SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักการ ทฤษฏี เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแบ่ง
ออกเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้
1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
1.1 ความหมายของความคิดสร้างสรรค์
1.2 ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์
1.3 ลักษณะกระบวนการความคิดสร้างสรรค์
1.4 ทฤษฏีการคิดสร้างสรรค์
1.5 การพัฒนาและอุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์
1.6 บทบาทของครูในการส่งเสริมและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้แก่นักเรียน
1.7 เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
1.8 ลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์
1.9 รูปแบบกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
1.10 แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
2.1 งานวิจัยในประเทศ
2.2 งานวิจัยต่างประเทศ
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
1. ความหมายของความคิดสร้างสรรค์
ทอร์แรนซ์ กล่าวว่า “ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลไวต่อปัญหา
ข้อบกพร่อง ช่องว่างในด้านความรู้ สิ่งที่ขาดหายไป หรือสิ่งที่ไม่ประสานกันและไวต่อ
การแยกแยะ สิ่งต่างๆ ไวต่อการค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหา ไวต่อการเดาหรือการ
ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับข้อบกพร่อง ทดสอบและทดสอบอีกครั้งเกี่ยวกับสมมติฐาน จนใน
ที่สุดสามารถนาเอาผลที่ได้ไปแสดงให้ปรากฎแก่ผู้อื่นได้”
รับทําโปรเจค.net
8
กิลฟอร์ด กล่าวว่า “ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองในการคิดหลาย
ทิศทาง ซึ่งมีองค์ประกอบความสามารถในการริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่น
ในการคิด และความสามารถในการแต่งเติมและให้คาอธิบายใหม่ที่เป็นการติดตามหลัก
เหตุผลเพื่อหาคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียง แต่องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของ
ความคิดสร้างสรรค์คือความคิดริเริ่ม นอกจากนี้ กิลฟอร์ดเชื่อว่า ความคิดสร้างสรรค์
ไม่ใช่พรสวรรค์ที่บุคคลมี แต่เป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวบุคคลซึ่งมีมากน้อยไม่เท่ากัน
และบุคคลแสดงออกมาในระดับต่างกัน”
นอกจากนี้ กิลฟอร์ด (Guilford, 1959 : 145 – 151, อ้างจาก กรรณิการ์ สุขุม , 2533 ได้
ศึกษาลักษณะพื้นฐานของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมาทั้งหมด 5 ประการ ดังนี้
1. ความรู้สึกไวต่อปัญหา หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถใน
การจดจาปัญหาต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการเข้าถึงหรือการทาความเข้าใจเกี่ยวกับ
สิ่งที่เข้าใจผิด สิ่งที่ขาดข้อเท็จจริง สิ่งที่เป็นมโนทัศน์ที่ผิดหรืออุปสรรคต่างๆ ที่ยังมืดมน
อยู่ ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า ความรู้สึกไวต่อปัญหาของบุคคลเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด เพราะ
บุคคลจะไม่สามารถแก้ปัญหาจนกว่าเขาจะได้รู้ว่าปัญหานั้นคืออะไร หรืออย่างน้อยเขา
จะต้องรู้ว่าเขากาลังประสบปัญหาอยู่
2. ความคล่องในการคิด หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถในการ
ผลิตแนวความคิดจานวนมากในเวลาอันรวดเร็ว แล้วเลือกแนวความคิดที่ดีที่สุดมาใช้
แก้ปัญหา สิ่งที่แสดงลักษณะพิเศษของความคล่องในการคิด นอกจากการผลิต
แนวความคิดที่มากมายและรวดเร็วแล้ว แนวความคิดที่ผลิตขึ้นมาใหม่นั้นควรจะเป็น
แนวความคิดที่แปลงใหม่ และดีกว่าแนวความคิดที่อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้น บุคคลที่
ได้ชื่อว่ามีความคล่องในการคิด จะต้องมีความสามารถปรับเปลี่ยนทิศทางในการคิดได้
เป็นอย่างดี
3. ความคิดริเริ่ม หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถในการค้นหา
แนวทางใหม่ๆ หรือวิธีการแปลงๆ แตกต่างกันออกไปมาใช้ในการแก้ปัญหา ความคิด
ริเริ่มเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในวงการธุรกิจ ผู้บริหารจาเป็นที่จะต้องแสวงหา
แนวทางใหม่ๆ มาแก้ปัญหาที่เปลี่ยนแปรไป นอกจากจะต้องแสวงหาแนวทางใหม่ๆ
แล้ว ยังจาเป็นจะต้องปรับปรุงแนวทางใหม่ๆ เหล่านี้มาช่วยแก้ไขปัญหาที่คิดขึ้นใน
สภาพการณ์ใหม่ๆ ดังนั้น นักบริหารจาเป็นจะต้องสร้าง “ความคิดริเริ่ม” ให้เกิดขึ้น ที่
กล่าวว่าความคิดริเริ่มเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับนักบริหารในวงการธุรกิจ ก็เนื่องมาจากว่า
การประกอบธุรกิจนั้นมีการแข่งขั้นกันมาก โดยเฉพาะในด้านการผลิตสินค้าให้เป็นที่
รับทําโปรเจค.net
9
ต้องการของตลาด ให้มีความแปลงกใหม่ คุณภาพดี และราคาถูก ซึ่งความคิดริเริ่มจะช่วย
แก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ได้มาก
4. ความยืดหยุ่นในการคิด หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถใน
การหาวิธีการหลายๆ วิธีมาแก้ไขปัญหา แทนที่จะใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่งเพียงวิธีเดียว
บุคคลที่มีความยืดหยุ่นในการคิดจะจดจาวิธีแก้ปัญหาที่เคยใช้ไม่ได้ผลทั้งนี้ เพื่อที่จะไม่
นามาใช้ซ้าอีก แล้วพยายามเลือกหาวิธีการใหม่ที่คิดว่าแก้ปัญหาได้มาแทน ซึ่งความ
ยืดหยุ่นในการคิดจะมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับความคล่องในการคิดนั่นคือ ความ
ยืดหยุ่นในการคิดและความคล่องในการคิดจะเป็นความสามารถของบุคคลในการหา
วิธีการคิดหลายๆ วิธีเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา เป็นความจริงที่ว่า บุคคลสร้างแนวความคิด
หรือวิธีการแก้ไขปัญหาได้ 20 – 30 วิธี เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งจะได้ผลดีกว่าบุคคลที่
หาวิธีการแก้ไขปัญหาเพียง 2 – 3 วิธีและใช้ไม่ได้ผล ดังนั้น ถ้าบุคคลจะพัฒนาหรือ
ปรับปรุงความยืดหยุ่นในการคิด ก็จะกระทาได้โดยการพยายามหาวิธีการแก้ปัญหา
หลายๆ วิธีและวิเคราะห์ปัญหาในหลายมุมมอง ซึ่งจะช่วยให้เขาพัฒนาความยืดหยุ่น
ทางการคิดได้เป็นอย่างดี
5. แรงจูงใจ หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์สูงมักมีแรงจูงใจสูง เพราะแรงจูงใจ
เป็นลักษณะสาคัญของบุคคลในการที่จะแสงตนว่าเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์
แรงจูงใจนี้สามารถทาให้บุคคลกล่าวแสดงความพิเศษที่ไม่เหมือนใครออกมาอย่างเต็มที่
หรืออาจจะมากกว่าคนอื่นๆ บุคคลที่มีแรงจูงใจสูงนี้ จะให้ความสนใจในการหาแนวทาง
แก้ปัญหาด้วยความกระตือรือล้นและสิ่งที่ผลักดันให้เกิดความกระตือรือล้น ก็คือ
แรงจูงใจ เนื่องจากแรงจูงใจเป็ นสิ่งที่สาคัญของการตระเตรียมปัญหา เราพบว่า
ความสาเร็จในชีวิตส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ เทยเลอร์และฮอล์แลนด์ ชี้ให้เห็นว่า
คนที่มีความคิดสร้างสรรค์มักจะมีแรงจูงใจสูงในการที่จะทาให้ผลผลิตดีขึ้นด้วย
ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์
อี พอล ทอร์แรนซ์ (E. Paul Torrance) นิยามความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นกระบวนการของ
ความรู้สึกไวต่อปัญหา หรือสิ่งที่บกพร่องขาดหายไปแล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็น
สมมติฐานขึ้น ต่อจากนั้นก็ทาการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อทดสอบสมมติฐานนั้น
กระบวนการเกิดความคิดสร้างสรรค์ตามทฤษฎีของทอร์แรนซ์ สามารถแบ่ง
ออกเป็น 5 ขั้นดังนี้
รับทําโปรเจค.net
10
1. การค้นหาข้อเท็จจริง (Fact Finding) เริ่มจากการความรู้สึกกังวล สับสนวุ่นวาย แต่ยัง
ไม่สามารถหาปัญหาได้ว่าเกิดจากอะไร ต้องคิดว่าสิ่งที่ทาให้เกิดความเครียดคืออะไร
2. การค้นพบปัญหา (Problem – Finding) เมื่อคิดจนเข้าใจจะสามารถบอกได้ว่าปัญหา
ต้นตอคืออะไร
3. กล้าค้นพบความคิด (Ideal – Finding) คิดและตั้งสมมติฐาน ตลอดจนรวบรวมข้อมูล
ต่างๆ เพื่อทดสอบความคิด
4. การค้นพบคาตอบ (Solution – Finding) ทดสอบสมมติฐานจนพบคาตอบ
5. การยอมรับจากการค้นพบ (Acceptance – Finding) ยอมรับคาตอบที่ค้นพบและคิดต่อ
ว่าการค้นพบจะนาไปสู่หนทางที่จะทาให้เกิดแนวความคิดใหม่ต่อไปที่เรียกว่า การท้า
ทายในทิศทางใหม่ (New Challenge)
อารี พันธุ์มณี (2540 : 6) ให้ความหมายความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นกระบวนการทาง
มองที่คิดในลักษณะอเนกนัย อันนาไปสู่การคิดค้นพบสิ่งแปลกใหม่ด้วยการคิดดัดแปลงปรุงแต่งจาก
ความคิดเดิมผสมผสานกันให้เกิดสิ่งใหม่ ซึ่งรวมถึงการประดิษฐ์คิดค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ตลอดจนมี
วิธีการคิด ทฤษฎี หลักการได้สาเร็จ
สฤษดิ์ บรรณะศรี (2550 :6) ได้สรุปว่า ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง
ความสามารถที่มีอยู่ในตัวบุคคลในการคิดได้คล่องคิดยืดหยุ่น และให้รายละเอียดในการคิดเรื่องนั้น
ได้เป็นความคิดริเริ่มที่แตกต่างไปจากเดิม มีคุณค่าและนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมกับกาล
โอกาส
ออลสัน (Olsan. 1980 : 11) กล่าวว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามรถที่มีส่วน
ประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือ ความคิดคล่อง (Fluency) เป็นความสามารถในการผลิตความคิดที่นุ่มนวล
และรวดเร็วในการแก้ปัญหา ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) เป็นความสามารถในการพบลักษณะและ
แก้ปัญหาที่แปลกไปจากธรรมดา ความคิดสร้างสรรค์ที่นาไปสู่การหยั่งเห็นใน
สิ่งที่ใหม่
กิลฟอร์ด (Guildford. 1968 : 10) กล่าวว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถ
ทางสมองที่จะคิดได้หลายทิศทางหรือแบบอเนกนัย และความคิดสร้างสรรค์ที่ประกอบด้วยความ
คล่องในการคิด ความคิดยืดหยุ่น และความคิดที่เป็นของตนเองโดยเฉพาะ คนที่มีลักษณะดังกล่าว
จะต้องเป็นคนกล้าคิด ไม่กลัวถูกวิพากษ์วิจารณ์ และมีอิสระในการคิดค้น
รับทําโปรเจค.net
11
เทย์เลอร์ (Tayer. 1962) ได้ให้ความหมายว่า เป็นความสามารถที่จะคิดย้อนกลับโดย
การนาสิ่งของหรือความรู้ต่าง ๆ ซึ่งดูเหมือนไม่สัมพันธ์กันมารวมกัน เพื่อการแก้ปัญหาในแนวทาง
ใหม่
วอลลาช และโคแกน (Wallach and Kogan. 1965 : 145) ให้ความหมายของการคิด
สร้างสรรค์ว่า ความสามารถเชื่อมโยงความคิดให้สัมพันธ์กันได้กล่าวคือเมื่อระลึกถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็
สามารถระลึกถึงสิ่งอื่นที่มีความสัมพันธ์กันได้ต่อไปอีก ยิ่งคิดมากได้เท่าไรยิ่งแสดงถึงศักยภาพ
ความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น
สปราคเกอร์ (Sparker. 1960 : 4367) ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็น
ความสามารถที่จะคิดวิธีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหา และทอรแรนซ์ (Torrance. 1962 : 16)
ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถของบุคคลในการสร้างผลิตผลหรือ สิ่งแปลก
ๆ ใหม่ ๆ ที่ไม่รู้จักมาก่อนซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้อาจเกิดจากการรวบรวมความคิดเป็น สมมติฐาน
และทาการทดสอบสมมติฐานแล้วรายงานผลที่ได้รับจากการค้นพบ
โบโนสกี้ (Bronowski. 1956 : 84) ความคิดสร้างสรรค์คือ การใช้ความรู้เดิมหรือ
ประสบการณ์เก่า ๆ มาใช้ในเหตุการณ์ใหม่หรือปัจจุบัน จนสร้างผลผลิตที่เป็นความรู้หรือ
ประสบการณ์ใหม่เกิดขึ้นต่อตนเองและผู้อื่นที่ไม่เคยประสบมาก่อน
ไฮโมวิทส์ (Haimowitz. 1973 : 83) ความคิดสร้างสรรค์คือความสามารถที่จะประดิษฐ์
หรือค้นคิดสิ่งใหม่ ๆ หรือจัดองค์ประกอบแบบที่ไม่มีใครจัดมาก่อน ในวิถีทางที่ทาให้เกิด
สิ่งประดิษฐ์หรือแนวคิดที่มีคุณค่าและมีความงาม
เมดนิก (อารี รังสินันท์. 2524 : 5 ; อ้างอิงมาจาก Mednick, 1962 : 112) ความคิด
สร้างสรรค์คือ ความสามารถเชื่อมโยงสัมพันธ์องค์ประกอบในแบบใหม่ ๆ ได้โดยการเชื่อมโยง
สัมพันธ์นั้นตอบสนองต่อข้อกาหนดบางประการหรือให้ประโยชน์บางอย่างได้ถ้าสิ่งที่นามา
เชื่อมโยงกันนั้นมีความห่างไกลกันมากเพียงใด การเชื่อมโยงสัมพันธ์ก็มีความสร้างสรรค์มากเพียง
นั้น
โอเว่น (Owen. 1978 : 243) ความคิดสร้างสรรค์ คือ การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์
เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนเข้าใจได้ยาก และหาข้อสรุปไม่ได้ง่าย ๆ
ทอแรนซ์ (Torrance. 1973 : 211) อธิบายว่าความคิดสร้างสรรค์คือ ปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้นได้โดยไม่มีขอบเขตจากัด บุคคลสามารถมีความคิดสร้างสรรค์ในหลายแบบ และผลของ
ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายไม่มีข้อจากัดเช่นกัน
จากความหมายของนักจิตวิทยาและนักวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์อาจนิยามได้หลาย
ลักษณะด้วยกัน คือ
รับทําโปรเจค.net
12
1. เป็นการค้นคิดประดิษฐ์หรือวิธรการใหม่ ๆ จาการทดลอง ทาให้จิตนาการเป็น
จริงขึ้น
2. เป็นความคิดอเนกนัย ซึ่งเป็นความคิดที่กว้างไกลสลับซับซ้อน มีหลากหลาย
แง่มุมหลายรูปแบบ ความคิดในลักษณะนี้จะนาไปสู้การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ หรือแกปัญหา
ยาก ๆ ได้สาเร็จ
3. เป็นจิตนาการหรือความคิดฝัน ซึ่งมีความสาคัญกว่าความรู้ และเป็นบ่อเกิดของ
การแสวงหาความรู้มาพิสูจน์จินตนาการ หรือทาจินตนาการให้เป็นความจริง
4. เป็นความรู้สึกที่ไว เข้าใจอะไรได้เร็วแม้จะเป็นเรื่องยากและสลับซับซ้อนมี
ปฏิกิริยาหรืออารมณ์ร่วมกับเรื่องนั้น ๆ
จากนิยามสามารถสรุปไดว่า ความคิดสร้างสรรค์หมายถึงความสามารถของบุคคล
ในการมองเห็นถึงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดยมีสิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้นที่ทาให้เกิดความคิดใหม่และ
ความคิดสร้างสรรค์นี้ประกอบด้วยความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดริเริ่ม ความคิด
ละเอียดลออ
2. ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์
ปัจจุบันการแข่งขันกันเพื่อชิงความยิ่งใหญ่ของประเทศต่าง ๆ โลกเพื่อแสวงหาความ
รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ สังคม และความเป็นอยู่ของคนในชาติมีสูงขึ้น ซึ่งปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่งที่จะ
ตัดสินว่าประเทศใด ที่สามารถแสวงหา พัฒนา และใช้ศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของมนุษย์ก็คือ
ความคิดสร้างสรรค์ดังตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่าง ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา
เยอรมัน ที่มีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา พลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความกล้าที่ใช้
จินตนาการคิดค้นสิ่งใหม่โดยทาจินตนาการให้เป็นความจริงและเกิดประโยชน์เป็นผลิตผลต่าง ๆ
เป็นต้น
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ยานอวกาศ การสารวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ พลังงานนิวเคลียร์รถยนต์และ
เครื่องบินที่มีสรรถภาพสูง ๆ เครื่องมือแพทย์ยารักษาโรค ศิลปะ ดนตรี วรรณกรรมต่าง ๆ สิ่ง
มหัศจรรย์เหล่านี้ ล้วนจากการคิดอย่างสร้างสรรค์ของมนุษย์ทั้งสิ้น และสิ่งเหล่านี้ยังคงเกิดขึ้นเรื่อย ๆ
ตราบที่มนุษย์สามารถจินตนาการ และต้องการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีกว่า
นับเป็นความโชคดีที่ธรรมชาติได้สร้างให้มนุษย์เรามีความสามารถในด้านต่าง ๆ อันได้แก่
ความสามารถในการรับความรู้(Absorb Knowl edge) ความสามารถในการจดจาและระลึกถึงความรู้
เหล่านั้นได้(Memorize Recall Knowledge) ความสามารถในการให้เหตุผล(To Reason) และ
ความสามารถในการสร้างสรรค์ (To Create) พลังทั้งสี่ของมนุษย์จะต่างกันตรงที่ความเข้มของแต่ละ
อย่างนั้นไม่เท่ากัน จากประสบการณ์ชีวิตจะพบว่า เราใช้ความสามารถในการรับรู้การจดจาและการ
รับทําโปรเจค.net
13
ให้เหตุผลมากกว่าใช้ความสามารถในการสร้างสรรค์ซึ่งเป็นที่นาเสียดายซึ่งเราละเลยสมรรถภาพ
ทางการใช้ความคิดสร้างสรรค์ไปเสียมาก ดังจะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะเป็นสมาชิกในครอบครัวนักเรียน
หรือผู้ร่วมงานในหน่วยงานก็ตาม เขาเหล่านี้ไม่ค่อยมีโอกาสในการแสดงความคิดใหม่ ๆ แปลก ๆ
และได้รับการกระตุ้นให้สร้างสรรค์น้อยมาก ฉะนั้นสิ่งที่ท้าทายพ่อแม่ผู้ปกครองตลอดจนผู้บริหารใน
วงงานทั่วไปในปัจจุบันก็คือ ทาอย่างไรจึงจะเลี้ยงลูกให้เกิดการสร้างสรรค์สอนเด็กอย่างไรให้เติมโต
เป็นนักสร้างสรรค์และจะพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถทางานได้อย่างสร้างสรรค์และเป็นผู้นาที่
สร้างสรรค์ความสาเร็จให้กับประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ดังนั้น ความคิดสร้างสรรค์เป็นลักษณะความสามารถด้านหนึ่งของมนุษย์ที่คิดและสร้าง
ผลงานที่แปลกใหม่และเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และต่อสังคม โดยส่วนรวม เด็กทุกคนมี
ความคิดสร้างสรรค์และโดยเฉพาะเด็กปฐม ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กกาลังต้องการพัฒนาอย่างยิ่ง
เด็กวัยนี้จะเป็นเด็กช่างซักช่างถาม มีความอยากรู้อยากเห็นชอบตั้งคาถามด้วยคาว่าอะไร ทาไม
อย่างไรตลอดเวลา ฉะนั้นหากเด็กในช่วงนี้ได้รับการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ที่ถูกต้องเหมาะสม
ก็จะช่วยให้เด็กได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้สูงขึ้น (อารี รังสินันท์. 2524 : 556) การส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กจะต้องมุ่งส่งเสริมให้เด็กคิดสร้างสรรค์ในทางที่เป็นประโยชน์ และไม่
เป็นพิษเป็นภัยแก่ผู้ใด เพื่อให้ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีคุณค่าทั้งต่อสังคม โดยส่วนรวมและต่อ
ตนเอง ดังที่ ผุสดี กุฏอินทร์ (2525 : 1203-1204) ได้กล่าวถึงคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ไว้ดังนี้
1. คุณค่าต่อสังคม คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อสังคมนั้น ได้แก่ การที่บุคคลได้
คิดและสร้างสรรค์สิ่งใดสิ่งหนึ่งประโยชน์สุขและความเจริญก้าวหน้าของสังคม หรือหาวิธีการแก้ไข
และข้อสงสัยอย่างมุ่งมั่นไม่ท้อถอย ไม่ยอมจานวน จนกระทั้งประสบความสาเร็จมีผลงานซึ่งเป็น
ประโยชน์ต่อสังคม
2. คุณค่าต่อตนเอง ความสามารถในการสร้างสรรค์นับว่ามีคุณค่าต่อบุคคลที่มีความคิด
สร้างสรรค์เอง ด้วยการสร้างผลงานใดขึ้นทาให้ผู้ที่สร้างสรรค์มีความพึงพอใจและมีความสุขการที่
บุคคลมีความคิกสร้างสรรค์เป็นการช่วยพัฒนาบุคคลนั้น การที่เด็กประสบความสาเร็จในการทางาน
สร้างสรรค์และผลงานสร้างสรรค์ของเด็กได้รับความชื่นชอบจากผู้อื่นจะมีผลให้เด็กมีความมั่นใจใน
ตนเองและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ดี
ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ต่อตนเองและสังคม มีดังนี้
1. ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดต่อตนเองดังต่อไปนี้
1.1 ช่วยลดความเครียดทางอารมณ์ จากการที่มีอิสระในการคิด
1.2 มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเป็นสุข บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์เมื่อได้ทา
ในสิ่งที่ตนคิดได้และได้ทดลองกับความคิดก็รู้สึกพอใจ ตื่นเต้นกับผลงานที่เกิดขึ้น
รับทําโปรเจค.net
14
1.3 มีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง ในสิ่งที่ตนคิดทดลอง
1.4 ตระหนักถึงคุณค่าของตนเองและพร้อมที่จะสร้างสรรค์ต่อไป
2. ประโยชน์ต่อความคิดสร้างสรรค์ต่อสังคมมีดังนี้
2.1 ทาให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงเพราะผลงานที่มีคนคิดสร้างสรรค์เช่น ตึก อาคาร
สูงราวฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าทันสมัย
2.2 ช่วยให้เกิดการผ่อนแรง เช่น การคิดค้น เครื่องบิน ยานอวกาศ เป็นต้น
2.3 ช่วยให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว เช่น รถยนต์ เรือ เป็นต้น
2.4 ช่วยให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและการมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น เช่น การคิดค้นวิธี
บาบัดรักษาโรคต่าง ๆ ยารักษาโรคเป็นต้น
2.5 ช่วยประหยัดเวลาแรงงานและเศรษฐกิจ ผลการค้นพบในด้านต่าง ๆ ทาง
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการแพทย์การศึกษา การเกษตร และอื่น ๆ ช่วยให้มนุษย์มีเวลามากขึ้นและไม่
ต้องเหน็ดเหนื่อยยากลาบากจนเกินไป
2.6 ช่วยในการแก้ปัญหาสังคม เนื่องจากสภาพความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภายใน
สังคมในทุกด้านย่อมจะทาให้เกิดปัญหาซึ่งเป็นเรื่องธรรมดา และจาเป็นต้องมีการแก้ปัญหานั้นให้
หมกหรือเปล่าบางลง ฉะนั้นในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ไม่ว่าปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและ
การศึกษา ย่อมต้องการความคิด หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่ไม่ซ้าของเดิม
2.7 ช่วยให้เกิดความเจริญก้าวหน้าและดารงไว้ซึ่งมนุษยชาติ ความคิดสร้างสรรค์
ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ศิลปะเทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สร้างความ
เปลี่ยนแปลง ก้าวหน้าและนาสังคมสู่ความเจริญ ช่วยยกมาตรฐานการดาเนินชีวิตทาให้มนุษย์
3. ลักษณะกระบวนการความคิดสร้างสรรค์ (Creative Process)
ลักษณะกระบวนการความคิดสร้างสรรค์หมายถึง วิธีการคิดหรือกระบวนการทางานของ
สมองอย่างมีขั้นตอนตลอดจนคิดแก้ปัญหาได้สาเร็จ ซึ่งเป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
หรือเรียกว่ากระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving) มีหลายแนวคิดอัน
ได้แก่
ทอแรนซ์ (Torrance. 1962 : 47) กล่าวว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นลักษณะภายในของแต่ละ
บุคคลในการคิดหลายแง่หลายมุม ประสมประสานกันจนได้ผลิตผลใหม่ คือ กระบวนการคิด
สร้างสรรค์ซึ่งขึ้นเมื่อคนเรามุ่งคิดไปสู่จุดมุ่งหมายที่แปลกใหม่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ขั้นคือ
1. ขั้นเริ่มต้น เกิดจากความรู้สึกต้องการหรือความไม่เพียงพอในสิ่งต่าง ๆ ที่จะทาให้บุคคล
เริ่มคิด เขาจะพยายามรวบรวมข้อเท็จจริง เรื่องราวและแนวคิดต่าง ๆ ที่มีอยู่เข้าด้วยกันเพื่อหาความ
รับทําโปรเจค.net
15
กระจ่างในปัญหา ขั้นนี้ผู้คิดยังไม่ทราบว่าผลที่จะเกิดขั้นนั้นจะเป็นในรูปแบบใดและอาจใช้เวลานาน
จนบางครั้งจะเกิดขึ้นโดยผู้คิดไม่รู้สึกตัว
2. ขั้นครุ่นคิด ต่อจากขั้นเริ่มต้น มีระยะหนึ่งที่ความรู้ ความคิดและเรื่องราวต่าง ๆ ที่
รวบรวมไว้มาประสมกลมกลืนกันเข้าเป็นรูปร่าง ระยะนี้ผู้คิดต้อง.ใช้ความคิดอย่างหนัก แต่บางครั้ง
ความคิดอันนี้อาจหยุดชะงักไปเฉย ๆ เป็นเวลานาน บางครั้งก็กลับเกิดขึ้นใหม่อีก
3. ขั้นเกิดความคิด ในระยะที่กาลังครุ่นคิดนั้น บางครั้งอาจเกิดความคิดผุดขึ้นมาทันทีทันใด
ผู้คิดจะมองเห็นความสัมพันธ์ของความคิดใหม่ที่ซ้ากับความคิดเก่า ๆ ซึ่งมีผู้คิดมาแล้วการมองเห็น
ความสัมพันธ์ในแนวความคิดใหม่นี้ จะเกิดขึ้นในทันทีทันใด ผู้คิดไม่ได้นึกได้ฝันว่าจะเกิดขึ้นเลย
4. ข้นปรับปรุงเมื่อเกิดความคิดใหม่แล้ว ผู้คิดจะขัดเกลาความคิดนั้นให้สะอาดเพื่อให้ผู้อื่น
เข้าใจได้ง่าย หรือต่อเติมเสริมแต่งความคิดที่เกิดขึ้นใหม่นั้นให้รัดกุมและวิวัฒนาการก้าวหน้าต่อไป
หรือในบางกรณีในขั้นนี้อาจมีการทดลองเพื่อประเมินการแก้ปัญหาสาหรับเลือกความคิดที่สมบูรณ์
ที่สุด ความคิดเหล่านี้ก่อให้เกิดการประดิษฐ์ผลงานใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ นวนิยาย บทเพลง
จิตรกรรมและการออกแบบอื่น ๆ เป็นต้น
Guildford (1967 : 14) กล่าวว่า คนที่มีความคิดสร้างสรรค์จะต้องมีความฉับไวที่จะรับรู้
ปัญหามองเห็นปัญหา สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงความคิดใหม่ ๆ ได้ง่าย มีความสามารถที่จะสร้างหรือ
แสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ และปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น ซึ่งวิธีการคิดของเราเป็นตามลาดับขั้นดังนี้
1. การรู้และการเข้าใจ (Cognition) หมายถึง ความสามารถของสมองในการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ
ได้อย่างรวดเร็ว
2. การจา (Memory) คือ ความสามารถของสมองในการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้มา
และสามารถระลึกออกมาได้ตามที่ต้องการ
3. การคิดแบบอเนกนัย(Divergent Thinking) หมายถึง ความสามารถของสมองในการให้
