SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที  3
วิธีดําเนินการวิจัย
การวิจัยครังนีเป็นเชิงทดลองเพือศึกษาผลของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกต่อการ
พัฒนา  ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที  1 ซึงมีลําดับดังนี
1. ประชากร
2. กลุ่มตัวอย่าง
3. เครืองมือทีใช้ในการวิจัย
4. วิธีการดําเนินการสร้างเครืองมือ
5. รูปแบบการทดลอง
6. วิธีการดําเนินการทดลอง
7. การวิเคราะห์ข้อมูล
8. สถิติทีใช้ในการวิจัย
1. ประชากร
              ประชากรทีใช้ในการวิจัย  เป็นนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที  1 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา  
อําเภอแก้งคร้อ  จังหวัดชัยภูมิ  สังกัดสํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา  เขต  30   ปีการศึกษา  
2555
2. กลุ่มตัวอย่าง
            กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัยครังนี เป็นนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที  1 โรงเรียน
นาหนองทุ่มวิทยาในภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน 80 คน  ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่าง
แบบง่าย (Simple Random Sampling) สุ่มโดยการจับฉลาก   แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี
1) กลุ่มทีฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก  1 กลุ่ม  จํานวน  20 คน
2)  กลุ่มทีฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ  1 กลุ่ม  จํานวน  20 คน  
3) กลุ่มทีฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการวาดภาพบน
กระดาษ  1  กลุ่ม  จํานวน  20 คน
4) กลุ่มควบคุม  1 กลุ่ม  จํานวน  20 คน
รับทําโปรเจค.net
54
3. เครืองมือทีใช้ในการวิจัย
1. แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอแรนซ์
เครืองมือวิจัยตามแนวคิดของทอร์แรนซ์  
แบบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 1 วาดภาพจากเส้น  (ความคิดริเริม  )
1. กิจกรรมนีเป็นการวาดภาพจากเส้น ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนวาดภาพด้วยเส้น 1 เส้น  โดยวิธีลากเส้นให้ติดต่อกันเพียงครัง
เดียว เพือให้เกิด
ภาพต่าง  ๆ  ทีมีความหมายตามจินตนาการและให้ได้จํานวนภาพมากทีสุดเท่าทีจะทํา
ได้ นักเรียนสามารถลากเส้นไปได้ทุก  ๆ  ทิศทางโดยให้เส้นต่อเนืองกันเป็นเส้นเดียว
ตามความต้องการ  เพือวาดภาพต่าง  ๆ  ได้มากมาย  เช่น หัวใจ ดอกไม้และก้อนเมฆ ยิง
นักเรียนวาดภาพได้จํานวนมากได้หลายๆ  ประเภทหลาย  ๆ  แง่มุม ทีคนอืนคาดไม่ถึงก็
ยิงได้คะแนนรวมมาก ภาพทีวาดต้องมีความหมายและให้นักเรียนเขียนชือกํากับไว้ใต้
ภาพทุกภาพ
เงือนไขการให้คะแนน
1. วาดภาพได้จํานวนภาพมากจะได้คะแนนมาก
2. วาดภาพทีมีความแปลกและไม่ซํากับผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก
3. วาดภาพทีซํากับตัวอย่างจะไม่ได้คะแนน
รับทําโปรเจค.net
55
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที  2 ต่อคํา  (ความคิดคล่องแคล่ว)
จงบอกคําทีขึนต้นด้วยคําว่า แม่ มาให้มากทีสุดเท่าทีจะมากได้  จะเห็นว่าคําทีขึนต้น
ด้วยคําว่า  แม่  สามารถคิดหาคําตอบได้หลยาอย่าง  เช่น แม่นํา, แม่ทัพ, แม่นม,
แม่เหล็ก และแม่พระ นอกจากทียกตัวอย่างแล้ว  ยังมีคําตอบอืน  ๆ  อีกมากมายที
นักเรียนสามารถคิดหาคําตอบได้
ในการเขียนตอบของนักเรียนไม่ต้องคํานึงถึงความผิดความถูกหรือผิด  เพราะการคิด
ตามจินตนาการ แต่ผู้ทีคิดคําตอบได้มากและแตกต่างจากผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก
ทีสุด
เงือนไขการให้คะแนน
1. คิดคําตอบได้จํานวนมากจะได้คะแนนมาก
2. คําตอบทีมีความแปลกและไม่ซํากับผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก
รับทําโปรเจค.net
56
แบบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 3 ต่อรูปเรขาคณิต  (  ความคิดยืดหยุ่น  )
1. กิจกรรมนีเป็นกิจกรรมการคิดประกอบรูปภาพสามเหลียม ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนคิดประกอบรูปสามเหลียมจํานวน 4 รูปให้มีรูปแบบต่าง  ๆ ให้ได้
จํานวนภาพ  มากทีสุด ให้ได้หลาย  ๆ  แง่มุม และได้ภาพทีคนอืนคาดไม่ถึงก็ได้คะแนน
มาก นักเรียนสามารถพลิก ตะแคงรูปสมาเหลียมไปได้ทุก  ๆ  ทิศทาง  เพือประกอบกัน
ให้ได้รูปแบบต่าง  ๆ  ได้มากมาย โดยรูปสามเหลียมทีกําหนดให้จะต้องเกาะกลุ่มกัน
เป็นภาพเดียว มีด้านหรือมุมใดมุมหนึงของสามเหลียมทัง 4 รูปติดกัน
3. ในการประกอบรูปสามเหลียมให้มีรูปแบบต่าง  ๆ  นัน  มีข้อตกลงว่าจํานวนรูป
สามเหลียมจะต้องมีจํานวน 4 ภาพ  และมีขนาดเท่ากัน
รับทําโปรเจค.net
57
เงือนไขการให้คะแนน
1. วาดภาพได้จํานวนภาพมากจะได้คะแนนมาก
2. วาดภาพทีมีความแปลกและไม่ซํากับผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 4 ต่อ เติม  เสริม  แต่ง  (ความคิด
ละเอียดลออ)
1. กิจกรรมนีเป็นการต่อเติมภาพจากรูปเรขาคณิตทีกําหนด ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนต่อเติมรูปเขาคณิตให้เป็นรูปภาพทีสมบูรณ์  มีความหมาย ตาม
จินตนาการพร้อมทังตังชือรูป  ของตนเอง
เงือนไขการให้คะแนน
รับทําโปรเจค.net
58
ให้ 1 คะแนน ต่อส่วนละเอียดแต่ละส่วนทีต่อเติมภาพให้สมบูรณ์ขึน ไม่
ว่าจะต่อเติมในตัวรูปเรขาคณิต ขอบ  หรือส่วนทีว่างรอบ  ๆ  รูปทีกําหนดให้ ซึงสิงทีต่อ
เติมจะต้องดูสมจริงและ  มีความหมาย
4. วิธีการดําเนินการสร้างเครืองมือ
1. แบบฝึกความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอแรนซ์  ผู้วิจัยได้ทําการศึกษาการพัฒนา
เครืองมือในการทดสอบความคิดสร้างสรรค์  
                  1.1 ผู้วิจัยศึกษาและรวบรวมเอกสาร  วารสาร  ตํารา  ทีเกียวข้องกับแบบทดสอบ
ความคิดสร้างสรรค์  ทังในประเทศและต่างประเทศ  และปรึกษาผู้เชียวชาญในด้านการสร้าง
เครืองมือทีเกียวกับความคิดสร้างสรรค์
                  1.2 ผู้วิจัยกําหนดลักษณะของการพัฒนาและส่งเสริมแนวความคิดสร้างสรรค์ให้
ครอบคลุมเนือหาทัง  4 ด้าน  ได้แก่
                   ความคิดคล่อง (Fluency)
                   ความคิดริเริม (Originality)
                   ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
รับทําโปรเจค.net
59
                   ความคิดยืดหยุ่น  (Flexibility)
