SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 161
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การกระจายสินค้ าและการขนส่ งสินค้ าประเภทโสตทัศนูปกรณ์ ก(ซีด)กก
                                                                    ี
              ผ่ านศูนย์ กระจายสินค้ าก:กกรณีศกษาร้ านกBookdSmile
                                              ึ




หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหนฤมลกกกกกกสุวรรณสมบัติ
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกมนัสพิชากกกกเรืองสวัสดิ์
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกวิกาญดากกกกเจริญสุข




           การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองหเสนอเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา
                   หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
                                  สาขาบริหารธุรกิจ
                                  พฤษภาคมส2551
                       ลิขสิทธิ์เป็ นของมหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ ที่ ป รึ กษาและผู้ อํ า นวยการศู น ย์ วิ ท ยบริ การ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร
กรุ งเทพมหานคร ได้ พิจารณาการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยเอง เรื่ อง “การกระจายสินค้ าและการขนส่ง
สินค้ าประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี)กผ่านศูนย์กระจายสินค้ า” : กรณีศึกษาร้ านกBook Smile
เห็ น สมควรรั บ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลัก สูต รปริ ญ ญา บริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบัณ ฑิ ต
สาขาวิชาบริ หารธุรกิจ ของมหวิทยาลัยนเรศวร


                      ………………………………………………………
                      (ผู้ ช่วยศาสตราจารย์กดร.กจักรกฤษณ์กกดวงพัสตรา)
                                        อาจาย์ที่ปรึกษา


                       ………………………………………………………

                                   (ดร.กศรี สดา จงสิทธิผล)
                                             ุ
               ผู้อํานวยการศูนย์วทยบริการ มหาวิทยลัยนเรศวร กรุงเทพมหานคร
                                 ิ
                                      พฤษภาคม 2551
ประกาศคุณูปการ

             การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองฉบับนี ้กสําเร็จลงได้ ด้วยความกรุณาในการให้ คําปรึกษาและ
แนะนําอย่างยิ่งจากกผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.dจักรกฤษณ์กดวงพัสตรากอาจารย์ที่ปรึกษาผู้จดทํา       ั
ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างยิ่ง
             ขอขอบพระคุณกผู้ช่วยศาสตราจารย์กดร.กธนวรรณ แสงสุวรรณ อาจารย์ประจําภาค
การศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร ศูนย์วิทยบริ การกรุ งเทพมหานครกที่กรุ ณาให้ คําปรึ กษาแนะนํา
แก้ ไขและตรวจสอบเครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษาค้ นคว้ า จนทําให้ การศึกษาครังนี สมบูรณ์ และมี
                                                                                  ้ ้
คุณค่ากก
             ขอขอบพระคุณคณาจารย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ศูนย์วิทยาการกรุ งเทพมหานคร ทุก
ท่านที่ได้ ประสิทธิประสาทวิชาความรู้ ทงมวลแก่ผ้ ศึกษากตลอดจนเจ้ าหน้ าที่ผ้ ประสานงานทุกท่า
                                         ั้          ู                          ู
นกที่ได้ คอยอํานวยความสะดวกอย่างดียิ่งตลอดเวลาในการศึกษา
             ขอขอบพระคุณผู้บริ หารศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองกตลอดจนเพื่อนพนักงานทุกท่าน
ที่ได้ สละเวลาในการให้ สมภาษณ์ และสอบถามข้ อมูล จนทําให้ ผ้ ูวิจยสามารถเก็บรวบรวมข้ อมูล
                           ั                                           ั
สําเร็จลุลวงได้ ด้วยดี
           ่
             ขอขอบพระคุณ บิ ด ามารดาที่ เ ป็ นกํ า ลัง ใจประสิ ท ธิ ป ระสาทวิ ช าและสนับ สนุ น ให้
การศึกษาสําเร็ จลุลวงได้ ด้วยดี
                     ่
             คุณค่าและประโยชน์ อนพึงมีจากการศึกษาค้ นคว้ าฉบับนี ้ คณะผู้ศึกษาค้ นคว้ าขอมอบ
                                    ั
และอุทิศแด่ผ้ มีพระคุณทุกๆกท่าน
                ู

                                                                 นฤมลกกกกกกกกสุวรรณสมบัติ
                                                                 มนัสพิชากกกกกกเรื องสวัสดิ์
                                                                 วิกาญดากกกกกกเจริญสุข
ชื่อเรื่อง      การกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี)กก
                ผ่านศูนย์กระจายสินค้ ากรณีศกษาร้ าน BookdSmile
                                            ึ
ผู้ค้นคว้ า     นฤมล สุวรรณสมบัต,ิ มนัสพิชา เรื องสวัสดิ,์ วิกาญดา เจริญสุข
ที่ปรึกษา       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา
ประเภทสารนิพนธ์ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง บธ.ม. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ,
                มหาวิทยาลัยนเรศวร,ก2551
คําสําคัญ       …………………………………………………………………………….

                                         บทคัดย่ อ

            การศึกษาครังนี ้มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภท
                         ้ ั
โสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ผ่านศูนย์กระจายสินค้ า กรณีศกษาร้ าน Book Smile เพื่อนํามาวิเคราะห์ถึง
                                                    ึ
ปั ญหาและอุปสรรคของศูนย์กระจายสินค้ า และเพื่อเป็ นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิ ภาพของ
กระบวนการกระจายสินค้ าและการขนส่งของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง เป็ นแนวคิดทฤษฎีที่
เกี่ยวข้ องกับหลักการด้ านโลจิสติกส์ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็ นวิธีเชิงพรรณา
            ผลการศึกษา การกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าผ่านศูนย์กระจายสินค้ า กิจกรรม
ด้ านการรับสินค้ า คือ การพยากรณ์ความต้ องการ กระบวนการสังซื ้อ และการติดต่อสื่อสาร
                                                                       ่
ด้ านโลจิสติกส์ กิจกรรมด้ านการจัดเก็บสินค้ า คือ การบริ หารคลังสินค้ า และการหีบห่อและการ
บรรจุภณฑ์ กิจกรรมด้ านการจัดกระจายสินค้ า คือ อะไหล่และการให้ บริ การ กิจกรรมด้ านการ
         ั
ขนส่ง คือ การจราจรและการขนส่ง การจัดการรับคืน โลจิสติกส์ย้อนกลับ การเลือกสถานที่ตง้ั
ของคลังสินค้ า ทัง 4 กิจกรรมหลัก เป็ นหน้ าที่หลักของการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าของ
                    ้
ศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง
            ข้ อเสนอแนะในการศึกษา 1. ควรที่จะใช้ อปกรณ์มือถือ (Handheld) เข้ ามารวบรวม
                                                       ุ
ข้ อมูลแทนการใช้ กระดาษ ซึงทําให้ สะดวกในการจัดเก็บข้ อมูล 2.กควรมีการอบรมเจ้ าหน้ าที่ในแต่
                          ่
ละแผนกของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง 3. ควรมีการกําหนดรอบเวลาในการคืนลัง Break
case ให้ ชดเจน 4.กกําหนดให้ มีการใช้ ลง Break case ที่มีขนาดพอเหมาะกับจํานวนสินค้ าที่บรรจุ
          ั                           ั
ในลังสินค้ า 5. กําหนดให้ ร้าน Book Smile แต่ละสาขา มีการประเมินผลการทํางานของศูนย์
กระจายสินค้ าและผู้รับเหมาขนส่ง
สารบัญ

บทที่                                                  หน้ า

กกก1ddบทนํา                                             01
กกกกกกกกกความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา              01
กกกกกกกกกวัตถุประสงค์ของการวิจย   ั                     02
กกกกกกกกกขอบเขตของการศึกษา                              03
กกกกกกกกกกรอบแนวคิดในการศึกษา                           03
กกกกกกกกกประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ                     03
กกกกกกกกกนิยามคําศัพท์                                   4
กกกกกก
กกก2ddเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง                    6
กกกกกกกกกความหมายของการจัดการโลจิสติกส์                  6
กกกกกกกกกปรัชญาในการจัดการด้ านโลจิสติกส์ 7R             9
กกกกกกกกกการรับสินค้ าและการเก็บเข้ าที่                11
กกกกกกกกกการติดต่อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์                12
กกกกกกกกกกระบวนการสังซื ้อ่                             19
กกกกกกกกกหน้ าที่ของคลังเก็บสินค้ า                     30
         การหีบห่อและบรรจุภณฑ์ ั                        53
         คลังกระจายสินค้ าและศูนย์กระจายสินค้ า         57
         การจราจรและการขนส่ง                            62
         การบริ การลูกค้ า                              78
         การเลือกที่ตงโรงงานและทําเลที่ตงคลังสินค้ า
                       ั้                ั้             85
         งานวิจยที่เกี่ยวข้ อง
                 ั                                      86

กกก3ddวิธีดาเนินการวิจย
           ํ           ั                                89
กกกกกกกกกระเบียบวิธีวิจย ั                              89
กกกกกกกกกวิธีเก็บรวบรวมข้ อมูล                          89
กกกกกกกกกประชากรและกลุมตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจย
                           ่                  ั         89
สารบัญ(ต่ อ)

บทที่                                                                  หน้ า

       ก เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษา                                  91
กกกกกกกกกการวิเคราะห์ข้อมูล                                            91

กกก4ddผลการศึกษา                                                        92
กกกกกกกกกส่วนที่ก1กการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารด้ านการกระจายสินค้ า
                   กกกและการขนส่งของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง         92
กกกกกกกกกส่วนที่ก2กการศึกษาได้ รับบริ การของร้ าน Book Smile ในด้ าน
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ า
                      ของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง                   115
กกกกกกกกก
กกก5ddบทสรุ ป                                                          119
กกกกกกกกกสรุปผลการศึกษา                                                119
       กกอภิปรายผล                                                     125
กกกกกกกกกข้ อเสนอแนะในการศึกษา                                         128
กกกกกก
กกกกกกกก
บรรณานุกรม                                                             129

ภาคผนวก                                                                132

ประวัตผ้ ูศึกษาค้ นคว้ า
      ิ                                                                148
สารบัญตาราง

ตาราง                                         หน้ า

กก1กแสดงการเปรี ยบเทียบองค์ประกอบทางเทคนิค    068
กก2กแสดงการเปรี ยบเทียบการลงทุนและต้ นทุน     069
กก3กแสดงการเปรี ยบเทียบการดําเนินงาน          069
กก4กแสดงแบบการจัดส่งสินค้ า                   108
  5กแสดงกิจกรรมด้ านการรับสินค้ า             119
กก6 แสดงกิจกรรมด้ านการจัดเก็บสินค้ า         121
กก7กแสดงกิจกรรมด้ านการจัดกระจายสินค้ า       122
กก8กแสดงกิจกรรมด้ านการขนส่ง                  122
กก
สารบัญภาพ

ภาพ                                                                          หน้ า

กก 1แกรอบแนวความคิด                                                           003
กกd2กองค์ประกอบการจัดการโลจิสติกส์                                            08
กกd3กองค์ประกอบของ DEI                                                         15
กก 4กความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ การจัดซื ้อมีประสิทธิภาพ         21
กกก5กระเบียบวิธีปฏิบตในการจัดซื ้อ
                     ัิ                                                       026
กกก6กระบบสารสนเทศที่สาคัญ 3 ส่วนซึงเกี่ยวข้ องกับการไหลของสินค้ าทางกายภาพ
                           ํ           ่                                       29
กกก7กการวิเคราะห์การสัมผัสสินค้ าสําหรับวิธีปฏิบตในการรับสินค้ าแบบต่างๆ
                                                    ัิ                        032
กก 8กกระบวนการไหลของระบบการจัดการค้ าปลีก                                     093
กกก9กพยากรณ์ความต้ องการ Demand Forecast                                      094
กก 10กการคํานวณการสังสินค้ าเข้ าศูนย์กระจายสินค้ า
                         ่                                                    095
กกก11กการไหลของการรับสินค้ า                                                   96
กกก12กEDI Information Flow                                                     97
กกก13กEDI Information Flow ย้ อนกลับ                                           98
กกก14กการไหลของการจัดเก็บสินค้ า                                               99
กกก15กการจัดเก็บสินค้ าในคลังสินค้ า                                          101
   16กรถโฟร์ คลิฟท์ (Fork lift)                                               101
กกก17กแสดงตัวอย่าง สัญลักษณ์ Barcode และเครื่ องมือ Handheld                  103
กกก18กกระบวนการกระจายสินค้ าไปยังร้ านสาขา                                    104
กกก19กกระบวนการกระจายสินค้ าของร้ านสาขา                                      105
   20กการจัดเตรี ยมสินค้ าเพื่อกระจายสินค้ าให้ กบร้ านสาขา
                                                  ั                           106
กกก 21กลังบรรจุสนค้ าเพื่อการขนส่งหรื อเรี ยกว่า ลัง Break case
                 ิ                                                            107
กกก 22กการไหลของการขนส่ง                                                      107
กกก 23กรถขนส่งที่จดส่งให้ ร้านสาขาไม่เกิน 5 สาขา
                   ั                                                          109
กกก 24กการขนส่งตามเส้ นทางหลวง                                                112
สารบัญภาพ(ต่ อ)

ภาพ                                                     หน้ า

กกก 25กพื ้นที่ศนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง
                ู                                        112
กกก 26กดัชนีชี ้วัดการดําเนินงานของศูนย์กระจายสินค้ า    113
กกก 27กระบบการดําเนินงานในธุรกิจค้ าปลีก                 118
บทที่กก1

