SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
 



                                                 บทที่ 4

                   ผลการออกแบบห้ องนําเพือความปลอดภัยสํ าหรับผู้สูงอายุ
                                     ้ ่

         ในบทนี้ จะแสดงผลการออกแบบโดยใช้ขอมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ที่รวบรวมมาได้
                                                 ้
  และทําการวิเคราะห์ ขอมูลเพื่อการออกแบบในบทที่ 3 มาทําการเขียนแบบห้องนํ้าที่ ได้ดวยโปรแกรม
                       ้                                                               ้




        อก
  AutoCAD 2007 ทั้งในส่ วนของ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อสร้างแบบสําเร็ จที่พร้อมใช้งานในการสร้างห้องนํ้า
  โดยมีแบบห้องนํ้าของบ้านบางแคที่ได้ปรับปรุ งแล้ว 1 แบบ และ แบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ 3 แบบ
        ในการออกแบบในการออกแบบห้องนํ้าสําหรับผูสูงอายุน้ น มีลกษณะพิเศษที่แตกต่างจากคนทัวไป
                                                      ้      ั ั                                ่
  มาก ลักษณะพิเศษนั้น ต้องนํามาพิจารณาในการออกแบบด้วย และลักษณะพิเศษของตัวผูสูงอายุที่ได้้
  รวบรวมข้อมูลไว้น้ นคือ
                    ั
     ดล   1.
          2.
          3.
          4.
          5.
               ระบบประสาทและประสาทสัมผัส
               จมูกและการดมกลิ่น
               การรับรส
               การมองเห็น และสรี รวิทยาของตา
               กระดูก
          6.   กล้ามเนื้อ
      ั
   มค
          7.   ระบบหัวใจและหลอดเลือด
          8.   กระเพาะอาหารและระบบทางเดินอาหารและลําไส้
          9.   ระบบปัสสาวะและอวัยวะสื บพันธุ์

          นอกจากปั จจัยดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องพิจารณาเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างห้องนํ้าอีกด้วยซึ่ ง
  จะกล่าวในบทที่ 5 ต่อไป โดยสิ่ งแวดล้อมในห้องนํ้าที่ควรคํานึ งถึงในการออกแบบห้องนํ้านั้น เนื่องจาก
  ผูสูงอายุมก ประสบอุบติเหตุหกล้มในห้องนํ้าได้ง่าย สาเหตุเนื่องจากสภาพร่ างกายที่ไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะ
    ้        ั            ั
ห้า

  ผูสูงอายุที่มีสายตาไม่ปกติ เช่น สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง การปรับระดับภาพของสายตาไม่
      ้
  ดี เป็ นต้น นอกจากนี้ที่พบบ่อย คือ ไฟในห้องนํ้ามักมีความสว่างไม่เพียงพอ หรื อเข้าห้องนํ้าโดยไม่เปิ ด
  ไฟ พื้นห้องนํ้าลื่นจากการมีหยดนํ้าบนพื้นห้อง การมีพ้ืนที่ไม่เรี ยบเสมอกันในห้องนํ้า ฯลฯ ผูสูงอายุไม่
                                                                                             ้
  ควรใช้อ่างอาบนํ้าเนื่องจากการลุกขึ้นลงไม่สะดวก อาจล้มในอ่างและศีรษะฟาดพื้นได้ง่าย หากจะใช้เป็ น
  ครั้งคราวควรมีแผ่นรองลื่นในอ่าง ควรจัดให้มีผาซับนํ้าที่หกบนพื้นไว้เสมอ หรื อมีพรมที่เป็ นผ้าหน้าอ่าง
                                                 ้
  อาบนํ้าและที่ประตูหองนํ้าเพื่อจะได้ซบนํ้าจากเท้าให้แห้งก่อนออกจากห้องนํ้าและป้ องกันการลื่นไถลหน้า
                        ้              ั



   
 


  ห้องนํ้า ควรจัดทําราวเพื่อช่วยพยุงผูสูงอายุให้ลุกขึ้นได้เองโดยเฉพาะบริ เวณที่ใกล้ โถส้วม ผูสูงอายุที่เดิน
                                      ้                                                      ้
  ไม่คล่องควรมีผช่วยเหลือคอยประคองในการเข้าห้อง นํ้าเพื่อทํากิจวัตรประจําวัน
                 ู้

            ในทํานองเดียวกัน หากอากาศมีสภาพร้อนอบอ้าว ผูสูงอายุมกชอบที่จะอาบนํ้าเย็นบ่อยกว่าปกติ ใน
                                                                        ้      ั
  กรณี น้ ีไม่จาเป็ นต้องเปิ ดเครื่ องทํานํ้าอุ่นหรื อต้มนํ้า แต่ผที่คอยดูแลหรื อผูสูงอายุควรทดสอบอุณหภูมิของนํ้า
               ํ                                                  ู้               ้
  เช่นเดียวกันโดยเปิ ด ฝักบัวเบาๆ ให้น้ าสัมผัสมือเพื่อดูความทนทานได้ของร่ างกายต่อนํ้าเย็นนั้น สิ่ งที่ตอง
                                                 ํ                                                           ้
  ระลึกไว้เสมอก็คือ ประสาทรับสัมผัสความร้อน-เย็นของผูสูงอายุมกจะช้า จึงต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ สิ่ ง
                                                                      ้      ั




        อก
  ที่มกพบเสมอในผูสูงอายุหลังจากอาบนํ้าคือ อาการหนาวสั่นไม่ว่าจะอาบนํ้าอุ่นหรื อนํ้าเย็น ดังนั้น ผูสูงอายุ
       ั                ้                                                                                 ้
  ควรเตรี ยมผ้าเช็ดตัวผืนใหญ่เพื่ออบอุ่นร่ างกายให้พร้อมก่อนเข้า ห้องนํ้า พื้นห้องนํ้าควรมีพ้ืนที่เรี ยบไม่ควร
  ทําเป็ นพื้นเล่นระดับเพราะอาจทําให้หกล้ม ได้ง่าย บริ เวณที่อาบนํ้าและโถส้วมควรอยูแยกกันพอสมควร่
  เพื่อไม่ให้น้ าที่อาบกระเด็น มา อาจทําให้เกิดการลื่นไถลและหกล้มได้ หากห้องนํ้าแคบอาจมีม่านกั้นตรง
                 ํ
  บริ เวณฝักบัวหรื อที่อาบนํ้าเพื่อกั้นให้มี บริ เวณที่เปี ยกและแห้ง
     ดล
      ั
   มค
                                     รู ปที่ 5-1 สภาพแวดล้อมห้องนํ้าโดยทัวไป
                                                                         ่

                 สิ่ งที่ตองระมัดระวังที่สาคัญอีกประการหนึ่ งคือ สารเคมีที่ใช้ในห้องนํ้า ซึ่ งมักประกอบด้วย
                            ้              ํ
      เครื่ องสําอางที่ใช้ ในห้องนํ้า เช่น แชมพู ครี มนวดผม ยาสี ฟัน สบู่ เจลอาบนํ้า นํ้ายาบ้วนปาก แป้ งโรยตัว
ห้า

