอาหารหลักห้าหมู่ที่เรี ยนกัน
มาตั้งแต่สมัยประถม เป็ นสารอาหารสําคัญในการสร้างเนื้ อเยื่อ และซ่ อมแซมส่ วนที่สึกหรอใน
อวัยวะต่าง ๆ จึ งมี ความจําเป็ นอย่างยิ่งในการสร้ างและซ่ อมแซมเซลล์ผิว รวมไปถึ งเส้นผม
กลุ่มของพวกวิตามินต่าง ๆ กันบ้างค่ะ คุณประโยชน์ของวิตามินในแง่ความสวยความงาม เช่น
วิตามิน ดี พบมากในนํ้ามันตับปลา ตับ นม เนย แสงแดดอ่อน ๆ ยามเช้าก็ช่วยให้ร่างกายสร้าง
วิตามินดีได้ วิตามินดีมีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายดูดซึ มแคลเซี ยม คงยังไม่ลืมว่า แคลเซี ยมมีส่วนช่วย
สร้างความแข็งแรงให้เส้นผมและเล็บ                  วิตามินเค พบมากในตับวัวและผักใบเขียว เช่น
ผักกาดหอม กะหลํ่าปลี นอกจากนี้ แบคทีเรี ยในลําไส้ใหญ่ของคนเรายังสังเคราะห์ข้ ึนได้ดวย         ้
วิตามินเคมีหน้าที่สร้างโปรตีนหลายชนิ ด ที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด ส่ วนในแง่ความ
สวยงามช่วยให้รอยเส้นเลือดขอด หรื อเส้นเลือดฝอยแตกบนผิวจางลง อีกทั้งยังช่วยเยียวยาผิวที่ถูก
แสงแดดทําร้ายให้หายเร็ วขึ้น วิตามินบี เป็ นต้นว่า วิตามินบี 3 ช่วยกระตุนการไหลเวียนของเลือด
                                                                         ้
และทําให้ผวหนังไม่ซีด วิตามินบี 5 ช่วยลดริ้ วรอยต่าง ๆ ของผิวพรรณ วิตามินบี 9 (หรื อกรดโฟ
             ิ
ลิก) ช่วยในเรื่ องการแบ่งและเจริ ญเติบโตของเซลล์ และมีส่วนสําคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง จึง
                      ่
ช่วยให้ผวพรรณดูผองใสมีสุขภาพดี วิตามินบี 12 ทํางานร่ วมกับกรดโฟลิกในการช่วยบํารุ งและแบ่ง
          ิ
เซลล์ สารอาหารสําคัญที่จะลืมไม่ได้อีก 3 ตัว ถ้าไม่กล่าวถึงเห็นจะเชยแย่ก็คือ วิตามินเอ ซี และ อี
วิตามินเหล่านี้ เป็ นสารแอนดี้ออกซิ แดนท์ที่สาคัญ ในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอการเสื่ อม
                                                ํ
ของผิวหนัง
                 "อนุมูลอิสระ" คืออะไร ปกติในร่ างกายของคนเราจะเกิดสารอนุมูลอิสระจากการเผา
ผลาญอาหาร หรื อขบวนการทางเคมีในร่ างกายอยูแล้ว แต่ก็จะมีกลไกควบคุมไม่ให้สารเหล่านี้เกิด
                                                     ่
อันตรายต่อร่ างกาย โดยร่ างกายจะสร้างสารต้านอนุมูลอิสระขึ้นต่อต้าน แต่บางภาวะ ถ้าเกิดความไม่
สมดุลระหว่างอนุ มูลอิสระและสารต้านอนุ มูลอิสระแล้ว ก็จะเกิดผลเสี ยต่อร่ างกายได้ โดยสาร
อนุมูลอิสระส่ วนเกินที่เกิดขึ้นเชื่อว่า เป็ นต้นเหตุหนึ่ งของภาวะหรื อโรคหลาย ๆ ชนิด รวมทั้งการ
เสื่ อมของเซลล์ผวหนังของคนเรา วิตามินเอ พบมากในผักใบเขียวและสี เหลือง ได้แก่ ผักใบเขียว
                    ิ
ต่าง ๆ แครอท ฟั กทอง มะละกอ ส้ม สับปะรด ช่วยป้ องกันการเสื่ อมอายุของผิวหนังกระตุน            ้
กระบวนการผลัด เซลล์ผิว ช่ ว ยให้ริ้วรอยบนผิวลดเลื อนลงและบรรเทาการเกิ ดสิ วได้ด้ว ย
วิตามิน อี พบมากในวีทเจิม ซีเรี ยล นํ้ามันพืช ไข่แดง เนยสด ช่วยชะลอเซลล์ผวแก่ก่อนวัย ช่วยให้
                                                                              ิ
ผิวหนังชุ่มชื้น ลดการอักเสบ วิตามินซี พบมากในมะเขือเทศ ฝรั่ง ส้มทุกชนิ ด มะขามเทศ
มะขามป้ อม สตรอเบอร์ รี่และผักใบเขียว ช่วยกระตุนการสร้างคอลลาเจน ซึ่งเป็ นปั จจัยสําคัญที่ทา
                                                       ้                                        ํ
ให้ผวเรี ยบตึง ไร้ริ้วรอยและช่วยกระตุนระบบการไหลเวียนโลหิ ต ทําให้ผวเปล่งปลังมีน้ ามีนวลขึ้น
      ิ                                  ้                                ิ       ่ ํ
ส่ วนที่จะลืมไม่ได้อีกประการก็คือ การดื่มนํ้าสะอาดเพียงพอ นํ้าเป็ นปั จจัยสําคัญมากในการบํารุ ง
ผิวพรรณ คุณควรดื่มนํ้าวันละ 6-8 แก้วต่อวันจะช่วยให้ผวพรรณไม่แห้ง เต่งตึงสดใส ส่ วนพวกชา
                                                            ิ
กาแฟ หรื อเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ อย่าเหมาว่าเป็ นของเหลวเหมือนกัน ควรงดดื่มไปจะดีกว่า เพราะ
เป็ นตัวทําลายเซลล์ผวหนังให้แก่ก่อนวัยอันควร เลือกกินให้เป็ นให้ได้สาร อาหารครบถ้วน มีส่วน
                        ิ
ช่วยเสริ มสร้างความงามได้แน่นอน มาเริ่ มปฏิบติการสวยจากภายใน
                                                  ั
1.3 คุณค่ าของสารอาหารทีจําเป็ นต่ อการดํารงชีวต
                                 ่                      ิ




                        ภาพที่ 2.8 สารอาหารที่จาเป็ นต่อการดํารงชีวิต
                                               ํ

                1.3.1 วิตามิน (Vitamin) ทําหน้าที่เป็ นตัว Co=enzyme ช่วยให้เอนไซม์ต่าง ๆ ใน
ร่ างกายทําหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ ยงช่ วยในการเผาผลาญสารอาหารต่าง ๆ ให้เป็ น
                                               ั
พลังงาน ช่วยในการเจริ ญเติบโต และซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอของร่ างกาย ถ้าร่ างกายขาดวิตามินจะ
ทําให้เกิดโรคต่างๆได้

                1.3.2 เกลือแร่ (Mineral) ที่จาเป็ นต่อร่ างกายมี 16 ชนิ ด ช่วยในการเสริ มฤทธิ์กับ
                                             ํ
วิตามิน ช่วยให้ร่างกายทํางานตามปกติ ช่วยเร่ งการเผาผลาญสารอาหารต่าง ๆ ในร่ างกายให้เป็ น
พลังงาน ช่วยในการเจริ ญเติบโต ซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอของร่ างกาย และสร้างเซลล์เนื้อเยือใหม่ ๆ
                                                                                         ่
                 1.3.3 เส้นใยอาหาร (Fiber) มีส่วนสําคัญต่อร่ างกายในขบวนการย่อยอาหาร และ
ช่วยในการดูดซึ มสารอาหารที่ให้พลังงานป้ องกันอาการท้องผูก และท้องเสี ย และอื่นๆอีกมากมาย
                1.3.4 โปรตีน (Protein) ร่ างกายย่อยโปรตีนให้เป็ นกรดอะมิโน มีส่วนสําคัญในการ
เสริ มสร้ างกล้ามเนื้ อ ซ่ อมแซมส่ วนที่สึกหรอ ช่ วยในการเสริ มสร้ างเซลล์ใหม่ กระตุนระบบ  ้
ภูมิคุมกันในร่ างกายและยังให้พลังงานอีกด้วย
      ้