                                                   บทนํา
ความสําคัญและความเป็ นมาของปั ญหา
              ธุรกิจในโลกปั จจุบนกมีการขยายตัวของการใช้ จ่ายด้ านอุปโภคบริ โภคของภาคเอกชน
                                    ั
ภายในประเทศ การดําเนินธุรกิจแต่ละสายงานมุงที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์คณภาพและการบริ การให้
                                                       ่                                  ุ
ก้ า วทัน ต่อ การแข่ ง ขัน ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ ซึ่ง มี ก ารแข่ง ขัน ที่ สูง ขึน ทํ า ให้ ต้อ งมี ก ารนํ า
                                                                                            ้
เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ ามาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพของแต่ละธุรกิจ การจัดการทางโลจิ
สติ ก ส์ เ ป็ นอี ก ระบบหนึ่ ง ที่ ส ามารถนํ า มาปรั บ ใช้ ใ นธุ ร กิ จ กเพื่ อ ให้ เ กิ ด อรรถประโยชน์ ต่ อ การ
ดําเนินงานซึงจะช่วยในการประหยัดต้ นทุนและสามารถเพิ่มมูลค่าให้ กบสินค้ า ด้ วยเหตุนี ้ หลาย
                 ่                                                                    ั
ธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ จึงหันมาให้ ความสนใจเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์ ซึงเป็ นส่วนหนึ่ง        ่
ของระบบห่วงโซ่อปทานที่มีกระบวนการในการวางแผนกการนําเสนอและการควบคุมการไหลทังไป
                      ุ                                                                                       ้
และกลับ การเก็บรักษาสินค้ ากบริ การและข้ อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลที่เชื่อมโยง
ตังแต่จดเริ่ มต้ นจนถึงจุดของการบริ โภคเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า
   ้ ุ
              ดังนัน หัวใจสําคัญในการจัดการโลจิสติกส์ก็คือ “ระบบ” ที่ต้องมีการวางแผน เพื่อนํา
                    ้
กิจกรรมต่างไปปฎิบติตามแผนงานที่ได้ วางไว้ และต้ องสามารถควบคุมปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง
                         ั
ได้ ก สําหรับกิจกรรมทางโลจิสติกส์ การกระจายสินค้ าผ่านศูนย์ กระจายสินค้ านับเป็ นอีกหนึ่ง
รูปแบบในการขนถ่ายสินค้ า ซึงจะช่วยในการเพิ่มคุณค่าของสินค้ ามากขึ ้นและสามารถจัดส่งสินค้ า
                                      ่
ให้ ลกค้ าตามที่ต้องการโดยให้ กําไรสูงสุดกกิจกรรมในการขนส่งเป็ นอีกกิจกรรมหนึงที่มีความสําคัญ
      ู                                                                                          ่
ของทุกภาคธุรกิจที่จะต้ องมีการควบคุมโครงสร้ างต้ นทุนกในขณะที่จะต้ องสร้ างผลประกอบการใน
แง่ ข องเม็ ด เงิ น ให้ ออกมาสูง ด้ ว ยกการพัฒ นาทางด้ า นการขนส่ ง ให้ มี ค วามเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ จึงเป็ นปั จจัยสําคัญในการแข่งขันทางธุรกิจ
              ธุรกิจหลายแห่งเริ่ มให้ ความสนใจในการนําระบบเทคโนโลยีโลจิสติกส์มาใช้ โดยเฉพาะ
บริ ษัทกซีพี ออลล์กจํากัดก(มหาชน) ที่มีศนย์กระจายสินค้ าเป็ นของตนเอง และได้ ดําเนินการ
                                                  ู
ขยายธุรกิจค้ าปลีกใหม่กโดยการเปิ ดร้ านจําหน่ายหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์กสื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์
(ซีดี) ที่มีสาระและความบันเทิงต่างๆ ภายใต้ ชื่อร้ าน “Book Smile” ที่ได้ นําระบบโลจิสติกส์มาใช้
ในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งถือเป็ นกิจกรรมหลักที่จะสร้ างคุณค่าให้ กบลูกค้ าและผู้จดส่งสินค้ าวัตถุดิบ
                                                                             ั                 ั
ขององค์กรหรื อบริ ษัท คุณค่าของโลจิกติกส์ที่แสดงอยูในรูปของเวลา สถานที่ ผลิตภัณฑ์และการ
                                                              ่
บริ การจะไม่เกิดคุณค่า หากในการดําเนินการขาดซึ่งความเหมาะสม เช่น สินค้ าที่สงหรื อผลิต               ั่
2




               สื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) นันถือเป็ นสื่ออีกประเภทหนึ่งที่ Book Smile ให้ ความ
                                                   ้
สนใจในการนําสื่อประเภทนี ้เข้ ามาจําหน่ายในร้ าน Book Smile ภายใต้ แนวคิดในการรวบรวมสื่อ
เพื่อสรรค์สร้ างความรู้และบันเทิงใกล้ บ้าน
               หากกล่าวถึง “โสตทัศนูปกรณ์” หลายคนอาจไม่ค้ นหู แต่ถ้ากล่าวถึง ซีดี (CD) ย่อมเป็ น
                                                                 ุ
ที่ร้ ูจกเข้ าใจกันทัวไป เนื่องจากสื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) เป็ นสื่อที่หลายๆ คนรู้ จกและใช้
        ั             ่                                                                    ั
สื่อประเภทนี ้ในชีวิตประจําวัน ดังนัน จึงเป็ นประเด็นที่ผ้ ศกษาค้ นคว้ า สนใจที่จะศึกษากระบวนการ
                                        ้                    ู ึ
ไหลของสินค้ าประเภทนีว่ามีกระบวนการและหลักการในการดําเนินการอย่างไรในกระบวนการ
                               ้
ด้ านโลจิสติกส์
               จากที่กล่าวมาเบื ้องต้ น ผู้ศกษาค้ นคว้ ามีความสนใจและเล็งเห็นถึงความสําคัญของการ
                                            ึ
บริ หารงานด้ านการกระจายสินค้ าและการขนส่งของศูนย์ กระจายสินค้ า เนื่องจากกระบวนการ
ดังกล่าวเป็ นการเพิ่มคุณค่า ให้ กับสินค้ าและสร้ างความได้ เปรี ยบเชิงการแข่งขัน (Competitive
Advantage) ให้ กบบริ ษัทเพื่อที่จะตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ ทนเวลา, สินค้ าปลอดภัย,
                        ั                                                   ั
สภาพสมบูรณ์ , การจัดสินค้ าจํานวนถูกต้ องและถูกสถานที่ จึงได้ ศึกษาการบริ หารการจัดการ
ด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ข องศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ าในการกระจายสิ น ค้ าและการขนส่ ง สิ น ค้ าประเภท
โสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ซึ่งอยู่ในธุรกิจการดําเนินการของ บริ ษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน) ที่มี
ร้ านสาขาทัวประเทศ
                ่

วัตถุประสงค์ ของการวิจย
                      ั
         1.กกเพื่อศึกษาวิธีการและแนวทางในการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภท
โสตทัศนูปกรณ์ก(ซีดี)กของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองไปยังร้ านกBook Smile
         2.ดดเพื่อวิเคราะห์ ถึงปั ญหาและอุปสรรคของศูนย์ กระจายสินค้ าบางบัวทองและร้ าน
Book Smile
         3.พพเพื่อเป็ นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการกระจายสินค้ าและการ
ขนส่งของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองไปยังร้ าน Book Smile
3

ขอบเขตของการศึกษา
         1.กกในการศึกษาครังนี ้กจะศึกษาเฉพาะระบบการกระจายและการขนส่งสินค้ าประเภท
                          ้
โสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองไปยังร้ าน Book Smile
         2.กกในการศึกษาครังนี ้เพื่อให้ ทราบถึงปั ญหาและอุปสรรคของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัว
                          ้
ทองและร้ าน Book Smile
         3.ดดระยะเวลาในการเก็บข้ อมูลและทําการศึกษา คือ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 ถึง
เดือนเมษายน พ.ศ. 2551

กรอบแนวคิดในการศึกษา


   กรอบแนวคิดในการศึกษา

                         ศูนย์ กระจายสินค้ าบางบัวทอง

                    กิจกรรมการรั บสินค้ า           สินค้ าและจํานวนถูกต้ อง
                    กิจกรรมการจัดเก็บสินค้ า        สินค้ าปลอดภัย
                     กิจกรรมกระจายสินค้ า           จัดส่ งตรงเวลา
                     กิจกรรมการขนส่ ง               สถานที่ถูกต้ อง




                         ภาพ 1กกแสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ
             ี
           1.ดดได้ เรี ยนรู้ ถึงกระบวนการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าผ่านศูนย์กระจายสินค้ า
ซึงเป็ นส่วนหนึงของระบบการจัดการด้ านโลจิสติกส์
  ่            ่
4

          2.พพเพื่อให้ ผ้ ูประกอบการธุรกิจจําหน่ายสินค้ าโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ได้ นําระบบการ
กระจายและการขนส่งสามารถนํ าไปปรับใช้ กเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ รวดเร็ ว
ยิ่งขึ ้น
          3.ดดสามารถนําผลการศึกษาครังนี ้ไปประยุกต์ใช้ สําหรับงานวิจยอื่นที่เกี่ยวข้ องได้
                                         ้                          ั

นิยามคําศัพท์
             ในการศึกษาผู้ทําการศึกษาได้ กําหนดนิยามศัพท์ ไว้ ดงนี ้
                                                                   ั
             การบริ หารการจัดการระบบโลจิสติกส์ (Logistics Management) หมายถึง กระบวนการ
ในการวางแผน ดําเนินการและควบคุมประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลในการเคลื่อนย้ าย การ
จัด เก็ บ สิน ค้ า บริ ก ารและสารสนเทศจากจุด เริ่ ม ต้ น ไปยัง จุด ที่ มี ก ารใช้ ง าน โดยมี เ ปาหมายที่
                                                                                                ้
สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้บริโภค
             การจัดส่ง (Logistics ) หมายถึง กระบวนการในการเคลื่อนย้ ายและเก็บรักษาวัตถุดิบ
สินค้ าระหว่างทํา สินค้ าที่ผลิตเสร็ จ รวมทังข้ อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้ องตังแต่แหล่งผลิตจนถึงแหล่ง
                                              ้                                ้
ผู้บริ โภค
             ศูนย์กระจายสินค้ า (Distribution Center) หมายถึง จุดพักและรวบรวมสินค้ าที่ผ้ ผลิตส่ง ู
สินค้ าและทําหน้ าที่การกระจายสินค้ าไปยังร้ านสาขา
             ร้ าน Book Smile หมายถึง สถานที่จําหน่ายสินค้ าประเภทสิ่งพิมพ์ อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องเขียน สื่อสาระความบันเทิงต่างๆ เช่น นิตยสาร พ็อคเก็ตบุ๊ค เทปเพลง ซีดี
วีซีดี วีดีทศน์ตางๆ รวมทังการทําธุรกรรม E-Business
             ั ่              ้
             โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง สินค้ าสื่อสาระความบันเทิงต่างๆ เช่น ซีดี วีซีดี เทปเพลง วี
ดีทศน์ตางๆ
    ั ่



           การขนส่ ง หมายถึ ง การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า จากที่ ห นึ่ ง ไปยัง อี ก ที่ ห นึ่ ง ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด
อรรถประโยชน์ด้านสถานที่และอรรถประโยชน์ด้านเวลา เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ กบสินค้ า    ั
           พาเลต (Pallet) หมายถึง โครงไม้ หรื อลังโปร่ งๆ มีความแข็งแรง ใช้ สําหรับรองรับพัสดุ
หีบห่อหรื อบรรจุพสดุบางชนิด เพื่อสะดวกในการขนเคลื่อนย้ ายโดยเครื่ องทุ่นแรงและวางซ้ อนกัน
                   ั
ได้ สง แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ชนิดแบน (Flat Pallet Type) และชนิดลังโปร่ง (Box Pallet Type)
     ู
5

           ลัง Break case หมายถึง ภาชนะหรื อลังบรรจุสินค้ า ลักษณะเป็ นพลาสติกใช้ สําหรับ
บรรจุและขนย้ ายสินค้ า เพื่อความเป็ นระเบียบและสะดวกสําหรับการขนส่ง
           รหัสแท่ง (Barcode) หมายถึง สัญลักษณ์ ที่อยู่ในรู ปแท่ง สามารถอ่านได้ ด้วยเครื่ อง
Scanner รหัสแท่งประกอบด้ วย แท่งที่มีสีเข้ ม และช่องว่างที่มีสีอ่อน แท่งเหล่านี ้เป็ นตัวแทนของ
ตัวเลข หรื อตัวอักษร ข้ อมูลทุกอย่างจะถูกเก็บไว้ ในฐานข้ อมูล เมื่อมีกิจกรรมใดๆ เกิดขึ ้นระบบจะ
จัดการโดยอัตโนมัตทนที
                    ิ ั
           รถยก (Fork Lift) หมายถึง รถยกสินค้ า โดยการนําเครื่ องจักรกลสองชนิดมารวมกัน
คือ เครนและรถบรรทุก ซึงเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ สําหรับการยกสินค้ าเพื่อการจัดเก็บสินค้ าแบบพาเลต
                           ่
ซึงจะมีหลายประเภท การใช้ งานขึ ้นอยูกบประเภทการจัดเก็บของแต่ละสถานที่จดเก็บ
  ่                                    ่ ั                                       ั
           อุปกรณ์มือถือ (Handheld) หมายถึง อุปกรณ์สงข้ อมูลด้ วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radio
                                                            ่
Data Terminals : RDTs) อุปกรณ์มือถือจะเข้ ามาช่วยในการจัดการสินค้ าคงคลังและพาหนะซึงจะ      ่
รับข้ อมูลผ่านคลื่นความถี่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ซึงอุปกรณ์นี ้จะมีแบบติดตังอยู่บนรถยก (Lift-
                                                      ่                        ้
Truck Mounted) ด้ วย
           Window Time หมายถึง การระบุเวลาในการจัดส่งสินค้ าที่ได้ กําหนดตามข้ อตกลง
บทที่กก2

                               เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง

            จากกรณีศึกษาในการค้ นคว้ าครังนี ้เพื่อการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภท
                                                ้
โสตทัศ นูป กรณ์ ผ่ า นศูน ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ทางคณะผู้ศึก ษาค้ น คว้ า จึ ง ใคร่ ข อนํ า เสนอทฤษฎี ที่
เกี่ยวข้ องในเรื่ องของการค้ นคว้ าในครังนี ้กโดยแบ่งออกเป็ นดังนี ้
                                        ้
            1.กกแนวคิดเกี่ยวกับโลจิสติกส์
            2.กกกิจกรรมโลจิสติกส์ที่มีความเกี่ยวข้ องกับการกระจายสินค้ าและการขนส่ง
            3.กกผลงานการศึกษาที่เกี่ยวข้ อง