      เป็ นต้น ควรมีช้ นหรื อตูใส่ เครื่ องสําอางให้เรี ยบร้อย ง่ายต่อการหยิบใช้ และควรเก็บให้เป็ นที่เป็ นทางหลัง
                          ั     ้
      ใช้ เพื่อกันการสับสน เพราะบางครั้งผูสูงอายุมกหยิบจับโดยไม่ได้สงเกตอย่างชัดเจน เพราะสายตาไม่ดี ซึ่ง
                                                ้        ั                   ั
      อาจทําให้เกิดอันตรายได้หากหยิบเครื่ องสําอางผิดประเภท




   
 



              ในห้องนํ้ามักมีการเก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดไว้ในห้องนํ้า ด้วย เช่น นํ้ายาล้างห้องนํ้า สเปรย์
                                            ํ
  ปรับอากาศ นํ้ายาดับกลิ่นในห้องนํ้า เป็ นต้น ควรจัดตูหรื อบริ เวณเก็บที่ห่างไกลและมิดชิด ไม่วางปะปน
                                                      ้
  กับเครื่ องสําอางที่ใช้ ในห้องนํ้าเพราะอาจเกิดอันตรายจากการหยิบจับมาใช้อย่างผิดพลาดได้ ผูสูงอายุ
                                                                                                 ้
  นอกจากมีประสาทสัมผัสเรื่ องสายตาและอุณหภูมิไม่ดีแล้ว การเกิ ดอาการแพ้สารเคมีจากการสัมผัส
  โดยตรงมักทําให้เกิดอันตรายได้
              โดยรวมแล้ว ห้องนํ้าควรมีการแสงสว่างที่เพียงพอ มีการระบายอากาศที่ดี แสงแดดส่ องถึง มี




        อก
  หน้าต่าง ประตูที่สามารถเปิ ดให้อากาศถ่ายเทได้ มีพ้ืนที่เรี ยบเสมอ ไม่มนเงา ไม่ลื่น มีบริ เวณที่เปี ยกที่ใช้
                                                                        ั
  อาบนํ้าและบริ เวณที่แห้งสําหรับวางโถส้วม ส้วมควรเป็ นชักโครกที่นงได้ง่ายกว่าส้วมนังยองๆ ที่ลุกขึ้นหรื อ
                                                                    ั่               ่
  นังยาก มีราวสําหรับเกาะในห้องนํ้าโดยเฉพาะบริ เวณนังโถส้วม มีตูเ้ ก็บเครื่ องสําอางที่ใช้ในห้องนํ้าและ
    ่                                                     ่
  อุปกรณ์ทาความสะอาดในห้องนํ้าแยกจาก กัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผสูงอายุ
           ํ                                                                   ู้
             นอกจากข้อมูลที่รวบรวมไว้ในบทที่ 2 แล้วยังได้รวบรวมภาพเพื่อมาเป็ นตัวอย่างแนวทางใน
  การออกแบบอีกด้วย ดังนี้
     ดล
      ั
   มค
                             รู ปที่ 5-2 ราวจับในห้องนํ้าเพื่อเดินสําหรับผูสูงอายุ
                                                                           ้
ห้า


                              รู ปที่ 5-3 ราวจับตรงอ่างล้างหน้าสําหรับผูสูงอายุ
                                                                        ้


   
 




        อก
                                   รู ปที่ 5-4 แผ่นกันลื่นในห้องนํ้า


     ดล
                                   รู ปที่ 5-5 กริ่ งฉุกเฉินในห้องนํ้า
      ั
   มค
  จากตัวอย่างภาพการออกแบบห้องนํ้าผูสูงอายุแบบต่างๆ และจากข้อมูลที่ได้รวบรวบมาในบทที่ 2 แล้วทาง
                                     ้
  ผูจดทําได้ออกแบบห้องนํ้าของผูสูงอายุโดยได้ออกแบบห้องนํ้าของบ้านบางแคที่ได้ปรับปรุ งแล้ว 1 แบบ
    ้ั                         ้
  และแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ 3 แบบ ดังนี้
ห้า


                        รู ปที่ 5-6 ภาพแบบห้องนํ้าบ้านบางแคที่ได้ปรับปรุ งแล้ว

   
 


  จากแบบประเมินสรุ ปได้ว่าการออกแบบห้องนํ้าบ้านบางแค จะมีตาแหน่ งอุปกรณ์ รู ปลักษณ์และขนาด
                                                                   ํ
  อุปกรณ์และอุปกรณ์ช่วยพยุง โดยมีความสู ง ขนาดที่ได้สรุ ปมา ดังนี้
         1. การประเมินตําแหน่งอุปกรณ์หองนํ้า ้
            1.1 การประเมินตําแหน่งฟั กบัว ใช้ค่า Min ของระยะ D63 ของเพศชายและหญิงคือระยะ
                                                                                           ่
                 152.6 – 167.1 ซม. จากพื้น ส่ วนระยะฟักบัวของห้องนํ้าบ้านพักคนชรา อยูที่ระยะ 148.5
                 ซม. จากพื้น
                                                     ่
            1.2 การประเมินตําแหน่งโถส้วม ควรอยูชิดพนังทิ้ง 2 ข้างโดยวัดจากกลางโถส้วมถึงพนัง 45 -




        อก
                                                                                 ํ
                 50 ซม. และใช้ระยะ D33 ความสู งจากพื้นถึงข้อพับแนวเข่า ใช้กาหนดความสู งของที่นง     ั่
                                                        ั่ ่
                 โถส้วม ถ้าระยะความสู งจากพื้นถึงที่นงอยูที่ระยะ 36.9 - 40.1 ซม. ส่ วนระยะโถส้วมของ
                                                              ่
                 ห้องนํ้าบ้านพักคนชราคือ 38.5 ซม. และอยูชิดพนังทั้ง 2 ข้าง
            1.3 การประเมินตําแหน่งกระจก โดยใช้ค่า Mean ของจุด D52 คือความสู งจากพื้นถึงระดับ
                 สายตา โดยตําแหน่ งกลางของกระจกจะต้องอยู่สูงจากพื้น 138.1 – 149.9 ซม. ส่ วนระยะ
     ดล          กระจกของห้องนํ้าบ้านพักคนชราคือ 125 ซม.
            1.4 การประเมินตําแหน่งสายชําระ โดยใช้ค่า Max ของจุด D32 คือความสู งจากพื้นถึงเข่าบน
                                                                               ่ ้
                 สายชําระจะติดตั้งสู งจากพื้น 49.6 - 53.6 ซม. และควรติดตั้งอยูขางลําตัวถ้าไม่เกินระยะ
                                                                                        ่
                 เอื้อมหน้าหลัง 20 ซม. ส่ วนระยะสายชําระของห้องนํ้าบ้านพักคนชราอยูที่ 60 ซม. แล้ว
                           ่
                 ติดตั้งอยูระยะด้านหลังเกิน 20 ซม.
            1.5 การประเมินอ่างนํ้าล้างหน้า โดยจะใช้ค่า Mean ของจุด D62 คือระยะความสู งจากพื้นถึง
      ั
   มค
                 เอื้อมมือหยิบตํ่าสุ ด เพื่อกําหนดระยะความสู งของด้านบนของอ่างล้างถึงพื้น 61.2 – 70.9
                                                                     ่
                 ซม. ส่ วนระยะอ่างล้างหน้าห้องนํ้าบ้านพักคนชราอยูที่ 77.5 ซม.
            1.6 การประเมินตําแหน่งก๊อกต่างๆ ตําแหน่งของก๊อกที่จะนํามาประเมินคือก๊อกอ่างล้างหน้า
                 และก๊อกฟั กบัว โดยก๊อกอ่างล้างหน้าถ้าอยูตรงกลางอ่างล้างหน้า และก๊อกฟั กบัวจะใช้ค่า
                                                                ่
                 Mean ของจุด D64 ถ้าระยะจากพื้นถึงก๊อกคือ 80.8 – 88.9 ซม. ส่ วนตําแหน่งของก๊อกอ่าง
                             ่
                 ล้างหน้าอยูฝั่งขวาและระยะของก๊อกฟักบัวคือ 104 ซม.
            1.7 การประเมินตําแหน่งลูกบิดประตู ตําแหน่งของลูกบิดประตูใช้ค่า Mean ของจุด D64 คือ
ห้า