                  1.3 กําหนดรูปแบบ  และวิธีดําเนินงาน  เวลาทีให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์พร้อม
กับรับข้อเสนอแนะจากกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์และผู้เชียวชาญ
1.3.1 นางสาวศิริพร    นิราพันธ์   ผู้เชียวชาญด้านจิตวิทยา
สถานทีทํางาน        คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  มหาวิทยาลัยมหิดล
                               ตําแหน่ง    อาจารย์พยาบาล    
                               วุฒิการศึกษา    ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต  สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ  จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
. .     นายศรัณย์    รืนณรงค์    ผู้เชียวชาญด้านจิตวิทยา
สถานทีทํางาน      ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                               ตําแหน่ง    อาจารย์  
                               วุฒิการศึกษา    การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต  สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ  
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
. .     นางสาวสาวิกา      จักรบุตร    ผู้เชียวชาญด้านคอมพิวเตอร์
         สถานทีทํางาน        สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษา  ชัยภูมิ      เขต  
     ตําแหน่ง    ศึกษานิเทศก์  ชํานาญการพิเศษ    ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
     วุฒิการศึกษา    ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต  (เทคโนโลยีการศึกษา)  
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.3.4 นายประยงค์    มาแสง  ผู้เชียวชาญด้านศิลปะ
             สถานทีทํางาน        สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษา  ชัยภูมิ      เขต  
           ตําแหน่ง    ศึกษานิเทศก์  เชียวชาญ  ด้านศิลปะ
           วุฒิการศึกษา    การศึกษามหาบัณฑิต  (ประถมศึกษา)    มหาวิทยาลัยขอนแก่น      
1.3.5 นายอาทิตย์    อาจหาญ
สถานทีทํางาน        มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
           ตําแหน่ง    อาจารย์
           วุฒิการศึกษา    การศึกษามหาบัณฑิต  (การวิจัยการศึกษา)มหาวิทยาลัยมหาสารคาม    
  1.4 นําข้อเสนอชีแนะจากผู้เชียวชาญมาปรับปรุงแก้ไขชุดฝึกกิจกรรมให้เหมาะสม
รับทําโปรเจค.net
60
ยิงขึน
1.5 นําชุดฝึกทีการปรับปรุงไปทดลองใช้  (Try-out) กับกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กเพือหา
ความเชือมัน  และจุดบกพร่องทีมีต่อเรือง  ขันตอนและเวลาการดําเนินกิจกรรม
1.6   นําข้อบกพร่องมาปรับปรุงชุดฝึกก่อนนําไปใช้ทดลองจริงต่อไป
2. การสร้างแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ชันมัธยมศึกษาปีที         ผู้ศึกษาวิจัยได้
ปฏิบัติตามขันตอน    ดังนี
2.1 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนือหา  ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์  และ
จุดประสงค์ของแต่ละกิจกรรม
2.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบ  จากหนังสือการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ  
วัดผลสัมฤทธิ  เทคนิคการเขียนข้อสอบ  (สมนึก  ภัทธิยธนี. 2541 : 73-128) ศึกษาการสร้าง
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ    (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 56-98) และศึกษาวิธีการสร้างแบบวัด
ความคิดแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ตามแนวคิดของทอแรนซ์
2.3  สร้างแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์    ตามแนวคิดของทอแรนซ์  จํานวน     ข้อ  
เพือทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนก่อนและหลังการร่วมกิจกรรม    
เป็นแบบปลายเปิด    เพือวัดในด้านความคิดริเริม  (Originally) ความคล่องในการคิดคล่อง  (Fluency)
ความยืดหยุ่นในการคิด  (Flexibility) และความคิดละเอียดลออ  (Elaboration)
2.4    นําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทีสร้างเสร็จแล้วเสนอต่อผู้เชียวชาญท่านเดิม  
เพือพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม      ให้ข้อเสนอแนะ    และตรวจสอบความเทียงตรงของ
แบบทดสอบ  โดยพิจารณาความถูกต้อง  ตลอดจนแก้ไข  เพือความเหมาะสมและตัดสินว่าข้อความ
นันเป็นข้อความทีมีความหมายสอดคล้องกับสิงทีต้องการวัดหรือไม่  โดยใช้เกณฑ์ประเมินผลของ  
สมนึก  ภัทธิยธนี    (2544 : 221)
+1 หมายถึง        แน่ใจว่าข้อสอบสอดคล้องกับจุดประสงค์ทีต้องการวัด  
0   หมายถึง        ไม่แน่ใจว่าข้อสอบสอดคล้องกับจุดประสงค์ทีต้องการวัด
-1 หมายถึง          แน่ใจว่าข้อสอบไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ทีต้องการวัด
2.5  นําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทีได้รับการประเมินจากผู้เชียวชาญมา
หาค่าความสอดคล้องเหมาะสม  โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC (Index of Item Objective
Congruence) (สมนึก    ภัททิยธนี. 2544 : 221) แล้วนํามาเทียบกับเกณฑ์ในการแปลความหมาย                  
ใช้เกณฑ์    ดังนี
ระดับความสําคัญ ระดับนําหนัก
รับทําโปรเจค.net
61
สอดคล้อง 0.50 – 1.00
ไม่สอดคล้อง ตํากว่า    0.50
2.6 นําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ไปทดลองสอบกับนักเรียน ทีไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย    
ได้แก่    นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที    2 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา    สังกัดสํานักงานเขตพืนที
การศึกษามัธยมศึกษา  เขต    30     จํานวน  30 คน  เพือตรวจสอบการใช้ภาษา  และข้อบกพร่องทีจะมี
ในเรืองเวลา    การดําเนินกิจกรรมการทดสอบในแต่ละข้อ    รวมทังหาค่าอํานาจจําแนกของข้อสอบ
แต่ละข้อ  โดยใช้เทคนิค  25 % ของกลุ่มสูงและกลุ่มตํา    โดยใช้  t – test และหาค่าความเชือมันของ
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทังฉบับ    โดยวิธีสัมประสิทธิแอลฟา  (Alpha - Coefficient) (บุญ