ความหมายของการจัดการด้ านโลจิสติกส์
(กมลชนกกสุทธิวาทนฤพุฒ,ิ กศลิษาดภมรสถิตย์กและจักรกฤษณ์กดวงพัสตรา,ก2547,กหน้ าก2)
ได้ กล่าวถึงกความหมายของการจัดการด้ านโลจิสติกส์
            โลจิสติกส์ถกเรี ยกได้ หลายๆกชื่อดังนี ้กก
                       ู
            1.กกโลจิสติกส์ทางธุรกิจ (Business Logistics)
            2.กกการจัดการช่องทาง (การจําหน่าย) (Channel Management)
            3.กกการกระจาย (สินค้ า) (Distribution)
            4.กกโลจิสติกส์ทางอุตสาหกรรม (IndustrialdLogiatics)
            5.กกการจัดการโลจิสติกส์ (LogisticsแManagenent)
            6.กกการจัดการวัสดุ (MeterialsdManagement)
            7.กกการกระจายวัตถุ (PhysicaldDistribution)
            8.กกระบบการตอบสนองที่รวดเร็ว (Quick-ResponsedSystems)
            9.กกการจัดการโซ่อปทาน (Supply ChaindManagement)
                               ุ
            10.กการจัดการพัสดุ (SupplydManagement)
            ความหมายของคําต่างๆกเหล่านี ้ในภาพรวมแล้ ว คือ การบริ หารกระบวนการไหล(flow)
ของสินค้ าหรื อวัตถุดิบจากจุดเริ่ มต้ นไปยังจุดที่มีการใช้ สินค้ าหรื อวัตถุดิบนัน และในบางกรณีก็ไป
                                                                                 ้
ยังจุดที่ทําลายสินค้ านัน ซึงกก
                         ้ ่
            ThedCouncildofdLogisticsdManagementd(CLM) ซึ่ ง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ท า ง วิ ช า ชี พ
ทางด้ านโลจิสติกส์ของประเทศสหรัฐอเมริ กากได้ ให้ คําจํากัดความของกก
7

             การจัดการด้ านโลจิสติกส์ กคือ ”กระบวนการในการวางแผนดําเนินการและควบคุม
ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลในการเคลื่อนย้ ายกการจัดเก็บสินค้ ากบริ การและสารสนเทศจาก
จุดเริ่มต้ นไปยังจุดที่มีการใช้ งานกโดยมีเปาหมายที่สอดคล้ องกับความต้ องของผู้บริโภค
                                              ้
             (วิทยากกสุหฤทดํารง,ก2550,กหน้ าก90)กกล่าวถึง “โลจิสติกส์กคือการไหลทุกสิ่งทุก
อย่างทังเงินดคนดความรู้ เข้ ามาเป็ นเรื่ องของการใช้ ความคิดในการใช้ ทรัพยากรเพื่อตอบสนอง
           ้
ความต้ องการของลูกค้ าอย่างมีประสิทธิภาพและทําให้ เราสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงได้ ”
             (อรุ ณ กบริ รั ก ษ์ , 2537, หน้ า 11) กล่ า วไว้ ว่ า กโลจิ ส ติ ก ส์ เ ป็ นกิ จ กรรมเกี่ ย วกับ การ
เคลื่อนย้ ายสินค้ าและบริ การจากผู้ผลิตไปยังผู้บริ โภคกขันตอนการเตรี ยมวัตถุดบและการเก็บสินค้ า
                                                                ้                            ิ
คงคลังด้ วย
             (อรุ ณ กบริ รั ก ษ์ , ก2537,กหน้ า ก18)กกล่า วไว้ ว่ า ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ เ ป็ นกระบวนการที่
เกี่ ยวข้ องกับการบริ หารกการเคลื่อนย้ ายและการเก็บวัตถุดิบกสินค้ าระหว่างการผลิตและสินค้ า
สําเร็จรูปกรวมทังข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องจากจุดกําเนิด ผ่านขันตอนการผลิตและการกระจายสินค้ าจนถึง
                    ้                                         ้
การใช้ งานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกโดยมีวตถุประสงค์ที่จะสร้ างความพึงพอใจให้ แก่
                                                                  ั
ลูกค้ า
8

                                  การปฏิบตการด้ านการจัดการ
                                         ัิ
ปั จจัยนําเข้ า          การวางแผน     การทําให้ เป็ นผล การควบคุม                         ผลได้ ของ
ของโลจิสติกส์                                                                              ของโลจิสติกส์


ทรัพยากรธรรมชาติ                                                                               ทรัพยากรธรรมชาติ
                  วัตถุดบ ิ                การจัดการโลจิสติกส์
  (ที่ดน อุปกรณ์
       ิ                                                                                         (ที่ดน อุปกรณ์
                                                                                                      ิ
    เครื่ องจักร) สินค้ า                วัตถุดิบ สินค้ า สินค้ า
                                                                                                   เครื่ องจักร)
                  ลูกค้ า                         ระหว่างทํา
 ทรัพยากรบุคคล                                                                                  ทรัพยากรบุคคล
    ทรัพยากรการเงิน                                                                             ทรัพยากรการเงิน
        ข้ อมูล                                                                                        ข้ อมูล



                                 กิจกรรมด้ านโลจิสติกส์
-   การบริ การลูกค้ า                                - การเลือกที่ตงโรงงานและคลังสินค้ า
                                                                     ั้
-   การพยากรณ์ความต้ องการ                           - การจัดซื ้อจัดหา
-   การสื่อสารในการกระจายสินค้ า                     - การหีบห่อ
-   การควบคุมสินค้ าคลัง                             - การจัดการสินค้ าส่งคืน
-   การยกขนวัสดุ                                     - การทําลายและการนํากลับมาใช้ ใหม่
-   กระบวนการสังซื ้อ
                 ่                                   - การจราจรและการขนส่ง
-   การสนับสนุนอะไหล่และบริ การ                      - คลังสินค้ าและการเก็บรักษาสินค้ า

                      ภาพ 2กกแสดงองค์ ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์

             จากภาพแสดงให้ เห็นว่า โลจิสติกส์นนขึ ้นอยู่กับทรัพยากรธรรมชาติกทรัพยากรมนุษย์
                                                       ั้
การเงิน และสารสนเทศเป็ นข้ อมูลนําเข้ าโดยผู้ขายหรื อผู้จดส่งจะเป็ นผู้จดหาวัตถุดิบ โลจิสติกส์จะ
                                                                      ั                 ั
เข้ า มาสู่ก ระบวนการจัด การตัง แต่ก ระบวนการจัด หาวัต ถุดิ บ การปฏิ บัติ ง านระหว่ า งทํ า การ
                                    ้
ดํ า เนิ น การและสิ น สุด ลงเมื่ อ ทํ า การผลิ ต สิ น ค้ า ได้ สํ า เร็ จ กผู้บ ริ ห ารจะเป็ นผู้เ ตรี ย มกรอบการ
                    ้
ปฏิบติงานด้ านโลจิสติกส์ตงแต่การวางแผนการปฏิบติกและการควบคุมผลได้ ของระบบโลจิสติกส์
       ั                     ั้                                ั
คือกความได้ เปรี ยบในเชิงการแข่งขันกเวลา และสถานที่ ประสิทธิ ภาพในการจัดส่งสินค้ าไปยัง
9



             ลอจิสติกส์ (นายโกศล ดีศีลธรรม และสุภาวดี วิทยะประพันธ์,ก2547, หน้ า 128) ลอจิ
สติก ส์ นัน เป็ นการรวมกิ จกรรมตัง แต่การได้ มาซึ่ง วัตถุดิบ (การจัดหา) การขนย้ ายวัตถุดิบมาสู่
           ้                         ้
สถานที่ผลิตสินค้ า(การผลิต)และการกระจายสินค้ า (นําสินค้ าไปสูลกค้ าหรื อผู้ใช้ สนค้ า)
                                                                   ่ ู              ิ
             1.กกการวางแผนความต้ อ งการในกระจายสิ น ค้ า กซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกับ การสนองความ
ต้ องการของลูกค้ า โดยมีการรับและจัดเก็บสินค้ าด้ วยต้ นทุนที่ตํ่าสุดที่เป็ นไปได้ โดยส่วนใหญ่แล้ ว
การกระจายสินค้ าจะถูกกําหนดเงื่อนไขกความต้ องการในส่งมอบสินค้ าไปยังลูกค้ า
             2.กกการวางแผนทรั พ ยากรในการกระจายสิ น ค้ า เป็ นการขยายการวางแผนความ
ต้ องการในการกระจายสินค้ าไปสู่แผนการใช้ ทรัพยากรที่สําคัญๆ ในระบบการกระจายสินค้ าเช่น
พื ้นที่คลังสินค้ า แรงงาน, เงิน,, รถบรรทุก, รถขนย้ ายกและอื่นๆ
             3.กกสินค้ าคงคลังสําหรับการกระจายกเป็ นการรวมสินค้ าคงคลังทุกแห่งในระบบกระจาย
สินค้ ากกซึ่งส่วนใหญ่แล้ วจะเป็ นสินค้ าคงคลังสําเร็ จรู ปที่ผลิตแล้ วเสร็ จและพร้ อมส่งมอบในบาง
กรณีชิ ้นส่วนรอการประกอบและชิ ้นส่วนที่ประกอบเสร็ จสิ ้นแล้ วกก็สามารถเป็ นส่วนหนึ่งของสินค้ า
คงคลังสําหรับการกระจายได้ กซึ่งส่วนใหญ่แล้ วสินค้ าคงคลังมักจะมีมลค่าสูง เพราะมีเปาหมาย
                                                                           ู               ้
หลักกคือจะต้ องจัดการให้ สนค้ าคงคลังเหล่านี ้มีการเคลื่อนย้ ายผ่านระบบกระจายสินค้ าให้ เร็ วที่สด
                               ิ                                                                 ุ
เท่าที่จะเป็ นไปได้

ปรั ชญาในการจัดการด้ านโลจิสติกส์ 7Rกก
        1.กกวัตถุดบถูกต้ อง (RightdMaterials)
                   ิ
        2.กกปริ มาณที่ถกต้ อง (RightdQuantity)
                                  ู
        3.กกเวลาที่ถกต้ อง (RightdTime)
                        ู
        4.กกสถานที่ที่ถกต้ อง (RightdPlace)
                                ู
        5.กกแหล่งที่ถกต้ อง (RightdSource)
                            ู
        6.กกบริ การที่ถกต้ อง (RightdService)
                              ู
        7.กกราคาที่ถกต้ อง (RightdPrice)
                          ู
        (อรุ ณกบริ รัก ษ์ , ก2537,กหน้ า 18) กล่า วถึง กิ จ กรรมทางโลจิสติก ส์ นันประกอบด้ ว ย
                                                                                 ้
กิจกรรมหลายอย่างกซึงแต่ละกิจกรรมนับเป็ นองค์ประกอบของระบบที่ต้องมีการประสานให้ แต่ละ
                      ่
กิจกรรมสามารถทํางานสอดคล้ องกันอย่างมีประสิทธิภาพและมิอาจละเลยให้ กิจกรรมใดกิจกรรม
10



              กิจกรรมหลัก (KeydActivities) เป็ นกิจกรรมที่ปรากฎอย่างสมํ่าเสมอและเป็ นกิจกรรมที่
มีความสัมพันธ์กนอย่างสมบูรณ์ ประกอบด้ วย
                     ั
              1.กกการกํ า หนดการให้ บ ริ ก ารแก่ ลูก ค้ า นับ เป็ นกิ จ กรรมที่ ต้อ งดํ า เนิ น การควบคู่กับ
การตลาดเพราะมีความสัมพันธ์ กนโดยตรง ทังนี ้จะต้ องมีการตังมาตรฐานการให้ บริ การด้ วยว่าจะ
                                        ั             ้                ้
มีบริ การใดบ้ างเสนอแก่ลกค้ า  ู
              2.ดดการขนส่ง (Transportation) นับเป็ นกิจกรรมที่มีความจําเป็ นและเป็ นต้ นทุนส่วนที่
สําคัญที่ สุด ซึ่งกิจกรรมด้ านการขนส่งที่ผ้ ูบริ หารต้ องคํานึงถึง ได้ แก่ การเลือกวิธีการขนส่งการ
รวบรวมสินค้ าก่อนทําการขนส่ง การกําหนดเส้ นทางการขนส่ง การวางแผนด้ านเวลาที่ใช้ ในการ
ขนส่ง การเลือกเครื่ อ งมื อ หรื ออุปกรณ์ ที่ ใช้ สํ า หรั บ การขนส่ง รวมทัง การวางแผนการจํ า หน่า ย
                                                                            ้
(DistributiondPlanning) ซึ่ง เป็ นการเตรี ย มงานและเตรี ย มการปฏิ บัติ ง านเกี่ ย วกับ การจํ า แนก
แจกจ่ายและการจัดส่ง (Handing) เป็ นงานที่ เกี่ ยวข้ องกับการนํ าส่ง วัตถุดิบ หรื อผลิตภัณฑ์ ใน
ลักษณะที่เหมาะสมไม่วาจะจัดส่งอย่างไรในปริมาณเท่าไร
                            ่
              3.ดดการบริ หารสินค้ าคงคลัง (InventorydManagement) เป็ นการจัดการให้ ผลิตภัณฑ์
มีขายในตลาดโดยไม่ขาดแคลนและอยู่ในปริ มาณที่เหมาะสมคือ ไม่มากหรื อน้ อยเกินไปนอกจากนี ้
ยังต้ องมีการคาดคะเนยอดขาย (SaledForecasting) เนื่องจากยอดขายที่เกิดขึ ้นจะเกี่ ยวข้ องกับ
การจัดเตรี ยมสินค้ าคงคลังให้ เหมาะสม ซึ่งถ้ าเกินความต้ องการย่อมก่อให้ เกิ ดต้ นทุนการรักษา
ขณะที่ถ้าไม่เพียงพอกับความต้ องการก็จะก่อให้ เกิดการเสียโอกาสในการจําหน่าย
              4.กกกระบวนการสังซื ้อ (OrderdProcessing) นับเป็ นกิจกรรมสุดท้ ายของกิจกรรมหลัก
                                    ่
ในระบบโลจิสติกส์ โดยทําหน้ าที่ในการสังซื ้อสินค้ าหรื อวัตถุดิบในปริ มาณที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้
                                                  ่
เกิดความสูญเสียผลประโยชน์
              กิจกรรมเสริ ม (SupportdActivities) เป็ นกิ จกรรมที่เกิ ดขึนตามสถานการณ์ และอาจ
                                                                              ้
ขึ ้นอยูกบประเภทของธุรกิจ ซึงแต่ละธุรกิจอาจมีกิจกรรมนี ้หรื อไม่มีก็ได้ อันได้ แก่
       ่ ั                            ่
              1.กกการบรรจุหีบห่อ (Packaging) การบรรจุหีบห่อมีวตถุประสงค์เพื่อรักษาและคุ้มครอง
                                                                         ั
สภาพของสินค้ าและบริ การให้ อยู่ในสภาพที่ดี และเกิดความเสียหายน้ อยที่สดเท่าที่จะเป็ นไปได้ ซง
                                                                                     ุ                     ึ่
เมื่อลูกค้ าได้ รับสินค้ าแล้ วไม่เกิดทัศนคติที่ไม่ดีตอการบริ การ ย่อมก่อให้ เกิดความไว้ วางใจในการใช้
                                                        ่
บริการครังต่อไปในอนาคตด้ วย
            ้
11