                 ถ้าระยะจากพื้นถึงลูกบิดประตูคือ 80.8 – 88.9 ซม. ส่ วนตําแหน่งของลูกบิดประตูบานพัก
                                                                                                 ้
                 คนชราคือ 82 ซม.
         2. การประเมินรู ปลักษณ์และขนาดของอุปกรณ์
            2.1 ก๊อกนํ้าต่างๆ จากการใช้ Lula ทําการประเมินก๊อกต่างๆ ผลที่ได้คือแนะนําให้ใช้ก๊อก
                 แบบปัดข้างหรื อปั ดขึ้นลง ส่ วนก๊อกนํ้าที่บานพักคนชราเป็ นแบบปั ดด้านข้าง
                                                            ้




   
 


         2.2 โถส้วม ควรใช้โถส้วมแบบสู ง และใช้ระยะความกว้างสะโพก จุด D40 ใช้กาหนดความ       ํ
             กว้างของที่นงโถส้วม ความกว้างของที่นง อยู่ที่ระยะ 35-38 ซม. ส่ วนห้องนํ้าบ้านพัก
                           ั่                               ่ั
                                                      ่
             คนชราเป็ นโถแบบสู งและความกว้างอยูที่ 38 ซม.
         2.3 ที่นงอาบนํ้า ห้องนํ้าที่ทาการประเมินควรมีที่นงอาบนํ้าและใช้ระยะ D33 ความสูงจากพื้น
                   ั่                   ํ                            ั่
                                      ํ
             ถึงข้อพับแนวเข่า ใช้กาหนดความสู งของที่นงอาบนํ้า ระยะความสู งจากพื้นถึงที่นงควร
                                                                  ั่                              ่ั
                 ่
             อยูที่ระยะ 36.9 - 40.1 ซม. ส่ วนห้องนํ้าบ้านพักคนชราไม่มีที่นงอาบนํ้า
                                                                          ั่
         2.4 อ่างล้างหน้า ใต้อาบล้างหน้าควรเป็ นที่ว่างและขอบอ่างต้องอยูในตําแหน่งที่ผสูงอายุเข้า
                                                                             ่                ู้




        อก
             ประชิดได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง ห้องนํ้าที่บานพักคนชราก็เป็ นแบบนี้เช่นเดียวกัน
                                                          ้
         2.5 ลูกบิดประตู จากที่ใช้ Lula ทําการประเมิน ควรใช้ลูกบิดประตูแบบคันโยก ส่ วนลูกบิด
             ประตูที่ใช้ในห้องนํ้าบ้านพักคนชราเป็ นแบบลูกบิดกลม
         2.6 ฟักบัว ควรเป็ นแบบที่ปรับระดับและถอดได้ ส่ วนฟักบัวที่ใช้ในห้องนํ้าบ้านพักคนชราไม่
             สามารถปรับระดับได้
     ดล
      3. การประเมินอุปกรณ์ช่วยพยุง
         3.1 ลักษณะและขนาดของราวจับ ราวจับควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 ซม. ให้ 2 คะแนน
             ถ้ามีขนาด 5 ซม. ให้ 1 คะแนน ส่ วนลักษณะของราวจับเราประเมินจากวัสดุที่ใช้ ถ้าเป็ นส
             แตนเลส 2 คะแนน ถ้าวัสดุเป็ นไม้เนื้อแข็งให้เป็ น 1 คะแนน
         3.2 ตําแหน่ งของราวจับ ควรติดตั้งตําแหน่ งราวจับอยู่ในระดับ D64 ซึ่ งเป็ นระยะจากพื้นถึง
             เอื้อมมือหยิบคือ 80.8 – 88.9 ซม. ส่ วนราวจับที่หองนํ้าบ้านพักคนชรามีระยะจากพื้น 85.5
                                                                        ้
      ั
   มค
             ซม.
         3.3 ความเพียงพอของราวจับ ควรมีราวจับให้ทวถึงทั้งห้องนํ้าเพื่อให้ผสูงอายุสามารถเดินจับ
                                                               ั่              ู้
             ราวได้ตลอดการเดินในห้องนํ้าโดยแบ่งระดับคะแนนเป็ น คะแนน โดยมีราวจับจากประตู
             ถึงโถส้วมให้ 1 คะแนน มีราวจับจากประตูถึงอ่างล้างหน้าให้ 1 คะแนน มีราวจับจากอ่าง
             ล้างหน้าถึงห้องอาบนํ้าให้ 1 คะแนน มีราวจับจากห้องอาบนํ้าไปถึงโถส้วมให้ 1 คะแนน
             มีราวจับ 45 องศาข้างฟักบัวให้ 1 คะแนน
         3.4 ราวจับ ข้า งโถส้ ว ม จากการสํา รวจผู สู ง อายุ นิ ย มเลื อ กแบบติ ด พื้ น 2 ข้า งมากที่ สุ ด
                                                        ้
ห้า

             รองลงมาคื อ แบบติ ด พนัง มุ ม ฉาก แต่ เ ราแนะนํา ให้ ใ ช้แ บบติ ด พนัง เนื่ อ งจากมี ค วาม
             ปลอดภัยกว่าแบบติดพื้น 2 ข้างโดยแบ่งเป็ น 4 คะแนน ถ้าเป็ นแบบติดพนัง 2 ข้าง ให้ 4
             คะแนน แบบติดพนังข้างเดียวให้ 3 คะแนน แบบติดพื้น 2 ข้างให้ 2 คะแนน แบบติดพื้น
             ข้างเดียวให้ 1 คะแนน




   
 




        อก
      รู ปที่ 5-7 ภาพแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ แบบที่ 1

     ดล
      ั
   มค
ห้า


      รู ปที่ 5-8 ภาพแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ แบบที่ 2




   
 




        อก
                         รู ปที่ 5-9 ภาพแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ แบบที่ 3

     ดล   อุปกรณ์และสิ่ งอํานวยความสะดวก ในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการเก็บข้อมูลจากการให้ผสูงอายุบาน
                                                                                       ู้      ้
  บางแคทดสอบอุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน ได้แก่ สวิตซ์ไฟฟ้ า ปลักไฟฟ้ า ลูกบิด และก้านจับเปิ ดประตู
                                                               ๊
  กลอนประตู ก๊อกนํ้า โถสุ ขภัณฑ์ และสิ่ งอํานวยความสะดวกสําหรับผูสูงอายุ ได้แก่ ราวจับในห้องนํ้า
                                                                    ้
  บริ เวณโถส้วม โดยสามารถสรุ ปมาตรฐานขั้นตํ่าของอุปกรณ์ของผูสูงอายุ ได้ดงนี้
                                                             ้            ั