ชม    ศรีสะอาด. 2543 : 96) ได้ค่า    t มีค่าระหว่าง     .   –   .     ซึงถือว่ามีค่าอํานาจจําแนกใช้ได้    
สมควรนําไปเก็บรวบรวมข้อมูล    
2.7 สร้างเกณฑ์ปกติ    โดยนําผลการสอบมาคํานวณหาค่าเปอร์เซนไตร์แรงค์  
แล้วเปลียนเป็นค่าทีปกติ
2.8 นําแบบทดสอบทีผ่านการตรวจสอบคุณภาพและปรับปรุงเรียบร้อยแล้วไปใช้
จริงกับนักเรียนทีเป็นกลุ่มเป้าหมาย
5. ระเบียบวิธีวิจัย
ในการวิจัยครังนีเป็นวิจัยเชิงทดลอง    Pretest Posttest Control Group Design    
มีกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม และกลุ่มทดลอง 3 กลุ่ม โดยมีแบบแผนการวิจัย    ดังนี      
วิธีการทดลอง :
CR O1 - O2
ER1 O1 X1 O2
ER2 O1 X2 O2
ER3 O1 X3 O2
CR กลุ่มควบคุม
ER กลุ่มทดลอง
O1 ทดสอบก่อนการฝึก
O2 ทดสอบหลังการฝึก
X1 ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
X2 ฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ
รับทําโปรเจค.net
62
X3 ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการ
วาดภาพบนกระดาษ
วิธีการดําเนินการทดลอง
1. ทําการทดสอบกลุ่มตัวอย่างก่อนทดลอง  (Pre-test) โดยให้นักเรียนกลุ่มทีได้รับการฝึก
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก    ทําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ตามแนวคิดของทอแรนซ์
(Torrance) ใช้เวลาในการทดสอบ  30 นาที
2. อธิบายวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก  เกียวกับความคิดสร้างสรรค์
3. ดําเนินการทดลอง  วัดความคิดสร้างสรรค์  ทัง  4 ด้าน  ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กราฟิกกับนักเรียนกลุ่มทีได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก  โดยใช้เวลา  3 สัปดาห์  ๆ  
ละ  3 วัน  คือ  วันจันทร์  วันพุธ  วันศุกร์  โดยใช้ช่วงเวลา  16.00-16.30 น.  จนควบ  9 กิจกรรม  กลุ่มทีฝึก
โดยการวาดภาพบนกระดาษ  ให้ดําเนินการทดลอง  วัดความคิดสร้างสรรค์  ทัง     ด้าน  ด้วยการวาด
ภาพลงบนกระดาษ  โดยใช้เวลา  3 สัปดาห์  ๆ  ละ  3 วัน  คือ  วันจันทร์  วันพุธ  วันศุกร์  โดยใช้ช่วงเวลา  
16.00-16.30 น.  จนควบ  9 กิจกรรม  เช่นเดียวกัน  กลุ่มทีฝึกโดยคอมพิวเตอร์และฝึกโดยวาดภาพบน
กระดาษ  -----  
.   ทําการตรวจให้คะแนนในแต่ละกิจกรรม   แล้วเก็บข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์   เพือนําผล
การทดลองไปวิเคราะห์  และหาค่าทางสถิติ
.        หลังจากเสร็จสินการทดลอง  ผู้วิจัยทําการทดลอบกลุ่มตัวอย่างหลังการทดลอง
(Posttest) โดยใช้แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ตามแนวคิดของทอแรนซ์  เช่น  เดียวกับการสอบ
ครังแรก
6. นําผลการทดสอบก่อนทดลองและหลังการทดลอง  มาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ  และ
สรุปผลการทดลอง
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. หาประสิทธิภาพของเครืองมือ ดังนี
1.1 หาค่าอํานาจจําแนกรายข้อของแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทาง
คณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค  25 % ของกลุ่มสูงและกลุ่มตํา    โดยใช้ t – test
1.2 หาค่าความเชือมันของแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์    และแบบสอบถาม
รับทําโปรเจค.net
63
ความพึงพอใจ โดยวิธีการหาสัมประสิทธิแอลฟา  (Alpha - Coefficient)
2. การตรวจให้คะแนนจากแบบทดสอบตามเกณฑ์ทีกําหนดไว้    ได้แก่
                             .     ด้านความคิดริเริม  ให้คะแนนคําตอบทีแปลก    ๆ    ไม่ซํากับคนส่วนใหญ่  โดยยึด
แนวทางของทอร์แรนซ์    (ประสาท    อิศรปรีดา.             : - )  โดยให้เกณฑ์  ดังนี
คําตอบทีมีความถีซํากัน     % ให้     คะแนน
คําตอบทีมีความถีซํากัน      %             ให้     คะแนน
คําตอบทีมีความถีซํากัน   -   % ให้     คะแนน
คําตอบทีมีความถีซํากัน     –     % ให้     คะแนน
คําตอบทีมีความถีซํากัน     %  ขึนไป   ให้     คะแนน
                         .     ด้านความคล่องในการคิด  ให้คําตอบละ     คะแนน
   .     ด้านความคิดยืดหยุ่น  ให้คะแนนตามจํานวนกลุ่มหรือทิศทางของคําตอบ  คือ  
ถ้าคําตอบจัดกลุ่มไม่ได้  ให้     คะแนน  ถ้าคําตอบจัดกลุ่มได้หรือหลายทิศทาง  ให้     คะแนน
   .     ด้านความคิดละเอียดลออ  ภาพทีมีรายละเอียดแต่ละส่วนให้คะแนนส่วนละ  
  คะแนน  การคิดคะแนนความละเอียดลออ  
3. นําแบบวัดความคิดสร้างสรรค์มาตรวจให้คะแนน      และนําผลการสอบมาคํานวณหา
ค่าเปอร์เซนไทร์แรงค์  และเปลียนเป็นค่าทีปกติ    แล้วนํามาเทียบกับเกณฑ์  ดังนี    (ชวาล    แพรัตกุล.
2530 : 53)
T65 และสูงกว่า แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์สูงมาก
T55- T65 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์สูง
T45- T55 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์สูงพอใช้
              T5 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับปานกลาง
T35- T45 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์ตํา
T35 และตํากว่า     แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์ตํามาก
ถ้าผู้ได้คะแนนตรงจุดแบ่งพอดี    คือ  T35 , T45 , T55 และ  T65 ให้เลือนขึนไปอยู่ในกลุ่ม  
ถัดขึนไปเสมอ
รับทําโปรเจค.net
64
4. หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ   ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด
สมองเป็นฐาน    โดยใช้สูตรการหาประสิทธิภาพ  E1/E2 (เผชิญ    กิจระการ. 2544 : 49)
     6. หาค่าดัชนีประสิทธิผล    เพือให้ทราบความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนโดยวิธี
ของกูดแมน  เฟลทเซอร์  และชไนเดอร์ (Goodman, fletcher and Schneider) (เผชิญ    กิจระการ.
2544 : 1-6)
สถิติทีใช้ในการวิจัย
1. สถิติพืนฐาน      ได้แก่
1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ใช้สูตร  (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 101)
P = 100x
N
f
        เมือ P แทน    ร้อยละ
f แทน    ความถีทีต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ
N แทน    จํานวนความถีทังหมด
1.2  ค่าเฉลีย(Mean) (สมบัติ    ท้ายเรือคํา.   2546        : 108)
                                                    