2. แนวคิดทัวไปเกียวกับสุ ขภาพและความงาม
             ่         ่
           2.1 ความหมายของสุ ขภาพ
                 2.1.1 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายของ “สุ ขภาพ”
ไว้ว่า “ความสุ ขปราศจากโรค, ความสบาย” ก่อน พ.ศ.2500 เราใช้คาสุ ขภาพกันน้อยมาก เพราะ
                                                                         ํ
ขณะนั้นเราใช้คาว่า “อนามัย” (อน + อามัย) ซึ่ งหมายถึง ‘ความไม่มีโรค’ ซึ่งเมื่อเปรี ยบกันแล้วจะ
                   ํ
เห็นว่า คําว่า “สุ ขภาพ” มีความหมายกว้าง และสมบูรณ์กว่า “อนามัย” เพราะสุ ขภาพเน้นสุ ขภาวะ
คือ ภาวะที่ทาให้เกิดความสุ ขปราศจากโรคซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายๆ ปั จจัย และมีความหมายในเชิง
               ํ
บวก               ส่ ว นอนามัย นั้ นเน้ น ที่ โ รค ซึ่ งเป็ นความทุ ก ข์   มี ค วามหมายในเชิ ง ลบ
สําหรับองค์การอนามัยโลก (WHO : World Health Organization) ได้ให้ความหมาย
ของ สุ ขภาพไว้ในธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกเมื่อปี ค.ศ.1948 ไว้ดงนี้ “สุ ขภาพหมายถึง    ั
                                                                                   ่
สภาวะแห่ งความสมบูรณ์ของร่ างกายและจิตใจ รวมถึงการดํารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างเป็ นปกติ
สุ ข และมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพเท่านั้น” ต่อมาในที่ประชุม
สมัชชาองค์การอนามัยโลก เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2541 ได้มีมติให้เพิ่มคําว่า “Spiritual well-
being” หรื อสุ ขภาวะทางจิตวิญญาณเข้าไป ในคําจํากัดความของสุ ขภาพเพิ่มเติม ดังนั้น เมื่อกล่าวถึง
สุ ขภาพในปั จจุบนจะต้องครอบคลุมถึงสิ่ งที่สาคัญ 4 ประการ คือ
                           ั                                ํ
1. ภาวะทัวไปของร่ างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรงสมบูรณ์
              ่
2. มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ
3. จะต้องปราศจากโรคหรื อความทุพพลภาพ
4. จะต้องเป็ นผูที่สามารถดํารงตนและปฏิบติภารกิจต่างๆในสังคมได้เป็ นปกติสุข
                         ้                                ั
                      2.1.2 ตามร่ างพระราชบัญญัติสุขภาพ แห่ งชาติ 2545 ให้ความหมายของคําว่า
“สุ ขภาพ” คือภาวะที่มีความพร้อมสมบูรณ์ท้ งทางร่ างกาย คือ ร่ างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง คล่องแคล่ว
                                                        ั
มี ก ํา ลัง ไม่ เ ป็ นโรค ไม่ พิ ก าร ไม่ มี อุ บ ัติ เ หตุ อ ัน ตราย   มี สิ่ ง แวดล้อ มที่ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ
                 ทางจิ ตใจ คื อ มี จิตใจที่ มีความสุ ข รื่ นเริ ง ไม่ ติด ขัด มี เมตตา มี สติ มี สมาธิ
            ทางสังคม คือ มีการอยูร่วมกันด้วยดี มีครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมมีความ
                                          ่
ยุติธรรม และทางจิตวิญญาณ คือ ความสุ ขที่เกิดขึ้นเมื่อทําความดีหรื อจิตใจได้สมผัสสิ่ งที่มีคุณค่าอัน
                                                                                         ั
สู ง ส่ ง โดยทั้ง 4 ด้านนี้ จะต้องเกิดขึ้นจากการจัดการทางสุ ขภาพในระดับต่างๆทั้งสุ ขภาพในระดับ
ของ ปั จเจกบุคคล (Individual Health) สุ ขภาพของครอบครัว (Family Health) อนามัยชุมชน
(Community Health ) และสุ ขภาพของสาธารณะ (Public Health)
                      2.1.3      สุ ขภาพ หมายถึง ภาวะแห่ งความสมบูรณ์ของร่ างกาย จิตใจ และการ
                  ่
ดํารงชีวิตอยูในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ความปราศจากโรค หรื อทุพพลภาพเท่านั้น (Health is
defined as a state complete physical, mental and social well-being and merely the absence of
disease infirmity : World Health Organization - WHO (องค์การอนามัยโลก) , 2491)
                สุ ขภาพจึ งมีความหมายที่เน้นความเป็ นอยู่ที่สมบูรณ์ท้ งทางร่ างกาย จิ ตใจ และสังคม
                                                                            ั
นันคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุ ขภาพจิต และสุ ขภาพทางสังคมครบทุกด้าน และในที่ประชุมสมัชชา
   ่
องค์การอนามัยโลก เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้ตกลงเติมคําว่า “Spiritual Well-being”
หรื อสุ ขภาวะทางจิตวิญญาณเข้าไป ในคําจํากัดความของสุ ขภาพเพิ่มเติม จึงอาจกล่าวได้ว่า
สุ ขภาพ หมายถึง ภาวะของการดํารงชีวิตที่มีความสมบูรณ์ท้ งร่ างกาย จิตใจ รวมทั้งการอยูร่วมกัน
                                                                      ั                                  ่
                             ่
ในสังคมได้ดวยดี อยูบนพื้นฐานของคุณธรรม และการใช้สติปัญญา
                    ้
ในอดีตคําว่า สุ ขภาพ หมายถึง สุ ขภาพกายเป็ นหลัก ต่อมาจึงได้รวมสุ ขภาพจิตเข้าไป
ด้วย เพราะเห็นว่าคนที่มีสุขภาพกายสมบูรณ์แข็งแรง แต่สุขภาพจิตเสื่ อมโทรมหรื อเป็ นโรคจิตก็ไม่
สามารถดําเนินชีวิตเป็ นปกติสุขได้ ซํ้าร้ายอาจจะทําร้ายผูอื่นได้อีกด้วย ปั จจุบน คําว่า สุ ขภาพ มิได้
                                                         ้                       ั
หมายความเฉพาะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตเท่านั้น แต่ยงได้รวมถึงสุ ขภาพสังคม และสุ ขภาพจิต
                                                           ั
วิญญาณอีกด้วย จึงสามารถสรุ ปได้ว่าในความหมายของ "สุ ขภาพ" ในปั จจุบน มีองค์ประกอบ 4ั
ส่ วน ด้วยกันคือ
              1. สุ ขภาพกาย (Physical Health) หมายถึง สภาพที่ดีของร่ างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆ
      ่
อยูในสภาพที่ดี มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ร่ างกายสามารถทํางานได้ตามปกติ
                        ั
และมีความสัมพันธ์กบทุกส่ วนเป็ นอย่างดี และก่อให้เกิดประสิ ทธิภาพที่ดีในการทํางาน
              2. สุ ขภาพจิต (Mental Health) หมายถึง สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มี
จิตใจเบิกบานแจ่มใส มิให้เกิดความคับข้องใจหรื อขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคม
และสิ่ งแวดล้อมได้อย่างมีความสุ ข สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งผู ้
มีสุขภาพจิตดี ย่อมมีผลมาจากสุ ขภาพกายดีดวย ดังที่ John Lock ได้กล่าวไว้ว่า “A Sound mind is in
                                               ้
                                             ่
a sound body” คือ “จิตใจที่แจ่มใส ย่อมอยูในร่ างกายที่สมบูรณ์”
                  3. สุ ขภาพสังคม (Social Health) หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุข
สมบูรณ์ มีสภาพของความเป็ นอยู่หรื อการดําเนิ นชีวิตอยูในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทาให้ผอื่น
                                                               ่                            ํ ู้
                                                             ่
หรื อสังคมเดือดร้อน สามารถปฏิสมพันธ์และปรับตัวให้อยูในสังคมได้เป็ นอย่างดีและมีความสุ ข
                                     ั
               4. สุ ขภาพจิตวิญญาณ (Spiritual Health) หมายถึง สภาวะที่ดีของปั ญญาที่มีความรู ้ทว  ั่
รู ้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่ งความดีความชัว ความมีประโยชน์และความมี
                                                                     ่
โทษ ซึ่งนําไปสู่ ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้ อเผือแผ่
                                                   ่
              ในองค์ประกอบสุ ขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น แต่ละด้านยังมี 4 มิติ ดังนี้
               1. การส่ งเสริ มสุ ขภาพ เป็ นกลไกการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สุขภาพกาย สุ ขภาพจิต
สุ ขภาพสังคม และสุ ขภาพจิตวิญญาณ
                    2. การป้ องกันโรค ได้แก่ มาตรการลดความเสี่ ยงในการเกิดโรค รวมทั้งการสร้าง
ภูมิคุมกันเฉพาะโรค ด้วยวิธีการต่างๆ นานา เพื่อมิให้เกิดโรคกาย โรคจิต โรคสังคม และโรคจิต
        ้
วิญญาณ
              3. การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว เราต้องเร่ งวินิจฉัยโรคว่าเป็ นโรคอะไร แล้วรี บให้
การรักษาด้วยวิธีที่ได้ผลดีที่สุดและปลอดภัยที่สุดเท่าที่มนุ ษย์จะรู ้และสามารถให้การบริ การรักษา
ได้ เพื่อลดความเสี ยหายแก่สุขภาพ หรื อแม้แต่เพื่อป้ องกันมิให้เสี ยชีวิต
4. การฟื้ นฟูสภาพ หลายโรคเมื่อเป็ นแล้วก็อาจเกิดความเสี ยหายต่อการทํางานของระบบ
อวัยวะหรื อทําให้พิการ จึงต้องเริ่ มมาตรการฟื้ นฟูให้กลับมามีสภาพใกล้เคียงปกติที่สุดเท่าที่จะทําได้
                 ทั้ง (1) การส่ งเสริ มสุ ขภาพ และ (2) การป้ องกันโรคนี้ เราเรี ยกรวมกันว่า "การสร้าง
สุ ขภาพ" เป็ นการทําก่อนเกิดโรค ส่ วน (3) การรักษาโรค และ (4) การฟื้ นฟูสภาพนี้ เราเรี ยก
รวมกันว่า "การซ่ อมสุ ขภาพ" เป็ นการทําหลังจากเกิดโรคแล้ว และเป็ นที่เชื่อกันว่า "การสร้าง
สุ ขภาพ" มีประสิ ทธิผลดีกว่า และเสี ยค่าใช้จ่ายน้อยกว่า "การซ่อมสุ ขภาพ" เนื่ องจาก "การสร้าง
สุ ขภาพ" เป็ นสิ่ งที่ประชาชนสามารถทําได้ดวยตัวเอง  ้             ส่ วน "การซ่ อมสุ ขภาพ" ต้องอาศัย
หน่วยงานด้านการแพทย์เป็ นหลัก
                แม้ว่าสุ ขภาพโดยองค์รวมแล้วจะเป็ นภาวะของมนุษย์ที่เชื่อมโยงกันทั้ง ทางกาย ทาง
จิต ทางปั ญญา และทางสังคม แต่ในเรื่ องของสถิติสาขาสุ ขภาพนั้น มีขอจํากัดในการศึกษาทําให้
                                                                            ้
ในขั้นต้นจะกล่าวถึงเฉพาะสุ ขภาพทางกาย และสุ ขภาพทางจิต เท่านั้น
             2.2 ความสํ าคัญของสุ ขภาพ
                สุ ขภาพเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นยิงต่อความเจริ ญงอกงามและพัฒนาการทุก ๆ ด้านใน
                                                      ่
ตัวบุคคล สุ ขภาพเป็ นรากฐานที่สาคัญของชีวิต โดยเริ่ มมาตั้งแต่มีการปฏิสนธิ ในครรภ์มารดาวัย
                                         ํ
ทารก วัยผูใหญ่จนถึงวัยชรา
           ้                               สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เป็ นพระพุทธสุ ภาษิตว่า
“อโรคยา ปรมาลาภา” ซึ่งแปลว่า “ความไม่มีโรคเป็ นลาภอันประเสริ ฐ” พระพุทธภาษิตข้อนี้ แม้แต่
ชาวอารยประเทศทางตะวันตกก็ยงยอมรับนับถือกัน และเห็ นพ้องต้องกันว่า “สุ ขภาพคือพรอัน
                                       ั
ประเสริ ฐสุ ด (Health is the greatest blessing of all)” นอกจากนี้ยงมีสุภาษิตของชาวอาหรับโบราณ
                                                                      ั
กล่าวไว้ว่า “คนที่มีสุขภาพดีคือคนที่มีความหวัง และคนที่มีความหวังคือคนที่มีทุกสิ่ งทุกอย่าง (He
who has health has hope and he who has hope has everything)” ซึ่ งนันก็หมายความว่าสุ ขภาพ
                                                                              ่
จะเป็ นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรื อหนทางซึ่งจะนําบุคคลไปสู่ความสุ ขและความสําเร็ จต่างๆ นานาได้
                  ชีวิตเป็ นสิ่ งมีค่ายิงกว่าทรัพย์สินใด ๆ ทุกคนย่อมรักษาและหวงแหนชีวิตของตนเอง
                                        ่
ปรารถนาให้ตนเองมีชีวิตที่อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข จึงจําเป็ นต้องรักษาสุ ขภาพอนามัยให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่
เสมอ การมีสุขภาพดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรื อการบาดเจ็บจากอุบติเหตุต่าง ๆ มีกล้ามเนื้ อที่
                                                                          ั
ทํางานได้ดี สามารถทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ร่ างกายสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่ งแวดล้อมได้ดี
                                                                            ่
ไม่มีความวิตกกังวล ไม่ถูกความเครี ยดมารบกวน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข
ย่อมเป็ นสิ่ งที่ปรารถนาของมนุษย์ทุกคน สุ ขภาพจึงเปรี ยบเสมือนวิถีแห่ งชีวิต ที่จะนําไปสู่ ความสุ ข
และความสําเร็ จต่างๆ ในชีวิตได้
            ประสิ ทธิ ภาพในการทํางานของประชาชนในทุกสาขาอาชีพจะต้องอาศัยสุ ขภาพที่ดี
แข็งแรงสมบูรณ์เป็ นปั จจัยสําคัญ การพัฒนาประเทศจะดีหรื อไม่ข้ ึนอยู่กบสุ ขภาพที่ดีของคนใน
                                                                     ั
ชาติ เ ป็ นสําคัญ ประเทศที่ ประชาชนมี สุขภาพดี                 มี สติ ปัญญา มี คุณธรรมและจริ ยธรรม มี
ความสามารถในการประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ ไม่เบียดเบียนและทําร้ายซึ่ ง
กันและกัน ย่อมเกิ ดความสงบสุ ข และเมื่อบุคคลในชาติมีสุขภาพกายและจิตดี มีมนสมองที่มี        ั
ศักยภาพ ย่อมเป็ นผูที่มีความสามารถเรี ยนรู ้ และสร้างสรรค์ส่ิ งต่าง ๆ ได้ดี ซึ่ งจะส่ งผลต่อการ
                         ้
พัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
                 กรอบความคิดเรื่ องสุ ขภาพในปั จจุบนวางอยู่บนฐานที่ว่าด้วยเรื่ อง สุ ขภาวะ (well-
                                                            ั
being) ทั้งมิติ ทางกาย ทางใจ ทางสังคม และทางปั ญญา (จิตวิญญาณ)และทั้งมิติของคน
ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้นสุ ขภาพมีผลกระทบมาจากหลายปั จจัย จึงต้องให้ความสําคัญ
กับองค์ความรู ้ ทั้งเรื่ องของการดําเนิ นงานทางสาธารณสุ ข การจัดบริ การสาธารณสุ ข และเรื่ อง
ต่างๆ ที่ปรากฏในสังคม เพราะสิ่ งเหล่านี้ มีผลกระทบต่อสุ ขภาพทั้งทางตรง และทางอ้อม ทั้งด้าน
บวก และด้านลบ องค์ความรู ้ เพื่อการพัฒนาสุ ขภาพและระบบสุ ขภาพจึงไม่ใช่ เรื่ องของระบบ
การแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็ นเรื่ องความร่ วมมือกันของสังคม ที่จะมาร่ วมสร้างค่านิ ยมที่
ถูกต้องเกี่ยวกับสุ ขภาพ สร้างสิ่ งแวดล้อมที่ปลอดภัย และเอื้อต่อการมีสุขภาพดี ร่ วมสร้างวัฒนธรรม
ของการดําเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผูอื่น และร่ วมกันสร้างสังคม ที่อยูร่วมกันอย่างมีสันติ
                                                      ้                              ่
สุ ข
                2.2.1 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อสุ ขภาพ
                           สิ่ งที่มีอิทธิพลต่อสุ ขภาพของคนเรานั้นมีมากมายหลายสาเหตุ แต่ในที่น้ ีจะ
แบ่งออกเป็ น 3 องค์ประกอบที่สาคัญ ๆ ดังนี้ํ
                           1. องค์ประกอบด้านตัวบุคคล
                                 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรม (Genetic makeup)
                                 1.2 เชื้อชาติ (Race)
                                 1.3 เพศ (Sex)อายุและระดับพัฒนาการ (Age and development level)
                                 1.4 ปั จจัยทางสรี รวิทยา (Physiological factors)
                                 1.5 ปั จจัยทางด้านจิตใจ (Poychological Factors)
                                 1.6 ความรู ้ ความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติ

                                 1.7 พฤติกรรมอนามัย (Health behavior) หรื อสุ ขปฏิบติ (Health
                                                                                   ั
Practice)
                  2. องค์ประกอบด้านสิ่ งแวดล้อม (Environment Factors) สิ่ งแวดล้อมอาจ
แบ่งเป็ น 4 ด้านใหญ่ คือ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ

Más contenido relacionado

Was ist angesagt?

ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนพัน พัน
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก KM117
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน Noon Nantaporn
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคkasocute
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1no16672
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1sunnygold
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพZee Gopgap
 

Was ist angesagt? (20)

ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Food ao
Food aoFood ao
Food ao
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
Food 2
Food 2Food 2
Food 2
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
Chatchai5 3 1 pdf
Chatchai5 3 1 pdfChatchai5 3 1 pdf
Chatchai5 3 1 pdf
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
Dm
DmDm
Dm
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
 
งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35
 

Andere mochten auch

บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
Cleaning plan,University of Southampton
Cleaning plan,University of SouthamptonCleaning plan,University of Southampton
Cleaning plan,University of Southamptonrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
Vintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of Southampton
Vintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of SouthamptonVintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of Southampton
Vintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of Southamptonrubtumproject.com
 

Andere mochten auch (7)

บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
Cleaning plan,University of Southampton
Cleaning plan,University of SouthamptonCleaning plan,University of Southampton
Cleaning plan,University of Southampton
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
Vintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of Southampton
Vintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of SouthamptonVintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of Southampton
Vintage Second-Hand Clothes Wholesaler Business Plan,University of Southampton
 

Ähnlich wie ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ

ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
How to have good health
How to have good healthHow to have good health
How to have good healthPiyaratt R
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 

Ähnlich wie ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ (20)

ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
How to have good health
How to have good healthHow to have good health
How to have good health
 
Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 

Mehr von rubtumproject.com

ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1rubtumproject.com
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationrubtumproject.com
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramrubtumproject.com
 

Mehr von rubtumproject.com (20)

ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplication
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 

Último

ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมWannisaThongnoi1
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfnkrafacyberclub
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationPaulSombat
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularTeerawutSavangboon
 
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxnkrafacyberclub
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionTeerawutSavangboon
 

Último (7)

ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and Implementation
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formular
 