            1. สวิตซ์ไฟฟ้ าและปลักไฟฟ้ า ควรคํานึ งถึงความสะดวกในการเปิ ด – ปิ ดของผูสูงอายุโดยระดับ
                                     ๊                                               ้
                                                                      ํ
  ของสวิตซ์ไฟฟ้ าและปลักไฟฟ้ าตามมาตรฐานขั้นตํ่าของสหรัฐอเมริ กาที่กาหนดความสู งสวิตซ์ที่ระดับไม่
                           ๊
      ั
   มค
  เกิน 1200 มิลลิเมตรจากพื้น และระดับปลักไฟฟ้ าสู งไม่นอยกว่า 230 มิลลิเมตรจากพื้น อีกมาตรฐานหนึ่ง
                                           ๊             ้
          ํ                                                  ํ
  ซึ่งได้กาหนดไว้ในข้อแนะนําการสร้างห้องนํ้าสําหรับผูสูงอายุกาหนดให้ความสู งสวิตซ์ที่ระดับไม่เกิน 900
                                                       ้
  มิลลิเมตรจากพื้น และระดับปลักไฟฟ้ าสูงไม่นอยกว่า 450 มิลลิเมตรจากพื้น อย่างไรก็ตามการติดตั้งสวิตซ์
                                   ๊          ้
  ไฟฟ้ าไม่ควรสูงเกินไปเพื่อให้ผสูงอายุกดได้สะดวกโดยไม่ตองเอื้อม และระดับปลักไฟฟ้ าต้องไม่ต่าเกินไป
                                ู้                         ้                   ๊              ํ
  เพื่อไม่ให้ผสูงอายุตองก้มลงไปมาก
               ู้     ้
ห้า


   
 


           รู ปแบบของสวิตซ์ผสูงอายุเลือกสวิตซ์แบบที่ 1 ซึ่ งเป็ นสวิตซ์ที่มีลกษณะอย่างเดียวกับสวิตซ์ที่พบ
                            ู้                                               ั
  เห็ นได้ทวไปมีขนาดใหญ่ไม่มากนัก แสดงว่าผูสูงอายุเลือกใช้อุปกรณ์ที่คุนเคยอยู่แล้ว ส่ วนปลักไฟฟ้ า
            ั่                                 ้                               ้                  ๊
  เลือกใช้ปลักแบบที่มีสวิตซ์ตดไฟประกอบด้วยมากที่สุด แสดงว่าผูสูงอายุมีความต้องการใช้อุปกรณ์ที่มี
               ๊               ั                                     ้
                       ุ่
  ความปลอดภัยและไม่ยงยากที่จะใช้งาน




        อก
                  รู ปที่ 5-10 (ก) สวิตซ์                      (ข) ปลักแบบมีสวิตซ์ตดไฟ
                                                                       ๊            ั
           2. ลูกบิดมือจับเปิ ดประตูและกลอนประตู ผูสูงอายุส่วนใหญ่เลือกใช้ลูกบิดประตูแบบมีร่อง ซึ่ ง
                                                       ้
  เป็ นแบบที่สามารถจับได้ง่ายที่สุดที่ให้ผสูงอายุทดสอบ ซึ่งในข้อแนะนําในการสร้างนั้นให้ใช้ลูกบิดประตูที่
     ดล                                    ู้
  มีขนาดใหญ่ จับง่ายแต่ในร่ างกฎกระทรวงฯ ข้อ 22 กําหนดให้อุปกรณ์เปิ ดปิ ดประตูตองเป็ นชนิ ดก้านบิด
                                                                                      ้
                      ่
  หรื อแกนผลัก อยูสูงจากพื้นไม่นอยกว่า 1000 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1200 มิลลิเมตร สําหรับกลอนประตู
                                   ้
  ใช้แบบที่มีกลไกในการล็อกที่ค่อนข้างซับซ้อนมากกว่า การที่เลือกกลอนประตูที่มีการล็อกที่ซบซ้อนเป็ น
                                                                                             ั
  ส่ วนมากอาจเนื่ องจากแนวความคิดที่ตองการเป็ นส่ วนตัวซึ่ งถือว่ามีความสําคัญของบุคคลซึ่ งแสดงถึงความ
                                         ้
  เป็ นตัวของตัวเอง
      ั
   มค
             รู ปที่ 5-11 (ก) ลูกบิดประตูแบบมีร่อง                (ข) มือจับประตู
ห้า


                                         รู ปที่ 5-12 กลอนประตู



   
 


            3. ก๊อกนํ้า ใช้ก๊อกนํ้าแบบปั ดไปด้านข้าง ซึ่งสามารถเปิ ดและปิ ดได้ง่าย ไม่ตองอาศัยแรงมากทั้งนี้
                                                                                         ้
  เนื่องจากผูสูงอายุอาจมีความสามารถในการใช้มือลดลง ไม่สามารถออกแรงบิดได้ สอดคล้องกับมาตรฐาน
              ้
                               ํ
  ขั้นตํ่าของสหรัฐอเมริ กาที่กาหนดให้อุปกรณ์ในห้องนํ้าแบบก้านโยกทั้งหมด เพื่อให้ผสูงอายุสามารถเปิ ดได้
                                                                                      ู้
  โดยไม่ตองกําหรื อหมุน และในหลักการออกแบบห้องนํ้าผูสูงอายุแนะนําว่าก๊อกนํ้าควรเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้
            ้                                                 ้
  แรงน้อยในการเปิ ด




        อก
                                            รู ปที่ 5-13 ก๊อกนํ้าแบบปัดไปด้านข้าง
     ดล   4. โถสุ ขภัณฑ์ ให้ใช้โถส้วมชนิ ดนังราบ สู งจากพื้นไม่นอยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500
                                              ่                   ้
  มิลลิเมตร มีขอสังเกตคือความสู งที่กฎหมายกําหนดเป็ นความสู งที่เผือไว้สาหรับรถเข็นด้วย แต่จากการวัด
                ้                                                   ่    ํ
  สรี ระของผูสูงอายุโดยทัวไปพบว่าความสู งจากพื้นถึงก้นขณะนังราบ ผูชายสู ง 401 มิลลิเมตร และผูหญิง
             ้            ่                                    ่      ้                            ้
  369 มิลลิเมตร ซึ่ งผลที่ได้จากการวัดสรี ระใกล้เคียงกับความสู งของโถสุ ขภัณฑ์ที่ผสูงอายุเลือกใช้ ฉะนั้น
                                                                                  ู้
  ความสู งโถสุ ขภัณฑ์ที่เหมาะสมน่าจะเป็ น 400 – 500 มิลลิเมตร
      ั
   มค
               5. ราวจับในห้องนํ้าบริ เวณโถส้วม เนื่ องจากความปลอดภัยของผูสูงอายุเป็ นสิ่ งสําคัญผูสูงอายุที่
                                                                                                ้              ้
  เดินไม่สะดวกอาจลื่นหกล้มได้หากไม่มีที่สาหรับเกาะยึดโดยเฉพาะในบริ เวณห้องนํ้า ดังนั้นห้องนํ้าควรจะ
                                                        ํ
  มี ที่ จ ับ สํา หรั บ ผูสู ง อายุ ส่ ว นใหญ่ เ ลื อ กราวจับ ในห้อ งนํ้า ที่ ใ ช้ว ส ดุ เ ป็ นสแตนเลส สอดคล้อ งกับ ร่ า ง
                          ้                                                         ั
  กฎกระทรวง ข้อ 28 ราวจับในห้องส้วมให้ทาด้วยวัสดุเรี ยบ มีความมันคงแข็งแรง ไม่เป็ นอันตรายในการ
                                                          ํ                            ่
  จับและไม่ลื่นสําหรับระดับความสู งราวจับในห้องนํ้าผูสูงอายุส่วนใหญ่เลือกตามความสูงของราว PVC ติด
                                                                 ้
  พื้น 2 ข้างประมาณ 900 มิลลิเมตร
ห้า