n
X
X

เมือ   X     แทน      ค่าเฉลียของกลุ่มตัวอย่าง
X       แทน      ผลรวมของข้อมูลในกลุ่มตัวอย่าง
n     แทน      จํานวนข้อมูลในกลุ่มตัวอย่าง
.3    ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน  (Standard Deviation) (สมบัติ    ท้ายเรือคํา.   
2546      : 123)
รับทําโปรเจค.net
65
                                                
1)n(n
)fx(fxn
S.D.
22



 
  เมือ   S.D. แทน    ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง
x แทน    ค่าของข้อมูลแต่ละตัว
n แทน    จํานวนข้อมูลทังหมดของกลุ่มตัวอย่าง
f แทน      ค่าความถีของข้อมูล
.    สถิติทีใช้หาคุณภาพของเครืองมือ  ได้แก่
.     หาค่าความเทียงตรงเชิงเนือหาโดยให้ผู้เชียวชาญพิจารณาตัดสินเป็นรายข้อโดยใช้
สูตรค่าดัชนีความสอดคล้อง  IOC   (Index of Item Objective Congruence)   (สมนึก    ภัททิยธนี.    
2544 : 221)
                     IOC =
N
R
เมือ      IOC แทน        ดัชนีความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับเนือหา
R   แทน        ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชียวชาญทังหมด
N แทน      จํานวนผู้เชียวชาญทังหมด
2.1 หาค่าอํานาจจําแนกรายข้อของแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้เทคนิค  
25 %   ของกลุ่มสูงและกลุ่มตํา    โดยใช้  t-test (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 94)
N
2
L
S2
H
S
LXHX
t



เมือ               t แทน อํานาจจําแนก
HX แทน ค่าเฉลียของกลุ่มสูง
LX แทน ค่าเฉลียของกลุ่มตํา
2
HS แทน ความแปรปรวนของกลุ่มสูง
รับทําโปรเจค.net
66
2
LS แทน ความแปรปรวนของกลุ่มตํา
N แทน จํานวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มตําซึงมีจํานวนเท่ากัน
2.2 สถิติทีใช้หาค่าอํานาจจําแนกของแบบวัดความพึงพอใจโดยใช้ Item Total
Corelation โดยใช้สูตรดังนี  (สมนึก    ภัททิยธนี. 2544 : 255)
rxy =
     2222
YYNXXN
YXXYN


เมือ           rxy แทน      ค่าอํานาจจําแนก (ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อ
กับคะแนนรวม)
X แทน    ผลรวมทังหมดของคะแนนรวม
Y แทน    ผลรวมทังหมดของคะแนนรายข้อ
 2
x แทน    ผลรวมทังหมดของคะแนนรวมแต่ละตัวยกกําลังสอง
 2
y แทน     ผลรวมทังหมดของคะแนนรายข้อแต่ละตัวยกกําลังสอง
XY แทน     ผลรวมทังหมดของคะแนนรวมและคะแนนรายข้อคูณ
กันแต่ละคู่
N แทน     จํานวนคนทังหมด
                                   2.       สถิติทีใช้หาค่าความเชือมันของแบบทดสอบและแบบสอบถามทังฉบับ    โดยใช้
สัมประสิทธิแอลฟ่า    (Alpha - Coefficient) (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 96)












2
t
2
i
S
S
1
1k
k
α
เมือ           แทน ค่าสัมประสิทธิ  ความเชือมัน
k แทน จํานวนข้อของเครืองมือวัด
2
i
S แทน ผลรวมของความแปรปรวนของแต่ละข้อ
2
tS แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม
รับทําโปรเจค.net
67
3.    คะแนนมาตรฐาน  T (T  -  Score)  (สมนึก    ภัททิยธนี. 2544 : 265)
T = 10 Z + 50
เมือ    T แทน        คะแนนมาตรฐาน    T หรือ    T - Score
Z แทน      คะแนนมาตรฐาน    Z หรือ    Z - Score
รับทําโปรเจค.net
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 1 วาดภาพจากเส้น  (ความคิดริเริม  )
จงวาดภาพจากเส้นโดยการลากส้นให้ติดต่อกันเพียงครังเดียว
1. 2. 3.
4. 5. 6.
7. 8. 9.
10. 11. 12.
13. 14. 15.
รับทําโปรเจค.net
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 2 ต่อคํา  (ความคล่องแคล่ว  )
จงคิดคําทีขึนต้นด้วยคําว่า แม่ มาให้มากทีสุดเท่าทีจะมากได้
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
................................ ................................ ................................ ................................
รับทําโปรเจค.net
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 3 ต่อรูปเรขาคณิต  (  ความคิดยืดหยุ่น  )
จงประกอบรูปสามเหลียม 4 ภาพให้มีมุมหรือด้านทัง 4 ด้านติดกัน
1. 2. 3.
4. 5. 6.
7. 8. 9.
10. 11. 12.
13. 14. 15.
รับทําโปรเจค.net
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 4 ต่อ เติม  เสริม  แต่ง  (ความคิดละเอียดลออ)
จงต่อเติมภาพรูปเรขาคณิต ให้มีความสมจริง  และมีความหมาย  พร้อมทังตังชือภาพด้วย
ชือภาพ...................................................................................................
รับทําโปรเจค.net

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ Nuch Silarak
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เพ็ญพร พิเภก
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6yosawat1089
 

Was ist angesagt? (20)

อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
Ar
ArAr
Ar
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
R nattapong
R nattapongR nattapong
R nattapong
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
 

Andere mochten auch

04+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)niralai
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิดniralai
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)Padvee Academy
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 

Andere mochten auch (10)

A
AA
A
 
04+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap6+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 

Ähnlich wie บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันParishat Tanteng
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยprachid007
 
Review Research
Review ResearchReview Research
Review Researchtomranbo
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 

Ähnlich wie บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ (20)

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
 
Review Research
Review ResearchReview Research
Review Research
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 
รายงานความก้าวหน้า3
รายงานความก้าวหน้า3รายงานความก้าวหน้า3
รายงานความก้าวหน้า3
 

Mehr von rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 

Mehr von rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 

บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ

  • 1. บทที  3 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครังนีเป็นเชิงทดลองเพือศึกษาผลของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกต่อการ พัฒนา  ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที  1 ซึงมีลําดับดังนี 1. ประชากร 2. กลุ่มตัวอย่าง 3. เครืองมือทีใช้ในการวิจัย 4. วิธีการดําเนินการสร้างเครืองมือ 5. รูปแบบการทดลอง 6. วิธีการดําเนินการทดลอง 7. การวิเคราะห์ข้อมูล 8. สถิติทีใช้ในการวิจัย 1. ประชากร              ประชากรทีใช้ในการวิจัย  เป็นนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที  1 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา   อําเภอแก้งคร้อ  จังหวัดชัยภูมิ  สังกัดสํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา  เขต  30  ปีการศึกษา   2555 2. กลุ่มตัวอย่าง            กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัยครังนี เป็นนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที  1 โรงเรียน นาหนองทุ่มวิทยาในภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน 80 คน  ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย (Simple Random Sampling) สุ่มโดยการจับฉลาก  แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี 1) กลุ่มทีฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก  1 กลุ่ม  จํานวน  20 คน 2)  กลุ่มทีฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ  1 กลุ่ม  จํานวน  20 คน   3) กลุ่มทีฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการวาดภาพบน กระดาษ  1  กลุ่ม  จํานวน  20 คน 4) กลุ่มควบคุม  1 กลุ่ม  จํานวน  20 คน รับทําโปรเจค.net
  • 2. 54 3. เครืองมือทีใช้ในการวิจัย 1. แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอแรนซ์ เครืองมือวิจัยตามแนวคิดของทอร์แรนซ์   แบบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 1 วาดภาพจากเส้น  (ความคิดริเริม  ) 1. กิจกรรมนีเป็นการวาดภาพจากเส้น ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนวาดภาพด้วยเส้น 1 เส้น  โดยวิธีลากเส้นให้ติดต่อกันเพียงครัง เดียว เพือให้เกิด ภาพต่าง  ๆ  ทีมีความหมายตามจินตนาการและให้ได้จํานวนภาพมากทีสุดเท่าทีจะทํา ได้ นักเรียนสามารถลากเส้นไปได้ทุก  ๆ  ทิศทางโดยให้เส้นต่อเนืองกันเป็นเส้นเดียว ตามความต้องการ  เพือวาดภาพต่าง  ๆ  ได้มากมาย  เช่น หัวใจ ดอกไม้และก้อนเมฆ ยิง นักเรียนวาดภาพได้จํานวนมากได้หลายๆ  ประเภทหลาย  ๆ  แง่มุม ทีคนอืนคาดไม่ถึงก็ ยิงได้คะแนนรวมมาก ภาพทีวาดต้องมีความหมายและให้นักเรียนเขียนชือกํากับไว้ใต้ ภาพทุกภาพ เงือนไขการให้คะแนน 1. วาดภาพได้จํานวนภาพมากจะได้คะแนนมาก 2. วาดภาพทีมีความแปลกและไม่ซํากับผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก 3. วาดภาพทีซํากับตัวอย่างจะไม่ได้คะแนน รับทําโปรเจค.net
  • 3. 55 แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที  2 ต่อคํา  (ความคิดคล่องแคล่ว) จงบอกคําทีขึนต้นด้วยคําว่า แม่ มาให้มากทีสุดเท่าทีจะมากได้  จะเห็นว่าคําทีขึนต้น ด้วยคําว่า  แม่  สามารถคิดหาคําตอบได้หลยาอย่าง  เช่น แม่นํา, แม่ทัพ, แม่นม, แม่เหล็ก และแม่พระ นอกจากทียกตัวอย่างแล้ว  ยังมีคําตอบอืน  ๆ  อีกมากมายที นักเรียนสามารถคิดหาคําตอบได้ ในการเขียนตอบของนักเรียนไม่ต้องคํานึงถึงความผิดความถูกหรือผิด  เพราะการคิด ตามจินตนาการ แต่ผู้ทีคิดคําตอบได้มากและแตกต่างจากผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก ทีสุด เงือนไขการให้คะแนน 1. คิดคําตอบได้จํานวนมากจะได้คะแนนมาก 2. คําตอบทีมีความแปลกและไม่ซํากับผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก รับทําโปรเจค.net
  • 4. 56 แบบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 3 ต่อรูปเรขาคณิต  (  ความคิดยืดหยุ่น  ) 1. กิจกรรมนีเป็นกิจกรรมการคิดประกอบรูปภาพสามเหลียม ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนคิดประกอบรูปสามเหลียมจํานวน 4 รูปให้มีรูปแบบต่าง  ๆ ให้ได้ จํานวนภาพ  มากทีสุด ให้ได้หลาย  ๆ  แง่มุม และได้ภาพทีคนอืนคาดไม่ถึงก็ได้คะแนน มาก นักเรียนสามารถพลิก ตะแคงรูปสมาเหลียมไปได้ทุก  ๆ  ทิศทาง  เพือประกอบกัน ให้ได้รูปแบบต่าง  ๆ  ได้มากมาย โดยรูปสามเหลียมทีกําหนดให้จะต้องเกาะกลุ่มกัน เป็นภาพเดียว มีด้านหรือมุมใดมุมหนึงของสามเหลียมทัง 4 รูปติดกัน 3. ในการประกอบรูปสามเหลียมให้มีรูปแบบต่าง  ๆ  นัน  มีข้อตกลงว่าจํานวนรูป สามเหลียมจะต้องมีจํานวน 4 ภาพ  และมีขนาดเท่ากัน รับทําโปรเจค.net