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 

ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ

  • 1. ชื่อโครงงาน ขายสิ นค้าเพื่อสุ ขภาพและความงามผ่านเว็บไซต์ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การวิจยครั้งนี้ผวิจยได้คนคว้า ศึกษาตํารา เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์เพื่อ ั ู้ ั ้ ั สุ ขภาพและความงามของผูคนที่สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าข้อมูล ของการเลือกบริ โภคอาหารเพื่อ ้ สุ ขภาพ และความงามของร่ ายกาย การออกแบบเว็บไซต์ จะแบ่งออกเป็ นส่ วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ให้ ความรู ้ดานสุ ขภาพ และความงาม ระบบสั่งซื้ อสิ นค้า กรณี สั่งซื้อหนังสื อเพื่อสุ ขภาพ ส่ วนของ ้ การสมัครสมาชิก และส่ วนของการรับข้อเสนอ แนะของเว็บไซต์เพื่อนําไปปรับปรุ ง โดยอาศัย หลักการและทฤษฏี ดังต่อไปนี้ 2.1 ความรู ้เกี่ยวกับการเลือกบริ โภคอาหารเพื่อสุ ขภาพและความงาม 2.2 แนวคิดทัวไปเกี่ยวกับสุ ขภาพและความงาม ่ 2.3 ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database management system : DBMS) 2.4 เทคโนโลยีที่นามาใช้ในการพัฒนาระบบ ํ 2.5 งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 1. ความรู้เกียวกับการเลือกบริโภคอาหารเพือสุ ขภาพและความงาม ่ ่ เรื่ องของการรับประทานอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ก็คงจะเหมือนกับที่เราคุย กัน ในสมัยก่อนว่า ควรรับประทานอาหาร ให้ครบทั้ง 5 หมู่ แต่ในปั จจุบนนี้ อาจจะมีรายละเอียด ั เพิ่มเติม อาทิ สัดส่ วนของอาหาร อาหาร 5 หมู่ ไม่ได้หมายถึง การรับประทานอาหาร แต่ละหมู่เท่าๆ กันหมด แต่กลุ่มที่เป็ นอาหารหลัก คือ กลุ่มข้าวที่เป็ นธัญพืช ผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็ นข้าวกล้อง ข้าว เหนียว ก๋ วยเตี๋ยว บะหมี่ ส่ วนปริ มาณที่เพิ่มขึ้นมา ก็คือ ผักและผลไม้ ซึ่ งจะได้ประโยชน์ ทั้ง ใยอาหารและแร่ ธาตุต่างๆ ส่ วนปริ มาณที่จะต้องจํากัด รับประทานอาหาร ในปริ มาณที่พอสมควร เท่านั้น ก็คือ พวกเนื้อสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะเนื้อแดง นํ้ามัน นอกเหนือจากนั้น ก็คือ เรื่ องของการดูแล ่ เรื่ องนํ้าหนักให้อยูในเกณฑ์ปกติ เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดโรคขาดอาหาร และโรคที่เกิดจากโภชนาการ
  • 2. อาหารเกิน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิ ตสู ง โรคหัวใจ โรคอัมพฤกษ์ ข้อปฏิบติเกี่ยวกับั อาหารประเภทอื่ นๆ ก็คือ พวกอาหาร และเกลือโซเดี ยมในปริ มาณที่ สมควร งดเหล้า เบียร์ แอลกอฮอล์ ส่ วนการกระจายอาหารในแต่ละมื้อ ก็ควรจะให้ครบถ้วนทั้ง 3 มื้อ ในปั จจุบน อย. กําหนดให้เรี ยก ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร มีหลายรู ปแบบ ทั้งในแง่ของ ั วิตามิน แร่ ธาตุ หรื อสารอื่นๆ ที่สกัดจากธรรมชาติ ถ้าจะถามว่ามีประโยชน์หรื อไม่ คงจะต้องดูจาก วัย หรื อบางขณะของโรคที่เป็ นอยู่ ก็อาจจะมีความต้องการสารอาหาร หรื อแร่ ธาตุต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่ งบางกลุ่มช่วงอายุ ก็มีขอมูลยืนยันชัดเจนว่า การให้ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารบางชนิ ด อาจจะช่วยได้ ้ เช่น ขณะที่ต้ งครรภ์ เราก็จะให้ธาตุเหล็กเสริ ม หรื อผูหญิงที่วนหมดประจําเดือน ก็จะแนะนําให้ ั ้ ั รับประทานแคลเซียมเพิ่มมากขึ้น หรื อในคนป่ วยที่รับประทานอาหารได้นอย ก็ควรจะรับประทาน ้ อาหารเสริ มแร่ ธาตุ หรื อวิตามินในช่วงสั้นๆ สําหรับคนทัวไปที่ไม่เจ็บป่ วย และสามารถรับประทาน ่ อาหารตามปกติได้ท้ ง 3 มื้อ เรื่ องของการใช้ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ก็ไม่มีความจําเป็ น ั 1.1 การเลือกอาหารตามช่ วงอายุ การรู ้จกเลือกรับประทานอาหารไม่เพียงแต่ช่วยเรื่ องสุ ขภาพเท่านั้น หากยังเอื้อต่อความ ั สวยความงามอีกด้วย ความจริ งการเลือกอาหารให้เหมาะสมตามช่วงวัยก็เป็ นอีกวิธีหนึ่ งที่ช่วยให้ สุ ขภาพดีได้ เพราะในแต่ละช่วงอายุมีความแตกต่างกันในด้านพัฒนาการของร่ างกายและลักษณะ การ ดําเนินชีวิต วันนี้ จึงขอเสนอเรื่ องราวของอาหารที่เกี่ยวข้องกับช่วงอายุท้ ง 4 ซึ่งไม่ใช่เรื่ องยาก ั วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 2 ช่วงอายุต้ งแต่ 20 ปี ขึ้นไปเป็ นช่วงที่ร่างกายมีการพัฒนาและ ั ่ เติบโตเต็มที่ ไม่วาจะเป็ นเรื่ องการเรี ยน การทํางาน และเป็ นวัยที่ใช้ชีวิตอย่างไม่รู้จกเหน็ดเหนื่ อย ยิง ั ่ มีการเคลื่อนไหวในชีวิตประจําวันมากเท่าไร ร่ างกายก็ยิ่งเผาผลาญและใช้พลังงานมากขึ้นเท่านั้น ดังนั้น ควรเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม โดยเลือกรับประทานจําพวกเนื้อสัตว์และถัวต่างๆ ่ รวมถึงข้าวและแป้ งมากเป็ นอันดับหนึ่ ง ตามด้วยผักผลไม้เป็ นอันดับสอง ส่ วนนมและอาหาร ทดแทนแคลเซียมต่างๆ เช่น เต้าหู ้ ปลาเล็กปลาน้อย นมถัวเหลืองเสริ มแคลเซี ยม ตามมาเป็ นอันดับ ่ สาม และให้ความสําคัญของไขมันเป็ นอันดับสุ ดท้าย ปลาเป็ นอาหารสมองที่ช่วยรักษาผนังเซลล์ ประสาทในสมองให้แข็งแรง ไม่หลงลืมอะไรง่ายๆ ผักสี เขียวอย่างผักบุง ผักกระเฉด ผักคะน้า ้ ถัวฝักยาว ช่วยบํารุ งสายตา สร้างกระดูกและฟั นให้แข็งแรง ผักผลไม้สีเหลืองอย่างกล้วยหอม ก็ถือ ่ เป็ นผลไม้คลายเครี ยดชนิดหนึ่ง
  • 3. วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 3 อายุข้ ึนเลข 3 หลายคนเริ่ มตกใจกลัว แต่การรู ้จกเลือกรับประทาน ั จะทําให้ผอื่นไม่สามารถเดาอายุคุณจากรู ปร่ าง หน้าตาได้เลย ในช่วงเริ่ มวัยผูใหญ่ความต้องการ ู้ ้ พลังงานยังคงอยู่ เพราะเป็ นช่วงชีวิตของการทํางาน แต่ตองเพิ่มความระมัดระวังในเรื่ องของไขมัน ้ และคลอเรสเตอรอลที่จะส่ งผลกระทบ กับรู ปร่ างหน้าตาภายนอกที่เห็นการเปลี่ยนแปลงได้ชดเจน ั นอกจากนี้ยงส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพร่ างกายในอนาคตด้วย เพราะการรับประทานอาหารที่มีไขมัน ั หรื อคลอเรสเตอรอลสู ง เช่น หมูสามชั้น เนยแข็ง กะทิ เนยเทียม เป็ นต้น จะสร้างปั ญหาให้หลอด เลือดและหัวใจ แต่คุณสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยลดไขมันและคลอเรสเตอรอล เช่น ปลาทะเล ช่วยลดความดันโลหิ ต พวกถัวเมล็ดแห้งอย่างถัวแดง ถัวเขียว ถัวเหลือง ช่วยลดความเสี่ ยง ่ ่ ่ ่ จากโรคหัวใจ และมีโปรตีนสู งเพื่อให้พลังงานแทนสัตว์ใหญ่ได้อีก อาหารจําพวกข้าว ธัญพืชไม่ขด ั สี อย่างข้าวซ้อมมือ ขนมปั งโฮลวีท มีใยอาหารสู ง ช่วยให้อิ่มท้องนานและส่ งผลดีต่อระบบลําไส้ วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 4 วัยทองถูกเรี ยกแทนวัย 40 ปี ขึ้นไป เนื่องจากสภาพร่ างกายเริ่ ม เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะผูหญิง ส่ วนผูชายวัยนี้ ก็จะเริ่ มมีโรคต่างๆที่ไม่เคยออกอาการ ซึ่งเรี ยกกันว่า ้ ้ ุ่ เป็ น “วิถีทางธรรมชาติ” แต่ท้ งนี้การชะลอวัยหรื อป้ องกันโรคต่างๆที่มากับวัยไม่ได้ยงยากเกินกว่า ที่ ั เราจะทําได้ สําหรับช่วงวัยนี้ ความต้องการพลังงานจะลดลง แต่ความต้องการแคลเซียมและวิตามิน ต่างๆเพิ่มขึ้น ซึ่ งจะได้รับจากผักผลไม้ที่มีกากใยอาหารสู ง แล้วยังมีสารต้านอนุ มูลอิสระอย่าง วิตามินซี จากอาหารที่หารับประทานได้ง่าย เช่น ส้ม ฝรั่ง มะเขือเทศ แคนตาลูป ส่ วนอาหารที่มี วิตามินอี ได้แก่ นํ้ามันพืช เนยถัว ถัวลิสง อัลมอนด์ นอกจากนี้ควรรับประทานเต้าหู ้ โปรตีนไขมัน ่ ่ ตํ่า ซึ่ งให้แคลเซี ยมมากกว่าเนื้อสัตว์อย่างอื่น แต่ไม่ควรลืมหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็ นตัวเร่ งความแก่ให้ เร็ วขึ้น เช่น อาหารไขมันสู งประเภททอดกรอบหรื อผัดนํ้ามันมากๆ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ และ เครื่ องดื่มคาเฟอีนทั้งหลาย วัยที่ข้ ึนต้นด้วยเลข 5 การก้าวเข้าสู่ ช่วงวัย 50 เป็ นต้นไปนั้นไม่ได้ส่งผลต่อร่ างกายอย่าง เดียว แต่ยงส่ งผลต่อสภาพจิตใจด้วย เพื่อเตรี ยมพร้อมรับมือกับวัยนี้ คุณควรเข้าใจการทํางานของ ั ร่ างกายที่มี ประสิ ทธิ ภาพลดลง โดยเฉพาะระบบการย่อยการดูดซึ มอาหาร ทําให้ร่างกายขาด สารอาหารบางอย่าง ช่วงนี้คุณอาจไม่รู้สึกกระหายนํ้าเท่าไหร่ แต่ควรดื่มนํ้าให้สมํ่าเสมอ อย่างน้อย วันละ 8-12 แก้ว เพื่อป้ องกันการขาดนํ้าโดยไม่รู้ตว ควรรับประทานคาร์โบไฮเดรตให้นอยลงและ ั ้ พยายามเลือกชนิ ดไม่ขดสี เน้นอาหารจําพวกปลาเพื่อไม่ให้ขาดโปรตีน ที่สาคัญคือเป็ นเนื้อสัตว์ที่ ั ํ ย่อยง่าย วัยนี้ จะพบปั ญหากระดูกเปราะ กระดูกพรุ นอย่างชัดเจน ดังนั้น ควรได้รับแคลเซี ยม ่ อย่างเพียงพอ อาหารแคลเซียมสู งอยูในนม โยเกิร์ตชนิดครี ม เนยแข็ง หรื อแม้แต่ปลาตัวเล็กตัวน้อย