   

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von rubtumproject.com

DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1rubtumproject.com
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationrubtumproject.com
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramrubtumproject.com
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือrubtumproject.com
 
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคแนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคrubtumproject.com
 

Mehr von rubtumproject.com (20)

DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplication
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
 
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคแนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
 

การออกแบบห้องน้ำเพื่อผู้สูงอายุ ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 4

  • 1.   บทที่ 4 ผลการออกแบบห้ องนําเพือความปลอดภัยสํ าหรับผู้สูงอายุ ้ ่ ในบทนี้ จะแสดงผลการออกแบบโดยใช้ขอมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ที่รวบรวมมาได้ ้ และทําการวิเคราะห์ ขอมูลเพื่อการออกแบบในบทที่ 3 มาทําการเขียนแบบห้องนํ้าที่ ได้ดวยโปรแกรม ้ ้ อก AutoCAD 2007 ทั้งในส่ วนของ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อสร้างแบบสําเร็ จที่พร้อมใช้งานในการสร้างห้องนํ้า โดยมีแบบห้องนํ้าของบ้านบางแคที่ได้ปรับปรุ งแล้ว 1 แบบ และ แบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ 3 แบบ ในการออกแบบในการออกแบบห้องนํ้าสําหรับผูสูงอายุน้ น มีลกษณะพิเศษที่แตกต่างจากคนทัวไป ้ ั ั ่ มาก ลักษณะพิเศษนั้น ต้องนํามาพิจารณาในการออกแบบด้วย และลักษณะพิเศษของตัวผูสูงอายุที่ได้้ รวบรวมข้อมูลไว้น้ นคือ ั ดล 1. 2. 3. 4. 5. ระบบประสาทและประสาทสัมผัส จมูกและการดมกลิ่น การรับรส การมองเห็น และสรี รวิทยาของตา กระดูก 6. กล้ามเนื้อ ั มค 7. ระบบหัวใจและหลอดเลือด 8. กระเพาะอาหารและระบบทางเดินอาหารและลําไส้ 9. ระบบปัสสาวะและอวัยวะสื บพันธุ์ นอกจากปั จจัยดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องพิจารณาเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างห้องนํ้าอีกด้วยซึ่ ง จะกล่าวในบทที่ 5 ต่อไป โดยสิ่ งแวดล้อมในห้องนํ้าที่ควรคํานึ งถึงในการออกแบบห้องนํ้านั้น เนื่องจาก ผูสูงอายุมก ประสบอุบติเหตุหกล้มในห้องนํ้าได้ง่าย สาเหตุเนื่องจากสภาพร่ างกายที่ไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะ ้ ั ั ห้า ผูสูงอายุที่มีสายตาไม่ปกติ เช่น สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง การปรับระดับภาพของสายตาไม่ ้ ดี เป็ นต้น นอกจากนี้ที่พบบ่อย คือ ไฟในห้องนํ้ามักมีความสว่างไม่เพียงพอ หรื อเข้าห้องนํ้าโดยไม่เปิ ด ไฟ พื้นห้องนํ้าลื่นจากการมีหยดนํ้าบนพื้นห้อง การมีพ้ืนที่ไม่เรี ยบเสมอกันในห้องนํ้า ฯลฯ ผูสูงอายุไม่ ้ ควรใช้อ่างอาบนํ้าเนื่องจากการลุกขึ้นลงไม่สะดวก อาจล้มในอ่างและศีรษะฟาดพื้นได้ง่าย หากจะใช้เป็ น ครั้งคราวควรมีแผ่นรองลื่นในอ่าง ควรจัดให้มีผาซับนํ้าที่หกบนพื้นไว้เสมอ หรื อมีพรมที่เป็ นผ้าหน้าอ่าง ้ อาบนํ้าและที่ประตูหองนํ้าเพื่อจะได้ซบนํ้าจากเท้าให้แห้งก่อนออกจากห้องนํ้าและป้ องกันการลื่นไถลหน้า ้ ั  
  • 2.   ห้องนํ้า ควรจัดทําราวเพื่อช่วยพยุงผูสูงอายุให้ลุกขึ้นได้เองโดยเฉพาะบริ เวณที่ใกล้ โถส้วม ผูสูงอายุที่เดิน ้ ้ ไม่คล่องควรมีผช่วยเหลือคอยประคองในการเข้าห้อง นํ้าเพื่อทํากิจวัตรประจําวัน ู้ ในทํานองเดียวกัน หากอากาศมีสภาพร้อนอบอ้าว ผูสูงอายุมกชอบที่จะอาบนํ้าเย็นบ่อยกว่าปกติ ใน ้ ั กรณี น้ ีไม่จาเป็ นต้องเปิ ดเครื่ องทํานํ้าอุ่นหรื อต้มนํ้า แต่ผที่คอยดูแลหรื อผูสูงอายุควรทดสอบอุณหภูมิของนํ้า ํ ู้ ้ เช่นเดียวกันโดยเปิ ด ฝักบัวเบาๆ ให้น้ าสัมผัสมือเพื่อดูความทนทานได้ของร่ างกายต่อนํ้าเย็นนั้น สิ่ งที่ตอง ํ ้ ระลึกไว้เสมอก็คือ ประสาทรับสัมผัสความร้อน-เย็นของผูสูงอายุมกจะช้า จึงต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ สิ่ ง ้ ั อก ที่มกพบเสมอในผูสูงอายุหลังจากอาบนํ้าคือ อาการหนาวสั่นไม่ว่าจะอาบนํ้าอุ่นหรื อนํ้าเย็น ดังนั้น ผูสูงอายุ ั ้ ้ ควรเตรี ยมผ้าเช็ดตัวผืนใหญ่เพื่ออบอุ่นร่ างกายให้พร้อมก่อนเข้า ห้องนํ้า พื้นห้องนํ้าควรมีพ้ืนที่เรี ยบไม่ควร ทําเป็ นพื้นเล่นระดับเพราะอาจทําให้หกล้ม ได้ง่าย บริ เวณที่อาบนํ้าและโถส้วมควรอยูแยกกันพอสมควร่ เพื่อไม่ให้น้ าที่อาบกระเด็น มา อาจทําให้เกิดการลื่นไถลและหกล้มได้ หากห้องนํ้าแคบอาจมีม่านกั้นตรง ํ บริ เวณฝักบัวหรื อที่อาบนํ้าเพื่อกั้นให้มี บริ เวณที่เปี ยกและแห้ง ดล ั มค รู ปที่ 5-1 สภาพแวดล้อมห้องนํ้าโดยทัวไป ่ สิ่ งที่ตองระมัดระวังที่สาคัญอีกประการหนึ่ งคือ สารเคมีที่ใช้ในห้องนํ้า ซึ่ งมักประกอบด้วย ้ ํ เครื่ องสําอางที่ใช้ ในห้องนํ้า เช่น แชมพู ครี มนวดผม ยาสี ฟัน สบู่ เจลอาบนํ้า นํ้ายาบ้วนปาก แป้ งโรยตัว ห้า เป็ นต้น ควรมีช้ นหรื อตูใส่ เครื่ องสําอางให้เรี ยบร้อย ง่ายต่อการหยิบใช้ และควรเก็บให้เป็ นที่เป็ นทางหลัง ั ้ ใช้ เพื่อกันการสับสน เพราะบางครั้งผูสูงอายุมกหยิบจับโดยไม่ได้สงเกตอย่างชัดเจน เพราะสายตาไม่ดี ซึ่ง ้ ั ั อาจทําให้เกิดอันตรายได้หากหยิบเครื่ องสําอางผิดประเภท  
  • 3.   ในห้องนํ้ามักมีการเก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดไว้ในห้องนํ้า ด้วย เช่น นํ้ายาล้างห้องนํ้า สเปรย์ ํ ปรับอากาศ นํ้ายาดับกลิ่นในห้องนํ้า เป็ นต้น ควรจัดตูหรื อบริ เวณเก็บที่ห่างไกลและมิดชิด ไม่วางปะปน ้ กับเครื่ องสําอางที่ใช้ ในห้องนํ้าเพราะอาจเกิดอันตรายจากการหยิบจับมาใช้อย่างผิดพลาดได้ ผูสูงอายุ ้ นอกจากมีประสาทสัมผัสเรื่ องสายตาและอุณหภูมิไม่ดีแล้ว การเกิ ดอาการแพ้สารเคมีจากการสัมผัส โดยตรงมักทําให้เกิดอันตรายได้ โดยรวมแล้ว ห้องนํ้าควรมีการแสงสว่างที่เพียงพอ มีการระบายอากาศที่ดี แสงแดดส่ องถึง มี อก หน้าต่าง ประตูที่สามารถเปิ ดให้อากาศถ่ายเทได้ มีพ้ืนที่เรี ยบเสมอ ไม่มนเงา ไม่ลื่น มีบริ เวณที่เปี ยกที่ใช้ ั อาบนํ้าและบริ เวณที่แห้งสําหรับวางโถส้วม ส้วมควรเป็ นชักโครกที่นงได้ง่ายกว่าส้วมนังยองๆ ที่ลุกขึ้นหรื อ ั่ ่ นังยาก มีราวสําหรับเกาะในห้องนํ้าโดยเฉพาะบริ เวณนังโถส้วม มีตูเ้ ก็บเครื่ องสําอางที่ใช้ในห้องนํ้าและ ่ ่ อุปกรณ์ทาความสะอาดในห้องนํ้าแยกจาก กัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผสูงอายุ ํ ู้ นอกจากข้อมูลที่รวบรวมไว้ในบทที่ 2 แล้วยังได้รวบรวมภาพเพื่อมาเป็ นตัวอย่างแนวทางใน การออกแบบอีกด้วย ดังนี้ ดล ั มค รู ปที่ 5-2 ราวจับในห้องนํ้าเพื่อเดินสําหรับผูสูงอายุ ้ ห้า รู ปที่ 5-3 ราวจับตรงอ่างล้างหน้าสําหรับผูสูงอายุ ้  
  • 4.   อก รู ปที่ 5-4 แผ่นกันลื่นในห้องนํ้า ดล รู ปที่ 5-5 กริ่ งฉุกเฉินในห้องนํ้า ั มค จากตัวอย่างภาพการออกแบบห้องนํ้าผูสูงอายุแบบต่างๆ และจากข้อมูลที่ได้รวบรวบมาในบทที่ 2 แล้วทาง ้ ผูจดทําได้ออกแบบห้องนํ้าของผูสูงอายุโดยได้ออกแบบห้องนํ้าของบ้านบางแคที่ได้ปรับปรุ งแล้ว 1 แบบ ้ั ้ และแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ 3 แบบ ดังนี้ ห้า รู ปที่ 5-6 ภาพแบบห้องนํ้าบ้านบางแคที่ได้ปรับปรุ งแล้ว  
  • 5.   จากแบบประเมินสรุ ปได้ว่าการออกแบบห้องนํ้าบ้านบางแค จะมีตาแหน่ งอุปกรณ์ รู ปลักษณ์และขนาด ํ อุปกรณ์และอุปกรณ์ช่วยพยุง โดยมีความสู ง ขนาดที่ได้สรุ ปมา ดังนี้ 1. การประเมินตําแหน่งอุปกรณ์หองนํ้า ้ 1.1 การประเมินตําแหน่งฟั กบัว ใช้ค่า Min ของระยะ D63 ของเพศชายและหญิงคือระยะ ่ 152.6 – 167.1 ซม. จากพื้น ส่ วนระยะฟักบัวของห้องนํ้าบ้านพักคนชรา อยูที่ระยะ 148.5 ซม. จากพื้น ่ 1.2 การประเมินตําแหน่งโถส้วม ควรอยูชิดพนังทิ้ง 2 ข้างโดยวัดจากกลางโถส้วมถึงพนัง 45 - อก ํ 50 ซม. และใช้ระยะ D33 ความสู งจากพื้นถึงข้อพับแนวเข่า ใช้กาหนดความสู งของที่นง ั่ ั่ ่ โถส้วม ถ้าระยะความสู งจากพื้นถึงที่นงอยูที่ระยะ 36.9 - 40.1 ซม. ส่ วนระยะโถส้วมของ ่ ห้องนํ้าบ้านพักคนชราคือ 38.5 ซม. และอยูชิดพนังทั้ง 2 ข้าง 1.3 การประเมินตําแหน่งกระจก โดยใช้ค่า Mean ของจุด D52 คือความสู งจากพื้นถึงระดับ สายตา โดยตําแหน่ งกลางของกระจกจะต้องอยู่สูงจากพื้น 138.1 – 149.9 ซม. ส่ วนระยะ ดล กระจกของห้องนํ้าบ้านพักคนชราคือ 125 ซม. 1.4 การประเมินตําแหน่งสายชําระ โดยใช้ค่า Max ของจุด D32 คือความสู งจากพื้นถึงเข่าบน ่ ้ สายชําระจะติดตั้งสู งจากพื้น 49.6 - 53.6 ซม. และควรติดตั้งอยูขางลําตัวถ้าไม่เกินระยะ ่ เอื้อมหน้าหลัง 