การตอบสนองได้หลาย ๆ อย่างจากสิ่งที่กาหนดให้โดยไม่จากัดจานวนคาตอบ
4. การคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) หมายถึง ความสามารถของสมองในการให้
การตอบสนองที่ถูกต้อง และดีที่สุดจากข้อมูลที่กาหนดให้
5. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึง ความสามารถของสมองในการตัดสินข้อมูลที่
กาหนดให้ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
สาหรับวิธีการคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking) นี้ Guildford (1967 : 17) จัดว่าเป็น
ความคิดสร้างสรรค์ซึ่งหมายถึงความสามารถของบุคคลที่ใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการคิดที่ก่อให้เกิด
สิ่งต่าง ๆ ใหม่ ๆ เป็นความสามารถของบุคคลที่จะประยุกต์ใช้กับงานหลายอย่าง ๆ ชนิดซึ่ง
ประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้
รับทําโปรเจค.net
16
1. ความคิดคล่อง (Fluency)
2. ความคิดริเริ่ม (Originality)
3. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
4. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility)
ความคิดคล่อง (Fluency) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคาตอบได้อย่าง
คล่องแคล่ว และมีคาตอบในปริมาณที่มากในเวลาจากัด แบ่งออกเป็น
1. ความคิดคล่องแคล่วทางด้านถ้อยคา (Word Fluency) ซึ่งเป็นความสามารถใน
การใช้ถ้อยคาอย่างคล่องแคล่วนั้นเอง
2. ความคิดคล่องแคล่วทางด้านการโยงสัมพันธ์ (Asssocational Fluency) เป็น
ความสามารถที่จะคิดหาถ้อยคาที่หรือคล้ายกันได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ภายในเวลากาหนด
3. ความคล่องแคล่วทางด้านการแสดงออก (Expressional Fluency) เป็น
ความสามารถในการใช้วลีหรือประโยค คือความสามารถที่จะนาคามาเรียงกันอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ได้
ประโยคที่ต้องการ
4. ความคล่องแคล่วในการคิด (Ideational Fluency) เป็นความสามารถที่จะคิดสิ่งที่
ต้องการภายในเวลาที่กาหนด เป็นความสามารถอันดับแรกในการที่จะพยายามเลือกฟันให้ได้
ความคิดที่ดีและเหมาะสมที่สุด จึงจาเป็นต้องคิด คิดออกมาให้ได้มากหลายอย่าง และแตกต่างกันแล้ว
จึงนาเอาความคัดที่ได้ทั้งหมดมาพิจารณาแต่ละอย่างเปรียบเทียบกันว่าความคิดอันใดจะเป็นความคิด
ที่ดีที่สุด
ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ลักษณะความคิดแปลกใหม่ แตกต่างจากความคิด
ธรรมดา ความคิดริเริ่มเกิดจากการนาเอาความรู้เดิมมาคิดดัดแปลง และประยุกต์ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่
ขึ้น เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ต้องอาศัยลักษณะ ความกล้าคิด กล้าลอง เพื่อทดสอบ ความคิด
ของตน บ่อยครั้งต้องอาศัยความคิดจินตนาการ หรือที่เรียกว่า ความคิดจินตนาการประยุกต์คือไม่ใช่
คิดเพียงอย่างเดียวแต่จะเป็นต้องคิดอย่างเดียวแต่จะเป็นต้องคิดสร้างและหาทางทาให้เกิดผลงานด้วย
ความคิดริเริ่มนั้นสามารถอธิบายได้ตามลักษณะดังนี้คือ
1. ลักษณะทางกระบวนการ คือ เป็นกระบวนการคิด และสามารถแตกความคิดจากของเดิม
ไปสู้ความคิดแปลกใหม่ ที่ไม่ซ้ากับของเดิม
2. ลักษณะของบุคคล คือบุคคลที่มีความริเริ่ม จะเป็นบุคคลที่มีเอกลักษณ์ของ ตนเอง เชื่อมั่น
ในตนเอง กล้าแสดงออก ไม่ขลาดกลัวต่อความไม่แน่นอน หรือคลุมเครือ แต่เต็มใจและยินดีที่จะ
เผชิญและเสี่ยงกับสภาพการณ์ดังกล่าว บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นบุคคลที่มีสุขภาพจิตดีด้วย
รับทําโปรเจค.net
17
3. ลักษณะทางผลิตผล ผลงานที่เกิดจากความคิดริเริ่ม จึงเป็นงานที่แปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏ
มาก่อน มีคุณค่าทั้งต่อตนเอง และเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม คุณค่าของงานจึงมีตั้งแต่ระดับต้น
เช่น ผลงานที่เกิดจากความต้องการการแสดงความคิดอย่างอิสระ ซึ่งเกิดจากแรงจูงใจของตนเอง ทา
เพื่อสนองความต้องการของตนเอง โดยไม่คานึงถึงคุณภาพของงาน และค่อย ๆ พัฒนาขึ้นโดยเพิ่ม
ทักษะบางอย่าง ต่อมาจึงเป็นขั้นงานประดิษฐ์ ได้ดีขึ้นจนเป็นขั้นสูงสุด
ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) คือ ความคิดในรายละเอียดเพื่อตกแต่งหรือขยาย
ความคิดหลักให้ได้หลากหมายสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ความคิดละเอียดลออเป็นคุณลักษณะที่จาเป็นยิ่งในการ
สร้างผลงานที่มีความแปลกใหม่ให้สาเร็จ
พัฒนาการของความคิดละเอียดลออนั้นขึ้นอยู่กัน
1.1 อายุเด็กที่มีอายุมากจะมีความสามารถทางด้านนี้มากกว่าเด็กอายุน้อย
1.2 เพศ เด็กหญิงจะมีความสามารถมากกว่าเด็กชายในด้านความคิดละเอียดลออ
1.3 ความสังเกต เด็กที่มีความสามารถด้านการสังเกตสูงจะมีความสามารถ
ทางด้านความคิดละเอียดลออสูงด้วย
ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคาตอบได้
หลายประเภทและหลายทิศทาง แบ่งออกเป็น
1. ความคิดยืดหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที (Spontaneous Flexibility) เป็นความสามารถที่
จะพยายามคิดได้หลายอย่าง อย่างอิสระ
2. ความคิดยืดหยุ่นทางด้านการดัดแปลง (Adaptive Flexibility) เป็น
ความสามารถที่จะคิดได้หลากหลายและสามารถคิดดัดแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเป็นหลายสิ่งได้
ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า พฤติกรรมที่เป็นความคิดสร้างสรรค์นี้เป็นความสามารถด้าน
หนึ่งของเชาวน์ปัญญา เป็นการคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ
ออสบอร์ม (Osborn) ได้กล่าวว่ากระบวนการคิดสร้างสรรค์สามารถแบ่งได้เป็น 7
ขั้น ดังนี้ (อารี รังสินันท์. 2524 : 8; อ้างอิงมาจาก Osborn. 1957 : 23)
1. ขั้นการชี้แจงถึงปัญหา เป็นการระบุหรือทราบประเด็นปัญหา
2. ขั้นการเตรียม และรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นเตรียมการข้อมูล เพื่อใช้ในการคิด
แก้ปัญหา
3. ขั้นการวิเคราะห์เป็นขั้นการพิจารณาและแจกแจงข้อมูล
4. ขั้นการใช้ความคิดหรือคักเลือกเพื่อหาทางเลือกต่าง ๆ เป็นขั้นพิจารณาอย่าง
ละเอียดรอบครอบ และหาทางเลือกที่เป็นไปได้หลาย ๆ ทาง
5. ขั้นการคิดหรือฟักตัว (Incubation) และการทาให้กระจ่างหรือเกิดแนวทาง
รับทําโปรเจค.net
18
(Illumination) เป็นขั้นที่ทาให้จิตใจว่าง และในที่สุดก็เกิดความคิดแวบแล้วกระจ่างขึ้น
6. ขั้นการสังเคราะห์หรือการบรรจุชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
7. ขั้นประเมินผล เป็นการคัดเลือกจากคาตอบที่มีประสิทธิภาพที่สุด
ซัลลิแวน (Sullivan. 1967 : 33) ได้กล่าวถึงขั้นต่าง ๆ ของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ดังนี้
1. ขั้นประสบการณ์ (Puzzlement) เป็นขั้นที่บุคคลเกิดความรู้สึกว่ามีบางสิ่ง
บางอย่างเกิดความเข้าใจผิด ไม่แจ่มชัดหรือไม่สามารถเข้าใจได้
2. ขั้นคิดไตร่ตรองอย่างหนัก (Mental Labor) เป็นขั้นที่บุคคลคิดถึงวิธีการและ
ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้สะสมไว้ขั้นนี้สมองทางานอย่างหนัก
3. ขั้นเพราะความคิด (Incubation of Gestation) เป็นขั้นที่ความคิดหยุดอยู่
ขณะหนึ่งเพื่อคอยดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น
4. ขั้นเกิดความกระจ่าง (Illumination) เป็นขั้นที่เกิดความคิดอย่างทะลุปรุโปร่ง
หรือเกิดการคิดพบแล้ว
5. ขั้นกลั่นกรองความคิด (Verification) เป็นขั้นที่ทาการพิสูจน์ทบทวนเหตุผลที่
ได้จากการกระทานั้น
จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า กระบวนการคิดสร้างสรรค์ประกอบด้วยขั้นต่าง ๆ ดังนี้คือขั้น
ปัญหา ขั้นรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ ขั้นเกิดความคิด และขั้นพิสูจน์
4. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์
Davis (1973 : 68) ได้รวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ของนักจิตวิทยาที่ได้
กล่าวถึงทฤษฏีของความคิดสร้างสรรค์โดยแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 4 กลุ่ม คือ
1. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์เชิงจิตวิเคราะห์ นักจิตวิทยาทางจิตวิเคราะห์หลายคนเช่น
Freud และ Kris ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการเกิดของความคิดสร้างสรรค์ว่า ความคิดสร้างสรรค์
เป็นผลมาจากความขัดแย้งภายในจิตได้สานึกระหว่างแรงขับทางเพศ (Libido) กับความรู้สึกผิดชอบ
ทางสังคม (Social Conscience) ส่วน Kubie และ Rugg ซึ่งเป็นนักจิตวิเคราะห์แนวใหม่กล่าวว่า
ความคิดสร้างสรรค์นั้นเกิดขึ้นระหว่างการรู้สติกับจิตใต้สานึกซึ่งอยู่ในขอบเขตของจิตส่วนที่เรียกว่า
จิตก่อนสานึก
2. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์เชิงพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยากลุ่มนี้มีแนวความคิดเกี่ยวกับ
เรื่องความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ โดยเน้นที่ความสาคัญของการเสริมแรง
การตอบสนองที่ถูกต้องกับสิ่งเร้าเฉพาะหรือสถานการณ์ นอกจากนี้ยังได้เน้นความสัมพันธ์ทาง
รับทําโปรเจค.net
19
ปัญญา คือ การโยงความสัมพันธ์จากสิ่งเร้าหนึ่งไปยังสิ่งต่าง ๆ ทาให้เกิดความคิดใหม่หรือสิ่งใหม่
เกิดขึ้น
3. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์เชิงมนุษยนิยม นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้มีแนวคิดว่าความคิด
สร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มนุษย์มีติดตัวมาแต่กาเนิด ผู้ที่สามารถนาความคิดสร้างสรรค์ออกมาใช้ได้คือ ผู้มี
สัจการแห่งตน คือ รู้จักตนเอง พอใจตนเอง และใช้ตนเองตามศักยภาพของตนมนุษย์จะสามารถแสดง
ความคิดสร้างสรรค์ของตนออกมาได้อย่างเต็มที่นั้นขึ้นอยู่กับการสร้างสภาวะหรือบรรยากาศที่
เอื้ออานวย ได้กล่าวถึงบรรยากาศที่สาคัญในการสร้างสรรค์ว่าประกอบด้วยความปลอดภัยในเชิง
จิตวิทยา ความมั่นคงของจิตใจ ความปรารถที่จะเล่นกับความคิด และการเปิดกว้างที่จะรับ
ประสบการณ์ใหม่
4. ทฤษฏี AUTA ทฤษฏีสุดท้ายนี้เป็นรูปแบบของการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น
ในตัวบุคคล โดยมีแนวคิดว่าความคิดสร้างสรรค์นั้นมีอยู่ในมนุษย์ทุกคน และสามารถพัฒนาให้สูงขึ้น
ได้การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามรูปแบบ AUTA ประกอบด้วย
4.1 การตระหนัก (Awareness) คือ ตระหนักถึงความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อ
ตนเอง สังคม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต และตระหนักถึงความคิดสร้างสรรค์ที่มีอยู่ในตนเองด้วย
4.2 ความเข้าใจ (Understanding) คือ มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องราวต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
4.3 เทคนิควิธี (Techniques) คือ การรู้เทคนิควิธีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทั้งที่เป็น
เทคนิคส่วนบุคคลและเทคนิคที่เป็นมาตรฐาน
4.4 การตระหนักในความจริงของสิ่งต่าง ๆ (Actualization) คือ การรู้จักหรือตระหนักใน
ตนเอง พอใจในตนเอง และพยายามใช้ตนเองอย่างเต็มศักยภาพ รวมทั้งการเปิดกว้างรับประสบการณ์
ต่าง ๆ โดยมีการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม การตระหนักถึงเพื่อมนุษย์ด้วยกันการผลิตผลงานด้วย
ตนเองและการมีความคิดที่ยืดหยุ่นเข้ากับทุกรูปแบบของชีวิต
องค์ประกอบทั้ง 4 นี้จะผลักดันให้บุคคลสามารถดึงศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของตนเอง
ออกมาใช้ได้
จากทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่าความคิดสร้างสรรค์เป็น
ทักษะที่มีอยู่ในบุคคลทุกคน และสามารถที่จะพัฒนาให้สูงขึ้นได้โดยอาศัยการเรียนรู้ และการจัด
บรรยากาศที่เอื้ออานวย
บุญลือ ทององยู่ (อารี รังสินันท์. 2524 : 100-113 ; อ้างอิงมาจาก บุญลือ ทองอยู่. 2514 : 51)
ได้เสนอทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์และข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ดังนี้
รับทําโปรเจค.net
20
1. ทฤษฏีของวอลลาซ (Wallach) ได้กล่าวว่า การจะเกิดความคิดสร้างสรรค์ได้นั้นจะต้องมี
ขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
1.1 ขั้นเตรียม (Preparation) เป็นระยะของการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆเมื่อพบปัญหา เช่น กรณี