           2.กกการจัดการคลังสินค้ า (Warehousing) เป็ นงานที่เกี่ยวข้ องกับการจัดทิศทางของการ
เคลื่อนไหวของสินค้ า การกําหนดสถานที่จดเก็บผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท การกําหนดทําเลที่ตงของ
                                            ั                                                  ั้
คลังสินค้ า ทังนีจุดประสงค์ในการจัดคลังสินค้ า เพื่อให้ เกิดการประหยัดทังในส่วนของเวลาและ
              ้ ้                                                              ้
ค่าใช้ จ่ายในการเคลื่อนย้ าย
           3.กกการใช้ เครื่ องจักรและเครื่ องใช้ ต่างๆ (MaterialsdHanding) ซึ่งเป็ นงานที่เกี่ยวข้ อง
กับการเลือกเครื่ องจักรและอุปกรณ์ในการทํางาน รวมทังการวางนโยบายในการซื ้อเครื่ องจักรใหม่
                                                            ้
ทดแทนเครื่ องจักรเก่าด้ วย
           4.กกการจัดซื ้อ (Purchasing) เป็ นกิจกรรมที่เริ่ มต้ นตังแต่การเลือกแหล่งผลิตหรื อแหล่งที่
                                                                   ้
จะซื ้อกําหนดระยะเวลาในการซื ้อกจนถึงการกําหนดปริ มาณและคุณภาพของวัตถุดิบหรื อสินค้ า
อื่นๆ ที่จะจัดซื ้อ
           5.กกการประสานงานกับฝ่ ายผลิต (CooperatedwithdProduction                    Output) เพื่ อ
รับทราบตัวเลขของปริ มาณผลิตทังหมดในช่วงระยะเวลาต่างๆ รวมถึงลําดับและเวลาที่ใช้ ในการ
                                    ้
ผลิตเพื่อประโยชน์ในการจัดการระบบโลจิสติกส์ขององค์กร

การรับสินค้ าและการเก็บเข้ าที่ (อนุวติ ทรัพย์พืชผล และไพบูลย์ กิจวรวุฒ,ิ 2549, หน้ าก100-
                                              ั
11) กล่าวถึง การรับสินค้ า (Receiving)กเป็ นจุดเริ่มต้ นของกิจกรรมทังหมดที่เกิดขึ ้นในคลังสินค้ า
                                                                           ้
            วิธีการรับสินค้ าและเก็บเข้ าที่ในระดับโลกจะประกอบไปด้ วย
            1.กกการจัดส่งสินค้ าโดยตรง (DirectaShipping) คือไม่ต้องมีการรับสินค้ าในการจัดส่ง
สินค้ าโดยตรงกกผู้จําหน่ายสินค้ าจะส่งสินค้ าไปยังลูกค้ าโดยตรงโดยไม่แวะที่คลัง และเนื่องจาก
สินค้ าที่ไม่มาที่ศนย์กระจายสินค้ าก็จะไม่มีการขนสินค้ าลง ไม่มีการกองสินค้ ารอ ไม่มีการเก็บเข้ าที่
                   ู
กกไม่มีการเติมสินค้ าที่พื ้นที่หยิบสินค้ าและไม่มีการขนสินค้ าขึ ้นรถ
            2.กกการเปลียนถ่ายสินค้ า (Cross-Docking)
                           ่
                  2.1กกผู้ ขายเป็ นผู้สงบรรทุกสินค้ าขึ ้นรถจากคลังสินค้ าเอง
                                        ั่
                  2.2กกสินค้ าที่รับเข้ ามาจะถูกคัดแยกหรื อเปลี่ยนถ่ายส่งต่อตามใบสังทันที
                                                                                   ่
                  2.3กกรายการสินค้ าที่มาถึงจะถูกส่งไปที่ประตูสงสินค้ าออกทันทีที่สนค้ ามาถึง
                                                                     ่               ิ
                  2.4กกไม่จําเป็ นต้ องมีการตรวจสอบหรื อการกองสินค้ ารอ
                  2.5กกไม่จําเป็ นต้ องมีพื ้นที่ในการจัดเก็บสินค้ า
            3.กกการจัดทํ าตารางนัดรั บสินค้ า (ReceivingaScheduling) การเตรี ยมการเพื่อการ
เปลี่ยนถ่ายสินค้ าจะต้ องใช้ ความสามารถในการจัดทําตารางเวลาในการรับและส่งสินค้ าให้ พอดีใน
12




             4.กกการเตรี ยมตัวก่อนการรับสินค้ า (Preceiving) เหตุผลที่ให้ มีการกองสินค้ าที่ช่องรับ
สินค้ านันคือ เพื่อรอการกําหนดสถานที่จดเก็บที่แน่นอน รอการระบุยืนยันสินค้ า เป็ นต้ น การทํา
           ้                                   ั
ดังนี ้ เป็ นการใช้ พื ้นที่และเวลาเพื่อกิจกรรมในการรับสินค้ าเท่านัน ซึงเวลาที่สญเสียนี ้สามารถลด
                                                                    ้ ่          ู
น้ อยลงได้ ด้วยการใช้ ระบบการติดต่อสื่อสารข้ อมูลจากผู้จําหน่ายสินค้ าตังแต่เมื่อสินค้ าได้ ถกจัดส่ง
                                                                           ้                 ู
มาโดยผ่านระบบอินเตอร์ เน็ต EDI หรื อโทรสาร ซึงจะทําให้ ได้ รับข้ อมูลสินค้ ารับเข้ าได้ ทนทีที่ช่องรับ
                                                     ่                                   ั
สินค้ า
             5.กกการเตรี ยมความพร้ อมในการรับสินค้ า (ReceiptaPreparation)
                 5.1กกการเตรี ยมการบรรจุสวนเพิ่ม ่
                 5.2กกนําระบบฉลากและปายกํากับมาใช้ ตามความเหมาะสม
                                             ้
                 5.3กกการกําหนดปริมาตรและชังนํ ้าหนักเพื่อการวางแผนการจัดเก็บและการขนส่ง
                                                   ่

การติดต่ อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์
(กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒ,ิ กศลิษา ภมรสถิตย์กและจักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา,ก2547, หน้ า13)
กล่าวถึง การติดต่อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์ไว้ ดงนี ้
                                              ั
            ปั จจุบนการสื่อสารมีความเป็ นอัตโนมัติ มีความซับซ้ อน และมีความรวดเร็ วมากยิ่งขึ ้น
                   ั
โลจิสติกส์เป็ นงานที่มีกระบวนการเกี่ยวข้ องกับแต่ละหน่วยงานและองค์กรอย่างกว้ างขวาง การ
ติดต่อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์จงอาจกล่าวได้ วามีดงนี ้
                              ึ              ่ ั
            1.กกระหว่างองค์กรกับผู้จดส่งสินค้ า/วัตถุดบและลูกค้ า
                                     ั                ิ
            2.กกระหว่างหน่วยงานหลักภายในองค์กร เช่น โลจิสติกส์ ฝ่ ายวิศวกรรม ฝ่ ายบัญชี
การตลาด และฝ่ ายผลิต
            3.กกระหว่างกิจกรรมทางด้ านโลจิสติกส์
            4.กกระหว่างรู ปลักษณ์ ต่างๆ ในแต่ละกิจกรรมโลจิสติกส์ เช่น การประสานงานกับโกดัง
เก็บวัตถุดบ งานระหว่างทําและสินค้ าสําเร็ จรูป
          ิ
13

            5. ก ระหว่างสมาชิกต่างๆ ในโซ่อปทาน เช่น ลูกค้ าหรื อผู้จดส่งสินค้ า/วัตถุดิบ ซึงไม่ได้
                                                ุ                      ั                     ่
ติดต่อโดยตรงกับกิจการ
            (กมลชนก สุทธิ วาทนฤพุฒิ,กศลิษา ภมรสถิ ตย์ กและจักรกฤษณ์ กดวงพัสตรา2547,
กหน้ า 58) กล่าวว่า การติตต่อสื่อสารนันเป็ นงานสําคัญของหลายๆ ระบบ ไม่ว่าจะเป็ นระบบการ
                                            ้
กระจายสินค้ าขององค์กร หรื อทังระบบโซ่อปทานก็ตาม การติดต่อสื่อสารที่ดีภายในระบบจะเป็ น
                                       ้          ุ
กุญแจสําคัญในการสร้ างความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน
            ในปั จจุบันมี การนํ าเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิ กส์ เช่น การบันทึกข้ อมูลคําสั่งซือผ่านทาง
                                                                                         ้
โทรศัพท์อตโนมัตและการแลกเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic DataกInterchange – EDI)
            ั       ิ
มาใช้ เพื่อการจัดส่ง ซึ่งเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์มีส่วนช่วยเพิ่มความรวดเร็ วและความถูกต้ องใน
การส่งผ่านและการบันทึกข้ อมูลโดยทัวไป การส่งผ่านข้ อมูลที่มีประสิทธิ ภาพจะต้ องใช้ เงินลงทุน
                                         ่
เริ่ มแรกสูงในตัวเครื่ องมืออุปกรณ์ และซอฟแวร์ ผู้บริ หารสามารถใช้ เวลาที่ประหยัดได้ จากการ
ส่งผ่านข้ อมูลไปเพื่อช่วยลดปริ มาณสินค้ าคงคลังและตระหนักถึงโอกาสในการรวบรวมปริ มาณ
ขนส่งเพื่อชดเชยการลงทุนได้
            การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (กมลชนก สุท ธิ ว าทนฤพุฒิ , กศลิ ษ า ภมร
สถิตย์กและ จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา,ก2547,กหน้ า 62)
            การแลกเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange - EDI) เป็ นการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้ อมูลที่เป็ นมาตรฐานระหว่างกัน การ
ส่งผ่านข้ อมูลทาง EDI ยอมให้ เอกสารถูกประมวลผลโดยตรงและส่งต่อให้ องค์กรของผู้รับใน
รู ปแบบข้ อมูลที่ต้องการ ระบบ EDI อาจถูกออกแบบให้ มีขนตอนคนเข้ ามาเกี่ยวข้ องได้ ในการรับส่ง
                                                             ั้
ข้ อมูลข่าวสาร ขึ ้นอยู่กับความสลับซับซ้ อนของระบบ ปั จจุบน EDI ได้ ทวีความสําคัญและมี
                                                                  ั
บทบาทเข้ ามาใช้ แทนที่วิธีการส่งผ่านข้ อมูลแบบเดิมๆ อาทิ จดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร และโทรเลข
            คํานํายามของ EDI มีจดสําคัญอยู่ 2 จุด คือ
                                     ุ
            1.กกเป็ นการส่งผ่านข้ อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ กบคอมพิวเตอร์ ซงหมายความว่า การส่ง
                                                                ั           ึ่
ข้ อมูลทางโทรสารจะไม่เป็ น EDI ตามคํานิยามนี ้
            2.กกเป็ นการส่งผ่านข้ อมูลตามมาตรฐานที่กําหนด เอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อขายที่ใช้
ระบบ EDI ในปั จจุบนมีตงแต่ใบสังซื ้อ ใบสังปล่อยวัสดุ ใบกํากับสินค้ า การโอนเงินทางอินเตอร์ เน็ต
                      ั ั้         ่          ่
ใบแจ้ งการขนส่ง และใบรายงานสถานะการขนส่ง ดังนัน การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
                                                           ้
หรื อการส่งข้ อมูลทางอินเตอร์ เน็ต ซึ่งไม่ได้ อยู่ในรู ปแบบที่เป็ นมาตรฐาน จึงไม่ถือว่าเป็ นการส่ง
ข้ อมูลด้ วยระบบ EDI
14

            ประเภทของระบบ EDI (กมลชนก สุท ธิ ว าทนฤพุ ฒิ , กศลิ ษ า ภมรสถิ ต ย์ ก และ
จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา,ก2547,กหน้ าก62-64) กล่าวถึง มีระบบ EDI หลายประเภทที่ใช้ อยู่ใน
ปั จจุบน ระบบหลักคือระบบเจ้ าของคนเดียว (Proprietary System) ระบบโครงข่ายมูลค่าเพิ่ม
        ั
(Value Added Networks หรื อ VANs) และระบบสมาคมอุตสาหกรรม ข้ อแตกต่างระหว่างระบบ
เจ้ าของคนเดียวและ VANs ระบบเจ้ าของคนเดียว(Proprietary System) หรื อ “One to Many
System” คือระบบ EDI ที่มีเจ้ าของเป็ นรายเดียวที่เป็ นทังผู้บริหารและบํารุ งรักษาระบบและจัดการ
                                                          ้
เชื่อมต่อโดยตรงเข้ ากับลูกค้ าและผู้จดจําหน่ายอื่นๆ ระบบเจ้ าของคนเดียวสามารถใช้ ได้ อย่างมี
                                       ั
ประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อบริ ษัทที่เป็ นเจ้ าของระบบเป็ นบริ ษัทขนาดใหญ่และมีความได้ เปรี ยบด้ านด
อํานาจการต่อรองกับลูกค้ าหรื อผู้จดจําหน่าย และสามารถชักชวนให้ ทงลูกค้ าและผู้จดจําหน่าย
                                     ั                                  ั้           ั
เข้ ามาเป็ นส่วนหนึงของโครงข่ายเชื่อมโยงได้
                       ่
            ข้ อดีของระบบเจ้ าของคนเดียวคือ มีประสิทธิภาพในการควบคุมสูง
            ข้ อเสียของระบบเจ้ าของคนเดียวคือ มีต้นทุนการลงทุนและบํารุ งรักษาสูง รวมทังลูกค้ าผู้
                                                                                         ้
จัดจําหน่ายอาจไม่ต้องการเป็ นส่วนหนึ่งของระบบเนื่องจากขาดความยืดหยุ่นและบางครังอาจ         ้
จําเป็ นต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เสริ มที่มีลกษณะเฉพาะเป็ นพิเศษระบบโครงข่ายมูลค่าเพิ่ม
                                                   ั
(Value Added Networks - VANs) เป็ นบุคคลที่สามที่ให้ บริ การ EDI แก่ผ้ ผลิตและผู้จดจําหน่าย
                                                                             ู         ั
หลายราย และเป็ นรู ปแบบของระบบ EDI ที่นิยมใช้ มากที่สด ภายใต้ VANs รายการติดต่อผ่าน
                                                              ุ
ข้ อมูลทาง EDI ทังหมดจะถูกส่งไปยัง VANs ส่วนกลางที่ทําหน้ าที่คล้ ายไปรษณีย์กลาง
                     ้
15