20 ซม. ส่ วนระยะสายชําระของห้องนํ้าบ้านพักคนชราอยูที่ 60 ซม. แล้ว ่ ติดตั้งอยูระยะด้านหลังเกิน 20 ซม. 1.5 การประเมินอ่างนํ้าล้างหน้า โดยจะใช้ค่า Mean ของจุด D62 คือระยะความสู งจากพื้นถึง ั มค เอื้อมมือหยิบตํ่าสุ ด เพื่อกําหนดระยะความสู งของด้านบนของอ่างล้างถึงพื้น 61.2 – 70.9 ่ ซม. ส่ วนระยะอ่างล้างหน้าห้องนํ้าบ้านพักคนชราอยูที่ 77.5 ซม. 1.6 การประเมินตําแหน่งก๊อกต่างๆ ตําแหน่งของก๊อกที่จะนํามาประเมินคือก๊อกอ่างล้างหน้า และก๊อกฟั กบัว โดยก๊อกอ่างล้างหน้าถ้าอยูตรงกลางอ่างล้างหน้า และก๊อกฟั กบัวจะใช้ค่า ่ Mean ของจุด D64 ถ้าระยะจากพื้นถึงก๊อกคือ 80.8 – 88.9 ซม. ส่ วนตําแหน่งของก๊อกอ่าง ่ ล้างหน้าอยูฝั่งขวาและระยะของก๊อกฟักบัวคือ 104 ซม. 1.7 การประเมินตําแหน่งลูกบิดประตู ตําแหน่งของลูกบิดประตูใช้ค่า Mean ของจุด D64 คือ ห้า ถ้าระยะจากพื้นถึงลูกบิดประตูคือ 80.8 – 88.9 ซม. ส่ วนตําแหน่งของลูกบิดประตูบานพัก ้ คนชราคือ 82 ซม. 2. การประเมินรู ปลักษณ์และขนาดของอุปกรณ์ 2.1 ก๊อกนํ้าต่างๆ จากการใช้ Lula ทําการประเมินก๊อกต่างๆ ผลที่ได้คือแนะนําให้ใช้ก๊อก แบบปัดข้างหรื อปั ดขึ้นลง ส่ วนก๊อกนํ้าที่บานพักคนชราเป็ นแบบปั ดด้านข้าง ้  
  • 6.   2.2 โถส้วม ควรใช้โถส้วมแบบสู ง และใช้ระยะความกว้างสะโพก จุด D40 ใช้กาหนดความ ํ กว้างของที่นงโถส้วม ความกว้างของที่นง อยู่ที่ระยะ 35-38 ซม. ส่ วนห้องนํ้าบ้านพัก ั่ ่ั ่ คนชราเป็ นโถแบบสู งและความกว้างอยูที่ 38 ซม. 2.3 ที่นงอาบนํ้า ห้องนํ้าที่ทาการประเมินควรมีที่นงอาบนํ้าและใช้ระยะ D33 ความสูงจากพื้น ั่ ํ ั่ ํ ถึงข้อพับแนวเข่า ใช้กาหนดความสู งของที่นงอาบนํ้า ระยะความสู งจากพื้นถึงที่นงควร ั่ ่ั ่ อยูที่ระยะ 36.9 - 40.1 ซม. ส่ วนห้องนํ้าบ้านพักคนชราไม่มีที่นงอาบนํ้า ั่ 2.4 อ่างล้างหน้า ใต้อาบล้างหน้าควรเป็ นที่ว่างและขอบอ่างต้องอยูในตําแหน่งที่ผสูงอายุเข้า ่ ู้ อก ประชิดได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง ห้องนํ้าที่บานพักคนชราก็เป็ นแบบนี้เช่นเดียวกัน ้ 2.5 ลูกบิดประตู จากที่ใช้ Lula ทําการประเมิน ควรใช้ลูกบิดประตูแบบคันโยก ส่ วนลูกบิด ประตูที่ใช้ในห้องนํ้าบ้านพักคนชราเป็ นแบบลูกบิดกลม 2.6 ฟักบัว ควรเป็ นแบบที่ปรับระดับและถอดได้ ส่ วนฟักบัวที่ใช้ในห้องนํ้าบ้านพักคนชราไม่ สามารถปรับระดับได้ ดล 3. การประเมินอุปกรณ์ช่วยพยุง 3.1 ลักษณะและขนาดของราวจับ ราวจับควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 ซม. ให้ 2 คะแนน ถ้ามีขนาด 5 ซม. ให้ 1 คะแนน ส่ วนลักษณะของราวจับเราประเมินจากวัสดุที่ใช้ ถ้าเป็ นส แตนเลส 2 คะแนน ถ้าวัสดุเป็ นไม้เนื้อแข็งให้เป็ น 1 คะแนน 3.2 ตําแหน่ งของราวจับ ควรติดตั้งตําแหน่ งราวจับอยู่ในระดับ D64 ซึ่ งเป็ นระยะจากพื้นถึง เอื้อมมือหยิบคือ 80.8 – 88.9 ซม. ส่ วนราวจับที่หองนํ้าบ้านพักคนชรามีระยะจากพื้น 85.5 ้ ั มค ซม. 3.3 ความเพียงพอของราวจับ ควรมีราวจับให้ทวถึงทั้งห้องนํ้าเพื่อให้ผสูงอายุสามารถเดินจับ ั่ ู้ ราวได้ตลอดการเดินในห้องนํ้าโดยแบ่งระดับคะแนนเป็ น คะแนน โดยมีราวจับจากประตู ถึงโถส้วมให้ 1 คะแนน มีราวจับจากประตูถึงอ่างล้างหน้าให้ 1 คะแนน มีราวจับจากอ่าง ล้างหน้าถึงห้องอาบนํ้าให้ 1 คะแนน มีราวจับจากห้องอาบนํ้าไปถึงโถส้วมให้ 1 คะแนน มีราวจับ 45 องศาข้างฟักบัวให้ 1 คะแนน 3.4 ราวจับ ข้า งโถส้ ว ม จากการสํา รวจผู สู ง อายุ นิ ย มเลื อ กแบบติ ด พื้ น 2 ข้า งมากที่ สุ ด ้ ห้า รองลงมาคื อ แบบติ ด พนัง มุ ม ฉาก แต่ เ ราแนะนํา ให้ ใ ช้แ บบติ ด พนัง เนื่ อ งจากมี ค วาม ปลอดภัยกว่าแบบติดพื้น 2 ข้างโดยแบ่งเป็ น 4 คะแนน ถ้าเป็ นแบบติดพนัง 2 ข้าง ให้ 4 คะแนน แบบติดพนังข้างเดียวให้ 3 คะแนน แบบติดพื้น 2 ข้างให้ 2 คะแนน แบบติดพื้น ข้างเดียวให้ 1 คะแนน  
  • 7.   อก รู ปที่ 5-7 ภาพแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ แบบที่ 1 ดล ั มค ห้า รู ปที่ 5-8 ภาพแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ แบบที่ 2  