ก่อนที่อาร์คีมีดิส จะคิดหาส่วนผสมของเงินในมงกุฎทองได้สาเร็จนั้นก็ได้พยายามชั่งเงิน ชั่งทองที่มี
ขนาดต่าง ๆ กัน แค่ก็ยังคิดไม่ออก
1.2 ขั้นฟักตัว (Incubation) เมื่อรวบรวมข้อมูลตามขั้นที่ 1 แล้วผู้คิดก็ยังคิดไปออกได้แต่
ครั่นคิดอยู่ระยะนี้ผลงานยังไม่เกิดจนบางครั้งผู้คิดต้องไปทางานอื่น
1.3 ขั้นคิดออก (Illumination or Insight) เป็นระยะที่คิดคาตอบออกทันทีทั้ง ๆ ที่ดูเหมือน
เป็นระยะที่กาลังคิดไม่ออกอยู่เช่น อาร์คิมิดิสคิดออก เมื่อจุ่มตัวลงในอ่างน้าหรือเซอร์ไอแซค นิว
ตัน คิดออกขณะนั่งดูผลแอปเปิ้ลหล่น เป็นต้น
1.4 ขั้นพิสูจน์ (Verification) เมื่อคิดคาตอบออกแล้วก็จะพิสูจน์ซ้าเพื่อให้ได้ผลแน่นอนเป็น
กฎเกณฑ์ต่อไป
2. ทฤษฏีของเทเลอร์ (Tayler. 1962 ; 108-109) ได้ให้ข้อคิดของทฤษฏีอย่างน่าสนใจว่า ผล
ของความคิดสร้างสรรค์ของคนนั้น ไม่จาเป็นจะต้องเป็นขั้นสูงสุดเสมอไปคือไม่จาเป็นต้องคิดค้น
คว้าประดิษฐ์ของใหม่ ๆ ที่ยังไม่มีผู้ใดคิดมาก่อนเลย หรือสร้างทฤษฏีที่ต้องใช้ความคิดด้านนามธรรม
อย่างสูงยิ่ง แต่ความคิดสร้างสรรค์ของคนเรานั้นจาเป็นนั้นอาจจาเป็นขั้นใดขั้นหนึ่ง 6 ขั้น ต่อไปนี้คือ
ขั้นที่หนึ่ง เป็นความคิดสร้างสรรค์ขั้นต้นสุด เป็นสิ่งธรรมดาสามัญคือเป็น
พฤติกรรมหรือการแสดงออกของตนอย่างอิสระ ซึ่งพฤติกรรมนั้นไม่จาเป็นต้องอาศัยความคิดริเริ่ม
และทักษะแต่อย่างใด คือเป็นแต่เพียงให้แล้วแสดงออกอย่างอิสระเท่านั้น
ขั้นที่สอง ได้แก่งานที่ออกมาเป็นผลผลิต ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยทักษะบางประการแต่
ไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งใหม่ เช่น การทากับข้าวพลิกแพลงให้อร่อย เป็นต้น
ขั้นที่สาม เป็นขั้นที่เรียกว่าขั้นสร้างสรรค์คือ เป็นผลงานที่แสดงให้เห็นว่าผู้กระทา
ได้แสดงความคิดใหม่ของเขาเองไม่ได้ลอกเลียนแบบมาจากคนอื่นถึงแม้ว่างานนั้นจะเป็นงานที่ผู้อื่น
เคยทามาแล้วก็ตามก็จัดว่าเป็นงานอยู่ในขั้นสร้างสรรค์ได้ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้ทาคิดค้นขึ้นเอง เช่น การ
แก้ปัญหาชีวิตประจาวัน
ขั้นที่สี่ เป็นขั้นความคิดสร้างสรรค์ขั้นประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ โดยไม่ซ้าแบบใครเป็น
ขั้นที่ผู้กระทาได้แสดงให้เห็นความสามารถที่แตกต่างไปจากผู้อื่น
ขั้นที่ห้า เป็นขั้นที่สามารถปรับปรุงขั้นที่สี่ให้ดียิ่งขึ้น
ขั้นที่หก เป็นความคิดสร้างสรรค์ขั้นสูงสุด อันแสดงถึงความสามารถในการคิดสิ่งที่
เป็นนามธรรมขั้นสูงสุด เช่น ชาร์ลล์ ดาร์วิน คิดตั้งทฤษฏีวิวัฒนาการขั้น
รับทําโปรเจค.net
21
3. ทฤษฏีของฟรอยด์ (Freud) ฟรอนด์มีทักษะที่เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ว่า
ความคิดสร้างสรรค์เริ่มต้นจากการขัดแย้งซึ่งถูกขับดันออกมาโดยพลังของจิตใต้สานึก ขณะที่มีความ
ขัดแย้งเกิดขึ้นนั้น คนที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความคิดอิสระเกิดขึ้นมากมาย แต่คนที่ไม่มีความคิด
สร้างสรรค์จะไม่มีสิ่งนี้
5. การพัฒนาและอุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์
มีเหตุผลทางชีววิทยา พอจะกล่าวได้ว่า ความคิดในการสร้างสรรค์นั้น เจริญไปพร้อม ๆ กับ
ความเจริญของร่างกายและจะเจริญเต็มที่ เมื่อมีอายุ 18-19 ปี ในขณะนั้น สภาพร่างกายในส่วนสาคัญ
ๆ หยุดการเจริญเติมโตพอดี สมมุติฐานนี้ มีได้หลายความว่า เป็นบุคคลมีอายุเกินช่วงนี้แล้ว จะไม่มี
ความคิดสร้างสรรค์หรือความสามารถทางด้านจินตนาการ ถูกจากัดลง ในขณะที่ความฉลาด หรือ
ความคิดเชิงเหตุผล เริ่มพัฒนาการขึ้น เป็นการทดแทนเท่านั้นเอง
ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้เจริญอย่างสม่าเสมอ หากแต่ในวัยเด็ก จะมีการพัฒนาการ(ทางด้าน
จินตนาการ) ได้เร็วกว่าความฉลาด และค่อย ๆ จากัดลง เมื่อมีการรับรู้ ข้อกาหนดเพิ่มขึ้นจากสังคม
และสภาพแวดล้อม และมีการเรียนรู้ในด้านเหตุผลมากขึ้น (Grilfiths. 1945 : 78) ความคิดเพ้อฝันที่
เคยกาหนดพฤติกรรมส่วนใหญ่ของเด็กจะจากัดเมื่ออายุได้4-5 ปี ซึ่งขณะนั้นเด็กจะเริ่มเข้าสู้วัยเรียน
ในโรงเรียน ความถดถอยทางความคิดสร้างสรรค์ในลักษณะนี้อาจถือว่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมดา
เมื่อเด็กเริ่มเข้าสู่ ความผูกพันของชีวิตทางด้านสังคม วัฒนธรรม แม้ว่าความคิดสร้างสรรค์จะเจริญถึง
ขีดสุด เมื่อเด็กเริ่มพ้นจากสภาพวัยรุ่น แต่ก็ไม่ถือว่าเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวเด็ดขาดเพราะจาเป็นจะต้อง
พิจารณาสิ่งประกอบอื่น ๆ ที่มีส่วนในการส่งเสริม หรืออุปสรรคของความคิดเชิงสร้างสรรค์ด้วย เช่น
เมื่ออายุได้ 10 ขวบ Louis Braille ได้เริ่มระบบการเขียน และอ่านหนังสือสาหรับคนตาบอด เขา
พัฒนาจนสาเร็จเมื่อเขาอายุได้ 15 ปี และยังมีการใช้กันมาจนถึงปัจจุบันนี้ James Hillier สร้างกล้อง
จุลทรรศน์ได้เมื่อเข้ายังเป็นเด็ก และในช่วงวัยเด็ก และในช่วงวัยเด็กเช่นเดียวกัน Issac Newton สร้าง
นาฬิกาน้าและหุ่นจาลองของกังหันลมได้สาเร็จ และยังดาเนินการค้นพบกฎเกณฑ์ใหม่ ๆ ทางฟิสิกส์
ในช่วงอายุต่อ ๆ มา (อารี รังสินันท์. 2524 : 112-113 ; อ้างอิงจาก Cole. 1956) เป็นต้น สิ่งที่พอสรุป
ได้ก็คือว่า ผู้มีความคิดสร้างสรรค์นั้นมักผลิตผลงานที่ดีที่สุดในช่วงอายุแรก ๆ ได้ก่อนบุคคลธรรมดา
และอาจกล่าวได้ว่า ผลงานที่ผลิตนั้นได้เปลี่ยนแปลงมากนัก เมื่อผู้คิดมีอายุเข้าวัยกลางคนหรือแม้แต่
วัย ชราก็ตาม ผลงานต่าง ๆ ก็ปรากฏว่าไม่ได้ลดหย่อนในคุณค่าเชิงสร้างสรรค์ไปกว่าสิ่งที่กระทา
ในช่วงอายุแรก ๆ นัก เช่น ผลงาน ซิมโฟนีหมายเลข 9 ของ Beethoven หรือภาพเขียนที่วิหาร
Sistine ของ Michael Anglo เป็นต้น
รับทําโปรเจค.net
22
สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกับความคิดสร้างสรรค์ของเด็กวัยเรียน (ดร.แพง ชินพงศ์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ
ออนไลน์ 2551) การอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์
ของเด็กเป็นอย่างมาก ในครอบครัวที่มีการเลี้ยงดูเด็กแบบประชาธิปไตยซึ่งคุณพ่อคุณแม่ให้ความรัก
และให้ความเท่าเทียมกันในครอบครัว ตลอดจนเคารพสิทธิของเด็กโดยการเปิดโอกาสให้เด็กได้
แสดงความคิดเห็นกับเรื่องต่างๆภายในบ้าน เช่น ให้ลูกช่วยคิดเมนูอาหาร ช่วยตกแต่งการ์ดอวยพร
หรือประดิษฐ์ของขวัญ สิ่งเหล่านี้จะมีส่วนสาคัญที่ทาให้เด็กมีความกระตือรือร้นและมีความคิด
สร้างสรรค์สูงกว่าเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเผด็จการ ที่คุณพ่อคุณแม่ออกคาสั่ง ข่มขู่บังคับและตี
กรอบความคิดของเด็ก ซึ่งจะส่งผลให้เด็กขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ไม่กล้าคิด ไม่กล้าทา ไม่กล้า
แสดงความคิดเห็นเพราะไม่เคยได้รับโอกาสให้ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ใดๆ สิ่งแวดล้อมของ
โรงเรียนมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กรองจากการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว โรงเรียนที่
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กควรมีระบบการศึกษาที่ยึดตัวเด็กเป็นสาคัญ (Child Center) โดย
การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างสรรค์ของเด็ก เช่นมีบริเวณในการทากิจกรรมต่างๆได้อย่าง
คล่องตัวรวมทั้งเป็นโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัยและความ
แตกต่างระหว่างบุคคล ซึงการเรียนควรจะ “เน้นเรียนอย่างมีความสุข สนุกกับการคิดค้น พัฒนาตน
อย่างสร้างสรรค์”
อุปสรรคในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่สาคัญเหมือนจะเป็นในแง่ทางสังคมวัฒนธรรม
มากกว่าทางด้านชีววิทยา โดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดใน 4 ช่วงของระบบการศึกษาตั้งแต่วัยอนุบาล
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และมหาวิทยาลัย ช่วงอนุบาลเมื่อเด็กเริ่มเข้าสู้วัยเรียนถือว่าเป็นระยะแรก
ของการโอนเอียงในข้อบังคับทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งมีผล กระทบต่อเด็กที่เคยอยู่ในวัยของการ
เล่นสนุกสนาน และการสร้างจินตนาการ เปลี่ยนเข้าสู้การคิดสร้างเหตุผลการคล้อยตาม และ
เลียนแบบ เป็นส่วนประกอบเพิ่มขึ้นในการกาหนดพฤติกรรมของเด็ก ทาให้จินตนาการเริ่มลดบาบาท
ลง จิตสานึกทางอารมที่นาความคิด (Preconsciousness) เริ่มถูกแยกแยะออกจากความมี
สติสัมปชัญญะ (Consciousness) โดยเด็ดขาด พ่อแม่ แระครูอาจารย์มีส่วนรับผิดชอบสาคัญที่จะคง
สภาพจินตนาการและความเพ้อฝันนั้น เป็นบริบทสาคัญในการที่จะพัฒนาไปสู่ความคิดสร้างสรรค์
ในช่วงชีวิต ต่อ ๆ ไปของเด็ก (Getzels and Jackson. 1962) โดยธรรมชาติของเด็กเองแล้ว ไม่
ต้องการที่เลิกล้มการสร้างจินตนาการเสมอไป หากแต่ผู้อื่นเป็นผู้สร้างความกดดันให้เด็กเลิกความ
สนใจ เพียงเพื่อจุดประสงค์ให้เขาเป็นเด็กปกติที่มีการคิดและการปฏิบัติตามสภาพสังคม วัฒนธรรม
ที่เป็นอยู่ในขณะนั้น ในระดับการศึกษาตั้งแต่ชั้นอนุบาลและต่อ ๆ ไป ครูมีบทบาทจากการให้
กฎเกณฑ์ ระเบียบวินัย และการควบคุมความประพฤติทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมรวมทั้งอุปสรรค
อื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากเพื่อน ๆ ในโรงเรียนเดียวกัน โดยการสนับสนุนหรือชี้นาลักษณะ ตัวอย่างที่เด็ก
รับทําโปรเจค.net
23
นักเรียนควรประพฤติ ปฏิบัติ ครูจะส่งเสริมด้านบุคลิกภาพในลักษณะภาพรวมมากว่าการยอมรับ
บุคลิกภาพ ที่เป็นลักษณะอิสระเฉพาะตัวของนักเรียนแต่ละคน บทบาททางเพศเป็นอุปสรรคอีกอย่าง
หนึ่งที่มักกาหนดว่า ผู้อ่อนแอมีอารมอ่อนไหวง่ายและการเป็นผู้ตามเป็นลักษณะของ เพศหญิง
ความคิดอิสระ การเป็นผู้นา และความอดทน เป็นลักษณะของเพศชาย เป็นต้น สิ่งดังกล่าวทาให้เด็ก ๆ
รักษาค่านินมนี้ และแยกตัวเองตามบทบาทที่ให้เป็นโดยสภาพทางสังคม วัฒนธรรมต่อ ๆ ไป การ
สนับสนุนการแยกบทบาททางเพศ เป็นสิ่งที่ บั่นทอนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์(Torrance. 1964
: 245)
ในการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบทางความคิดมากขึ้น จนแปลงสภาพ
ความคิดในการศึกษาที่เน้น ความ “ถูกต้อง” จากการกาหนดของครูและผลของคะแนนสอบที่สูง ๆ
มากกว่าความนึกคิดโดยแท้จริงของตัวนักเรียนด้วยกัน กลายเป็นความคิดที่เด็กนักเรียนเองไม่แน่ใจ
ว่ากระทาได้หรือไม่ การเลือกแขนงการศึกษาและอาชีพในอนาคต เริ่มถูกแทรกแซงและชี้นืหรือ
กาหนดโดยความเหมาะสมทางเพศในด้านสังคม และที่สาคัญจะต้องได้รับการยอมรับและพอใจ โดย
พ่อแม่ของตนเองด้วย ในระดับมหาวิทยาลัย ความคิดสร้างสรรค์จะมีอุปสรรคมากขึ้นจากเนื้อหาของ
การศึกษาหรือความรู้เดิมที่สืบทอดกันมา ทฤษฏีและความรู้ใหม่ ๆ เป็นสิ่งยากที่นักศึกษาจะได้
ทดลองแสวงหาได้เอง จาเป็นต้องคล้อยตามเอกสารและตาราเรียนเก่า ๆ นอกเหนือจากความรู้ดั้งเดิม
ของอาจารย์ด้วย หลักสูตรการศึกษาต่าง ๆ ขาดความกล้าเพียงพอที่จะยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง
ปรับปรุงให้ตอบสนองความคิดเชิงสร้างสรรค์ได้ยิ่งขึ้น วิชาการใหม่ ๆ ที่น่าจะเกิดขึ้นหรือกาหนดขึ้น
เพื่อความเหมาะสมของแต่ละประเทศ ก็จะต้องให้เป็นลักษณะสากล หรือมิฉะนั้นก็ต้องรอการคล้อย
ตามประเทศอื่น ๆ ด้วยระบบการเรียนเป็นหน่วยกิต แปรสภาพให้เป็นไปเพื่อการศึกษา โดยหวังผล
ของคะแนนสูง ๆ ไม่ใช่เป็นเพื่อเพิ่มความสนใจ โดยตรงเฉพาะของนักศึกษาผลของการศึกษา
กลายเป็นเครื่องปั่นทอนให้นักศึกษาขาดความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองทัศนคติของ
นักศึกษา จึงกลายเป็นสภาพจากการแสวงหาความรู้ที่ตนเองควรหรือต้องการจะมีความรู้นั้น ๆ
เปลี่ยนไปเพื่อผลของการจะได้จานวน หน่วยกิตให้ครบเพียงพอที่จะได้รับปริญญาโดยเร็ว ๆ ใน
สุดท้ายของการศึกษาเท่านั้นเอง
อิทธิพลทางสังคมและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา
ความสัมพันธ์กับครู เพื่อร่วมขั้นเรียนและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษามี
ผลกระทบสาคัญในการเสริมสร้างปรุงแต่ง ทัศนคติและประสบการณ์ และโดยเฉพาะคุณลักษณะ
และความสามารถในความคิดเชิงสร้างสรรค์
ครู อาจารย์
รับทําโปรเจค.net
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ

More Related Content

What's hot

สรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesสรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesKriengsak Niratpattanasai
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่Boonlert Kanathanasarn
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณแนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณPanakrit Udomkitti
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง UsaTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง Mbti
ค้นหาตัวเอง Mbtiค้นหาตัวเอง Mbti
ค้นหาตัวเอง MbtiTaraya Srivilas
 
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904Pattie Pattie
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1masitah yudee
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งKriengsak Niratpattanasai
 
093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการniralai
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดLuckyman Buddhism
 

What's hot (20)

Innovative thinking
Innovative thinkingInnovative thinking
Innovative thinking
 
สรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rulesสรุปหนังสือ First break all the rules
สรุปหนังสือ First break all the rules
 
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณแนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
 
ค้นหาตัวเอง Mbti
ค้นหาตัวเอง Mbtiค้นหาตัวเอง Mbti
ค้นหาตัวเอง Mbti
 
กระบวนการค ด
กระบวนการค ดกระบวนการค ด
กระบวนการค ด
 
ประเมินบุคลิกภาพตนเอง Handout
ประเมินบุคลิกภาพตนเอง Handoutประเมินบุคลิกภาพตนเอง Handout
ประเมินบุคลิกภาพตนเอง Handout
 
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
Mm100
Mm100Mm100
Mm100
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
 
093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาด
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 

Similar to บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ

Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 

Similar to บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ (20)

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 

More from rubtumproject.com

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาrubtumproject.com
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessrubtumproject.com
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมrubtumproject.com
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 

More from rubtumproject.com (20)

ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารที่ครัวดารา ม.บูรพา
 
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
บทที่ 5 (แก้ไขครั้งที่ 1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Accessตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
ตัวอย่างงานเขียนโปรแกรมด้วย Access
 
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษมรับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
รับจัดฟอร์แมต ตัวอย่างงานจัดหน้าของม.ราชภัฎจัทรเกษม
 
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
รายงานการสัมมนาทางสังคมวิทยา กรณีอั้มเนโกะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รหัส 53
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 

บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักการ ทฤษฏี เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแบ่ง ออกเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 1.1 ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ 1.2 ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ 1.3 ลักษณะกระบวนการความคิดสร้างสรรค์ 1.4 ทฤษฏีการคิดสร้างสรรค์ 1.5 การพัฒนาและอุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์ 1.6 บทบาทของครูในการส่งเสริมและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้แก่นักเรียน 1.7 เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 1.8 ลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ 1.9 รูปแบบกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 1.10 แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 2.1 งานวิจัยในประเทศ 2.2 งานวิจัยต่างประเทศ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 1. ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ ทอร์แรนซ์ กล่าวว่า “ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลไวต่อปัญหา ข้อบกพร่อง ช่องว่างในด้านความรู้ สิ่งที่ขาดหายไป หรือสิ่งที่ไม่ประสานกันและไวต่อ การแยกแยะ สิ่งต่างๆ ไวต่อการค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหา ไวต่อการเดาหรือการ ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับข้อบกพร่อง ทดสอบและทดสอบอีกครั้งเกี่ยวกับสมมติฐาน จนใน ที่สุดสามารถนาเอาผลที่ได้ไปแสดงให้ปรากฎแก่ผู้อื่นได้” รับทําโปรเจค.net
  • 2. 8 กิลฟอร์ด กล่าวว่า “ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองในการคิดหลาย ทิศทาง ซึ่งมีองค์ประกอบความสามารถในการริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่น ในการคิด และความสามารถในการแต่งเติมและให้คาอธิบายใหม่ที่เป็นการติดตามหลัก เหตุผลเพื่อหาคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียง แต่องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของ ความคิดสร้างสรรค์คือความคิดริเริ่ม นอกจากนี้ กิลฟอร์ดเชื่อว่า ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่พรสวรรค์ที่บุคคลมี แต่เป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวบุคคลซึ่งมีมากน้อยไม่เท่ากัน และบุคคลแสดงออกมาในระดับต่างกัน” นอกจากนี้ กิลฟอร์ด (Guilford, 1959 : 145 – 151, อ้างจาก กรรณิการ์ สุขุม , 2533 ได้ ศึกษาลักษณะพื้นฐานของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมาทั้งหมด 5 ประการ ดังนี้ 1. ความรู้สึกไวต่อปัญหา หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถใน การจดจาปัญหาต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการเข้าถึงหรือการทาความเข้าใจเกี่ยวกับ สิ่งที่เข้าใจผิด สิ่งที่ขาดข้อเท็จจริง สิ่งที่เป็นมโนทัศน์ที่ผิดหรืออุปสรรคต่างๆ ที่ยังมืดมน อยู่ ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า ความรู้สึกไวต่อปัญหาของบุคคลเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด เพราะ บุคคลจะไม่สามารถแก้ปัญหาจนกว่าเขาจะได้รู้ว่าปัญหานั้นคืออะไร หรืออย่างน้อยเขา จะต้องรู้ว่าเขากาลังประสบปัญหาอยู่ 2. ความคล่องในการคิด หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถในการ ผลิตแนวความคิดจานวนมากในเวลาอันรวดเร็ว แล้วเลือกแนวความคิดที่ดีที่สุดมาใช้ แก้ปัญหา สิ่งที่แสดงลักษณะพิเศษของความคล่องในการคิด นอกจากการผลิต แนวความคิดที่มากมายและรวดเร็วแล้ว แนวความคิดที่ผลิตขึ้นมาใหม่นั้นควรจะเป็น แนวความคิดที่แปลงใหม่ และดีกว่าแนวความคิดที่อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้น บุคคลที่ ได้ชื่อว่ามีความคล่องในการคิด จะต้องมีความสามารถปรับเปลี่ยนทิศทางในการคิดได้ เป็นอย่างดี 3. ความคิดริเริ่ม หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถในการค้นหา แนวทางใหม่ๆ หรือวิธีการแปลงๆ แตกต่างกันออกไปมาใช้ในการแก้ปัญหา ความคิด ริเริ่มเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในวงการธุรกิจ ผู้บริหารจาเป็นที่จะต้องแสวงหา แนวทางใหม่ๆ มาแก้ปัญหาที่เปลี่ยนแปรไป นอกจากจะต้องแสวงหาแนวทางใหม่ๆ แล้ว ยังจาเป็นจะต้องปรับปรุงแนวทางใหม่ๆ เหล่านี้มาช่วยแก้ไขปัญหาที่คิดขึ้นใน สภาพการณ์ใหม่ๆ ดังนั้น นักบริหารจาเป็นจะต้องสร้าง “ความคิดริเริ่ม” ให้เกิดขึ้น ที่ กล่าวว่าความคิดริเริ่มเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับนักบริหารในวงการธุรกิจ ก็เนื่องมาจากว่า การประกอบธุรกิจนั้นมีการแข่งขั้นกันมาก โดยเฉพาะในด้านการผลิตสินค้าให้เป็นที่ รับทําโปรเจค.net
  • 3. 9 ต้องการของตลาด ให้มีความแปลงกใหม่ คุณภาพดี และราคาถูก ซึ่งความคิดริเริ่มจะช่วย แก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ได้มาก 4. ความยืดหยุ่นในการคิด หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถใน การหาวิธีการหลายๆ วิธีมาแก้ไขปัญหา แทนที่จะใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่งเพียงวิธีเดียว บุคคลที่มีความยืดหยุ่นในการคิดจะจดจาวิธีแก้ปัญหาที่เคยใช้ไม่ได้ผลทั้งนี้ เพื่อที่จะไม่ นามาใช้ซ้าอีก แล้วพยายามเลือกหาวิธีการใหม่ที่คิดว่าแก้ปัญหาได้มาแทน ซึ่งความ ยืดหยุ่นในการคิดจะมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับความคล่องในการคิดนั่นคือ ความ ยืดหยุ่นในการคิดและความคล่องในการคิดจะเป็นความสามารถของบุคคลในการหา วิธีการคิดหลายๆ วิธีเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา เป็นความจริงที่ว่า บุคคลสร้างแนวความคิด หรือวิธีการแก้ไขปัญหาได้ 20 – 30 วิธี เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งจะได้ผลดีกว่าบุคคลที่ หาวิธีการแก้ไขปัญหาเพียง 2 – 3 วิธีและใช้ไม่ได้ผล ดังนั้น ถ้าบุคคลจะพัฒนาหรือ ปรับปรุงความยืดหยุ่นในการคิด ก็จะกระทาได้โดยการพยายามหาวิธีการแก้ปัญหา หลายๆ วิธีและวิเคราะห์ปัญหาในหลายมุมมอง ซึ่งจะช่วยให้เขาพัฒนาความยืดหยุ่น ทางการคิดได้เป็นอย่างดี 5. แรงจูงใจ หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์สูงมักมีแรงจูงใจสูง เพราะแรงจูงใจ เป็นลักษณะสาคัญของบุคคลในการที่จะแสงตนว่าเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ แรงจูงใจนี้สามารถทาให้บุคคลกล่าวแสดงความพิเศษที่ไม่เหมือนใครออกมาอย่างเต็มที่ หรืออาจจะมากกว่าคนอื่นๆ บุคคลที่มีแรงจูงใจสูงนี้ จะให้ความสนใจในการหาแนวทาง แก้ปัญหาด้วยความกระตือรือล้นและสิ่งที่ผลักดันให้เกิดความกระตือรือล้น ก็คือ แรงจูงใจ เนื่องจากแรงจูงใจเป็ นสิ่งที่สาคัญของการตระเตรียมปัญหา เราพบว่า ความสาเร็จในชีวิตส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ เทยเลอร์และฮอล์แลนด์ ชี้ให้เห็นว่า คนที่มีความคิดสร้างสรรค์มักจะมีแรงจูงใจสูงในการที่จะทาให้ผลผลิตดีขึ้นด้วย ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ของทอร์แรนซ์ อี พอล ทอร์แรนซ์ (E. Paul Torrance) นิยามความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นกระบวนการของ ความรู้สึกไวต่อปัญหา หรือสิ่งที่บกพร่องขาดหายไปแล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็น สมมติฐานขึ้น ต่อจากนั้นก็ทาการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อทดสอบสมมติฐานนั้น กระบวนการเกิดความคิดสร้างสรรค์ตามทฤษฎีของทอร์แรนซ์ สามารถแบ่ง ออกเป็น 5 ขั้นดังนี้ รับทําโปรเจค.net
  • 4. 10 1. การค้นหาข้อเท็จจริง (Fact Finding) เริ่มจากการความรู้สึกกังวล สับสนวุ่นวาย แต่ยัง ไม่สามารถหาปัญหาได้ว่าเกิดจากอะไร ต้องคิดว่าสิ่งที่ทาให้เกิดความเครียดคืออะไร 2. การค้นพบปัญหา (Problem – Finding) เมื่อคิดจนเข้าใจจะสามารถบอกได้ว่าปัญหา ต้นตอคืออะไร 3. กล้าค้นพบความคิด (Ideal – Finding) คิดและตั้งสมมติฐาน ตลอดจนรวบรวมข้อมูล ต่างๆ เพื่อทดสอบความคิด 4. การค้นพบคาตอบ (Solution – Finding) ทดสอบสมมติฐานจนพบคาตอบ 5. การยอมรับจากการค้นพบ (Acceptance – Finding) ยอมรับคาตอบที่ค้นพบและคิดต่อ ว่าการค้นพบจะนาไปสู่หนทางที่จะทาให้เกิดแนวความคิดใหม่ต่อไปที่เรียกว่า การท้า ทายในทิศทางใหม่ (New Challenge) อารี พันธุ์มณี (2540 : 6) ให้ความหมายความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นกระบวนการทาง มองที่คิดในลักษณะอเนกนัย อันนาไปสู่การคิดค้นพบสิ่งแปลกใหม่ด้วยการคิดดัดแปลงปรุงแต่งจาก ความคิดเดิมผสมผสานกันให้เกิดสิ่งใหม่ ซึ่งรวมถึงการประดิษฐ์คิดค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ตลอดจนมี วิธีการคิด ทฤษฎี หลักการได้สาเร็จ สฤษดิ์ บรรณะศรี (2550 :6) ได้สรุปว่า ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถที่มีอยู่ในตัวบุคคลในการคิดได้คล่องคิดยืดหยุ่น และให้รายละเอียดในการคิดเรื่องนั้น ได้เป็นความคิดริเริ่มที่แตกต่างไปจากเดิม มีคุณค่าและนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมกับกาล โอกาส ออลสัน (Olsan. 1980 : 11) กล่าวว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามรถที่มีส่วน ประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือ ความคิดคล่อง (Fluency) เป็นความสามารถในการผลิตความคิดที่นุ่มนวล และรวดเร็วในการแก้ปัญหา ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) เป็นความสามารถในการพบลักษณะและ แก้ปัญหาที่แปลกไปจากธรรมดา ความคิดสร้างสรรค์ที่นาไปสู่การหยั่งเห็นใน สิ่งที่ใหม่ กิลฟอร์ด (Guildford. 1968 : 10) กล่าวว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถ ทางสมองที่จะคิดได้หลายทิศทางหรือแบบอเนกนัย และความคิดสร้างสรรค์ที่ประกอบด้วยความ คล่องในการคิด ความคิดยืดหยุ่น และความคิดที่เป็นของตนเองโดยเฉพาะ คนที่มีลักษณะดังกล่าว จะต้องเป็นคนกล้าคิด ไม่กลัวถูกวิพากษ์วิจารณ์ และมีอิสระในการคิดค้น รับทําโปรเจค.net
  • 5. 11 เทย์เลอร์ (Tayer. 1962) ได้ให้ความหมายว่า เป็นความสามารถที่จะคิดย้อนกลับโดย การนาสิ่งของหรือความรู้ต่าง ๆ ซึ่งดูเหมือนไม่สัมพันธ์กันมารวมกัน เพื่อการแก้ปัญหาในแนวทาง ใหม่ วอลลาช และโคแกน (Wallach and Kogan. 1965 : 145) ให้ความหมายของการคิด สร้างสรรค์ว่า ความสามารถเชื่อมโยงความคิดให้สัมพันธ์กันได้กล่าวคือเมื่อระลึกถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ สามารถระลึกถึงสิ่งอื่นที่มีความสัมพันธ์กันได้ต่อไปอีก ยิ่งคิดมากได้เท่าไรยิ่งแสดงถึงศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น สปราคเกอร์ (Sparker. 1960 : 4367) ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็น ความสามารถที่จะคิดวิธีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหา และทอรแรนซ์ (Torrance. 1962 : 16) ให้ความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถของบุคคลในการสร้างผลิตผลหรือ สิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่ไม่รู้จักมาก่อนซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้อาจเกิดจากการรวบรวมความคิดเป็น สมมติฐาน และทาการทดสอบสมมติฐานแล้วรายงานผลที่ได้รับจากการค้นพบ โบโนสกี้ (Bronowski. 1956 : 84) ความคิดสร้างสรรค์คือ การใช้ความรู้เดิมหรือ ประสบการณ์เก่า ๆ มาใช้ในเหตุการณ์ใหม่หรือปัจจุบัน จนสร้างผลผลิตที่เป็นความรู้หรือ ประสบการณ์ใหม่เกิดขึ้นต่อตนเองและผู้อื่นที่ไม่เคยประสบมาก่อน ไฮโมวิทส์ (Haimowitz. 1973 : 83) ความคิดสร้างสรรค์คือความสามารถที่จะประดิษฐ์ หรือค้นคิดสิ่งใหม่ ๆ หรือจัดองค์ประกอบแบบที่ไม่มีใครจัดมาก่อน ในวิถีทางที่ทาให้เกิด สิ่งประดิษฐ์หรือแนวคิดที่มีคุณค่าและมีความงาม เมดนิก (อารี รังสินันท์. 2524 : 5 ; อ้างอิงมาจาก Mednick, 1962 : 112) ความคิด สร้างสรรค์คือ ความสามารถเชื่อมโยงสัมพันธ์องค์ประกอบในแบบใหม่ ๆ ได้โดยการเชื่อมโยง สัมพันธ์นั้นตอบสนองต่อข้อกาหนดบางประการหรือให้ประโยชน์บางอย่างได้ถ้าสิ่งที่นามา เชื่อมโยงกันนั้นมีความห่างไกลกันมากเพียงใด การเชื่อมโยงสัมพันธ์ก็มีความสร้างสรรค์มากเพียง นั้น โอเว่น (Owen. 1978 : 243) ความคิดสร้างสรรค์ คือ การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนเข้าใจได้ยาก และหาข้อสรุปไม่ได้ง่าย ๆ ทอแรนซ์ (Torrance. 1973 : 211) อธิบายว่าความคิดสร้างสรรค์คือ ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้นได้โดยไม่มีขอบเขตจากัด บุคคลสามารถมีความคิดสร้างสรรค์ในหลายแบบ และผลของ ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายไม่มีข้อจากัดเช่นกัน จากความหมายของนักจิตวิทยาและนักวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์อาจนิยามได้หลาย ลักษณะด้วยกัน คือ รับทําโปรเจค.net
  • 6. 12 1. เป็นการค้นคิดประดิษฐ์หรือวิธรการใหม่ ๆ จาการทดลอง ทาให้จิตนาการเป็น จริงขึ้น 2. เป็นความคิดอเนกนัย ซึ่งเป็นความคิดที่กว้างไกลสลับซับซ้อน มีหลากหลาย แง่มุมหลายรูปแบบ ความคิดในลักษณะนี้จะนาไปสู้การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ หรือแกปัญหา ยาก ๆ ได้สาเร็จ 3. เป็นจิตนาการหรือความคิดฝัน ซึ่งมีความสาคัญกว่าความรู้ และเป็นบ่อเกิดของ การแสวงหาความรู้มาพิสูจน์จินตนาการ หรือทาจินตนาการให้เป็นความจริง 4. เป็นความรู้สึกที่ไว เข้าใจอะไรได้เร็วแม้จะเป็นเรื่องยากและสลับซับซ้อนมี ปฏิกิริยาหรืออารมณ์ร่วมกับเรื่องนั้น ๆ จากนิยามสามารถสรุปไดว่า ความคิดสร้างสรรค์หมายถึงความสามารถของบุคคล ในการมองเห็นถึงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดยมีสิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้นที่ทาให้เกิดความคิดใหม่และ ความคิดสร้างสรรค์นี้ประกอบด้วยความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดริเริ่ม ความคิด ละเอียดลออ 2. ความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ ปัจจุบันการแข่งขันกันเพื่อชิงความยิ่งใหญ่ของประเทศต่าง ๆ โลกเพื่อแสวงหาความ รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ สังคม และความเป็นอยู่ของคนในชาติมีสูงขึ้น ซึ่งปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่งที่จะ ตัดสินว่าประเทศใด ที่สามารถแสวงหา พัฒนา และใช้ศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของมนุษย์ก็คือ ความคิดสร้างสรรค์ดังตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่าง ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา เยอรมัน ที่มีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา พลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความกล้าที่ใช้ จินตนาการคิดค้นสิ่งใหม่โดยทาจินตนาการให้เป็นความจริงและเกิดประโยชน์เป็นผลิตผลต่าง ๆ เป็นต้น เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ยานอวกาศ การสารวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ พลังงานนิวเคลียร์รถยนต์และ เครื่องบินที่มีสรรถภาพสูง ๆ เครื่องมือแพทย์ยารักษาโรค ศิลปะ ดนตรี วรรณกรรมต่าง ๆ สิ่ง มหัศจรรย์เหล่านี้ ล้วนจากการคิดอย่างสร้างสรรค์ของมนุษย์ทั้งสิ้น และสิ่งเหล่านี้ยังคงเกิดขึ้นเรื่อย ๆ ตราบที่มนุษย์สามารถจินตนาการ และต้องการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีกว่า นับเป็นความโชคดีที่ธรรมชาติได้สร้างให้มนุษย์เรามีความสามารถในด้านต่าง ๆ อันได้แก่ ความสามารถในการรับความรู้(Absorb Knowl edge) ความสามารถในการจดจาและระลึกถึงความรู้ เหล่านั้นได้(Memorize Recall Knowledge) ความสามารถในการให้เหตุผล(To Reason) และ ความสามารถในการสร้างสรรค์ (To Create) พลังทั้งสี่ของมนุษย์จะต่างกันตรงที่ความเข้มของแต่ละ อย่างนั้นไม่เท่ากัน จากประสบการณ์ชีวิตจะพบว่า เราใช้ความสามารถในการรับรู้การจดจาและการ รับทําโปรเจค.net