  • 4. พวกผักใบเขียวก็มี เช่ น คะน้า กวางตุง และบรอกโคลี จะช่ วยลดปั ญหาเรื่ องกระดูกให้รุนแรง ้ น้อ ยลง การแก้ไ ขภาวะขาดนํ้า อาจให้ดื่ ม นํ้า สมุ น ไพร เช่ น กระเจี๊ ย บ เก๊ ก ฮวย นํ้า ใบเตย นอกเหนื อจากนํ้าเปล่า เพราะช่วยบรรเทาโรคบางอย่างและให้ประโยชน์กว่าการดื่มเครื่ องดื่มที่มี คาเฟอีน สิ่ งสําคัญไม่ว่าคุณจะอยูในช่วงวัยใดควรดูแลเรื่ องการกินอยูตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็ น ่ ่ โรคหรื อไม่ก็ตาม เพราะคนส่ วนใหญ่มกจะดูแลตัวเองเมื่อพบว่าตัวเองมีโรคหรื อมีปัญหาสุ ขภาพ ั แล้ว เท่านั้น นอกจากนี้ การเพิ่มกิจกรรมเคลื่อนไหวระหว่างวันให้มาก ทําบ่อยๆจนติดเป็ นนิ สัย จะ ช่วยให้สุขภาพดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะประโยชน์ดานระบบการไหลเวียนเลือด ควบคุมนํ้าหนักตัว ้ และลดความเครี ยดของร่ างกายได้ การบริ โ ภคอาหารอย่า งมี สั ด ส่ ว น อาหารในแต่ ล ะมื้ อ ควรมี ส ารอาหารครบทั้ง 5 ประเภทเพื่อการกินดี มีสุข คือประกอบด้วยสารอาหารดังต่อไปนี้ อาหารที่มีสารอาหารประเภท คาร์ โบไฮเดรตและไขมัน จะให้พลังงานและความอบอุ่น อาหารที่มีสารอาหารประเภทโปรตีนจะ ช่วยสร้างเสริ มและซ่ อมแซมส่ วนที่สึกหรอ อาหารที่มีสารอาหารประเภทเกลือแร่ และวิตามินจะ ช่วยควบคุมการทํางานของร่ างกายให้เป็ นปกติ ความต้อง การสารอาหารมนุษย์ทุกคนต้องการ อาหารหรื อสารอาหารในจํานวนที่ เพียงพอต่อความต้องการของร่ างกาย ซึ่ งในแต่ละวัยก็มีความ ต้องการสารอาหารที่แตกต่างกันออกไป 1. วัยทารก (แรกเกิด- 1 ปี ) อาหารหลักคือ นํ้านม นมแม่เป็ นอาหารทีดีและเหมาะที่สุด สํา หรั บ ทารกนอกจากนมแม่ แ ล้ว ทารกยังจํา เป็ นต้อ งได้รับ อาหารเสริ มดัง ตารางต่ อ ไปนี้ 2. เด็กวัยก่อนเรี ยน (2 - 5 ปี ) เด็กวัยนี้ ตองการอาหารเช่นเดียวกับทารกในระยะ 1 ปี ้ แรกแต่ตองการปริ มาณมากขึ้นเพราะมีความสําคัญต่อการเจริ ญเติบโต ้ 3. เด็กวัยเรี ยน (6 - 13 ปี ) เป็ นวัยที่ร่างกายกําลังเจริ ญเติบโตช้า ๆ แต่สมํ่าเสมอ การที่จะ เจริ ญเติบโตอย่างสมบูรณ์ได้เด็กต้องได้อาหารถูกต้อง ตามหลักโภชนาการในปริ มาณที่เหมาะสม และเพียงพอกับความต้องการของร่ างกาย ปั ญหาโภชนาการของเด็กวัยนี้ คือได้รับอาหารโปรตีน และแคลอรี ไม่เพียงพอกับ ความต้องการของร่ างกาย ทําให้มีน้ าหนักตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ํ กลายเป็ นโรคขาดสารอาหาร หรื อได้รับมากเกินไปทําให้ภาวะโภชนาการเกินหรื อเป็ นโรคอ้วน ซึ่ง อาจเกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ความดันโลหิ ตสู ง ไขข้อ อักเสบ
  • 5. 4. เด็กวัยรุ่ น (13 - 19 ปี ) วัยรุ่ นควรได้รับสารอาหารครบทุกประเภท คือ กินข้าว เนื้อสัตว์ ถัว ไข่ นํ้านม ไขมัน ผักและผลไม้ทุกวัน เนื่องจากเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้ง ่ ด้านรู ปร่ าง หน้าตา จิตใจ อารมณ์ และการร่ วมสังคมกับคนอื่นๆ 5. วัยผูใหญ่ (20-40 ปี ) เป็ นวัยที่ร่างกายเจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ว แต่ร่างกายก็ยงต้องการ ้ ั สารอาหารเพื่อนําไปใช้ในการทํางานของร่ างกาย และซ่อมแซมส่ วนที่ชารุ ดทรุ ดโทรม ผูใหญ่ควร ํ ้ กินอาหารให้ครบได้สัดส่ วนตามความต้องการของร่ างกาย ความต้องการวิตามินยังคงเท่ากับวัยรุ่ น สําหรับธาตุเหล็กร่ างกายยังต้องการมาก ควรลดปริ มาณการกินของหวาน นํ้าตาล ไขมันโดยเฉพาะ ไขมันจากสัตว์เพิ่ม ปริ มาณการกินผักและผลไม้มากขึ้น 6. วัยชรา ไม่ตองการแคลอรี มากเพราะมีการเคลื่อนไหวน้อย จึงต้องการอาหาร ้ ประเภทไขมัน และคาร์โบไฮเดรตน้อยแต่ตองการเหล็กและแคลเซียมมากเพื่อความแข็งแรง ของ ้ กระดูก ควบคุมการทํางานของประสาท กล้ามเนื้ อ และการแข็งตัวของโลหิ ตส่ วน ที่เป็ นนักกีฬา อาหารของนักกีฬาที่ให้พลังงานอย่างมาก จะต้องมีสดส่ วนดังนี้ คือ โปรตีน 12 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 33 ั เปอร์ เซ็นต์ และคาร์ โบไฮเดรต 55 เปอร์เซ็นต์ แต่ตองดื่มนํ้าให้เพียงพอต่อการดูดซึมอาหารและทํา ้ ให้กากอาหารไม่จบตัวแข็ง และถ่ายสะดวก ก่อนการแข่งขันนักกีฬาต้องกินอาหารน้อยๆ เพราะถ้า ั กิ นมาก เลือดจะถูกดึ งจากกล้ามเนื้ อไปให้กระเพาะเพื่อย่อยอาหาร ทําให้เล่นกี ฬาได้ไม่เต็ม ความสามารถ ดังนั้นก่อนการแข่งขันควรดื่มนํ้าผลไม้เพื่อป้ องกันการเสี ยนํ้ามากเกินไปซึ่ง ทําให้ เหนื่อยเร็ ว สําหรับผูใหญ่ที่มีร่างกายเล็กหรื อใหญ่หรื อ ทํางานหนักก็รับประทานอาหารลดลงหรื อ ้ เพิ่มขึ้นจากปริ มาณดังกล่าวนี้ 1.2 การเลือกอาหารป้ องกันโรค 1.2.1 การเลือกอาหารป้ องกันโรคหัวใจ 1.2.1.1 ไขมันกับโรคหัวใจ อาหารสุ ขภาพจะต้องประกอบไปด้วยอาหาร 5 หมู่ได้คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ผักผลไม้ และนม ไขมันเป็ นอาหารที่ให้พลังงานมากที่สุดเมื่อเทียบกับนํ้าหนักที่ เท่ากัน ไขมันที่เรารับประทานมีอยู่ 3 รู ปแบบ คือ 1. Triglyceride 2. Cholesterol 3. Phospholiphid
  • 6. กรดไขมัน(Fatty acid) คืออะไร กรดไขมันเป็ นการเรี ยงตัวของธาตุคาร์ บอน( Carbon ,C) โดยที่ปลายด้านหนึ่ งเป็ น methyl group อีกด้านหนึ่งเป็ น carboxyl group ความยาวของ Cมีได้หลายตัวหากมีความยาวน้อยกว่า 6 เรี ยก Short chainsk หากมี C มากกว่า 12 เรี ยก long chain fatty acid กรดไขมันเป็ นอาหารของกล้ามเนื้อ หัวใจ อวัยวะภายในร่ างกาย กรดไขมันส่ วนที่เหลือ ใช้จะถูกสะสมในรู ป triglyceride(ใช้กรดไขมัน3 ตัวรวมกับ glycerol)ซึ่ งจะสะสมเป็ นไขมันใน ร่ างกาย ภาพที่ 2.1 แสดง Essential features of a fatty acid ไขมันอิ่มตัว Saturated fat หมายถึง กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย single bond เท่านั้นการรับประทานอาหารไขมันชนิ ดอิ่มตัวจะทําให้ไขมันในเลือดสู งและเป็ น ปั จจัยเสี่ ยงของ โรคหลอดเลือดตีบ แหล่งอาหารของไขมันอิ่มตัวได้แก่ นํ้ามันปาล์ม กะทิ เนย นม เนื้อแดง ชอคโกแลต ภาพที่ 2.2 แสดง Steaic acid , a saturated fatty acid
  • 7. ไขมันไม่อิ่มตัวเชิ งเดี่ ยว Monounsaturated เป็ นกรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อกันด้วย Double bond เพียงหนึ่ งตําแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่าการรับประทานอาหารไขมันประเภทนี้ ทดแทนไขมันอิ่มตัวจะ ช่วยลดระดับ LDL Cholesterol ซึ่ งเป็ นไขมันที่ไม่ดีก่อให้เกิดโรคหลอด เลือดตีบ อาหารที่มีไขมัน Monounsaturatedได้แก่ avocados, nuts, and olive, peanut and canola oils ภาพที่ 2.3 แสดง Oleic acid กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน Polyunsaturated หมายถึง กรดไขมันที่มีธาตุ C ต่อ ่ กันด้วย Double bond อยูหลายตําแหน่ง หากรับประทานแทนไขมันอิ่มตัวจะไม่เพิ่มระดับไขมันใน ร่ างกาย อาหารที่มีไขมันชนิ ดนี้ คือ นํ้ามันพืชทั้งหลายเช่น นํ้ามันข้าวโพด นํ้ามันดอกทานตะวัน นํ้ามันถัวเหลือง ่ ภาพที่ 2.4 แสดงกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน
  • 8. essential fatty acids เป็ นกรดไขมันที่จาเป็ นสําหรับร่ างกาย แต่ร่างกายไม่สามารถ ํ สร้างเองได้ตองได้รับจากอาหารที่เรารับประทาน ้ Trans fatty acids เป็ นไขมันที่เตรี ยมจากนํ้ามันพืช เช่น นํ้ามันข้าวโพด ไปทําให้ ร้ อน เพื่อทําให้น้ ามันมี อายุใช้งานได้นานขึ้น และทําให้น้ ามันข้นขึ้นจนเป็ นของแข็ง การ ํ ํ รับประทานนํ้ามันชนิ ดนี้ มากจะทําให้ไขมัน LDL ในเลือดเพิ่มขึ้นซึ่ งเป็ นปั จจัยเสี่ ยงทําให้เกิ ด โรคหัวใจและหลอดเลือด omega-3 fatty acids และ omega-6 fatty acids เป็ นกรดไขมันที่จาเป็ นสําหรับ ํ ร่ างกาย แต่ร่างกายไม่สามารถผลิตเองต้องได้รับจากสารอาหาร omega-3 fatty acids จะมี Double bond ที่ตาแหน่ง C3 นับจากกลุ่ม Methyl group omega-3 fatty acids จะพบมากในอาหารจําพวก ํ ปลาและนํ้ามันพืช เช่น salmon, halibut, sardines, albacore, trout, herring, walnut, flaxseed oil, and canola oil omega-6 fatty acids เป็ นกรดไขมันที่จาเป็ นสําหรับร่ างกาย แต่ร่างกายไม่สามารถ ํ ผลิตเองต้องได้รับจากสารอาหารomega-6 fatty acids จะมี Double bond ที่ตาแหน่ง C6 นับจากกลุ่ม ํ Methyl group omega-6 fatty acids จะพบมากในอาหารจําพวกปลาและนํ้ามันพืช corn, safflower, sunflower, soybean, and cottonseed oil ่ ไขมันในเลือด เมื่อ 20 ปี ที่ผานมาเมื่อท่านไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุ ขภาพและพบว่า ไขมันในเลือดสู งแพทย์ มักจะแนะนําว่า ให้รับประทานอาหารที่มีไขมันตํ่า แต่ปัจจุบนต้องเน้นถึง ั ชนิ ดของไขมันในอาหาร หากมีไขมันที่ไม่ดีมากก็จะทําให้เกิดโรคหัวใจได้ง่ายขึ้น หากมีไขมันดี มากจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจ ภาพที่ 2.5 ไขมันในอาหาร