ระบบเจ้ าของคนเดียว

                                               ผู้จดจําหน่าย
                                                   ั
(ONE-TO-MANY)
         ผู้ผลิต                               ผู้จดจําหน่าย
                                                   ั

                                               ผู้จดจําหน่าย
                                                   ั
ระบบโครงข่ายมูลค่าเพิ่ม
(MANY-TO-MANY)
                                            ผู้จดจําหน่าย
                                                ั
ผู้ผลิต
                       บุคคลที่ 3
ผู้ผลิต                VAN
                                            ผู้จดจําหน่าย
                                                ั

ผู้ผลิต                                      ผู้จดจําหน่าย
                                                 ั


                             ภาพ 3กกแสดงองค์ ประกอบของ EDI

          ข้ อได้ เปรี ยบประการสุดท้ ายของ VANs คือ ความสามารถในการับส่งข้ อมูลไปยังระบบ
EDI ที่มีมาตรฐานเดียวกันได้ ซึงหมายความว่าผู้จดจําหน่ายและกลุมลูกค้ าผู้ใช้ บริ การของระบบ
                                  ่                  ั              ่
มาตรฐานเดียวกันไม่จะเป็ นต้ องมีคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เฉพาะหรื อมีการเชื่อมโยงโดยตรงกันแต่
ละระบบ ความสามารถของ VANs ดังกล่างสามารถเพิ่มความยอมรับของการบริ หารโครงข่าย
เชื่อมโยงกับลูกค้ าผู้ใช้ ระบบมาตรฐานเดียว
ประโยชน์ของ EDI
          1.กกลดภาระงานด้ านการสร้ างและเก็บแฟมเอกสาร
                                                   ้
          2.กกเพิ่มความถูกต้ องแม่นยําเนื่องจากลดการประมวลผลด้ วยมือ
          3.กกเพิ่มความรวดเร็ วในการส่งคําสังซื ้อและข้ อมูลอื่น
                                             ่
          4.กกลดภาระงานด้ านเสมียนและงานด้ านการลงบันทึกคําสังซื ้อ การส่งจดหมาย และ
                                                                  ่
งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง
          5.กกเพิ่มโอกาสในการพัฒนางานด้ านการจัดซื ้อเนื่องจากใช้ เวลาในวงจรคําสังซื ้อน้ อยลง
                                                                                  ่
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024
Mba51 is024

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Mba51 is024

วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
nakaenoi
 
Math website
Math websiteMath website
Math website
zensation
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
peerapit
 
หนังสือเรียน สอศ.2555 2
หนังสือเรียน สอศ.2555 2หนังสือเรียน สอศ.2555 2
หนังสือเรียน สอศ.2555 2
Prachyanun Nilsook
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
Sarawut Rajchakit
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
Suhaiming Lotanyong
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
KamjornT
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
kruliew
 

Ähnlich wie Mba51 is024 (20)

วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Math website
Math websiteMath website
Math website
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
หนังสือเรียน สอศ.2555 2
หนังสือเรียน สอศ.2555 2หนังสือเรียน สอศ.2555 2
หนังสือเรียน สอศ.2555 2
 
Organization intelligence2
Organization intelligence2Organization intelligence2
Organization intelligence2
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
Km kmutnb3
Km kmutnb3Km kmutnb3
Km kmutnb3
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
Gst ureportstudent62
Gst ureportstudent62Gst ureportstudent62
Gst ureportstudent62
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 