  • 5. 57 เงือนไขการให้คะแนน 1. วาดภาพได้จํานวนภาพมากจะได้คะแนนมาก 2. วาดภาพทีมีความแปลกและไม่ซํากับผู้อืนจะได้คะแนนรวมมาก แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 4 ต่อ เติม  เสริม  แต่ง  (ความคิด ละเอียดลออ) 1. กิจกรรมนีเป็นการต่อเติมภาพจากรูปเรขาคณิตทีกําหนด ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนต่อเติมรูปเขาคณิตให้เป็นรูปภาพทีสมบูรณ์  มีความหมาย ตาม จินตนาการพร้อมทังตังชือรูป  ของตนเอง เงือนไขการให้คะแนน รับทําโปรเจค.net
  • 6. 58 ให้ 1 คะแนน ต่อส่วนละเอียดแต่ละส่วนทีต่อเติมภาพให้สมบูรณ์ขึน ไม่ ว่าจะต่อเติมในตัวรูปเรขาคณิต ขอบ  หรือส่วนทีว่างรอบ  ๆ  รูปทีกําหนดให้ ซึงสิงทีต่อ เติมจะต้องดูสมจริงและ  มีความหมาย 4. วิธีการดําเนินการสร้างเครืองมือ 1. แบบฝึกความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของทอแรนซ์  ผู้วิจัยได้ทําการศึกษาการพัฒนา เครืองมือในการทดสอบความคิดสร้างสรรค์                    1.1 ผู้วิจัยศึกษาและรวบรวมเอกสาร  วารสาร  ตํารา  ทีเกียวข้องกับแบบทดสอบ ความคิดสร้างสรรค์  ทังในประเทศและต่างประเทศ  และปรึกษาผู้เชียวชาญในด้านการสร้าง เครืองมือทีเกียวกับความคิดสร้างสรรค์                  1.2 ผู้วิจัยกําหนดลักษณะของการพัฒนาและส่งเสริมแนวความคิดสร้างสรรค์ให้ ครอบคลุมเนือหาทัง  4 ด้าน  ได้แก่                   ความคิดคล่อง (Fluency)                   ความคิดริเริม (Originality)                   ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) รับทําโปรเจค.net
  • 7. 59                   ความคิดยืดหยุ่น  (Flexibility)                  1.3 กําหนดรูปแบบ  และวิธีดําเนินงาน  เวลาทีให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์พร้อม กับรับข้อเสนอแนะจากกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์และผู้เชียวชาญ 1.3.1 นางสาวศิริพร    นิราพันธ์   ผู้เชียวชาญด้านจิตวิทยา สถานทีทํางาน        คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  มหาวิทยาลัยมหิดล                              ตําแหน่ง    อาจารย์พยาบาล                                  วุฒิการศึกษา    ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต  สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ  จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย . .    นายศรัณย์    รืนณรงค์    ผู้เชียวชาญด้านจิตวิทยา สถานทีทํางาน      ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์                              ตําแหน่ง    อาจารย์                                วุฒิการศึกษา    การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต  สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . .    นางสาวสาวิกา      จักรบุตร    ผู้เชียวชาญด้านคอมพิวเตอร์        สถานทีทํางาน        สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษา  ชัยภูมิ      เขต      ตําแหน่ง    ศึกษานิเทศก์  ชํานาญการพิเศษ    ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ     วุฒิการศึกษา    ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต  (เทคโนโลยีการศึกษา)   มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1.3.4 นายประยงค์    มาแสง  ผู้เชียวชาญด้านศิลปะ            สถานทีทํางาน        สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษา  ชัยภูมิ      เขต            ตําแหน่ง    ศึกษานิเทศก์  เชียวชาญ  ด้านศิลปะ          วุฒิการศึกษา    การศึกษามหาบัณฑิต  (ประถมศึกษา)    มหาวิทยาลัยขอนแก่น       1.3.5 นายอาทิตย์    อาจหาญ สถานทีทํางาน        มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม          ตําแหน่ง    อาจารย์          วุฒิการศึกษา    การศึกษามหาบัณฑิต  (การวิจัยการศึกษา)มหาวิทยาลัยมหาสารคาม      1.4 นําข้อเสนอชีแนะจากผู้เชียวชาญมาปรับปรุงแก้ไขชุดฝึกกิจกรรมให้เหมาะสม รับทําโปรเจค.net
  • 8. 60 ยิงขึน 1.5 นําชุดฝึกทีการปรับปรุงไปทดลองใช้  (Try-out) กับกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กเพือหา ความเชือมัน  และจุดบกพร่องทีมีต่อเรือง  ขันตอนและเวลาการดําเนินกิจกรรม 1.6  นําข้อบกพร่องมาปรับปรุงชุดฝึกก่อนนําไปใช้ทดลองจริงต่อไป 2. การสร้างแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ชันมัธยมศึกษาปีที        ผู้ศึกษาวิจัยได้ ปฏิบัติตามขันตอน    ดังนี 2.1 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนือหา  ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์  และ จุดประสงค์ของแต่ละกิจกรรม 2.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบ  จากหนังสือการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ   วัดผลสัมฤทธิ  เทคนิคการเขียนข้อสอบ  (สมนึก  ภัทธิยธนี. 2541 : 73-128) ศึกษาการสร้าง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ    (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 56-98) และศึกษาวิธีการสร้างแบบวัด ความคิดแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ตามแนวคิดของทอแรนซ์ 2.3  สร้างแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์    ตามแนวคิดของทอแรนซ์  จํานวน     ข้อ   เพือทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนก่อนและหลังการร่วมกิจกรรม     เป็นแบบปลายเปิด    เพือวัดในด้านความคิดริเริม  (Originally) ความคล่องในการคิดคล่อง  (Fluency) ความยืดหยุ่นในการคิด  (Flexibility) และความคิดละเอียดลออ  (Elaboration) 2.4    นําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทีสร้างเสร็จแล้วเสนอต่อผู้เชียวชาญท่านเดิม   เพือพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม      ให้ข้อเสนอแนะ    และตรวจสอบความเทียงตรงของ แบบทดสอบ  โดยพิจารณาความถูกต้อง  ตลอดจนแก้ไข  เพือความเหมาะสมและตัดสินว่าข้อความ นันเป็นข้อความทีมีความหมายสอดคล้องกับสิงทีต้องการวัดหรือไม่  โดยใช้เกณฑ์ประเมินผลของ   สมนึก  ภัทธิยธนี    (2544 : 221) +1 หมายถึง        แน่ใจว่าข้อสอบสอดคล้องกับจุดประสงค์ทีต้องการวัด   0  หมายถึง        ไม่แน่ใจว่าข้อสอบสอดคล้องกับจุดประสงค์ทีต้องการวัด -1 หมายถึง          แน่ใจว่าข้อสอบไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ทีต้องการวัด 2.5  นําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทีได้รับการประเมินจากผู้เชียวชาญมา หาค่าความสอดคล้องเหมาะสม  โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC (Index of Item Objective Congruence) (สมนึก    ภัททิยธนี. 2544 : 221) แล้วนํามาเทียบกับเกณฑ์ในการแปลความหมาย                   ใช้เกณฑ์    ดังนี ระดับความสําคัญ ระดับนําหนัก รับทําโปรเจค.net