  • 7. 13 ให้เหตุผลมากกว่าใช้ความสามารถในการสร้างสรรค์ซึ่งเป็นที่นาเสียดายซึ่งเราละเลยสมรรถภาพ ทางการใช้ความคิดสร้างสรรค์ไปเสียมาก ดังจะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะเป็นสมาชิกในครอบครัวนักเรียน หรือผู้ร่วมงานในหน่วยงานก็ตาม เขาเหล่านี้ไม่ค่อยมีโอกาสในการแสดงความคิดใหม่ ๆ แปลก ๆ และได้รับการกระตุ้นให้สร้างสรรค์น้อยมาก ฉะนั้นสิ่งที่ท้าทายพ่อแม่ผู้ปกครองตลอดจนผู้บริหารใน วงงานทั่วไปในปัจจุบันก็คือ ทาอย่างไรจึงจะเลี้ยงลูกให้เกิดการสร้างสรรค์สอนเด็กอย่างไรให้เติมโต เป็นนักสร้างสรรค์และจะพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถทางานได้อย่างสร้างสรรค์และเป็นผู้นาที่ สร้างสรรค์ความสาเร็จให้กับประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ดังนั้น ความคิดสร้างสรรค์เป็นลักษณะความสามารถด้านหนึ่งของมนุษย์ที่คิดและสร้าง ผลงานที่แปลกใหม่และเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และต่อสังคม โดยส่วนรวม เด็กทุกคนมี ความคิดสร้างสรรค์และโดยเฉพาะเด็กปฐม ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กกาลังต้องการพัฒนาอย่างยิ่ง เด็กวัยนี้จะเป็นเด็กช่างซักช่างถาม มีความอยากรู้อยากเห็นชอบตั้งคาถามด้วยคาว่าอะไร ทาไม อย่างไรตลอดเวลา ฉะนั้นหากเด็กในช่วงนี้ได้รับการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ที่ถูกต้องเหมาะสม ก็จะช่วยให้เด็กได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้สูงขึ้น (อารี รังสินันท์. 2524 : 556) การส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กจะต้องมุ่งส่งเสริมให้เด็กคิดสร้างสรรค์ในทางที่เป็นประโยชน์ และไม่ เป็นพิษเป็นภัยแก่ผู้ใด เพื่อให้ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีคุณค่าทั้งต่อสังคม โดยส่วนรวมและต่อ ตนเอง ดังที่ ผุสดี กุฏอินทร์ (2525 : 1203-1204) ได้กล่าวถึงคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ไว้ดังนี้ 1. คุณค่าต่อสังคม คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อสังคมนั้น ได้แก่ การที่บุคคลได้ คิดและสร้างสรรค์สิ่งใดสิ่งหนึ่งประโยชน์สุขและความเจริญก้าวหน้าของสังคม หรือหาวิธีการแก้ไข และข้อสงสัยอย่างมุ่งมั่นไม่ท้อถอย ไม่ยอมจานวน จนกระทั้งประสบความสาเร็จมีผลงานซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อสังคม 2. คุณค่าต่อตนเอง ความสามารถในการสร้างสรรค์นับว่ามีคุณค่าต่อบุคคลที่มีความคิด สร้างสรรค์เอง ด้วยการสร้างผลงานใดขึ้นทาให้ผู้ที่สร้างสรรค์มีความพึงพอใจและมีความสุขการที่ บุคคลมีความคิกสร้างสรรค์เป็นการช่วยพัฒนาบุคคลนั้น การที่เด็กประสบความสาเร็จในการทางาน สร้างสรรค์และผลงานสร้างสรรค์ของเด็กได้รับความชื่นชอบจากผู้อื่นจะมีผลให้เด็กมีความมั่นใจใน ตนเองและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ดี ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ต่อตนเองและสังคม มีดังนี้ 1. ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดต่อตนเองดังต่อไปนี้ 1.1 ช่วยลดความเครียดทางอารมณ์ จากการที่มีอิสระในการคิด 1.2 มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเป็นสุข บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์เมื่อได้ทา ในสิ่งที่ตนคิดได้และได้ทดลองกับความคิดก็รู้สึกพอใจ ตื่นเต้นกับผลงานที่เกิดขึ้น รับทําโปรเจค.net
  • 8. 14 1.3 มีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง ในสิ่งที่ตนคิดทดลอง 1.4 ตระหนักถึงคุณค่าของตนเองและพร้อมที่จะสร้างสรรค์ต่อไป 2. ประโยชน์ต่อความคิดสร้างสรรค์ต่อสังคมมีดังนี้ 2.1 ทาให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงเพราะผลงานที่มีคนคิดสร้างสรรค์เช่น ตึก อาคาร สูงราวฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าทันสมัย 2.2 ช่วยให้เกิดการผ่อนแรง เช่น การคิดค้น เครื่องบิน ยานอวกาศ เป็นต้น 2.3 ช่วยให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว เช่น รถยนต์ เรือ เป็นต้น 2.4 ช่วยให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและการมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น เช่น การคิดค้นวิธี บาบัดรักษาโรคต่าง ๆ ยารักษาโรคเป็นต้น 2.5 ช่วยประหยัดเวลาแรงงานและเศรษฐกิจ ผลการค้นพบในด้านต่าง ๆ ทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการแพทย์การศึกษา การเกษตร และอื่น ๆ ช่วยให้มนุษย์มีเวลามากขึ้นและไม่ ต้องเหน็ดเหนื่อยยากลาบากจนเกินไป 2.6 ช่วยในการแก้ปัญหาสังคม เนื่องจากสภาพความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภายใน สังคมในทุกด้านย่อมจะทาให้เกิดปัญหาซึ่งเป็นเรื่องธรรมดา และจาเป็นต้องมีการแก้ปัญหานั้นให้ หมกหรือเปล่าบางลง ฉะนั้นในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ไม่ว่าปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและ การศึกษา ย่อมต้องการความคิด หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่ไม่ซ้าของเดิม 2.7 ช่วยให้เกิดความเจริญก้าวหน้าและดารงไว้ซึ่งมนุษยชาติ ความคิดสร้างสรรค์ ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ศิลปะเทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สร้างความ เปลี่ยนแปลง ก้าวหน้าและนาสังคมสู่ความเจริญ ช่วยยกมาตรฐานการดาเนินชีวิตทาให้มนุษย์ 3. ลักษณะกระบวนการความคิดสร้างสรรค์ (Creative Process) ลักษณะกระบวนการความคิดสร้างสรรค์หมายถึง วิธีการคิดหรือกระบวนการทางานของ สมองอย่างมีขั้นตอนตลอดจนคิดแก้ปัญหาได้สาเร็จ ซึ่งเป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ หรือเรียกว่ากระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving) มีหลายแนวคิดอัน ได้แก่ ทอแรนซ์ (Torrance. 1962 : 47) กล่าวว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นลักษณะภายในของแต่ละ บุคคลในการคิดหลายแง่หลายมุม ประสมประสานกันจนได้ผลิตผลใหม่ คือ กระบวนการคิด สร้างสรรค์ซึ่งขึ้นเมื่อคนเรามุ่งคิดไปสู่จุดมุ่งหมายที่แปลกใหม่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ขั้นคือ 1. ขั้นเริ่มต้น เกิดจากความรู้สึกต้องการหรือความไม่เพียงพอในสิ่งต่าง ๆ ที่จะทาให้บุคคล เริ่มคิด เขาจะพยายามรวบรวมข้อเท็จจริง เรื่องราวและแนวคิดต่าง ๆ ที่มีอยู่เข้าด้วยกันเพื่อหาความ รับทําโปรเจค.net
  • 9. 15 กระจ่างในปัญหา ขั้นนี้ผู้คิดยังไม่ทราบว่าผลที่จะเกิดขั้นนั้นจะเป็นในรูปแบบใดและอาจใช้เวลานาน จนบางครั้งจะเกิดขึ้นโดยผู้คิดไม่รู้สึกตัว 2. ขั้นครุ่นคิด ต่อจากขั้นเริ่มต้น มีระยะหนึ่งที่ความรู้ ความคิดและเรื่องราวต่าง ๆ ที่ รวบรวมไว้มาประสมกลมกลืนกันเข้าเป็นรูปร่าง ระยะนี้ผู้คิดต้อง.ใช้ความคิดอย่างหนัก แต่บางครั้ง ความคิดอันนี้อาจหยุดชะงักไปเฉย ๆ เป็นเวลานาน บางครั้งก็กลับเกิดขึ้นใหม่อีก 3. ขั้นเกิดความคิด ในระยะที่กาลังครุ่นคิดนั้น บางครั้งอาจเกิดความคิดผุดขึ้นมาทันทีทันใด ผู้คิดจะมองเห็นความสัมพันธ์ของความคิดใหม่ที่ซ้ากับความคิดเก่า ๆ ซึ่งมีผู้คิดมาแล้วการมองเห็น ความสัมพันธ์ในแนวความคิดใหม่นี้ จะเกิดขึ้นในทันทีทันใด ผู้คิดไม่ได้นึกได้ฝันว่าจะเกิดขึ้นเลย 4. ข้นปรับปรุงเมื่อเกิดความคิดใหม่แล้ว ผู้คิดจะขัดเกลาความคิดนั้นให้สะอาดเพื่อให้ผู้อื่น เข้าใจได้ง่าย หรือต่อเติมเสริมแต่งความคิดที่เกิดขึ้นใหม่นั้นให้รัดกุมและวิวัฒนาการก้าวหน้าต่อไป หรือในบางกรณีในขั้นนี้อาจมีการทดลองเพื่อประเมินการแก้ปัญหาสาหรับเลือกความคิดที่สมบูรณ์ ที่สุด ความคิดเหล่านี้ก่อให้เกิดการประดิษฐ์ผลงานใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ นวนิยาย บทเพลง จิตรกรรมและการออกแบบอื่น ๆ เป็นต้น Guildford (1967 : 14) กล่าวว่า คนที่มีความคิดสร้างสรรค์จะต้องมีความฉับไวที่จะรับรู้ ปัญหามองเห็นปัญหา สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงความคิดใหม่ ๆ ได้ง่าย มีความสามารถที่จะสร้างหรือ แสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ และปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น ซึ่งวิธีการคิดของเราเป็นตามลาดับขั้นดังนี้ 1. การรู้และการเข้าใจ (Cognition) หมายถึง ความสามารถของสมองในการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว 2. การจา (Memory) คือ ความสามารถของสมองในการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้มา และสามารถระลึกออกมาได้ตามที่ต้องการ 3. การคิดแบบอเนกนัย(Divergent Thinking) หมายถึง ความสามารถของสมองในการให้ การตอบสนองได้หลาย ๆ อย่างจากสิ่งที่กาหนดให้โดยไม่จากัดจานวนคาตอบ 4. การคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) หมายถึง ความสามารถของสมองในการให้ การตอบสนองที่ถูกต้อง และดีที่สุดจากข้อมูลที่กาหนดให้ 5. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึง ความสามารถของสมองในการตัดสินข้อมูลที่ กาหนดให้ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ สาหรับวิธีการคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking) นี้ Guildford (1967 : 17) จัดว่าเป็น ความคิดสร้างสรรค์ซึ่งหมายถึงความสามารถของบุคคลที่ใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการคิดที่ก่อให้เกิด สิ่งต่าง ๆ ใหม่ ๆ เป็นความสามารถของบุคคลที่จะประยุกต์ใช้กับงานหลายอย่าง ๆ ชนิดซึ่ง ประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ รับทําโปรเจค.net
  • 10. 16 1. ความคิดคล่อง (Fluency) 2. ความคิดริเริ่ม (Originality) 3. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) 4. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) ความคิดคล่อง (Fluency) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคาตอบได้อย่าง คล่องแคล่ว และมีคาตอบในปริมาณที่มากในเวลาจากัด แบ่งออกเป็น 1. ความคิดคล่องแคล่วทางด้านถ้อยคา (Word Fluency) ซึ่งเป็นความสามารถใน การใช้ถ้อยคาอย่างคล่องแคล่วนั้นเอง 2. ความคิดคล่องแคล่วทางด้านการโยงสัมพันธ์ (Asssocational Fluency) เป็น ความสามารถที่จะคิดหาถ้อยคาที่หรือคล้ายกันได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ภายในเวลากาหนด 3. ความคล่องแคล่วทางด้านการแสดงออก (Expressional Fluency) เป็น ความสามารถในการใช้วลีหรือประโยค คือความสามารถที่จะนาคามาเรียงกันอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ได้ ประโยคที่ต้องการ 4. ความคล่องแคล่วในการคิด (Ideational Fluency) เป็นความสามารถที่จะคิดสิ่งที่ ต้องการภายในเวลาที่กาหนด เป็นความสามารถอันดับแรกในการที่จะพยายามเลือกฟันให้ได้ ความคิดที่ดีและเหมาะสมที่สุด จึงจาเป็นต้องคิด คิดออกมาให้ได้มากหลายอย่าง และแตกต่างกันแล้ว จึงนาเอาความคัดที่ได้ทั้งหมดมาพิจารณาแต่ละอย่างเปรียบเทียบกันว่าความคิดอันใดจะเป็นความคิด ที่ดีที่สุด ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ลักษณะความคิดแปลกใหม่ แตกต่างจากความคิด ธรรมดา ความคิดริเริ่มเกิดจากการนาเอาความรู้เดิมมาคิดดัดแปลง และประยุกต์ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ ขึ้น เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ต้องอาศัยลักษณะ ความกล้าคิด กล้าลอง เพื่อทดสอบ ความคิด ของตน บ่อยครั้งต้องอาศัยความคิดจินตนาการ หรือที่เรียกว่า ความคิดจินตนาการประยุกต์คือไม่ใช่ คิดเพียงอย่างเดียวแต่จะเป็นต้องคิดอย่างเดียวแต่จะเป็นต้องคิดสร้างและหาทางทาให้เกิดผลงานด้วย ความคิดริเริ่มนั้นสามารถอธิบายได้ตามลักษณะดังนี้คือ 1. ลักษณะทางกระบวนการ คือ เป็นกระบวนการคิด และสามารถแตกความคิดจากของเดิม ไปสู้ความคิดแปลกใหม่ ที่ไม่ซ้ากับของเดิม 2. ลักษณะของบุคคล คือบุคคลที่มีความริเริ่ม จะเป็นบุคคลที่มีเอกลักษณ์ของ ตนเอง เชื่อมั่น ในตนเอง กล้าแสดงออก ไม่ขลาดกลัวต่อความไม่แน่นอน หรือคลุมเครือ แต่เต็มใจและยินดีที่จะ เผชิญและเสี่ยงกับสภาพการณ์ดังกล่าว บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นบุคคลที่มีสุขภาพจิตดีด้วย รับทําโปรเจค.net
  • 11. 17 3. ลักษณะทางผลิตผล ผลงานที่เกิดจากความคิดริเริ่ม จึงเป็นงานที่แปลกใหม่ ไม่เคยปรากฏ มาก่อน มีคุณค่าทั้งต่อตนเอง และเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม คุณค่าของงานจึงมีตั้งแต่ระดับต้น เช่น ผลงานที่เกิดจากความต้องการการแสดงความคิดอย่างอิสระ ซึ่งเกิดจากแรงจูงใจของตนเอง ทา เพื่อสนองความต้องการของตนเอง โดยไม่คานึงถึงคุณภาพของงาน และค่อย ๆ พัฒนาขึ้นโดยเพิ่ม ทักษะบางอย่าง ต่อมาจึงเป็นขั้นงานประดิษฐ์ ได้ดีขึ้นจนเป็นขั้นสูงสุด ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) คือ ความคิดในรายละเอียดเพื่อตกแต่งหรือขยาย ความคิดหลักให้ได้หลากหมายสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ความคิดละเอียดลออเป็นคุณลักษณะที่จาเป็นยิ่งในการ สร้างผลงานที่มีความแปลกใหม่ให้สาเร็จ พัฒนาการของความคิดละเอียดลออนั้นขึ้นอยู่กัน 1.1 อายุเด็กที่มีอายุมากจะมีความสามารถทางด้านนี้มากกว่าเด็กอายุน้อย 1.2 เพศ เด็กหญิงจะมีความสามารถมากกว่าเด็กชายในด้านความคิดละเอียดลออ 1.3 ความสังเกต เด็กที่มีความสามารถด้านการสังเกตสูงจะมีความสามารถ ทางด้านความคิดละเอียดลออสูงด้วย ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคาตอบได้ หลายประเภทและหลายทิศทาง แบ่งออกเป็น 1. ความคิดยืดหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที (Spontaneous Flexibility) เป็นความสามารถที่ จะพยายามคิดได้หลายอย่าง อย่างอิสระ 2. ความคิดยืดหยุ่นทางด้านการดัดแปลง (Adaptive Flexibility) เป็น ความสามารถที่จะคิดได้หลากหลายและสามารถคิดดัดแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเป็นหลายสิ่งได้ ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า พฤติกรรมที่เป็นความคิดสร้างสรรค์นี้เป็นความสามารถด้าน หนึ่งของเชาวน์ปัญญา เป็นการคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ ออสบอร์ม (Osborn) ได้กล่าวว่ากระบวนการคิดสร้างสรรค์สามารถแบ่งได้เป็น 7 ขั้น ดังนี้ (อารี รังสินันท์. 2524 : 8; อ้างอิงมาจาก Osborn. 1957 : 23) 1. ขั้นการชี้แจงถึงปัญหา เป็นการระบุหรือทราบประเด็นปัญหา 2. ขั้นการเตรียม และรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นเตรียมการข้อมูล เพื่อใช้ในการคิด แก้ปัญหา 3. ขั้นการวิเคราะห์เป็นขั้นการพิจารณาและแจกแจงข้อมูล 4. ขั้นการใช้ความคิดหรือคักเลือกเพื่อหาทางเลือกต่าง ๆ เป็นขั้นพิจารณาอย่าง ละเอียดรอบครอบ และหาทางเลือกที่เป็นไปได้หลาย ๆ ทาง 5. ขั้นการคิดหรือฟักตัว (Incubation) และการทาให้กระจ่างหรือเกิดแนวทาง รับทําโปรเจค.net
  • 12. 18 (Illumination) เป็นขั้นที่ทาให้จิตใจว่าง และในที่สุดก็เกิดความคิดแวบแล้วกระจ่างขึ้น 6. ขั้นการสังเคราะห์หรือการบรรจุชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน 7. ขั้นประเมินผล เป็นการคัดเลือกจากคาตอบที่มีประสิทธิภาพที่สุด ซัลลิแวน (Sullivan. 1967 : 33) ได้กล่าวถึงขั้นต่าง ๆ ของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ดังนี้ 1. ขั้นประสบการณ์ (Puzzlement) เป็นขั้นที่บุคคลเกิดความรู้สึกว่ามีบางสิ่ง บางอย่างเกิดความเข้าใจผิด ไม่แจ่มชัดหรือไม่สามารถเข้าใจได้ 2. ขั้นคิดไตร่ตรองอย่างหนัก (Mental Labor) เป็นขั้นที่บุคคลคิดถึงวิธีการและ ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้สะสมไว้ขั้นนี้สมองทางานอย่างหนัก 3. ขั้นเพราะความคิด (Incubation of Gestation) เป็นขั้นที่ความคิดหยุดอยู่ ขณะหนึ่งเพื่อคอยดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น 4. ขั้นเกิดความกระจ่าง (Illumination) เป็นขั้นที่เกิดความคิดอย่างทะลุปรุโปร่ง หรือเกิดการคิดพบแล้ว 5. ขั้นกลั่นกรองความคิด (Verification) เป็นขั้นที่ทาการพิสูจน์ทบทวนเหตุผลที่ ได้จากการกระทานั้น จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า กระบวนการคิดสร้างสรรค์ประกอบด้วยขั้นต่าง ๆ ดังนี้คือขั้น ปัญหา ขั้นรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ ขั้นเกิดความคิด และขั้นพิสูจน์ 4. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์ Davis (1973 : 68) ได้รวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ของนักจิตวิทยาที่ได้ กล่าวถึงทฤษฏีของความคิดสร้างสรรค์โดยแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 4 กลุ่ม คือ 1. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์เชิงจิตวิเคราะห์ นักจิตวิทยาทางจิตวิเคราะห์หลายคนเช่น Freud และ Kris ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการเกิดของความคิดสร้างสรรค์ว่า ความคิดสร้างสรรค์ เป็นผลมาจากความขัดแย้งภายในจิตได้สานึกระหว่างแรงขับทางเพศ (Libido) กับความรู้สึกผิดชอบ ทางสังคม (Social Conscience) ส่วน Kubie และ Rugg ซึ่งเป็นนักจิตวิเคราะห์แนวใหม่กล่าวว่า ความคิดสร้างสรรค์นั้นเกิดขึ้นระหว่างการรู้สติกับจิตใต้สานึกซึ่งอยู่ในขอบเขตของจิตส่วนที่เรียกว่า จิตก่อนสานึก 2. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์เชิงพฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยากลุ่มนี้มีแนวความคิดเกี่ยวกับ เรื่องความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ โดยเน้นที่ความสาคัญของการเสริมแรง การตอบสนองที่ถูกต้องกับสิ่งเร้าเฉพาะหรือสถานการณ์ นอกจากนี้ยังได้เน้นความสัมพันธ์ทาง รับทําโปรเจค.net