Mba51 is024

  • 1. การกระจายสินค้ าและการขนส่ งสินค้ าประเภทโสตทัศนูปกรณ์ ก(ซีด)กก ี ผ่ านศูนย์ กระจายสินค้ าก:กกรณีศกษาร้ านกBookdSmile ึ หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหนฤมลกกกกกกสุวรรณสมบัติ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกมนัสพิชากกกกเรืองสวัสดิ์ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกวิกาญดากกกกเจริญสุข การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองหเสนอเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ พฤษภาคมส2551 ลิขสิทธิ์เป็ นของมหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. อาจารย์ ที่ ป รึ กษาและผู้ อํ า นวยการศู น ย์ วิ ท ยบริ การ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร กรุ งเทพมหานคร ได้ พิจารณาการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยเอง เรื่ อง “การกระจายสินค้ าและการขนส่ง สินค้ าประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี)กผ่านศูนย์กระจายสินค้ า” : กรณีศึกษาร้ านกBook Smile เห็ น สมควรรั บ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลัก สูต รปริ ญ ญา บริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบัณ ฑิ ต สาขาวิชาบริ หารธุรกิจ ของมหวิทยาลัยนเรศวร ……………………………………………………… (ผู้ ช่วยศาสตราจารย์กดร.กจักรกฤษณ์กกดวงพัสตรา) อาจาย์ที่ปรึกษา ……………………………………………………… (ดร.กศรี สดา จงสิทธิผล) ุ ผู้อํานวยการศูนย์วทยบริการ มหาวิทยลัยนเรศวร กรุงเทพมหานคร ิ พฤษภาคม 2551
  • 3. ประกาศคุณูปการ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองฉบับนี ้กสําเร็จลงได้ ด้วยความกรุณาในการให้ คําปรึกษาและ แนะนําอย่างยิ่งจากกผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.dจักรกฤษณ์กดวงพัสตรากอาจารย์ที่ปรึกษาผู้จดทํา ั ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างยิ่ง ขอขอบพระคุณกผู้ช่วยศาสตราจารย์กดร.กธนวรรณ แสงสุวรรณ อาจารย์ประจําภาค การศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร ศูนย์วิทยบริ การกรุ งเทพมหานครกที่กรุ ณาให้ คําปรึ กษาแนะนํา แก้ ไขและตรวจสอบเครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษาค้ นคว้ า จนทําให้ การศึกษาครังนี สมบูรณ์ และมี ้ ้ คุณค่ากก ขอขอบพระคุณคณาจารย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ศูนย์วิทยาการกรุ งเทพมหานคร ทุก ท่านที่ได้ ประสิทธิประสาทวิชาความรู้ ทงมวลแก่ผ้ ศึกษากตลอดจนเจ้ าหน้ าที่ผ้ ประสานงานทุกท่า ั้ ู ู นกที่ได้ คอยอํานวยความสะดวกอย่างดียิ่งตลอดเวลาในการศึกษา ขอขอบพระคุณผู้บริ หารศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองกตลอดจนเพื่อนพนักงานทุกท่าน ที่ได้ สละเวลาในการให้ สมภาษณ์ และสอบถามข้ อมูล จนทําให้ ผ้ ูวิจยสามารถเก็บรวบรวมข้ อมูล ั ั สําเร็จลุลวงได้ ด้วยดี ่ ขอขอบพระคุณ บิ ด ามารดาที่ เ ป็ นกํ า ลัง ใจประสิ ท ธิ ป ระสาทวิ ช าและสนับ สนุ น ให้ การศึกษาสําเร็ จลุลวงได้ ด้วยดี ่ คุณค่าและประโยชน์ อนพึงมีจากการศึกษาค้ นคว้ าฉบับนี ้ คณะผู้ศึกษาค้ นคว้ าขอมอบ ั และอุทิศแด่ผ้ มีพระคุณทุกๆกท่าน ู นฤมลกกกกกกกกสุวรรณสมบัติ มนัสพิชากกกกกกเรื องสวัสดิ์ วิกาญดากกกกกกเจริญสุข
  • 4. ชื่อเรื่อง การกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี)กก ผ่านศูนย์กระจายสินค้ ากรณีศกษาร้ าน BookdSmile ึ ผู้ค้นคว้ า นฤมล สุวรรณสมบัต,ิ มนัสพิชา เรื องสวัสดิ,์ วิกาญดา เจริญสุข ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา ประเภทสารนิพนธ์ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง บธ.ม. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยนเรศวร,ก2551 คําสําคัญ ……………………………………………………………………………. บทคัดย่ อ การศึกษาครังนี ้มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภท ้ ั โสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ผ่านศูนย์กระจายสินค้ า กรณีศกษาร้ าน Book Smile เพื่อนํามาวิเคราะห์ถึง ึ ปั ญหาและอุปสรรคของศูนย์กระจายสินค้ า และเพื่อเป็ นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิ ภาพของ กระบวนการกระจายสินค้ าและการขนส่งของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง เป็ นแนวคิดทฤษฎีที่ เกี่ยวข้ องกับหลักการด้ านโลจิสติกส์ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็ นวิธีเชิงพรรณา ผลการศึกษา การกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าผ่านศูนย์กระจายสินค้ า กิจกรรม ด้ านการรับสินค้ า คือ การพยากรณ์ความต้ องการ กระบวนการสังซื ้อ และการติดต่อสื่อสาร ่ ด้ านโลจิสติกส์ กิจกรรมด้ านการจัดเก็บสินค้ า คือ การบริ หารคลังสินค้ า และการหีบห่อและการ บรรจุภณฑ์ กิจกรรมด้ านการจัดกระจายสินค้ า คือ อะไหล่และการให้ บริ การ กิจกรรมด้ านการ ั ขนส่ง คือ การจราจรและการขนส่ง การจัดการรับคืน โลจิสติกส์ย้อนกลับ การเลือกสถานที่ตง้ั ของคลังสินค้ า ทัง 4 กิจกรรมหลัก เป็ นหน้ าที่หลักของการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าของ ้ ศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง ข้ อเสนอแนะในการศึกษา 1. ควรที่จะใช้ อปกรณ์มือถือ (Handheld) เข้ ามารวบรวม ุ ข้ อมูลแทนการใช้ กระดาษ ซึงทําให้ สะดวกในการจัดเก็บข้ อมูล 2.กควรมีการอบรมเจ้ าหน้ าที่ในแต่ ่ ละแผนกของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง 3. ควรมีการกําหนดรอบเวลาในการคืนลัง Break case ให้ ชดเจน 4.กกําหนดให้ มีการใช้ ลง Break case ที่มีขนาดพอเหมาะกับจํานวนสินค้ าที่บรรจุ ั ั ในลังสินค้ า 5. กําหนดให้ ร้าน Book Smile แต่ละสาขา มีการประเมินผลการทํางานของศูนย์ กระจายสินค้ าและผู้รับเหมาขนส่ง
  • 5. สารบัญ บทที่ หน้ า กกก1ddบทนํา 01 กกกกกกกกกความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา 01 กกกกกกกกกวัตถุประสงค์ของการวิจย ั 02 กกกกกกกกกขอบเขตของการศึกษา 03 กกกกกกกกกกรอบแนวคิดในการศึกษา 03 กกกกกกกกกประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ 03 กกกกกกกกกนิยามคําศัพท์ 4 กกกกกก กกก2ddเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง 6 กกกกกกกกกความหมายของการจัดการโลจิสติกส์ 6 กกกกกกกกกปรัชญาในการจัดการด้ านโลจิสติกส์ 7R 9 กกกกกกกกกการรับสินค้ าและการเก็บเข้ าที่ 11 กกกกกกกกกการติดต่อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์ 12 กกกกกกกกกกระบวนการสังซื ้อ่ 19 กกกกกกกกกหน้ าที่ของคลังเก็บสินค้ า 30 การหีบห่อและบรรจุภณฑ์ ั 53 คลังกระจายสินค้ าและศูนย์กระจายสินค้ า 57 การจราจรและการขนส่ง 62 การบริ การลูกค้ า 78 การเลือกที่ตงโรงงานและทําเลที่ตงคลังสินค้ า ั้ ั้ 85 งานวิจยที่เกี่ยวข้ อง ั 86 กกก3ddวิธีดาเนินการวิจย ํ ั 89 กกกกกกกกกระเบียบวิธีวิจย ั 89 กกกกกกกกกวิธีเก็บรวบรวมข้ อมูล 89 กกกกกกกกกประชากรและกลุมตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจย ่ ั 89
  • 6. สารบัญ(ต่ อ) บทที่ หน้ า ก เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษา 91 กกกกกกกกกการวิเคราะห์ข้อมูล 91 กกก4ddผลการศึกษา 92 กกกกกกกกกส่วนที่ก1กการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารด้ านการกระจายสินค้ า กกกและการขนส่งของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง 92 กกกกกกกกกส่วนที่ก2กการศึกษาได้ รับบริ การของร้ าน Book Smile ในด้ าน กกกกกกกกกกกกกกกกกกกการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ า ของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง 115 กกกกกกกกก กกก5ddบทสรุ ป 119 กกกกกกกกกสรุปผลการศึกษา 119 กกอภิปรายผล 125 กกกกกกกกกข้ อเสนอแนะในการศึกษา 128 กกกกกก กกกกกกกก บรรณานุกรม 129 ภาคผนวก 132 ประวัตผ้ ูศึกษาค้ นคว้ า ิ 148
  • 7. สารบัญตาราง ตาราง หน้ า กก1กแสดงการเปรี ยบเทียบองค์ประกอบทางเทคนิค 068 กก2กแสดงการเปรี ยบเทียบการลงทุนและต้ นทุน 069 กก3กแสดงการเปรี ยบเทียบการดําเนินงาน 069 กก4กแสดงแบบการจัดส่งสินค้ า 108 5กแสดงกิจกรรมด้ านการรับสินค้ า 119 กก6 แสดงกิจกรรมด้ านการจัดเก็บสินค้ า 121 กก7กแสดงกิจกรรมด้ านการจัดกระจายสินค้ า 122 กก8กแสดงกิจกรรมด้ านการขนส่ง 122 กก
  • 8. สารบัญภาพ ภาพ หน้ า กก 1แกรอบแนวความคิด 003 กกd2กองค์ประกอบการจัดการโลจิสติกส์ 08 กกd3กองค์ประกอบของ DEI 15 กก 4กความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ การจัดซื ้อมีประสิทธิภาพ 21 กกก5กระเบียบวิธีปฏิบตในการจัดซื ้อ ัิ 026 กกก6กระบบสารสนเทศที่สาคัญ 3 ส่วนซึงเกี่ยวข้ องกับการไหลของสินค้ าทางกายภาพ ํ ่ 29 กกก7กการวิเคราะห์การสัมผัสสินค้ าสําหรับวิธีปฏิบตในการรับสินค้ าแบบต่างๆ ัิ 032 กก 8กกระบวนการไหลของระบบการจัดการค้ าปลีก 093 กกก9กพยากรณ์ความต้ องการ Demand Forecast 094 กก 10กการคํานวณการสังสินค้ าเข้ าศูนย์กระจายสินค้ า ่ 095 กกก11กการไหลของการรับสินค้ า 96 กกก12กEDI Information Flow 97 กกก13กEDI Information Flow ย้ อนกลับ 98 กกก14กการไหลของการจัดเก็บสินค้ า 99 กกก15กการจัดเก็บสินค้ าในคลังสินค้ า 101 16กรถโฟร์ คลิฟท์ (Fork lift) 101 กกก17กแสดงตัวอย่าง สัญลักษณ์ Barcode และเครื่ องมือ Handheld 103 กกก18กกระบวนการกระจายสินค้ าไปยังร้ านสาขา 104 กกก19กกระบวนการกระจายสินค้ าของร้ านสาขา 105 20กการจัดเตรี ยมสินค้ าเพื่อกระจายสินค้ าให้ กบร้ านสาขา ั 106 กกก 21กลังบรรจุสนค้ าเพื่อการขนส่งหรื อเรี ยกว่า ลัง Break case ิ 107 กกก 22กการไหลของการขนส่ง 107 กกก 23กรถขนส่งที่จดส่งให้ ร้านสาขาไม่เกิน 5 สาขา ั 109 กกก 24กการขนส่งตามเส้ นทางหลวง 112
  • 9. สารบัญภาพ(ต่ อ) ภาพ หน้ า กกก 25กพื ้นที่ศนย์กระจายสินค้ าบางบัวทอง ู 112 กกก 26กดัชนีชี ้วัดการดําเนินงานของศูนย์กระจายสินค้ า 113 กกก 27กระบบการดําเนินงานในธุรกิจค้ าปลีก 118
  • 10. บทที่กก1 บทนํา ความสําคัญและความเป็ นมาของปั ญหา ธุรกิจในโลกปั จจุบนกมีการขยายตัวของการใช้ จ่ายด้ านอุปโภคบริ โภคของภาคเอกชน ั ภายในประเทศ การดําเนินธุรกิจแต่ละสายงานมุงที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์คณภาพและการบริ การให้ ่ ุ ก้ า วทัน ต่อ การแข่ ง ขัน ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ ซึ่ง มี ก ารแข่ง ขัน ที่ สูง ขึน ทํ า ให้ ต้อ งมี ก ารนํ า ้ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ ามาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพของแต่ละธุรกิจ การจัดการทางโลจิ สติ ก ส์ เ ป็ นอี ก ระบบหนึ่ ง ที่ ส ามารถนํ า มาปรั บ ใช้ ใ นธุ ร กิ จ กเพื่ อ ให้ เ กิ ด อรรถประโยชน์ ต่ อ การ ดําเนินงานซึงจะช่วยในการประหยัดต้ นทุนและสามารถเพิ่มมูลค่าให้ กบสินค้ า ด้ วยเหตุนี ้ หลาย ่ ั ธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ จึงหันมาให้ ความสนใจเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์ ซึงเป็ นส่วนหนึ่ง ่ ของระบบห่วงโซ่อปทานที่มีกระบวนการในการวางแผนกการนําเสนอและการควบคุมการไหลทังไป ุ ้ และกลับ การเก็บรักษาสินค้ ากบริ การและข้ อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลที่เชื่อมโยง ตังแต่จดเริ่ มต้ นจนถึงจุดของการบริ โภคเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ้ ุ ดังนัน หัวใจสําคัญในการจัดการโลจิสติกส์ก็คือ “ระบบ” ที่ต้องมีการวางแผน เพื่อนํา ้ กิจกรรมต่างไปปฎิบติตามแผนงานที่ได้ วางไว้ และต้ องสามารถควบคุมปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ั ได้ ก สําหรับกิจกรรมทางโลจิสติกส์ การกระจายสินค้ าผ่านศูนย์ กระจายสินค้ านับเป็ นอีกหนึ่ง รูปแบบในการขนถ่ายสินค้ า ซึงจะช่วยในการเพิ่มคุณค่าของสินค้ ามากขึ ้นและสามารถจัดส่งสินค้ า ่ ให้ ลกค้ าตามที่ต้องการโดยให้ กําไรสูงสุดกกิจกรรมในการขนส่งเป็ นอีกกิจกรรมหนึงที่มีความสําคัญ ู ่ ของทุกภาคธุรกิจที่จะต้ องมีการควบคุมโครงสร้ างต้ นทุนกในขณะที่จะต้ องสร้ างผลประกอบการใน แง่ ข องเม็ ด เงิ น ให้ ออกมาสูง ด้ ว ยกการพัฒ นาทางด้ า นการขนส่ ง ให้ มี ค วามเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ จึงเป็ นปั จจัยสําคัญในการแข่งขันทางธุรกิจ ธุรกิจหลายแห่งเริ่ มให้ ความสนใจในการนําระบบเทคโนโลยีโลจิสติกส์มาใช้ โดยเฉพาะ บริ ษัทกซีพี ออลล์กจํากัดก(มหาชน) ที่มีศนย์กระจายสินค้ าเป็ นของตนเอง และได้ ดําเนินการ ู ขยายธุรกิจค้ าปลีกใหม่กโดยการเปิ ดร้ านจําหน่ายหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์กสื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ที่มีสาระและความบันเทิงต่างๆ ภายใต้ ชื่อร้ าน “Book Smile” ที่ได้ นําระบบโลจิสติกส์มาใช้ ในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งถือเป็ นกิจกรรมหลักที่จะสร้ างคุณค่าให้ กบลูกค้ าและผู้จดส่งสินค้ าวัตถุดิบ ั ั ขององค์กรหรื อบริ ษัท คุณค่าของโลจิกติกส์ที่แสดงอยูในรูปของเวลา สถานที่ ผลิตภัณฑ์และการ ่ บริ การจะไม่เกิดคุณค่า หากในการดําเนินการขาดซึ่งความเหมาะสม เช่น สินค้ าที่สงหรื อผลิต ั่