  • 9. โรคหลอดเลื อดไปเลี้ยงหัวใจตี บเป็ นสาเหตุการตายอันดับ ต้นๆของประเทศ Cholesterol จะพบว่าเป็ นส่ วนประกอบของเซลล์ผิวและอยู่ในกระแสเลือด ร่ างกายของคนเราได้ cholesterol จากสองแหล่งคือ จากอาหารที่เรารับประทาน เช่น เครื่ องใน เนื้อ นม และจากการ สร้างของตับ ไขมันในเลือดมีกี่แบบ เนื่ องจากไขมันในเลือดไม่ละลายนํ้าจึงจําเป็ นต้องมีตวทํา ั ละลายที่เราเรี ยกว่า Lipoprotein lipoprotein ที่สร้างจาดตับมีสองชนิดคือ low-density lipoproteins (VLDL) และ high-density lipoproteins (HDL) ไขมัน VLDL cholesterol เมื่อเข้ากระแสเลือดจะถูก เปลี่ยนไปเป็ น LDL cholesterol ส่ วนไขมันที่จบกับ hdl เรี ยก HDL cholesterol ั ไขมันสู งกับภาวะสุ ขภาพ ่ ภาพที่ 2.6 ไขมันที่อยูภายใต้ช้ น ั โรคหลอดเลือดไปเลี้ยงหัวใจตีบเป็ นสาเหตุการตายอันดับ ต้นๆของประเทศ ไขมัน ในโลหิ ตสู งเป็ นปั จจัยเสี่ ยงข้อหนึ่ งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ การเปลี่ยนแปลงอาหารและการ ออกกําลังกายสามารถระดับไขมันในเลือดได้ และลดอัตราเสี่ ยงต่อการเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบ ถ้า หากcholesterol ในเลือดสู งไขมันจะเกาะติดผนังหลอดเลือดแดงที่เรี ยกว่า plaque ขบวนการที่ทาให้ ํ หลอดเลือดตีบเรี ยก Atherosclerosis ซึ่งหากเป็ นมากทําให้ หลอดเลือดแดงตีบ เลือดไปเลี้ยงไม่พอ จึงเกิดอาการ เช่นเจ็บหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด หรื ออัมพฤกษ์ นอกจากนั้นคราบไขมันอาจจะหลุด จากผนังหลอดเลือดทําให้เกิดอาการหัวใจขาดเลือดเฉี ยบพลัน นอกจากระดับ cholesterol แล้วปั จจัยที่มีผลต่อการเกิดหลอดเลือดแข็งคือ ตัวที่จะพา ไขมันไปตามเส้นเลือดซึ่งเรี ยกว่า lipoprotein ที่สาคัญมีสองชนิดคือ ํ
  • 10. Low-density lipoproteins (LDL) ซึ่งจะพา cholesterol จากตับไปสู่ ร่างกาย LDL เป็ นไขมัน ที่ไม่ดีหากมีมากจะทําให้เกิดหลอดเลือดแดงตีบได้ง่าย • High-density lipoproteins (HDL) เป็ นตัวที่พา cholesterol จากร่ างกายเข้าสู่ ตบ หากมีHDL ั สูงการเกิดโรคหลอดเลือดจะน้อยลง 1.2.1.2 มะเร็ งเต้านม พบว่าประเทศที่รับประทานอาหารมันจะมีอุบติการณ์ของโรค มะเร็ งเต้านมสู ง แต่ยง ั ั ไม่ มี ห ลัก ฐานที่ แ น่ ชัด ประเทศทางยุ โ รปได้พ บว่ า หากรั บ ประทานอาหารที่ มี ไ ขมัน monounsaturated fats (พบมากในนํ้ ามัน olive oil) จะเกิดโรคมะเร็ งเต้านมตํ่า 1.2.1.3 มะเร็ งลําไส้ใหญ่ ก่อนหน้านี้ มีความเชื่อว่ารับประทานไขมันมากจะเกดโรค มะเร็ งลําไส้ได้มาก แต่ ั ปัจจุบนพบว่าการรับประทานเนื้อแดงจะมีความสัมพันธ์กบการเกิดมะเร็ งลํา ไส้ใหญ่ ั 1.2.1.4 มะเร็ งต่อมลูกหมาก จากข้อมูลที่ได้ยงไม่พบความสัมพันธ์ที่ชดเจน แต่มีความเชื่อว่าการรับประทาน ั ั อาหารไขมันอิ่มตัว มากจะเพิ่มความเสี่ ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ งต่อมลูกหมาก 1.2.1.5 โรคอ้วน ก่อนหน้านี้ แพทย์จะแนะนําเรื่ องลดนํ้าหนักโดยการลดอาหาร มันซึ่ งไม่ถูกต้อง ทั้งหมด ปั จจุบนแนะนําให้รับประทานปริ มาณไขมันไม่เกิน 30 %ของปริ มาณพลังงานทั้งหมดและ ั ให้ลดปริ มาณพลังงานที่รับประทานในแต่ละวัน ํ ระดับไขมันแค่ไหนถึงจะดี ประเทศอเมริ กาได้กาหนดระดับไขมันที่เหมาะสม สําหรับคนที่ มีอายุมากกว่า 20 ปี ไว้ดงนี้ ั • Total cholesterolน้อยกว่า 200 (mg/dl) • HDL cholesterol มากกว่า 40 mg/dl • LDL cholesterol น้อยกว่า 100 mg/dl ปริมาณไขมันทีต้องการในแต่ ละวัน ่ สมาคมโรคหัวเบาหวาน สมาคมโรคหัวใจและสมาคมโภชนาของประเทศอเมริ กา ได้แนะนําให้รับประทานอาหารที่ เป็ นไขมันไม่เกินร้อยละ 30 ของปริ มาณพลังงานทั้งหมด แต่จาก การศึกษาพบว่าชนิ ดของไขมันที่รับประทานจะมีผลต่อสุ ขภาพมากกว่าปริ มาณ โดยพบว่าหาก รับประทานอาหารไขมันชนิ ดไขมันอิ่มตัวและ tran-fatty acid จะทําให้ความเสี่ ยงต่อโรคหัวใจ
  • 11. เพิ่มขึ้น ในทางกลับกันหากให้รับประทานอาหารที่มีไขมันไม่อิ่มตัว ( monounsaturated or polyunsaturated fat ) จะทําให้การเกิดโรคหัวใจลดลง นอกจากนั้นควรจะรับประทานไขมันที่ได้ จากปลา omega-3 ซึ่ งจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจ สมาคมโรคหัวใจแนะนําให้รับประทานปลา สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 1.2.1.6 ไขมันกับไข่ ภาพที่ 2.7 ไขมันกับไข่ เป็ นที่ทราบกันดี ว่าไขมันสู งเป็ น ปั จจัยเสี่ ยงต่อการเกิ ดโรคหัวใจ และปริ มาณไขมันในไข่ก็มี ปริ มาณค่อนข้างสู ง ทําให้แพทย์มกจะแนะนําให้ลดการรับประทานไข่ แต่จากการศึกษาพบว่าการ ั รับประทานไข่วนละฟองไม่เพิ่มอุบติการณ์การเกิดโรค หัวใจ และมีผลต่อระดับไขมันน้อยมาก ั ั นอกจากนั้นในไข่แดงยังมี protein, vitamins B12 and D, riboflavin, and folate ซึ่ งช่วยลดการเกิด โรคหัวใจ ดังนั้นจึงแนะนําว่าคนปกติสามารถรับประทานได้ทุกวัน สําหรับผูป่วยโรคเบาหวานให้ ้ รับประทานสัปดาห์ละ 2-3ฟอง 1.3 การเลือกอาหารเพือความงาม ่ ่ กินเพื่ออยูอย่างเดียวเห็นจะไม่พอควรมอง ไกลไปถึงสุ ขภาพด้วย อย่างที่เรา ๆ ท่าน ๆ ทราบกันดี นันแหละ คนเราจะมีสุขภาพดีได้น้ ันขึ้นอยู่กบปั จจัยหลายประการ เช่ น กรรมพันธุ์ ่ ั สุ ขภาพจิต วิถีการดําเนินชีวิต สิ่ งแวดล้อม รวมถึงอาหารการกินของเรา อาหารบางประเภท สามารถ ป้ องกันหรื อลดโอกาสการเกิดโรคบางชนิด เช่น ผักผลไม้ช่วยป้ องกันโรคต่าง ๆ ได้ อาทิ โรคหัวใจ มะเร็ ง เบาหวาน ไขมันในเลือดสู ง ความดันโลหิ ตสู ง โรคในระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องผูก ริ ดสี ดวงทวาร เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม เดี๋ยวนี้เราไม่ได้คานึงแค่กินเพื่อสุ ขภาพอย่างเดียว เทรนด์การกินมีการ ํ ปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย คนรุ่ นใหม่มองไปถึงว่ากินยังไงให้สวย กระแสอาหารเพื่อสุ ขภาพจึง
  • 12. ขยับมาสู่ อาหารเพื่อความงาม (Food for Beauty) เพื่อความสวยที่มาจากภายในสะท้อนผ่านสู่ ภายนอกมิใช่ความงามจากการตกแต่งภายนอกเพียงฉาบฉวย อาหารมีบทบาทสําคัญกว่าที่คุณ เคย คิดมากนัก จะประทินโฉมด้วยครี มบํารุ งดี เลิศขนาดไหนก็คงช่ วยได้ไม่ มาก ถ้ายังมองข้าม ความสําคัญของอาหารการกิ นที่ถูกต้อง ดังนั้นลองหันมาใส่ ใจอาหารที่คุณรับประทาน เพื่อ เสริ มสร้างผิวพรรณของคุณให้สวยงาม เปล่งปลัง ดูอ่อนกว่าวัย เส้นผมเงางามเป็ นประกาย ไม่ ่ เปราะหรื อร่ วงง่าย ตลอดจนมีสุขภาพเล็บที่สมบูรณ์แข็งแรง เรี ยกว่างามกันตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า เลยทีเดียว คงมีคาถามตามมาว่าแล้วจะเริ่ มต้นกินอย่างไรดี ง่าย ๆ ไม่มีอะไรซับซ้อนค่ะ เพียงแค่คุณ ํ ไม่เลือกกินเฉพาะในสิ่ งที่ชอบ แต่เลือกกินให้หลากหลายเข้าไว้ นันก็คือรับประทานอาหารให้ครบ ่ 5 หมู่ เพื่อให้ได้รับสารอาหารที่จาเป็ นต่าง ๆ ไปช่วยบํารุ งผิวพรรณ เส้นผมและเล็บของคุณให้ ํ สวยงามแข็งแรง สารอาหารต่าง ๆ ที่เข้าสู่ ร่างกาย คือกุญแจสําคัญที่ไขไปสู่ ความงาม พวกเราส่ วน ใหญ่มกได้ยนชื่อสารอาหารเหล่านี้ กนอยูเ่ สมอ แต่ไม่ทราบว่าเกี่ยวพันกับความสวยงามของร่ างกาย ั ิ ั ของเรา อย่างแคลเซียม ชื่อนี้คงคุนเคยกันดี เรารู ้วาแคลเซียมมีส่วนช่วยในการสร้างกระดูก และฟัน ้ ่ แต่อาจไม่ทราบว่า แคลเซี ยมนั้นช่วยสร้างความแข็งแรงให้เส้นผมและเล็บด้วยค่ะ สารอาหารตัวอื่น ๆ ก็เช่นเดียวกัน ซ่อนคุณค่าที่หลายคนอาจนึกไม่ถึง เป็ นต้นว่า กรดไขมันโอเมก้า 3 ที่พบมากใน ปลาทะเลไทย เช่น ปลาทู ปลารัง ปลากะพง ปลาเก๋ า ปลาสําลี ปลาอินทรี ปลาโอ ฯลฯ ช่วยป้ องกัน การอักเสบและติดเชื้อภายในร่ างกาย เพื่อความแข็งแรงของเซลล์ต่าง ๆ ธาตุเหล็ก เป็ น องค์ประกอบสําคัญ อย่างหนึ่งในการสร้างเม็ดเลือดแดง จึงช่วยให้ผิวพรรณดูเปล่งปลังมีเลือดฝาด ่ ทองแดงช่วยในการสร้างคอลลาเจน สังกะสี ช่วยในการซ่ อมแซมคอลลาเจนที่สึกหรอ เสริ มสร้าง การเจริ ญเติบโตของเซลล์ และช่วยรักษาสิ วอีกด้วย โปรตีน หนึ่ งในอาหารหลักห้าหมู่ที่เรี ยนกัน มาตั้งแต่สมัยประถม เป็ นสารอาหารสําคัญในการสร้างเนื้ อเยื่อ และซ่ อมแซมส่ วนที่สึกหรอใน อวัยวะต่าง ๆ จึ งมี ความจําเป็ นอย่างยิ่งในการสร้ างและซ่ อมแซมเซลล์ผิว รวมไปถึ งเส้นผม กลุ่มของพวกวิตามินต่าง ๆ กันบ้างค่ะ คุณประโยชน์ของวิตามินในแง่ความสวยความงาม เช่น วิตามิน ดี พบมากในนํ้ามันตับปลา ตับ นม เนย แสงแดดอ่อน ๆ ยามเช้าก็ช่วยให้ร่างกายสร้าง วิตามินดีได้ วิตามินดีมีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายดูดซึ มแคลเซี ยม คงยังไม่ลืมว่า แคลเซี ยมมีส่วนช่วย สร้างความแข็งแรงให้เส้นผมและเล็บ วิตามินเค พบมากในตับวัวและผักใบเขียว เช่น ผักกาดหอม กะหลํ่าปลี นอกจากนี้ แบคทีเรี ยในลําไส้ใหญ่ของคนเรายังสังเคราะห์ข้ ึนได้ดวย ้ วิตามินเคมีหน้าที่สร้างโปรตีนหลายชนิ ด ที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด ส่ วนในแง่ความ สวยงามช่วยให้รอยเส้นเลือดขอด หรื อเส้นเลือดฝอยแตกบนผิวจางลง อีกทั้งยังช่วยเยียวยาผิวที่ถูก แสงแดดทําร้ายให้หายเร็ วขึ้น วิตามินบี เป็ นต้นว่า วิตามินบี 3 ช่วยกระตุนการไหลเวียนของเลือด ้