  • 13. 19 ปัญญา คือ การโยงความสัมพันธ์จากสิ่งเร้าหนึ่งไปยังสิ่งต่าง ๆ ทาให้เกิดความคิดใหม่หรือสิ่งใหม่ เกิดขึ้น 3. ทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์เชิงมนุษยนิยม นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้มีแนวคิดว่าความคิด สร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มนุษย์มีติดตัวมาแต่กาเนิด ผู้ที่สามารถนาความคิดสร้างสรรค์ออกมาใช้ได้คือ ผู้มี สัจการแห่งตน คือ รู้จักตนเอง พอใจตนเอง และใช้ตนเองตามศักยภาพของตนมนุษย์จะสามารถแสดง ความคิดสร้างสรรค์ของตนออกมาได้อย่างเต็มที่นั้นขึ้นอยู่กับการสร้างสภาวะหรือบรรยากาศที่ เอื้ออานวย ได้กล่าวถึงบรรยากาศที่สาคัญในการสร้างสรรค์ว่าประกอบด้วยความปลอดภัยในเชิง จิตวิทยา ความมั่นคงของจิตใจ ความปรารถที่จะเล่นกับความคิด และการเปิดกว้างที่จะรับ ประสบการณ์ใหม่ 4. ทฤษฏี AUTA ทฤษฏีสุดท้ายนี้เป็นรูปแบบของการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น ในตัวบุคคล โดยมีแนวคิดว่าความคิดสร้างสรรค์นั้นมีอยู่ในมนุษย์ทุกคน และสามารถพัฒนาให้สูงขึ้น ได้การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามรูปแบบ AUTA ประกอบด้วย 4.1 การตระหนัก (Awareness) คือ ตระหนักถึงความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อ ตนเอง สังคม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต และตระหนักถึงความคิดสร้างสรรค์ที่มีอยู่ในตนเองด้วย 4.2 ความเข้าใจ (Understanding) คือ มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องราวต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ 4.3 เทคนิควิธี (Techniques) คือ การรู้เทคนิควิธีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทั้งที่เป็น เทคนิคส่วนบุคคลและเทคนิคที่เป็นมาตรฐาน 4.4 การตระหนักในความจริงของสิ่งต่าง ๆ (Actualization) คือ การรู้จักหรือตระหนักใน ตนเอง พอใจในตนเอง และพยายามใช้ตนเองอย่างเต็มศักยภาพ รวมทั้งการเปิดกว้างรับประสบการณ์ ต่าง ๆ โดยมีการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม การตระหนักถึงเพื่อมนุษย์ด้วยกันการผลิตผลงานด้วย ตนเองและการมีความคิดที่ยืดหยุ่นเข้ากับทุกรูปแบบของชีวิต องค์ประกอบทั้ง 4 นี้จะผลักดันให้บุคคลสามารถดึงศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของตนเอง ออกมาใช้ได้ จากทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่าความคิดสร้างสรรค์เป็น ทักษะที่มีอยู่ในบุคคลทุกคน และสามารถที่จะพัฒนาให้สูงขึ้นได้โดยอาศัยการเรียนรู้ และการจัด บรรยากาศที่เอื้ออานวย บุญลือ ทององยู่ (อารี รังสินันท์. 2524 : 100-113 ; อ้างอิงมาจาก บุญลือ ทองอยู่. 2514 : 51) ได้เสนอทฤษฏีความคิดสร้างสรรค์และข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ดังนี้ รับทําโปรเจค.net
  • 14. 20 1. ทฤษฏีของวอลลาซ (Wallach) ได้กล่าวว่า การจะเกิดความคิดสร้างสรรค์ได้นั้นจะต้องมี ขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 ขั้นเตรียม (Preparation) เป็นระยะของการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆเมื่อพบปัญหา เช่น กรณี ก่อนที่อาร์คีมีดิส จะคิดหาส่วนผสมของเงินในมงกุฎทองได้สาเร็จนั้นก็ได้พยายามชั่งเงิน ชั่งทองที่มี ขนาดต่าง ๆ กัน แค่ก็ยังคิดไม่ออก 1.2 ขั้นฟักตัว (Incubation) เมื่อรวบรวมข้อมูลตามขั้นที่ 1 แล้วผู้คิดก็ยังคิดไปออกได้แต่ ครั่นคิดอยู่ระยะนี้ผลงานยังไม่เกิดจนบางครั้งผู้คิดต้องไปทางานอื่น 1.3 ขั้นคิดออก (Illumination or Insight) เป็นระยะที่คิดคาตอบออกทันทีทั้ง ๆ ที่ดูเหมือน เป็นระยะที่กาลังคิดไม่ออกอยู่เช่น อาร์คิมิดิสคิดออก เมื่อจุ่มตัวลงในอ่างน้าหรือเซอร์ไอแซค นิว ตัน คิดออกขณะนั่งดูผลแอปเปิ้ลหล่น เป็นต้น 1.4 ขั้นพิสูจน์ (Verification) เมื่อคิดคาตอบออกแล้วก็จะพิสูจน์ซ้าเพื่อให้ได้ผลแน่นอนเป็น กฎเกณฑ์ต่อไป 2. ทฤษฏีของเทเลอร์ (Tayler. 1962 ; 108-109) ได้ให้ข้อคิดของทฤษฏีอย่างน่าสนใจว่า ผล ของความคิดสร้างสรรค์ของคนนั้น ไม่จาเป็นจะต้องเป็นขั้นสูงสุดเสมอไปคือไม่จาเป็นต้องคิดค้น คว้าประดิษฐ์ของใหม่ ๆ ที่ยังไม่มีผู้ใดคิดมาก่อนเลย หรือสร้างทฤษฏีที่ต้องใช้ความคิดด้านนามธรรม อย่างสูงยิ่ง แต่ความคิดสร้างสรรค์ของคนเรานั้นจาเป็นนั้นอาจจาเป็นขั้นใดขั้นหนึ่ง 6 ขั้น ต่อไปนี้คือ ขั้นที่หนึ่ง เป็นความคิดสร้างสรรค์ขั้นต้นสุด เป็นสิ่งธรรมดาสามัญคือเป็น พฤติกรรมหรือการแสดงออกของตนอย่างอิสระ ซึ่งพฤติกรรมนั้นไม่จาเป็นต้องอาศัยความคิดริเริ่ม และทักษะแต่อย่างใด คือเป็นแต่เพียงให้แล้วแสดงออกอย่างอิสระเท่านั้น ขั้นที่สอง ได้แก่งานที่ออกมาเป็นผลผลิต ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยทักษะบางประการแต่ ไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งใหม่ เช่น การทากับข้าวพลิกแพลงให้อร่อย เป็นต้น ขั้นที่สาม เป็นขั้นที่เรียกว่าขั้นสร้างสรรค์คือ เป็นผลงานที่แสดงให้เห็นว่าผู้กระทา ได้แสดงความคิดใหม่ของเขาเองไม่ได้ลอกเลียนแบบมาจากคนอื่นถึงแม้ว่างานนั้นจะเป็นงานที่ผู้อื่น เคยทามาแล้วก็ตามก็จัดว่าเป็นงานอยู่ในขั้นสร้างสรรค์ได้ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้ทาคิดค้นขึ้นเอง เช่น การ แก้ปัญหาชีวิตประจาวัน ขั้นที่สี่ เป็นขั้นความคิดสร้างสรรค์ขั้นประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ โดยไม่ซ้าแบบใครเป็น ขั้นที่ผู้กระทาได้แสดงให้เห็นความสามารถที่แตกต่างไปจากผู้อื่น ขั้นที่ห้า เป็นขั้นที่สามารถปรับปรุงขั้นที่สี่ให้ดียิ่งขึ้น ขั้นที่หก เป็นความคิดสร้างสรรค์ขั้นสูงสุด อันแสดงถึงความสามารถในการคิดสิ่งที่ เป็นนามธรรมขั้นสูงสุด เช่น ชาร์ลล์ ดาร์วิน คิดตั้งทฤษฏีวิวัฒนาการขั้น รับทําโปรเจค.net
  • 15. 21 3. ทฤษฏีของฟรอยด์ (Freud) ฟรอนด์มีทักษะที่เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ว่า ความคิดสร้างสรรค์เริ่มต้นจากการขัดแย้งซึ่งถูกขับดันออกมาโดยพลังของจิตใต้สานึก ขณะที่มีความ ขัดแย้งเกิดขึ้นนั้น คนที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความคิดอิสระเกิดขึ้นมากมาย แต่คนที่ไม่มีความคิด สร้างสรรค์จะไม่มีสิ่งนี้ 5. การพัฒนาและอุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุผลทางชีววิทยา พอจะกล่าวได้ว่า ความคิดในการสร้างสรรค์นั้น เจริญไปพร้อม ๆ กับ ความเจริญของร่างกายและจะเจริญเต็มที่ เมื่อมีอายุ 18-19 ปี ในขณะนั้น สภาพร่างกายในส่วนสาคัญ ๆ หยุดการเจริญเติมโตพอดี สมมุติฐานนี้ มีได้หลายความว่า เป็นบุคคลมีอายุเกินช่วงนี้แล้ว จะไม่มี ความคิดสร้างสรรค์หรือความสามารถทางด้านจินตนาการ ถูกจากัดลง ในขณะที่ความฉลาด หรือ ความคิดเชิงเหตุผล เริ่มพัฒนาการขึ้น เป็นการทดแทนเท่านั้นเอง ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้เจริญอย่างสม่าเสมอ หากแต่ในวัยเด็ก จะมีการพัฒนาการ(ทางด้าน จินตนาการ) ได้เร็วกว่าความฉลาด และค่อย ๆ จากัดลง เมื่อมีการรับรู้ ข้อกาหนดเพิ่มขึ้นจากสังคม และสภาพแวดล้อม และมีการเรียนรู้ในด้านเหตุผลมากขึ้น (Grilfiths. 1945 : 78) ความคิดเพ้อฝันที่ เคยกาหนดพฤติกรรมส่วนใหญ่ของเด็กจะจากัดเมื่ออายุได้4-5 ปี ซึ่งขณะนั้นเด็กจะเริ่มเข้าสู้วัยเรียน ในโรงเรียน ความถดถอยทางความคิดสร้างสรรค์ในลักษณะนี้อาจถือว่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมดา เมื่อเด็กเริ่มเข้าสู่ ความผูกพันของชีวิตทางด้านสังคม วัฒนธรรม แม้ว่าความคิดสร้างสรรค์จะเจริญถึง ขีดสุด เมื่อเด็กเริ่มพ้นจากสภาพวัยรุ่น แต่ก็ไม่ถือว่าเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวเด็ดขาดเพราะจาเป็นจะต้อง พิจารณาสิ่งประกอบอื่น ๆ ที่มีส่วนในการส่งเสริม หรืออุปสรรคของความคิดเชิงสร้างสรรค์ด้วย เช่น เมื่ออายุได้ 10 ขวบ Louis Braille ได้เริ่มระบบการเขียน และอ่านหนังสือสาหรับคนตาบอด เขา พัฒนาจนสาเร็จเมื่อเขาอายุได้ 15 ปี และยังมีการใช้กันมาจนถึงปัจจุบันนี้ James Hillier สร้างกล้อง จุลทรรศน์ได้เมื่อเข้ายังเป็นเด็ก และในช่วงวัยเด็ก และในช่วงวัยเด็กเช่นเดียวกัน Issac Newton สร้าง นาฬิกาน้าและหุ่นจาลองของกังหันลมได้สาเร็จ และยังดาเนินการค้นพบกฎเกณฑ์ใหม่ ๆ ทางฟิสิกส์ ในช่วงอายุต่อ ๆ มา (อารี รังสินันท์. 2524 : 112-113 ; อ้างอิงจาก Cole. 1956) เป็นต้น สิ่งที่พอสรุป ได้ก็คือว่า ผู้มีความคิดสร้างสรรค์นั้นมักผลิตผลงานที่ดีที่สุดในช่วงอายุแรก ๆ ได้ก่อนบุคคลธรรมดา และอาจกล่าวได้ว่า ผลงานที่ผลิตนั้นได้เปลี่ยนแปลงมากนัก เมื่อผู้คิดมีอายุเข้าวัยกลางคนหรือแม้แต่ วัย ชราก็ตาม ผลงานต่าง ๆ ก็ปรากฏว่าไม่ได้ลดหย่อนในคุณค่าเชิงสร้างสรรค์ไปกว่าสิ่งที่กระทา ในช่วงอายุแรก ๆ นัก เช่น ผลงาน ซิมโฟนีหมายเลข 9 ของ Beethoven หรือภาพเขียนที่วิหาร Sistine ของ Michael Anglo เป็นต้น รับทําโปรเจค.net
  • 16. 22 สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกับความคิดสร้างสรรค์ของเด็กวัยเรียน (ดร.แพง ชินพงศ์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ ออนไลน์ 2551) การอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กเป็นอย่างมาก ในครอบครัวที่มีการเลี้ยงดูเด็กแบบประชาธิปไตยซึ่งคุณพ่อคุณแม่ให้ความรัก และให้ความเท่าเทียมกันในครอบครัว ตลอดจนเคารพสิทธิของเด็กโดยการเปิดโอกาสให้เด็กได้ แสดงความคิดเห็นกับเรื่องต่างๆภายในบ้าน เช่น ให้ลูกช่วยคิดเมนูอาหาร ช่วยตกแต่งการ์ดอวยพร หรือประดิษฐ์ของขวัญ สิ่งเหล่านี้จะมีส่วนสาคัญที่ทาให้เด็กมีความกระตือรือร้นและมีความคิด สร้างสรรค์สูงกว่าเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเผด็จการ ที่คุณพ่อคุณแม่ออกคาสั่ง ข่มขู่บังคับและตี กรอบความคิดของเด็ก ซึ่งจะส่งผลให้เด็กขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ไม่กล้าคิด ไม่กล้าทา ไม่กล้า แสดงความคิดเห็นเพราะไม่เคยได้รับโอกาสให้ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ใดๆ สิ่งแวดล้อมของ โรงเรียนมีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กรองจากการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว โรงเรียนที่ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กควรมีระบบการศึกษาที่ยึดตัวเด็กเป็นสาคัญ (Child Center) โดย การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างสรรค์ของเด็ก เช่นมีบริเวณในการทากิจกรรมต่างๆได้อย่าง คล่องตัวรวมทั้งเป็นโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัยและความ แตกต่างระหว่างบุคคล ซึงการเรียนควรจะ “เน้นเรียนอย่างมีความสุข สนุกกับการคิดค้น พัฒนาตน อย่างสร้างสรรค์” อุปสรรคในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่สาคัญเหมือนจะเป็นในแง่ทางสังคมวัฒนธรรม มากกว่าทางด้านชีววิทยา โดยเฉพาะผลกระทบที่เกิดใน 4 ช่วงของระบบการศึกษาตั้งแต่วัยอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และมหาวิทยาลัย ช่วงอนุบาลเมื่อเด็กเริ่มเข้าสู้วัยเรียนถือว่าเป็นระยะแรก ของการโอนเอียงในข้อบังคับทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งมีผล กระทบต่อเด็กที่เคยอยู่ในวัยของการ เล่นสนุกสนาน และการสร้างจินตนาการ เปลี่ยนเข้าสู้การคิดสร้างเหตุผลการคล้อยตาม และ เลียนแบบ เป็นส่วนประกอบเพิ่มขึ้นในการกาหนดพฤติกรรมของเด็ก ทาให้จินตนาการเริ่มลดบาบาท ลง จิตสานึกทางอารมที่นาความคิด (Preconsciousness) เริ่มถูกแยกแยะออกจากความมี สติสัมปชัญญะ (Consciousness) โดยเด็ดขาด พ่อแม่ แระครูอาจารย์มีส่วนรับผิดชอบสาคัญที่จะคง สภาพจินตนาการและความเพ้อฝันนั้น เป็นบริบทสาคัญในการที่จะพัฒนาไปสู่ความคิดสร้างสรรค์ ในช่วงชีวิต ต่อ ๆ ไปของเด็ก (Getzels and Jackson. 1962) โดยธรรมชาติของเด็กเองแล้ว ไม่ ต้องการที่เลิกล้มการสร้างจินตนาการเสมอไป หากแต่ผู้อื่นเป็นผู้สร้างความกดดันให้เด็กเลิกความ สนใจ เพียงเพื่อจุดประสงค์ให้เขาเป็นเด็กปกติที่มีการคิดและการปฏิบัติตามสภาพสังคม วัฒนธรรม ที่เป็นอยู่ในขณะนั้น ในระดับการศึกษาตั้งแต่ชั้นอนุบาลและต่อ ๆ ไป ครูมีบทบาทจากการให้ กฎเกณฑ์ ระเบียบวินัย และการควบคุมความประพฤติทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมรวมทั้งอุปสรรค อื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากเพื่อน ๆ ในโรงเรียนเดียวกัน โดยการสนับสนุนหรือชี้นาลักษณะ ตัวอย่างที่เด็ก รับทําโปรเจค.net
  • 17. 23 นักเรียนควรประพฤติ ปฏิบัติ ครูจะส่งเสริมด้านบุคลิกภาพในลักษณะภาพรวมมากว่าการยอมรับ บุคลิกภาพ ที่เป็นลักษณะอิสระเฉพาะตัวของนักเรียนแต่ละคน บทบาททางเพศเป็นอุปสรรคอีกอย่าง หนึ่งที่มักกาหนดว่า ผู้อ่อนแอมีอารมอ่อนไหวง่ายและการเป็นผู้ตามเป็นลักษณะของ เพศหญิง ความคิดอิสระ การเป็นผู้นา และความอดทน เป็นลักษณะของเพศชาย เป็นต้น สิ่งดังกล่าวทาให้เด็ก ๆ รักษาค่านินมนี้ และแยกตัวเองตามบทบาทที่ให้เป็นโดยสภาพทางสังคม วัฒนธรรมต่อ ๆ ไป การ สนับสนุนการแยกบทบาททางเพศ เป็นสิ่งที่ บั่นทอนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์(Torrance. 1964 : 245) ในการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบทางความคิดมากขึ้น จนแปลงสภาพ ความคิดในการศึกษาที่เน้น ความ “ถูกต้อง” จากการกาหนดของครูและผลของคะแนนสอบที่สูง ๆ มากกว่าความนึกคิดโดยแท้จริงของตัวนักเรียนด้วยกัน กลายเป็นความคิดที่เด็กนักเรียนเองไม่แน่ใจ ว่ากระทาได้หรือไม่ การเลือกแขนงการศึกษาและอาชีพในอนาคต เริ่มถูกแทรกแซงและชี้นืหรือ กาหนดโดยความเหมาะสมทางเพศในด้านสังคม และที่สาคัญจะต้องได้รับการยอมรับและพอใจ โดย พ่อแม่ของตนเองด้วย ในระดับมหาวิทยาลัย ความคิดสร้างสรรค์จะมีอุปสรรคมากขึ้นจากเนื้อหาของ การศึกษาหรือความรู้เดิมที่สืบทอดกันมา ทฤษฏีและความรู้ใหม่ ๆ เป็นสิ่งยากที่นักศึกษาจะได้ ทดลองแสวงหาได้เอง จาเป็นต้องคล้อยตามเอกสารและตาราเรียนเก่า ๆ นอกเหนือจากความรู้ดั้งเดิม ของอาจารย์ด้วย หลักสูตรการศึกษาต่าง ๆ ขาดความกล้าเพียงพอที่จะยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงให้ตอบสนองความคิดเชิงสร้างสรรค์ได้ยิ่งขึ้น วิชาการใหม่ ๆ ที่น่าจะเกิดขึ้นหรือกาหนดขึ้น เพื่อความเหมาะสมของแต่ละประเทศ ก็จะต้องให้เป็นลักษณะสากล หรือมิฉะนั้นก็ต้องรอการคล้อย ตามประเทศอื่น ๆ ด้วยระบบการเรียนเป็นหน่วยกิต แปรสภาพให้เป็นไปเพื่อการศึกษา โดยหวังผล ของคะแนนสูง ๆ ไม่ใช่เป็นเพื่อเพิ่มความสนใจ โดยตรงเฉพาะของนักศึกษาผลของการศึกษา กลายเป็นเครื่องปั่นทอนให้นักศึกษาขาดความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองทัศนคติของ นักศึกษา จึงกลายเป็นสภาพจากการแสวงหาความรู้ที่ตนเองควรหรือต้องการจะมีความรู้นั้น ๆ เปลี่ยนไปเพื่อผลของการจะได้จานวน หน่วยกิตให้ครบเพียงพอที่จะได้รับปริญญาโดยเร็ว ๆ ใน สุดท้ายของการศึกษาเท่านั้นเอง อิทธิพลทางสังคมและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ความสัมพันธ์กับครู เพื่อร่วมขั้นเรียนและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษามี ผลกระทบสาคัญในการเสริมสร้างปรุงแต่ง ทัศนคติและประสบการณ์ และโดยเฉพาะคุณลักษณะ และความสามารถในความคิดเชิงสร้างสรรค์ ครู อาจารย์ รับทําโปรเจค.net