  • 11. 2 สื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) นันถือเป็ นสื่ออีกประเภทหนึ่งที่ Book Smile ให้ ความ ้ สนใจในการนําสื่อประเภทนี ้เข้ ามาจําหน่ายในร้ าน Book Smile ภายใต้ แนวคิดในการรวบรวมสื่อ เพื่อสรรค์สร้ างความรู้และบันเทิงใกล้ บ้าน หากกล่าวถึง “โสตทัศนูปกรณ์” หลายคนอาจไม่ค้ นหู แต่ถ้ากล่าวถึง ซีดี (CD) ย่อมเป็ น ุ ที่ร้ ูจกเข้ าใจกันทัวไป เนื่องจากสื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) เป็ นสื่อที่หลายๆ คนรู้ จกและใช้ ั ่ ั สื่อประเภทนี ้ในชีวิตประจําวัน ดังนัน จึงเป็ นประเด็นที่ผ้ ศกษาค้ นคว้ า สนใจที่จะศึกษากระบวนการ ้ ู ึ ไหลของสินค้ าประเภทนีว่ามีกระบวนการและหลักการในการดําเนินการอย่างไรในกระบวนการ ้ ด้ านโลจิสติกส์ จากที่กล่าวมาเบื ้องต้ น ผู้ศกษาค้ นคว้ ามีความสนใจและเล็งเห็นถึงความสําคัญของการ ึ บริ หารงานด้ านการกระจายสินค้ าและการขนส่งของศูนย์ กระจายสินค้ า เนื่องจากกระบวนการ ดังกล่าวเป็ นการเพิ่มคุณค่า ให้ กับสินค้ าและสร้ างความได้ เปรี ยบเชิงการแข่งขัน (Competitive Advantage) ให้ กบบริ ษัทเพื่อที่จะตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ ทนเวลา, สินค้ าปลอดภัย, ั ั สภาพสมบูรณ์ , การจัดสินค้ าจํานวนถูกต้ องและถูกสถานที่ จึงได้ ศึกษาการบริ หารการจัดการ ด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ข องศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ าในการกระจายสิ น ค้ าและการขนส่ ง สิ น ค้ าประเภท โสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ซึ่งอยู่ในธุรกิจการดําเนินการของ บริ ษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน) ที่มี ร้ านสาขาทัวประเทศ ่ วัตถุประสงค์ ของการวิจย ั 1.กกเพื่อศึกษาวิธีการและแนวทางในการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภท โสตทัศนูปกรณ์ก(ซีดี)กของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองไปยังร้ านกBook Smile 2.ดดเพื่อวิเคราะห์ ถึงปั ญหาและอุปสรรคของศูนย์ กระจายสินค้ าบางบัวทองและร้ าน Book Smile 3.พพเพื่อเป็ นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการกระจายสินค้ าและการ ขนส่งของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองไปยังร้ าน Book Smile
  • 12. 3 ขอบเขตของการศึกษา 1.กกในการศึกษาครังนี ้กจะศึกษาเฉพาะระบบการกระจายและการขนส่งสินค้ าประเภท ้ โสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัวทองไปยังร้ าน Book Smile 2.กกในการศึกษาครังนี ้เพื่อให้ ทราบถึงปั ญหาและอุปสรรคของศูนย์กระจายสินค้ าบางบัว ้ ทองและร้ าน Book Smile 3.ดดระยะเวลาในการเก็บข้ อมูลและทําการศึกษา คือ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2551 กรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบแนวคิดในการศึกษา ศูนย์ กระจายสินค้ าบางบัวทอง กิจกรรมการรั บสินค้ า สินค้ าและจํานวนถูกต้ อง กิจกรรมการจัดเก็บสินค้ า สินค้ าปลอดภัย กิจกรรมกระจายสินค้ า จัดส่ งตรงเวลา กิจกรรมการขนส่ ง สถานที่ถูกต้ อง ภาพ 1กกแสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา ประโยชน์ ท่ คาดว่ าจะได้ รับ ี 1.ดดได้ เรี ยนรู้ ถึงกระบวนการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าผ่านศูนย์กระจายสินค้ า ซึงเป็ นส่วนหนึงของระบบการจัดการด้ านโลจิสติกส์ ่ ่
  • 13. 4 2.พพเพื่อให้ ผ้ ูประกอบการธุรกิจจําหน่ายสินค้ าโสตทัศนูปกรณ์ (ซีดี) ได้ นําระบบการ กระจายและการขนส่งสามารถนํ าไปปรับใช้ กเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ รวดเร็ ว ยิ่งขึ ้น 3.ดดสามารถนําผลการศึกษาครังนี ้ไปประยุกต์ใช้ สําหรับงานวิจยอื่นที่เกี่ยวข้ องได้ ้ ั นิยามคําศัพท์ ในการศึกษาผู้ทําการศึกษาได้ กําหนดนิยามศัพท์ ไว้ ดงนี ้ ั การบริ หารการจัดการระบบโลจิสติกส์ (Logistics Management) หมายถึง กระบวนการ ในการวางแผน ดําเนินการและควบคุมประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลในการเคลื่อนย้ าย การ จัด เก็ บ สิน ค้ า บริ ก ารและสารสนเทศจากจุด เริ่ ม ต้ น ไปยัง จุด ที่ มี ก ารใช้ ง าน โดยมี เ ปาหมายที่ ้ สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้บริโภค การจัดส่ง (Logistics ) หมายถึง กระบวนการในการเคลื่อนย้ ายและเก็บรักษาวัตถุดิบ สินค้ าระหว่างทํา สินค้ าที่ผลิตเสร็ จ รวมทังข้ อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้ องตังแต่แหล่งผลิตจนถึงแหล่ง ้ ้ ผู้บริ โภค ศูนย์กระจายสินค้ า (Distribution Center) หมายถึง จุดพักและรวบรวมสินค้ าที่ผ้ ผลิตส่ง ู สินค้ าและทําหน้ าที่การกระจายสินค้ าไปยังร้ านสาขา ร้ าน Book Smile หมายถึง สถานที่จําหน่ายสินค้ าประเภทสิ่งพิมพ์ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องเขียน สื่อสาระความบันเทิงต่างๆ เช่น นิตยสาร พ็อคเก็ตบุ๊ค เทปเพลง ซีดี วีซีดี วีดีทศน์ตางๆ รวมทังการทําธุรกรรม E-Business ั ่ ้ โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง สินค้ าสื่อสาระความบันเทิงต่างๆ เช่น ซีดี วีซีดี เทปเพลง วี ดีทศน์ตางๆ ั ่ การขนส่ ง หมายถึ ง การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า จากที่ ห นึ่ ง ไปยัง อี ก ที่ ห นึ่ ง ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด อรรถประโยชน์ด้านสถานที่และอรรถประโยชน์ด้านเวลา เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ กบสินค้ า ั พาเลต (Pallet) หมายถึง โครงไม้ หรื อลังโปร่ งๆ มีความแข็งแรง ใช้ สําหรับรองรับพัสดุ หีบห่อหรื อบรรจุพสดุบางชนิด เพื่อสะดวกในการขนเคลื่อนย้ ายโดยเครื่ องทุ่นแรงและวางซ้ อนกัน ั ได้ สง แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ชนิดแบน (Flat Pallet Type) และชนิดลังโปร่ง (Box Pallet Type) ู
  • 14. 5 ลัง Break case หมายถึง ภาชนะหรื อลังบรรจุสินค้ า ลักษณะเป็ นพลาสติกใช้ สําหรับ บรรจุและขนย้ ายสินค้ า เพื่อความเป็ นระเบียบและสะดวกสําหรับการขนส่ง รหัสแท่ง (Barcode) หมายถึง สัญลักษณ์ ที่อยู่ในรู ปแท่ง สามารถอ่านได้ ด้วยเครื่ อง Scanner รหัสแท่งประกอบด้ วย แท่งที่มีสีเข้ ม และช่องว่างที่มีสีอ่อน แท่งเหล่านี ้เป็ นตัวแทนของ ตัวเลข หรื อตัวอักษร ข้ อมูลทุกอย่างจะถูกเก็บไว้ ในฐานข้ อมูล เมื่อมีกิจกรรมใดๆ เกิดขึ ้นระบบจะ จัดการโดยอัตโนมัตทนที ิ ั รถยก (Fork Lift) หมายถึง รถยกสินค้ า โดยการนําเครื่ องจักรกลสองชนิดมารวมกัน คือ เครนและรถบรรทุก ซึงเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ สําหรับการยกสินค้ าเพื่อการจัดเก็บสินค้ าแบบพาเลต ่ ซึงจะมีหลายประเภท การใช้ งานขึ ้นอยูกบประเภทการจัดเก็บของแต่ละสถานที่จดเก็บ ่ ่ ั ั อุปกรณ์มือถือ (Handheld) หมายถึง อุปกรณ์สงข้ อมูลด้ วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radio ่ Data Terminals : RDTs) อุปกรณ์มือถือจะเข้ ามาช่วยในการจัดการสินค้ าคงคลังและพาหนะซึงจะ ่ รับข้ อมูลผ่านคลื่นความถี่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ซึงอุปกรณ์นี ้จะมีแบบติดตังอยู่บนรถยก (Lift- ่ ้ Truck Mounted) ด้ วย Window Time หมายถึง การระบุเวลาในการจัดส่งสินค้ าที่ได้ กําหนดตามข้ อตกลง
  • 15. บทที่กก2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง จากกรณีศึกษาในการค้ นคว้ าครังนี ้เพื่อการกระจายสินค้ าและการขนส่งสินค้ าประเภท ้ โสตทัศ นูป กรณ์ ผ่ า นศูน ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ทางคณะผู้ศึก ษาค้ น คว้ า จึ ง ใคร่ ข อนํ า เสนอทฤษฎี ที่ เกี่ยวข้ องในเรื่ องของการค้ นคว้ าในครังนี ้กโดยแบ่งออกเป็ นดังนี ้ ้ 1.กกแนวคิดเกี่ยวกับโลจิสติกส์ 2.กกกิจกรรมโลจิสติกส์ที่มีความเกี่ยวข้ องกับการกระจายสินค้ าและการขนส่ง 3.กกผลงานการศึกษาที่เกี่ยวข้ อง ความหมายของการจัดการด้ านโลจิสติกส์ (กมลชนกกสุทธิวาทนฤพุฒ,ิ กศลิษาดภมรสถิตย์กและจักรกฤษณ์กดวงพัสตรา,ก2547,กหน้ าก2) ได้ กล่าวถึงกความหมายของการจัดการด้ านโลจิสติกส์ โลจิสติกส์ถกเรี ยกได้ หลายๆกชื่อดังนี ้กก ู 1.กกโลจิสติกส์ทางธุรกิจ (Business Logistics) 2.กกการจัดการช่องทาง (การจําหน่าย) (Channel Management) 3.กกการกระจาย (สินค้ า) (Distribution) 4.กกโลจิสติกส์ทางอุตสาหกรรม (IndustrialdLogiatics) 5.กกการจัดการโลจิสติกส์ (LogisticsแManagenent) 6.กกการจัดการวัสดุ (MeterialsdManagement) 7.กกการกระจายวัตถุ (PhysicaldDistribution) 8.กกระบบการตอบสนองที่รวดเร็ว (Quick-ResponsedSystems) 9.กกการจัดการโซ่อปทาน (Supply ChaindManagement) ุ 10.กการจัดการพัสดุ (SupplydManagement) ความหมายของคําต่างๆกเหล่านี ้ในภาพรวมแล้ ว คือ การบริ หารกระบวนการไหล(flow) ของสินค้ าหรื อวัตถุดิบจากจุดเริ่ มต้ นไปยังจุดที่มีการใช้ สินค้ าหรื อวัตถุดิบนัน และในบางกรณีก็ไป ้ ยังจุดที่ทําลายสินค้ านัน ซึงกก ้ ่ ThedCouncildofdLogisticsdManagementd(CLM) ซึ่ ง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ท า ง วิ ช า ชี พ ทางด้ านโลจิสติกส์ของประเทศสหรัฐอเมริ กากได้ ให้ คําจํากัดความของกก
  • 16. 7 การจัดการด้ านโลจิสติกส์ กคือ ”กระบวนการในการวางแผนดําเนินการและควบคุม ประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลในการเคลื่อนย้ ายกการจัดเก็บสินค้ ากบริ การและสารสนเทศจาก จุดเริ่มต้ นไปยังจุดที่มีการใช้ งานกโดยมีเปาหมายที่สอดคล้ องกับความต้ องของผู้บริโภค ้ (วิทยากกสุหฤทดํารง,ก2550,กหน้ าก90)กกล่าวถึง “โลจิสติกส์กคือการไหลทุกสิ่งทุก อย่างทังเงินดคนดความรู้ เข้ ามาเป็ นเรื่ องของการใช้ ความคิดในการใช้ ทรัพยากรเพื่อตอบสนอง ้ ความต้ องการของลูกค้ าอย่างมีประสิทธิภาพและทําให้ เราสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงได้ ” (อรุ ณ กบริ รั ก ษ์ , 2537, หน้ า 11) กล่ า วไว้ ว่ า กโลจิ ส ติ ก ส์ เ ป็ นกิ จ กรรมเกี่ ย วกับ การ เคลื่อนย้ ายสินค้ าและบริ การจากผู้ผลิตไปยังผู้บริ โภคกขันตอนการเตรี ยมวัตถุดบและการเก็บสินค้ า ้ ิ คงคลังด้ วย (อรุ ณ กบริ รั ก ษ์ , ก2537,กหน้ า ก18)กกล่า วไว้ ว่ า ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ เ ป็ นกระบวนการที่ เกี่ ยวข้ องกับการบริ หารกการเคลื่อนย้ ายและการเก็บวัตถุดิบกสินค้ าระหว่างการผลิตและสินค้ า สําเร็จรูปกรวมทังข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องจากจุดกําเนิด ผ่านขันตอนการผลิตและการกระจายสินค้ าจนถึง ้ ้ การใช้ งานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกโดยมีวตถุประสงค์ที่จะสร้ างความพึงพอใจให้ แก่ ั ลูกค้ า
  • 17. 8 การปฏิบตการด้ านการจัดการ ัิ ปั จจัยนําเข้ า การวางแผน การทําให้ เป็ นผล การควบคุม ผลได้ ของ ของโลจิสติกส์ ของโลจิสติกส์ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดบ ิ การจัดการโลจิสติกส์ (ที่ดน อุปกรณ์ ิ (ที่ดน อุปกรณ์ ิ เครื่ องจักร) สินค้ า วัตถุดิบ สินค้ า สินค้ า เครื่ องจักร) ลูกค้ า ระหว่างทํา ทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรการเงิน ข้ อมูล ข้ อมูล กิจกรรมด้ านโลจิสติกส์ - การบริ การลูกค้ า - การเลือกที่ตงโรงงานและคลังสินค้ า ั้ - การพยากรณ์ความต้ องการ - การจัดซื ้อจัดหา - การสื่อสารในการกระจายสินค้ า - การหีบห่อ - การควบคุมสินค้ าคลัง - การจัดการสินค้ าส่งคืน - การยกขนวัสดุ - การทําลายและการนํากลับมาใช้ ใหม่ - กระบวนการสังซื ้อ ่ - การจราจรและการขนส่ง - การสนับสนุนอะไหล่และบริ การ - คลังสินค้ าและการเก็บรักษาสินค้ า ภาพ 2กกแสดงองค์ ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์ จากภาพแสดงให้ เห็นว่า โลจิสติกส์นนขึ ้นอยู่กับทรัพยากรธรรมชาติกทรัพยากรมนุษย์ ั้ การเงิน และสารสนเทศเป็ นข้ อมูลนําเข้ าโดยผู้ขายหรื อผู้จดส่งจะเป็ นผู้จดหาวัตถุดิบ โลจิสติกส์จะ ั ั เข้ า มาสู่ก ระบวนการจัด การตัง แต่ก ระบวนการจัด หาวัต ถุดิ บ การปฏิ บัติ ง านระหว่ า งทํ า การ ้ ดํ า เนิ น การและสิ น สุด ลงเมื่ อ ทํ า การผลิ ต สิ น ค้ า ได้ สํ า เร็ จ กผู้บ ริ ห ารจะเป็ นผู้เ ตรี ย มกรอบการ ้ ปฏิบติงานด้ านโลจิสติกส์ตงแต่การวางแผนการปฏิบติกและการควบคุมผลได้ ของระบบโลจิสติกส์ ั ั้ ั คือกความได้ เปรี ยบในเชิงการแข่งขันกเวลา และสถานที่ ประสิทธิ ภาพในการจัดส่งสินค้ าไปยัง