  • 8.   อก รู ปที่ 5-9 ภาพแบบห้องนํ้าที่ออกแบบจนสําเร็ จ แบบที่ 3 ดล อุปกรณ์และสิ่ งอํานวยความสะดวก ในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการเก็บข้อมูลจากการให้ผสูงอายุบาน ู้ ้ บางแคทดสอบอุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน ได้แก่ สวิตซ์ไฟฟ้ า ปลักไฟฟ้ า ลูกบิด และก้านจับเปิ ดประตู ๊ กลอนประตู ก๊อกนํ้า โถสุ ขภัณฑ์ และสิ่ งอํานวยความสะดวกสําหรับผูสูงอายุ ได้แก่ ราวจับในห้องนํ้า ้ บริ เวณโถส้วม โดยสามารถสรุ ปมาตรฐานขั้นตํ่าของอุปกรณ์ของผูสูงอายุ ได้ดงนี้ ้ ั 1. สวิตซ์ไฟฟ้ าและปลักไฟฟ้ า ควรคํานึ งถึงความสะดวกในการเปิ ด – ปิ ดของผูสูงอายุโดยระดับ ๊ ้ ํ ของสวิตซ์ไฟฟ้ าและปลักไฟฟ้ าตามมาตรฐานขั้นตํ่าของสหรัฐอเมริ กาที่กาหนดความสู งสวิตซ์ที่ระดับไม่ ๊ ั มค เกิน 1200 มิลลิเมตรจากพื้น และระดับปลักไฟฟ้ าสู งไม่นอยกว่า 230 มิลลิเมตรจากพื้น อีกมาตรฐานหนึ่ง ๊ ้ ํ ํ ซึ่งได้กาหนดไว้ในข้อแนะนําการสร้างห้องนํ้าสําหรับผูสูงอายุกาหนดให้ความสู งสวิตซ์ที่ระดับไม่เกิน 900 ้ มิลลิเมตรจากพื้น และระดับปลักไฟฟ้ าสูงไม่นอยกว่า 450 มิลลิเมตรจากพื้น อย่างไรก็ตามการติดตั้งสวิตซ์ ๊ ้ ไฟฟ้ าไม่ควรสูงเกินไปเพื่อให้ผสูงอายุกดได้สะดวกโดยไม่ตองเอื้อม และระดับปลักไฟฟ้ าต้องไม่ต่าเกินไป ู้ ้ ๊ ํ เพื่อไม่ให้ผสูงอายุตองก้มลงไปมาก ู้ ้ ห้า  
  • 9.   รู ปแบบของสวิตซ์ผสูงอายุเลือกสวิตซ์แบบที่ 1 ซึ่ งเป็ นสวิตซ์ที่มีลกษณะอย่างเดียวกับสวิตซ์ที่พบ ู้ ั เห็ นได้ทวไปมีขนาดใหญ่ไม่มากนัก แสดงว่าผูสูงอายุเลือกใช้อุปกรณ์ที่คุนเคยอยู่แล้ว ส่ วนปลักไฟฟ้ า ั่ ้ ้ ๊ เลือกใช้ปลักแบบที่มีสวิตซ์ตดไฟประกอบด้วยมากที่สุด แสดงว่าผูสูงอายุมีความต้องการใช้อุปกรณ์ที่มี ๊ ั ้ ุ่ ความปลอดภัยและไม่ยงยากที่จะใช้งาน อก รู ปที่ 5-10 (ก) สวิตซ์ (ข) ปลักแบบมีสวิตซ์ตดไฟ ๊ ั 2. ลูกบิดมือจับเปิ ดประตูและกลอนประตู ผูสูงอายุส่วนใหญ่เลือกใช้ลูกบิดประตูแบบมีร่อง ซึ่ ง ้ เป็ นแบบที่สามารถจับได้ง่ายที่สุดที่ให้ผสูงอายุทดสอบ ซึ่งในข้อแนะนําในการสร้างนั้นให้ใช้ลูกบิดประตูที่ ดล ู้ มีขนาดใหญ่ จับง่ายแต่ในร่ างกฎกระทรวงฯ ข้อ 22 กําหนดให้อุปกรณ์เปิ ดปิ ดประตูตองเป็ นชนิ ดก้านบิด ้ ่ หรื อแกนผลัก อยูสูงจากพื้นไม่นอยกว่า 1000 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1200 มิลลิเมตร สําหรับกลอนประตู ้ ใช้แบบที่มีกลไกในการล็อกที่ค่อนข้างซับซ้อนมากกว่า การที่เลือกกลอนประตูที่มีการล็อกที่ซบซ้อนเป็ น ั ส่ วนมากอาจเนื่ องจากแนวความคิดที่ตองการเป็ นส่ วนตัวซึ่ งถือว่ามีความสําคัญของบุคคลซึ่ งแสดงถึงความ ้ เป็ นตัวของตัวเอง ั มค รู ปที่ 5-11 (ก) ลูกบิดประตูแบบมีร่อง (ข) มือจับประตู ห้า รู ปที่ 5-12 กลอนประตู  
  • 10.   3. ก๊อกนํ้า ใช้ก๊อกนํ้าแบบปั ดไปด้านข้าง ซึ่งสามารถเปิ ดและปิ ดได้ง่าย ไม่ตองอาศัยแรงมากทั้งนี้ ้ เนื่องจากผูสูงอายุอาจมีความสามารถในการใช้มือลดลง ไม่สามารถออกแรงบิดได้ สอดคล้องกับมาตรฐาน ้ ํ ขั้นตํ่าของสหรัฐอเมริ กาที่กาหนดให้อุปกรณ์ในห้องนํ้าแบบก้านโยกทั้งหมด เพื่อให้ผสูงอายุสามารถเปิ ดได้ ู้ โดยไม่ตองกําหรื อหมุน และในหลักการออกแบบห้องนํ้าผูสูงอายุแนะนําว่าก๊อกนํ้าควรเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ้ ้ แรงน้อยในการเปิ ด อก รู ปที่ 5-13 ก๊อกนํ้าแบบปัดไปด้านข้าง ดล 4. โถสุ ขภัณฑ์ ให้ใช้โถส้วมชนิ ดนังราบ สู งจากพื้นไม่นอยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 ่ ้ มิลลิเมตร มีขอสังเกตคือความสู งที่กฎหมายกําหนดเป็ นความสู งที่เผือไว้สาหรับรถเข็นด้วย แต่จากการวัด ้ ่ ํ สรี ระของผูสูงอายุโดยทัวไปพบว่าความสู งจากพื้นถึงก้นขณะนังราบ ผูชายสู ง 401 มิลลิเมตร และผูหญิง ้ ่ ่ ้ ้ 369 มิลลิเมตร ซึ่ งผลที่ได้จากการวัดสรี ระใกล้เคียงกับความสู งของโถสุ ขภัณฑ์ที่ผสูงอายุเลือกใช้ ฉะนั้น ู้ ความสู งโถสุ ขภัณฑ์ที่เหมาะสมน่าจะเป็ น 400 – 500 มิลลิเมตร ั มค 5. ราวจับในห้องนํ้าบริ เวณโถส้วม เนื่ องจากความปลอดภัยของผูสูงอายุเป็ นสิ่ งสําคัญผูสูงอายุที่ ้ ้ เดินไม่สะดวกอาจลื่นหกล้มได้หากไม่มีที่สาหรับเกาะยึดโดยเฉพาะในบริ เวณห้องนํ้า ดังนั้นห้องนํ้าควรจะ ํ มี ที่ จ ับ สํา หรั บ ผูสู ง อายุ ส่ ว นใหญ่ เ ลื อ กราวจับ ในห้อ งนํ้า ที่ ใ ช้ว ส ดุ เ ป็ นสแตนเลส สอดคล้อ งกับ ร่ า ง ้ ั กฎกระทรวง ข้อ 28 ราวจับในห้องส้วมให้ทาด้วยวัสดุเรี ยบ มีความมันคงแข็งแรง ไม่เป็ นอันตรายในการ ํ ่ จับและไม่ลื่นสําหรับระดับความสู งราวจับในห้องนํ้าผูสูงอายุส่วนใหญ่เลือกตามความสูงของราว PVC ติด ้ พื้น 2 ข้างประมาณ 900 มิลลิเมตร ห้า