  • 13. และทําให้ผวหนังไม่ซีด วิตามินบี 5 ช่วยลดริ้ วรอยต่าง ๆ ของผิวพรรณ วิตามินบี 9 (หรื อกรดโฟ ิ ลิก) ช่วยในเรื่ องการแบ่งและเจริ ญเติบโตของเซลล์ และมีส่วนสําคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง จึง ่ ช่วยให้ผวพรรณดูผองใสมีสุขภาพดี วิตามินบี 12 ทํางานร่ วมกับกรดโฟลิกในการช่วยบํารุ งและแบ่ง ิ เซลล์ สารอาหารสําคัญที่จะลืมไม่ได้อีก 3 ตัว ถ้าไม่กล่าวถึงเห็นจะเชยแย่ก็คือ วิตามินเอ ซี และ อี วิตามินเหล่านี้ เป็ นสารแอนดี้ออกซิ แดนท์ที่สาคัญ ในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอการเสื่ อม ํ ของผิวหนัง "อนุมูลอิสระ" คืออะไร ปกติในร่ างกายของคนเราจะเกิดสารอนุมูลอิสระจากการเผา ผลาญอาหาร หรื อขบวนการทางเคมีในร่ างกายอยูแล้ว แต่ก็จะมีกลไกควบคุมไม่ให้สารเหล่านี้เกิด ่ อันตรายต่อร่ างกาย โดยร่ างกายจะสร้างสารต้านอนุมูลอิสระขึ้นต่อต้าน แต่บางภาวะ ถ้าเกิดความไม่ สมดุลระหว่างอนุ มูลอิสระและสารต้านอนุ มูลอิสระแล้ว ก็จะเกิดผลเสี ยต่อร่ างกายได้ โดยสาร อนุมูลอิสระส่ วนเกินที่เกิดขึ้นเชื่อว่า เป็ นต้นเหตุหนึ่ งของภาวะหรื อโรคหลาย ๆ ชนิด รวมทั้งการ เสื่ อมของเซลล์ผวหนังของคนเรา วิตามินเอ พบมากในผักใบเขียวและสี เหลือง ได้แก่ ผักใบเขียว ิ ต่าง ๆ แครอท ฟั กทอง มะละกอ ส้ม สับปะรด ช่วยป้ องกันการเสื่ อมอายุของผิวหนังกระตุน ้ กระบวนการผลัด เซลล์ผิว ช่ ว ยให้ริ้วรอยบนผิวลดเลื อนลงและบรรเทาการเกิ ดสิ วได้ด้ว ย วิตามิน อี พบมากในวีทเจิม ซีเรี ยล นํ้ามันพืช ไข่แดง เนยสด ช่วยชะลอเซลล์ผวแก่ก่อนวัย ช่วยให้ ิ ผิวหนังชุ่มชื้น ลดการอักเสบ วิตามินซี พบมากในมะเขือเทศ ฝรั่ง ส้มทุกชนิ ด มะขามเทศ มะขามป้ อม สตรอเบอร์ รี่และผักใบเขียว ช่วยกระตุนการสร้างคอลลาเจน ซึ่งเป็ นปั จจัยสําคัญที่ทา ้ ํ ให้ผวเรี ยบตึง ไร้ริ้วรอยและช่วยกระตุนระบบการไหลเวียนโลหิ ต ทําให้ผวเปล่งปลังมีน้ ามีนวลขึ้น ิ ้ ิ ่ ํ ส่ วนที่จะลืมไม่ได้อีกประการก็คือ การดื่มนํ้าสะอาดเพียงพอ นํ้าเป็ นปั จจัยสําคัญมากในการบํารุ ง ผิวพรรณ คุณควรดื่มนํ้าวันละ 6-8 แก้วต่อวันจะช่วยให้ผวพรรณไม่แห้ง เต่งตึงสดใส ส่ วนพวกชา ิ กาแฟ หรื อเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ อย่าเหมาว่าเป็ นของเหลวเหมือนกัน ควรงดดื่มไปจะดีกว่า เพราะ เป็ นตัวทําลายเซลล์ผวหนังให้แก่ก่อนวัยอันควร เลือกกินให้เป็ นให้ได้สาร อาหารครบถ้วน มีส่วน ิ ช่วยเสริ มสร้างความงามได้แน่นอน มาเริ่ มปฏิบติการสวยจากภายใน ั
  • 14. 1.3 คุณค่ าของสารอาหารทีจําเป็ นต่ อการดํารงชีวต ่ ิ ภาพที่ 2.8 สารอาหารที่จาเป็ นต่อการดํารงชีวิต ํ 1.3.1 วิตามิน (Vitamin) ทําหน้าที่เป็ นตัว Co=enzyme ช่วยให้เอนไซม์ต่าง ๆ ใน ร่ างกายทําหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ ยงช่ วยในการเผาผลาญสารอาหารต่าง ๆ ให้เป็ น ั พลังงาน ช่วยในการเจริ ญเติบโต และซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอของร่ างกาย ถ้าร่ างกายขาดวิตามินจะ ทําให้เกิดโรคต่างๆได้ 1.3.2 เกลือแร่ (Mineral) ที่จาเป็ นต่อร่ างกายมี 16 ชนิ ด ช่วยในการเสริ มฤทธิ์กับ ํ วิตามิน ช่วยให้ร่างกายทํางานตามปกติ ช่วยเร่ งการเผาผลาญสารอาหารต่าง ๆ ในร่ างกายให้เป็ น พลังงาน ช่วยในการเจริ ญเติบโต ซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอของร่ างกาย และสร้างเซลล์เนื้อเยือใหม่ ๆ ่ 1.3.3 เส้นใยอาหาร (Fiber) มีส่วนสําคัญต่อร่ างกายในขบวนการย่อยอาหาร และ ช่วยในการดูดซึ มสารอาหารที่ให้พลังงานป้ องกันอาการท้องผูก และท้องเสี ย และอื่นๆอีกมากมาย 1.3.4 โปรตีน (Protein) ร่ างกายย่อยโปรตีนให้เป็ นกรดอะมิโน มีส่วนสําคัญในการ เสริ มสร้ างกล้ามเนื้ อ ซ่ อมแซมส่ วนที่สึกหรอ ช่ วยในการเสริ มสร้ างเซลล์ใหม่ กระตุนระบบ ้ ภูมิคุมกันในร่ างกายและยังให้พลังงานอีกด้วย ้ 2. แนวคิดทัวไปเกียวกับสุ ขภาพและความงาม ่ ่ 2.1 ความหมายของสุ ขภาพ 2.1.1 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายของ “สุ ขภาพ” ไว้ว่า “ความสุ ขปราศจากโรค, ความสบาย” ก่อน พ.ศ.2500 เราใช้คาสุ ขภาพกันน้อยมาก เพราะ ํ ขณะนั้นเราใช้คาว่า “อนามัย” (อน + อามัย) ซึ่ งหมายถึง ‘ความไม่มีโรค’ ซึ่งเมื่อเปรี ยบกันแล้วจะ ํ เห็นว่า คําว่า “สุ ขภาพ” มีความหมายกว้าง และสมบูรณ์กว่า “อนามัย” เพราะสุ ขภาพเน้นสุ ขภาวะ คือ ภาวะที่ทาให้เกิดความสุ ขปราศจากโรคซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายๆ ปั จจัย และมีความหมายในเชิง ํ บวก ส่ ว นอนามัย นั้ นเน้ น ที่ โ รค ซึ่ งเป็ นความทุ ก ข์ มี ค วามหมายในเชิ ง ลบ
  • 15. สําหรับองค์การอนามัยโลก (WHO : World Health Organization) ได้ให้ความหมาย ของ สุ ขภาพไว้ในธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกเมื่อปี ค.ศ.1948 ไว้ดงนี้ “สุ ขภาพหมายถึง ั ่ สภาวะแห่ งความสมบูรณ์ของร่ างกายและจิตใจ รวมถึงการดํารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างเป็ นปกติ สุ ข และมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพเท่านั้น” ต่อมาในที่ประชุม สมัชชาองค์การอนามัยโลก เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2541 ได้มีมติให้เพิ่มคําว่า “Spiritual well- being” หรื อสุ ขภาวะทางจิตวิญญาณเข้าไป ในคําจํากัดความของสุ ขภาพเพิ่มเติม ดังนั้น เมื่อกล่าวถึง สุ ขภาพในปั จจุบนจะต้องครอบคลุมถึงสิ่ งที่สาคัญ 4 ประการ คือ ั ํ 1. ภาวะทัวไปของร่ างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรงสมบูรณ์ ่ 2. มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ 3. จะต้องปราศจากโรคหรื อความทุพพลภาพ 4. จะต้องเป็ นผูที่สามารถดํารงตนและปฏิบติภารกิจต่างๆในสังคมได้เป็ นปกติสุข ้ ั 2.1.2 ตามร่ างพระราชบัญญัติสุขภาพ แห่ งชาติ 2545 ให้ความหมายของคําว่า “สุ ขภาพ” คือภาวะที่มีความพร้อมสมบูรณ์ท้ งทางร่ างกาย คือ ร่ างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง คล่องแคล่ว ั มี ก ํา ลัง ไม่ เ ป็ นโรค ไม่ พิ ก าร ไม่ มี อุ บ ัติ เ หตุ อ ัน ตราย มี สิ่ ง แวดล้อ มที่ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ทางจิ ตใจ คื อ มี จิตใจที่ มีความสุ ข รื่ นเริ ง ไม่ ติด ขัด มี เมตตา มี สติ มี สมาธิ ทางสังคม คือ มีการอยูร่วมกันด้วยดี มีครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมมีความ ่ ยุติธรรม และทางจิตวิญญาณ คือ ความสุ ขที่เกิดขึ้นเมื่อทําความดีหรื อจิตใจได้สมผัสสิ่ งที่มีคุณค่าอัน ั สู ง ส่ ง โดยทั้ง 4 ด้านนี้ จะต้องเกิดขึ้นจากการจัดการทางสุ ขภาพในระดับต่างๆทั้งสุ ขภาพในระดับ ของ ปั จเจกบุคคล (Individual Health) สุ ขภาพของครอบครัว (Family Health) อนามัยชุมชน (Community Health ) และสุ ขภาพของสาธารณะ (Public Health) 2.1.3 สุ ขภาพ หมายถึง ภาวะแห่ งความสมบูรณ์ของร่ างกาย จิตใจ และการ ่ ดํารงชีวิตอยูในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ความปราศจากโรค หรื อทุพพลภาพเท่านั้น (Health is defined as a state complete physical, mental and social well-being and merely the absence of disease infirmity : World Health Organization - WHO (องค์การอนามัยโลก) , 2491) สุ ขภาพจึ งมีความหมายที่เน้นความเป็ นอยู่ที่สมบูรณ์ท้ งทางร่ างกาย จิ ตใจ และสังคม ั นันคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุ ขภาพจิต และสุ ขภาพทางสังคมครบทุกด้าน และในที่ประชุมสมัชชา ่ องค์การอนามัยโลก เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้ตกลงเติมคําว่า “Spiritual Well-being” หรื อสุ ขภาวะทางจิตวิญญาณเข้าไป ในคําจํากัดความของสุ ขภาพเพิ่มเติม จึงอาจกล่าวได้ว่า สุ ขภาพ หมายถึง ภาวะของการดํารงชีวิตที่มีความสมบูรณ์ท้ งร่ างกาย จิตใจ รวมทั้งการอยูร่วมกัน ั ่ ่ ในสังคมได้ดวยดี อยูบนพื้นฐานของคุณธรรม และการใช้สติปัญญา ้