  • 9. 61 สอดคล้อง 0.50 – 1.00 ไม่สอดคล้อง ตํากว่า    0.50 2.6 นําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ไปทดลองสอบกับนักเรียน ทีไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย     ได้แก่    นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที    2 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา    สังกัดสํานักงานเขตพืนที การศึกษามัธยมศึกษา  เขต    30    จํานวน  30 คน  เพือตรวจสอบการใช้ภาษา  และข้อบกพร่องทีจะมี ในเรืองเวลา    การดําเนินกิจกรรมการทดสอบในแต่ละข้อ    รวมทังหาค่าอํานาจจําแนกของข้อสอบ แต่ละข้อ  โดยใช้เทคนิค  25 % ของกลุ่มสูงและกลุ่มตํา    โดยใช้  t – test และหาค่าความเชือมันของ แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทังฉบับ    โดยวิธีสัมประสิทธิแอลฟา  (Alpha - Coefficient) (บุญ ชม    ศรีสะอาด. 2543 : 96) ได้ค่า    t มีค่าระหว่าง     .  –   .    ซึงถือว่ามีค่าอํานาจจําแนกใช้ได้     สมควรนําไปเก็บรวบรวมข้อมูล     2.7 สร้างเกณฑ์ปกติ    โดยนําผลการสอบมาคํานวณหาค่าเปอร์เซนไตร์แรงค์   แล้วเปลียนเป็นค่าทีปกติ 2.8 นําแบบทดสอบทีผ่านการตรวจสอบคุณภาพและปรับปรุงเรียบร้อยแล้วไปใช้ จริงกับนักเรียนทีเป็นกลุ่มเป้าหมาย 5. ระเบียบวิธีวิจัย ในการวิจัยครังนีเป็นวิจัยเชิงทดลอง    Pretest Posttest Control Group Design     มีกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม และกลุ่มทดลอง 3 กลุ่ม โดยมีแบบแผนการวิจัย    ดังนี       วิธีการทดลอง : CR O1 - O2 ER1 O1 X1 O2 ER2 O1 X2 O2 ER3 O1 X3 O2 CR กลุ่มควบคุม ER กลุ่มทดลอง O1 ทดสอบก่อนการฝึก O2 ทดสอบหลังการฝึก X1 ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก X2 ฝึกโดยการวาดภาพบนกระดาษ รับทําโปรเจค.net
  • 10. 62 X3 ฝึกโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและฝึกโดยการ วาดภาพบนกระดาษ วิธีการดําเนินการทดลอง 1. ทําการทดสอบกลุ่มตัวอย่างก่อนทดลอง  (Pre-test) โดยให้นักเรียนกลุ่มทีได้รับการฝึก ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก    ทําแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ตามแนวคิดของทอแรนซ์ (Torrance) ใช้เวลาในการทดสอบ  30 นาที 2. อธิบายวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก  เกียวกับความคิดสร้างสรรค์ 3. ดําเนินการทดลอง  วัดความคิดสร้างสรรค์  ทัง  4 ด้าน  ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กราฟิกกับนักเรียนกลุ่มทีได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก  โดยใช้เวลา  3 สัปดาห์  ๆ   ละ  3 วัน  คือ  วันจันทร์  วันพุธ  วันศุกร์  โดยใช้ช่วงเวลา  16.00-16.30 น.  จนควบ  9 กิจกรรม  กลุ่มทีฝึก โดยการวาดภาพบนกระดาษ  ให้ดําเนินการทดลอง  วัดความคิดสร้างสรรค์  ทัง    ด้าน  ด้วยการวาด ภาพลงบนกระดาษ  โดยใช้เวลา  3 สัปดาห์  ๆ  ละ  3 วัน  คือ  วันจันทร์  วันพุธ  วันศุกร์  โดยใช้ช่วงเวลา   16.00-16.30 น.  จนควบ  9 กิจกรรม  เช่นเดียวกัน  กลุ่มทีฝึกโดยคอมพิวเตอร์และฝึกโดยวาดภาพบน กระดาษ  -----   .   ทําการตรวจให้คะแนนในแต่ละกิจกรรม   แล้วเก็บข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์   เพือนําผล การทดลองไปวิเคราะห์  และหาค่าทางสถิติ .        หลังจากเสร็จสินการทดลอง  ผู้วิจัยทําการทดลอบกลุ่มตัวอย่างหลังการทดลอง (Posttest) โดยใช้แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์  ตามแนวคิดของทอแรนซ์  เช่น  เดียวกับการสอบ ครังแรก 6. นําผลการทดสอบก่อนทดลองและหลังการทดลอง  มาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ  และ สรุปผลการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล 1. หาประสิทธิภาพของเครืองมือ ดังนี 1.1 หาค่าอํานาจจําแนกรายข้อของแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค  25 % ของกลุ่มสูงและกลุ่มตํา    โดยใช้ t – test 1.2 หาค่าความเชือมันของแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์    และแบบสอบถาม รับทําโปรเจค.net
  • 11. 63 ความพึงพอใจ โดยวิธีการหาสัมประสิทธิแอลฟา  (Alpha - Coefficient) 2. การตรวจให้คะแนนจากแบบทดสอบตามเกณฑ์ทีกําหนดไว้    ได้แก่                             .    ด้านความคิดริเริม  ให้คะแนนคําตอบทีแปลก    ๆ    ไม่ซํากับคนส่วนใหญ่  โดยยึด แนวทางของทอร์แรนซ์    (ประสาท    อิศรปรีดา.            : - )  โดยให้เกณฑ์  ดังนี คําตอบทีมีความถีซํากัน    % ให้    คะแนน คําตอบทีมีความถีซํากัน    %             ให้    คะแนน คําตอบทีมีความถีซํากัน   -  % ให้    คะแนน คําตอบทีมีความถีซํากัน    –    % ให้    คะแนน คําตอบทีมีความถีซํากัน    %  ขึนไป   ให้    คะแนน                         .    ด้านความคล่องในการคิด  ให้คําตอบละ    คะแนน   .    ด้านความคิดยืดหยุ่น  ให้คะแนนตามจํานวนกลุ่มหรือทิศทางของคําตอบ  คือ   ถ้าคําตอบจัดกลุ่มไม่ได้  ให้    คะแนน  ถ้าคําตอบจัดกลุ่มได้หรือหลายทิศทาง  ให้    คะแนน   .    ด้านความคิดละเอียดลออ  ภาพทีมีรายละเอียดแต่ละส่วนให้คะแนนส่วนละ    คะแนน  การคิดคะแนนความละเอียดลออ   3. นําแบบวัดความคิดสร้างสรรค์มาตรวจให้คะแนน      และนําผลการสอบมาคํานวณหา ค่าเปอร์เซนไทร์แรงค์  และเปลียนเป็นค่าทีปกติ    แล้วนํามาเทียบกับเกณฑ์  ดังนี    (ชวาล    แพรัตกุล. 2530 : 53) T65 และสูงกว่า แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์สูงมาก T55- T65 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์สูง T45- T55 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์สูงพอใช้              T5 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับปานกลาง T35- T45 แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์ตํา T35 และตํากว่า     แปลว่า      มีความคิดสร้างสรรค์ตํามาก ถ้าผู้ได้คะแนนตรงจุดแบ่งพอดี    คือ  T35 , T45 , T55 และ  T65 ให้เลือนขึนไปอยู่ในกลุ่ม   ถัดขึนไปเสมอ รับทําโปรเจค.net