  • 16. ในอดีตคําว่า สุ ขภาพ หมายถึง สุ ขภาพกายเป็ นหลัก ต่อมาจึงได้รวมสุ ขภาพจิตเข้าไป ด้วย เพราะเห็นว่าคนที่มีสุขภาพกายสมบูรณ์แข็งแรง แต่สุขภาพจิตเสื่ อมโทรมหรื อเป็ นโรคจิตก็ไม่ สามารถดําเนินชีวิตเป็ นปกติสุขได้ ซํ้าร้ายอาจจะทําร้ายผูอื่นได้อีกด้วย ปั จจุบน คําว่า สุ ขภาพ มิได้ ้ ั หมายความเฉพาะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตเท่านั้น แต่ยงได้รวมถึงสุ ขภาพสังคม และสุ ขภาพจิต ั วิญญาณอีกด้วย จึงสามารถสรุ ปได้ว่าในความหมายของ "สุ ขภาพ" ในปั จจุบน มีองค์ประกอบ 4ั ส่ วน ด้วยกันคือ 1. สุ ขภาพกาย (Physical Health) หมายถึง สภาพที่ดีของร่ างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆ ่ อยูในสภาพที่ดี มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ร่ างกายสามารถทํางานได้ตามปกติ ั และมีความสัมพันธ์กบทุกส่ วนเป็ นอย่างดี และก่อให้เกิดประสิ ทธิภาพที่ดีในการทํางาน 2. สุ ขภาพจิต (Mental Health) หมายถึง สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มี จิตใจเบิกบานแจ่มใส มิให้เกิดความคับข้องใจหรื อขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคม และสิ่ งแวดล้อมได้อย่างมีความสุ ข สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งผู ้ มีสุขภาพจิตดี ย่อมมีผลมาจากสุ ขภาพกายดีดวย ดังที่ John Lock ได้กล่าวไว้ว่า “A Sound mind is in ้ ่ a sound body” คือ “จิตใจที่แจ่มใส ย่อมอยูในร่ างกายที่สมบูรณ์” 3. สุ ขภาพสังคม (Social Health) หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุข สมบูรณ์ มีสภาพของความเป็ นอยู่หรื อการดําเนิ นชีวิตอยูในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทาให้ผอื่น ่ ํ ู้ ่ หรื อสังคมเดือดร้อน สามารถปฏิสมพันธ์และปรับตัวให้อยูในสังคมได้เป็ นอย่างดีและมีความสุ ข ั 4. สุ ขภาพจิตวิญญาณ (Spiritual Health) หมายถึง สภาวะที่ดีของปั ญญาที่มีความรู ้ทว ั่ รู ้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่ งความดีความชัว ความมีประโยชน์และความมี ่ โทษ ซึ่งนําไปสู่ ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้ อเผือแผ่ ่ ในองค์ประกอบสุ ขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น แต่ละด้านยังมี 4 มิติ ดังนี้ 1. การส่ งเสริ มสุ ขภาพ เป็ นกลไกการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สุขภาพกาย สุ ขภาพจิต สุ ขภาพสังคม และสุ ขภาพจิตวิญญาณ 2. การป้ องกันโรค ได้แก่ มาตรการลดความเสี่ ยงในการเกิดโรค รวมทั้งการสร้าง ภูมิคุมกันเฉพาะโรค ด้วยวิธีการต่างๆ นานา เพื่อมิให้เกิดโรคกาย โรคจิต โรคสังคม และโรคจิต ้ วิญญาณ 3. การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว เราต้องเร่ งวินิจฉัยโรคว่าเป็ นโรคอะไร แล้วรี บให้ การรักษาด้วยวิธีที่ได้ผลดีที่สุดและปลอดภัยที่สุดเท่าที่มนุ ษย์จะรู ้และสามารถให้การบริ การรักษา ได้ เพื่อลดความเสี ยหายแก่สุขภาพ หรื อแม้แต่เพื่อป้ องกันมิให้เสี ยชีวิต
  • 17. 4. การฟื้ นฟูสภาพ หลายโรคเมื่อเป็ นแล้วก็อาจเกิดความเสี ยหายต่อการทํางานของระบบ อวัยวะหรื อทําให้พิการ จึงต้องเริ่ มมาตรการฟื้ นฟูให้กลับมามีสภาพใกล้เคียงปกติที่สุดเท่าที่จะทําได้ ทั้ง (1) การส่ งเสริ มสุ ขภาพ และ (2) การป้ องกันโรคนี้ เราเรี ยกรวมกันว่า "การสร้าง สุ ขภาพ" เป็ นการทําก่อนเกิดโรค ส่ วน (3) การรักษาโรค และ (4) การฟื้ นฟูสภาพนี้ เราเรี ยก รวมกันว่า "การซ่ อมสุ ขภาพ" เป็ นการทําหลังจากเกิดโรคแล้ว และเป็ นที่เชื่อกันว่า "การสร้าง สุ ขภาพ" มีประสิ ทธิผลดีกว่า และเสี ยค่าใช้จ่ายน้อยกว่า "การซ่อมสุ ขภาพ" เนื่ องจาก "การสร้าง สุ ขภาพ" เป็ นสิ่ งที่ประชาชนสามารถทําได้ดวยตัวเอง ้ ส่ วน "การซ่ อมสุ ขภาพ" ต้องอาศัย หน่วยงานด้านการแพทย์เป็ นหลัก แม้ว่าสุ ขภาพโดยองค์รวมแล้วจะเป็ นภาวะของมนุษย์ที่เชื่อมโยงกันทั้ง ทางกาย ทาง จิต ทางปั ญญา และทางสังคม แต่ในเรื่ องของสถิติสาขาสุ ขภาพนั้น มีขอจํากัดในการศึกษาทําให้ ้ ในขั้นต้นจะกล่าวถึงเฉพาะสุ ขภาพทางกาย และสุ ขภาพทางจิต เท่านั้น 2.2 ความสํ าคัญของสุ ขภาพ สุ ขภาพเป็ นสิ่ งสําคัญและจําเป็ นยิงต่อความเจริ ญงอกงามและพัฒนาการทุก ๆ ด้านใน ่ ตัวบุคคล สุ ขภาพเป็ นรากฐานที่สาคัญของชีวิต โดยเริ่ มมาตั้งแต่มีการปฏิสนธิ ในครรภ์มารดาวัย ํ ทารก วัยผูใหญ่จนถึงวัยชรา ้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เป็ นพระพุทธสุ ภาษิตว่า “อโรคยา ปรมาลาภา” ซึ่งแปลว่า “ความไม่มีโรคเป็ นลาภอันประเสริ ฐ” พระพุทธภาษิตข้อนี้ แม้แต่ ชาวอารยประเทศทางตะวันตกก็ยงยอมรับนับถือกัน และเห็ นพ้องต้องกันว่า “สุ ขภาพคือพรอัน ั ประเสริ ฐสุ ด (Health is the greatest blessing of all)” นอกจากนี้ยงมีสุภาษิตของชาวอาหรับโบราณ ั กล่าวไว้ว่า “คนที่มีสุขภาพดีคือคนที่มีความหวัง และคนที่มีความหวังคือคนที่มีทุกสิ่ งทุกอย่าง (He who has health has hope and he who has hope has everything)” ซึ่ งนันก็หมายความว่าสุ ขภาพ ่ จะเป็ นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรื อหนทางซึ่งจะนําบุคคลไปสู่ความสุ ขและความสําเร็ จต่างๆ นานาได้ ชีวิตเป็ นสิ่ งมีค่ายิงกว่าทรัพย์สินใด ๆ ทุกคนย่อมรักษาและหวงแหนชีวิตของตนเอง ่ ปรารถนาให้ตนเองมีชีวิตที่อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข จึงจําเป็ นต้องรักษาสุ ขภาพอนามัยให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่ เสมอ การมีสุขภาพดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรื อการบาดเจ็บจากอุบติเหตุต่าง ๆ มีกล้ามเนื้ อที่ ั ทํางานได้ดี สามารถทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ร่ างกายสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่ งแวดล้อมได้ดี ่ ไม่มีความวิตกกังวล ไม่ถูกความเครี ยดมารบกวน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ย่อมเป็ นสิ่ งที่ปรารถนาของมนุษย์ทุกคน สุ ขภาพจึงเปรี ยบเสมือนวิถีแห่ งชีวิต ที่จะนําไปสู่ ความสุ ข และความสําเร็ จต่างๆ ในชีวิตได้ ประสิ ทธิ ภาพในการทํางานของประชาชนในทุกสาขาอาชีพจะต้องอาศัยสุ ขภาพที่ดี แข็งแรงสมบูรณ์เป็ นปั จจัยสําคัญ การพัฒนาประเทศจะดีหรื อไม่ข้ ึนอยู่กบสุ ขภาพที่ดีของคนใน ั
  • 18. ชาติ เ ป็ นสําคัญ ประเทศที่ ประชาชนมี สุขภาพดี มี สติ ปัญญา มี คุณธรรมและจริ ยธรรม มี ความสามารถในการประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ ไม่เบียดเบียนและทําร้ายซึ่ ง กันและกัน ย่อมเกิ ดความสงบสุ ข และเมื่อบุคคลในชาติมีสุขภาพกายและจิตดี มีมนสมองที่มี ั ศักยภาพ ย่อมเป็ นผูที่มีความสามารถเรี ยนรู ้ และสร้างสรรค์ส่ิ งต่าง ๆ ได้ดี ซึ่ งจะส่ งผลต่อการ ้ พัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม กรอบความคิดเรื่ องสุ ขภาพในปั จจุบนวางอยู่บนฐานที่ว่าด้วยเรื่ อง สุ ขภาวะ (well- ั being) ทั้งมิติ ทางกาย ทางใจ ทางสังคม และทางปั ญญา (จิตวิญญาณ)และทั้งมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้นสุ ขภาพมีผลกระทบมาจากหลายปั จจัย จึงต้องให้ความสําคัญ กับองค์ความรู ้ ทั้งเรื่ องของการดําเนิ นงานทางสาธารณสุ ข การจัดบริ การสาธารณสุ ข และเรื่ อง ต่างๆ ที่ปรากฏในสังคม เพราะสิ่ งเหล่านี้ มีผลกระทบต่อสุ ขภาพทั้งทางตรง และทางอ้อม ทั้งด้าน บวก และด้านลบ องค์ความรู ้ เพื่อการพัฒนาสุ ขภาพและระบบสุ ขภาพจึงไม่ใช่ เรื่ องของระบบ การแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็ นเรื่ องความร่ วมมือกันของสังคม ที่จะมาร่ วมสร้างค่านิ ยมที่ ถูกต้องเกี่ยวกับสุ ขภาพ สร้างสิ่ งแวดล้อมที่ปลอดภัย และเอื้อต่อการมีสุขภาพดี ร่ วมสร้างวัฒนธรรม ของการดําเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผูอื่น และร่ วมกันสร้างสังคม ที่อยูร่วมกันอย่างมีสันติ ้ ่ สุ ข 2.2.1 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อสุ ขภาพ สิ่ งที่มีอิทธิพลต่อสุ ขภาพของคนเรานั้นมีมากมายหลายสาเหตุ แต่ในที่น้ ีจะ แบ่งออกเป็ น 3 องค์ประกอบที่สาคัญ ๆ ดังนี้ํ 1. องค์ประกอบด้านตัวบุคคล 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรม (Genetic makeup) 1.2 เชื้อชาติ (Race) 1.3 เพศ (Sex)อายุและระดับพัฒนาการ (Age and development level) 1.4 ปั จจัยทางสรี รวิทยา (Physiological factors) 1.5 ปั จจัยทางด้านจิตใจ (Poychological Factors) 1.6 ความรู ้ ความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติ 1.7 พฤติกรรมอนามัย (Health behavior) หรื อสุ ขปฏิบติ (Health ั Practice) 2. องค์ประกอบด้านสิ่ งแวดล้อม (Environment Factors) สิ่ งแวดล้อมอาจ แบ่งเป็ น 4 ด้านใหญ่ คือ