  • 12. 64 4. หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ   ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด สมองเป็นฐาน    โดยใช้สูตรการหาประสิทธิภาพ  E1/E2 (เผชิญ    กิจระการ. 2544 : 49)     6. หาค่าดัชนีประสิทธิผล    เพือให้ทราบความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนโดยวิธี ของกูดแมน  เฟลทเซอร์  และชไนเดอร์ (Goodman, fletcher and Schneider) (เผชิญ    กิจระการ. 2544 : 1-6) สถิติทีใช้ในการวิจัย 1. สถิติพืนฐาน      ได้แก่ 1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ใช้สูตร  (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 101) P = 100x N f        เมือ P แทน    ร้อยละ f แทน    ความถีทีต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน    จํานวนความถีทังหมด 1.2  ค่าเฉลีย(Mean) (สมบัติ    ท้ายเรือคํา.  2546        : 108)                                                     n X X  เมือ   X    แทน      ค่าเฉลียของกลุ่มตัวอย่าง X      แทน      ผลรวมของข้อมูลในกลุ่มตัวอย่าง n    แทน      จํานวนข้อมูลในกลุ่มตัวอย่าง .3    ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน  (Standard Deviation) (สมบัติ    ท้ายเรือคํา.   2546      : 123) รับทําโปรเจค.net
  • 13. 65                                                 1)n(n )fx(fxn S.D. 22       เมือ   S.D. แทน    ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง x แทน    ค่าของข้อมูลแต่ละตัว n แทน    จํานวนข้อมูลทังหมดของกลุ่มตัวอย่าง f แทน      ค่าความถีของข้อมูล .    สถิติทีใช้หาคุณภาพของเครืองมือ  ได้แก่ .    หาค่าความเทียงตรงเชิงเนือหาโดยให้ผู้เชียวชาญพิจารณาตัดสินเป็นรายข้อโดยใช้ สูตรค่าดัชนีความสอดคล้อง  IOC   (Index of Item Objective Congruence)  (สมนึก    ภัททิยธนี.     2544 : 221)                    IOC = N R เมือ      IOC แทน        ดัชนีความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับเนือหา R  แทน        ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชียวชาญทังหมด N แทน      จํานวนผู้เชียวชาญทังหมด 2.1 หาค่าอํานาจจําแนกรายข้อของแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้เทคนิค   25 %  ของกลุ่มสูงและกลุ่มตํา    โดยใช้  t-test (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 94) N 2 L S2 H S LXHX t    เมือ              t แทน อํานาจจําแนก HX แทน ค่าเฉลียของกลุ่มสูง LX แทน ค่าเฉลียของกลุ่มตํา 2 HS แทน ความแปรปรวนของกลุ่มสูง รับทําโปรเจค.net
  • 14. 66 2 LS แทน ความแปรปรวนของกลุ่มตํา N แทน จํานวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มตําซึงมีจํานวนเท่ากัน 2.2 สถิติทีใช้หาค่าอํานาจจําแนกของแบบวัดความพึงพอใจโดยใช้ Item Total Corelation โดยใช้สูตรดังนี  (สมนึก    ภัททิยธนี. 2544 : 255) rxy =      2222 YYNXXN YXXYN   เมือ           rxy แทน      ค่าอํานาจจําแนก (ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อ กับคะแนนรวม) X แทน    ผลรวมทังหมดของคะแนนรวม Y แทน    ผลรวมทังหมดของคะแนนรายข้อ  2 x แทน    ผลรวมทังหมดของคะแนนรวมแต่ละตัวยกกําลังสอง  2 y แทน     ผลรวมทังหมดของคะแนนรายข้อแต่ละตัวยกกําลังสอง XY แทน     ผลรวมทังหมดของคะแนนรวมและคะแนนรายข้อคูณ กันแต่ละคู่ N แทน     จํานวนคนทังหมด                                   2.      สถิติทีใช้หาค่าความเชือมันของแบบทดสอบและแบบสอบถามทังฉบับ    โดยใช้ สัมประสิทธิแอลฟ่า    (Alpha - Coefficient) (บุญชม    ศรีสะอาด. 2543 : 96)             2 t 2 i S S 1 1k k α เมือ           แทน ค่าสัมประสิทธิ  ความเชือมัน k แทน จํานวนข้อของเครืองมือวัด 2 i S แทน ผลรวมของความแปรปรวนของแต่ละข้อ 2 tS แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม รับทําโปรเจค.net
  • 15. 67 3.    คะแนนมาตรฐาน  T (T  -  Score)  (สมนึก    ภัททิยธนี. 2544 : 265) T = 10 Z + 50 เมือ    T แทน        คะแนนมาตรฐาน    T หรือ    T - Score Z แทน      คะแนนมาตรฐาน    Z หรือ    Z - Score รับทําโปรเจค.net
  • 16. แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 1 วาดภาพจากเส้น  (ความคิดริเริม  ) จงวาดภาพจากเส้นโดยการลากส้นให้ติดต่อกันเพียงครังเดียว 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. รับทําโปรเจค.net
  • 17. แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 2 ต่อคํา  (ความคล่องแคล่ว  ) จงคิดคําทีขึนต้นด้วยคําว่า แม่ มาให้มากทีสุดเท่าทีจะมากได้ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ รับทําโปรเจค.net
  • 18. แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 3 ต่อรูปเรขาคณิต  (  ความคิดยืดหยุ่น  ) จงประกอบรูปสามเหลียม 4 ภาพให้มีมุมหรือด้านทัง 4 ด้านติดกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. รับทําโปรเจค.net
  • 19. แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์  ชุดที 4 ต่อ เติม  เสริม  แต่ง  (ความคิดละเอียดลออ) จงต่อเติมภาพรูปเรขาคณิต ให้มีความสมจริง  และมีความหมาย  พร้อมทังตังชือภาพด้วย ชือภาพ................................................................................................... รับทําโปรเจค.net