  • 18. 9 ลอจิสติกส์ (นายโกศล ดีศีลธรรม และสุภาวดี วิทยะประพันธ์,ก2547, หน้ า 128) ลอจิ สติก ส์ นัน เป็ นการรวมกิ จกรรมตัง แต่การได้ มาซึ่ง วัตถุดิบ (การจัดหา) การขนย้ ายวัตถุดิบมาสู่ ้ ้ สถานที่ผลิตสินค้ า(การผลิต)และการกระจายสินค้ า (นําสินค้ าไปสูลกค้ าหรื อผู้ใช้ สนค้ า) ่ ู ิ 1.กกการวางแผนความต้ อ งการในกระจายสิ น ค้ า กซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกับ การสนองความ ต้ องการของลูกค้ า โดยมีการรับและจัดเก็บสินค้ าด้ วยต้ นทุนที่ตํ่าสุดที่เป็ นไปได้ โดยส่วนใหญ่แล้ ว การกระจายสินค้ าจะถูกกําหนดเงื่อนไขกความต้ องการในส่งมอบสินค้ าไปยังลูกค้ า 2.กกการวางแผนทรั พ ยากรในการกระจายสิ น ค้ า เป็ นการขยายการวางแผนความ ต้ องการในการกระจายสินค้ าไปสู่แผนการใช้ ทรัพยากรที่สําคัญๆ ในระบบการกระจายสินค้ าเช่น พื ้นที่คลังสินค้ า แรงงาน, เงิน,, รถบรรทุก, รถขนย้ ายกและอื่นๆ 3.กกสินค้ าคงคลังสําหรับการกระจายกเป็ นการรวมสินค้ าคงคลังทุกแห่งในระบบกระจาย สินค้ ากกซึ่งส่วนใหญ่แล้ วจะเป็ นสินค้ าคงคลังสําเร็ จรู ปที่ผลิตแล้ วเสร็ จและพร้ อมส่งมอบในบาง กรณีชิ ้นส่วนรอการประกอบและชิ ้นส่วนที่ประกอบเสร็ จสิ ้นแล้ วกก็สามารถเป็ นส่วนหนึ่งของสินค้ า คงคลังสําหรับการกระจายได้ กซึ่งส่วนใหญ่แล้ วสินค้ าคงคลังมักจะมีมลค่าสูง เพราะมีเปาหมาย ู ้ หลักกคือจะต้ องจัดการให้ สนค้ าคงคลังเหล่านี ้มีการเคลื่อนย้ ายผ่านระบบกระจายสินค้ าให้ เร็ วที่สด ิ ุ เท่าที่จะเป็ นไปได้ ปรั ชญาในการจัดการด้ านโลจิสติกส์ 7Rกก 1.กกวัตถุดบถูกต้ อง (RightdMaterials) ิ 2.กกปริ มาณที่ถกต้ อง (RightdQuantity) ู 3.กกเวลาที่ถกต้ อง (RightdTime) ู 4.กกสถานที่ที่ถกต้ อง (RightdPlace) ู 5.กกแหล่งที่ถกต้ อง (RightdSource) ู 6.กกบริ การที่ถกต้ อง (RightdService) ู 7.กกราคาที่ถกต้ อง (RightdPrice) ู (อรุ ณกบริ รัก ษ์ , ก2537,กหน้ า 18) กล่า วถึง กิ จ กรรมทางโลจิสติก ส์ นันประกอบด้ ว ย ้ กิจกรรมหลายอย่างกซึงแต่ละกิจกรรมนับเป็ นองค์ประกอบของระบบที่ต้องมีการประสานให้ แต่ละ ่ กิจกรรมสามารถทํางานสอดคล้ องกันอย่างมีประสิทธิภาพและมิอาจละเลยให้ กิจกรรมใดกิจกรรม
  • 19. 10 กิจกรรมหลัก (KeydActivities) เป็ นกิจกรรมที่ปรากฎอย่างสมํ่าเสมอและเป็ นกิจกรรมที่ มีความสัมพันธ์กนอย่างสมบูรณ์ ประกอบด้ วย ั 1.กกการกํ า หนดการให้ บ ริ ก ารแก่ ลูก ค้ า นับ เป็ นกิ จ กรรมที่ ต้อ งดํ า เนิ น การควบคู่กับ การตลาดเพราะมีความสัมพันธ์ กนโดยตรง ทังนี ้จะต้ องมีการตังมาตรฐานการให้ บริ การด้ วยว่าจะ ั ้ ้ มีบริ การใดบ้ างเสนอแก่ลกค้ า ู 2.ดดการขนส่ง (Transportation) นับเป็ นกิจกรรมที่มีความจําเป็ นและเป็ นต้ นทุนส่วนที่ สําคัญที่ สุด ซึ่งกิจกรรมด้ านการขนส่งที่ผ้ ูบริ หารต้ องคํานึงถึง ได้ แก่ การเลือกวิธีการขนส่งการ รวบรวมสินค้ าก่อนทําการขนส่ง การกําหนดเส้ นทางการขนส่ง การวางแผนด้ านเวลาที่ใช้ ในการ ขนส่ง การเลือกเครื่ อ งมื อ หรื ออุปกรณ์ ที่ ใช้ สํ า หรั บ การขนส่ง รวมทัง การวางแผนการจํ า หน่า ย ้ (DistributiondPlanning) ซึ่ง เป็ นการเตรี ย มงานและเตรี ย มการปฏิ บัติ ง านเกี่ ย วกับ การจํ า แนก แจกจ่ายและการจัดส่ง (Handing) เป็ นงานที่ เกี่ ยวข้ องกับการนํ าส่ง วัตถุดิบ หรื อผลิตภัณฑ์ ใน ลักษณะที่เหมาะสมไม่วาจะจัดส่งอย่างไรในปริมาณเท่าไร ่ 3.ดดการบริ หารสินค้ าคงคลัง (InventorydManagement) เป็ นการจัดการให้ ผลิตภัณฑ์ มีขายในตลาดโดยไม่ขาดแคลนและอยู่ในปริ มาณที่เหมาะสมคือ ไม่มากหรื อน้ อยเกินไปนอกจากนี ้ ยังต้ องมีการคาดคะเนยอดขาย (SaledForecasting) เนื่องจากยอดขายที่เกิดขึ ้นจะเกี่ ยวข้ องกับ การจัดเตรี ยมสินค้ าคงคลังให้ เหมาะสม ซึ่งถ้ าเกินความต้ องการย่อมก่อให้ เกิ ดต้ นทุนการรักษา ขณะที่ถ้าไม่เพียงพอกับความต้ องการก็จะก่อให้ เกิดการเสียโอกาสในการจําหน่าย 4.กกกระบวนการสังซื ้อ (OrderdProcessing) นับเป็ นกิจกรรมสุดท้ ายของกิจกรรมหลัก ่ ในระบบโลจิสติกส์ โดยทําหน้ าที่ในการสังซื ้อสินค้ าหรื อวัตถุดิบในปริ มาณที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้ ่ เกิดความสูญเสียผลประโยชน์ กิจกรรมเสริ ม (SupportdActivities) เป็ นกิ จกรรมที่เกิ ดขึนตามสถานการณ์ และอาจ ้ ขึ ้นอยูกบประเภทของธุรกิจ ซึงแต่ละธุรกิจอาจมีกิจกรรมนี ้หรื อไม่มีก็ได้ อันได้ แก่ ่ ั ่ 1.กกการบรรจุหีบห่อ (Packaging) การบรรจุหีบห่อมีวตถุประสงค์เพื่อรักษาและคุ้มครอง ั สภาพของสินค้ าและบริ การให้ อยู่ในสภาพที่ดี และเกิดความเสียหายน้ อยที่สดเท่าที่จะเป็ นไปได้ ซง ุ ึ่ เมื่อลูกค้ าได้ รับสินค้ าแล้ วไม่เกิดทัศนคติที่ไม่ดีตอการบริ การ ย่อมก่อให้ เกิดความไว้ วางใจในการใช้ ่ บริการครังต่อไปในอนาคตด้ วย ้
  • 20. 11 2.กกการจัดการคลังสินค้ า (Warehousing) เป็ นงานที่เกี่ยวข้ องกับการจัดทิศทางของการ เคลื่อนไหวของสินค้ า การกําหนดสถานที่จดเก็บผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท การกําหนดทําเลที่ตงของ ั ั้ คลังสินค้ า ทังนีจุดประสงค์ในการจัดคลังสินค้ า เพื่อให้ เกิดการประหยัดทังในส่วนของเวลาและ ้ ้ ้ ค่าใช้ จ่ายในการเคลื่อนย้ าย 3.กกการใช้ เครื่ องจักรและเครื่ องใช้ ต่างๆ (MaterialsdHanding) ซึ่งเป็ นงานที่เกี่ยวข้ อง กับการเลือกเครื่ องจักรและอุปกรณ์ในการทํางาน รวมทังการวางนโยบายในการซื ้อเครื่ องจักรใหม่ ้ ทดแทนเครื่ องจักรเก่าด้ วย 4.กกการจัดซื ้อ (Purchasing) เป็ นกิจกรรมที่เริ่ มต้ นตังแต่การเลือกแหล่งผลิตหรื อแหล่งที่ ้ จะซื ้อกําหนดระยะเวลาในการซื ้อกจนถึงการกําหนดปริ มาณและคุณภาพของวัตถุดิบหรื อสินค้ า อื่นๆ ที่จะจัดซื ้อ 5.กกการประสานงานกับฝ่ ายผลิต (CooperatedwithdProduction Output) เพื่ อ รับทราบตัวเลขของปริ มาณผลิตทังหมดในช่วงระยะเวลาต่างๆ รวมถึงลําดับและเวลาที่ใช้ ในการ ้ ผลิตเพื่อประโยชน์ในการจัดการระบบโลจิสติกส์ขององค์กร การรับสินค้ าและการเก็บเข้ าที่ (อนุวติ ทรัพย์พืชผล และไพบูลย์ กิจวรวุฒ,ิ 2549, หน้ าก100- ั 11) กล่าวถึง การรับสินค้ า (Receiving)กเป็ นจุดเริ่มต้ นของกิจกรรมทังหมดที่เกิดขึ ้นในคลังสินค้ า ้ วิธีการรับสินค้ าและเก็บเข้ าที่ในระดับโลกจะประกอบไปด้ วย 1.กกการจัดส่งสินค้ าโดยตรง (DirectaShipping) คือไม่ต้องมีการรับสินค้ าในการจัดส่ง สินค้ าโดยตรงกกผู้จําหน่ายสินค้ าจะส่งสินค้ าไปยังลูกค้ าโดยตรงโดยไม่แวะที่คลัง และเนื่องจาก สินค้ าที่ไม่มาที่ศนย์กระจายสินค้ าก็จะไม่มีการขนสินค้ าลง ไม่มีการกองสินค้ ารอ ไม่มีการเก็บเข้ าที่ ู กกไม่มีการเติมสินค้ าที่พื ้นที่หยิบสินค้ าและไม่มีการขนสินค้ าขึ ้นรถ 2.กกการเปลียนถ่ายสินค้ า (Cross-Docking) ่ 2.1กกผู้ ขายเป็ นผู้สงบรรทุกสินค้ าขึ ้นรถจากคลังสินค้ าเอง ั่ 2.2กกสินค้ าที่รับเข้ ามาจะถูกคัดแยกหรื อเปลี่ยนถ่ายส่งต่อตามใบสังทันที ่ 2.3กกรายการสินค้ าที่มาถึงจะถูกส่งไปที่ประตูสงสินค้ าออกทันทีที่สนค้ ามาถึง ่ ิ 2.4กกไม่จําเป็ นต้ องมีการตรวจสอบหรื อการกองสินค้ ารอ 2.5กกไม่จําเป็ นต้ องมีพื ้นที่ในการจัดเก็บสินค้ า 3.กกการจัดทํ าตารางนัดรั บสินค้ า (ReceivingaScheduling) การเตรี ยมการเพื่อการ เปลี่ยนถ่ายสินค้ าจะต้ องใช้ ความสามารถในการจัดทําตารางเวลาในการรับและส่งสินค้ าให้ พอดีใน
  • 21. 12 4.กกการเตรี ยมตัวก่อนการรับสินค้ า (Preceiving) เหตุผลที่ให้ มีการกองสินค้ าที่ช่องรับ สินค้ านันคือ เพื่อรอการกําหนดสถานที่จดเก็บที่แน่นอน รอการระบุยืนยันสินค้ า เป็ นต้ น การทํา ้ ั ดังนี ้ เป็ นการใช้ พื ้นที่และเวลาเพื่อกิจกรรมในการรับสินค้ าเท่านัน ซึงเวลาที่สญเสียนี ้สามารถลด ้ ่ ู น้ อยลงได้ ด้วยการใช้ ระบบการติดต่อสื่อสารข้ อมูลจากผู้จําหน่ายสินค้ าตังแต่เมื่อสินค้ าได้ ถกจัดส่ง ้ ู มาโดยผ่านระบบอินเตอร์ เน็ต EDI หรื อโทรสาร ซึงจะทําให้ ได้ รับข้ อมูลสินค้ ารับเข้ าได้ ทนทีที่ช่องรับ ่ ั สินค้ า 5.กกการเตรี ยมความพร้ อมในการรับสินค้ า (ReceiptaPreparation) 5.1กกการเตรี ยมการบรรจุสวนเพิ่ม ่ 5.2กกนําระบบฉลากและปายกํากับมาใช้ ตามความเหมาะสม ้ 5.3กกการกําหนดปริมาตรและชังนํ ้าหนักเพื่อการวางแผนการจัดเก็บและการขนส่ง ่ การติดต่ อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์ (กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒ,ิ กศลิษา ภมรสถิตย์กและจักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา,ก2547, หน้ า13) กล่าวถึง การติดต่อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์ไว้ ดงนี ้ ั ปั จจุบนการสื่อสารมีความเป็ นอัตโนมัติ มีความซับซ้ อน และมีความรวดเร็ วมากยิ่งขึ ้น ั โลจิสติกส์เป็ นงานที่มีกระบวนการเกี่ยวข้ องกับแต่ละหน่วยงานและองค์กรอย่างกว้ างขวาง การ ติดต่อสื่อสารด้ านโลจิสติกส์จงอาจกล่าวได้ วามีดงนี ้ ึ ่ ั 1.กกระหว่างองค์กรกับผู้จดส่งสินค้ า/วัตถุดบและลูกค้ า ั ิ 2.กกระหว่างหน่วยงานหลักภายในองค์กร เช่น โลจิสติกส์ ฝ่ ายวิศวกรรม ฝ่ ายบัญชี การตลาด และฝ่ ายผลิต 3.กกระหว่างกิจกรรมทางด้ านโลจิสติกส์ 4.กกระหว่างรู ปลักษณ์ ต่างๆ ในแต่ละกิจกรรมโลจิสติกส์ เช่น การประสานงานกับโกดัง เก็บวัตถุดบ งานระหว่างทําและสินค้ าสําเร็ จรูป ิ
  • 22. 13 5. ก ระหว่างสมาชิกต่างๆ ในโซ่อปทาน เช่น ลูกค้ าหรื อผู้จดส่งสินค้ า/วัตถุดิบ ซึงไม่ได้ ุ ั ่ ติดต่อโดยตรงกับกิจการ (กมลชนก สุทธิ วาทนฤพุฒิ,กศลิษา ภมรสถิ ตย์ กและจักรกฤษณ์ กดวงพัสตรา2547, กหน้ า 58) กล่าวว่า การติตต่อสื่อสารนันเป็ นงานสําคัญของหลายๆ ระบบ ไม่ว่าจะเป็ นระบบการ ้ กระจายสินค้ าขององค์กร หรื อทังระบบโซ่อปทานก็ตาม การติดต่อสื่อสารที่ดีภายในระบบจะเป็ น ้ ุ กุญแจสําคัญในการสร้ างความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน ในปั จจุบันมี การนํ าเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิ กส์ เช่น การบันทึกข้ อมูลคําสั่งซือผ่านทาง ้ โทรศัพท์อตโนมัตและการแลกเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic DataกInterchange – EDI) ั ิ มาใช้ เพื่อการจัดส่ง ซึ่งเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์มีส่วนช่วยเพิ่มความรวดเร็ วและความถูกต้ องใน การส่งผ่านและการบันทึกข้ อมูลโดยทัวไป การส่งผ่านข้ อมูลที่มีประสิทธิ ภาพจะต้ องใช้ เงินลงทุน ่ เริ่ มแรกสูงในตัวเครื่ องมืออุปกรณ์ และซอฟแวร์ ผู้บริ หารสามารถใช้ เวลาที่ประหยัดได้ จากการ ส่งผ่านข้ อมูลไปเพื่อช่วยลดปริ มาณสินค้ าคงคลังและตระหนักถึงโอกาสในการรวบรวมปริ มาณ ขนส่งเพื่อชดเชยการลงทุนได้ การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (กมลชนก สุท ธิ ว าทนฤพุฒิ , กศลิ ษ า ภมร สถิตย์กและ จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา,ก2547,กหน้ า 62) การแลกเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange - EDI) เป็ นการ ติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้ อมูลที่เป็ นมาตรฐานระหว่างกัน การ ส่งผ่านข้ อมูลทาง EDI ยอมให้ เอกสารถูกประมวลผลโดยตรงและส่งต่อให้ องค์กรของผู้รับใน รู ปแบบข้ อมูลที่ต้องการ ระบบ EDI อาจถูกออกแบบให้ มีขนตอนคนเข้ ามาเกี่ยวข้ องได้ ในการรับส่ง ั้ ข้ อมูลข่าวสาร ขึ ้นอยู่กับความสลับซับซ้ อนของระบบ ปั จจุบน EDI ได้ ทวีความสําคัญและมี ั บทบาทเข้ ามาใช้ แทนที่วิธีการส่งผ่านข้ อมูลแบบเดิมๆ อาทิ จดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร และโทรเลข คํานํายามของ EDI มีจดสําคัญอยู่ 2 จุด คือ ุ 1.กกเป็ นการส่งผ่านข้ อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ กบคอมพิวเตอร์ ซงหมายความว่า การส่ง ั ึ่ ข้ อมูลทางโทรสารจะไม่เป็ น EDI ตามคํานิยามนี ้ 2.กกเป็ นการส่งผ่านข้ อมูลตามมาตรฐานที่กําหนด เอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อขายที่ใช้ ระบบ EDI ในปั จจุบนมีตงแต่ใบสังซื ้อ ใบสังปล่อยวัสดุ ใบกํากับสินค้ า การโอนเงินทางอินเตอร์ เน็ต ั ั้ ่ ่ ใบแจ้ งการขนส่ง และใบรายงานสถานะการขนส่ง ดังนัน การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) ้ หรื อการส่งข้ อมูลทางอินเตอร์ เน็ต ซึ่งไม่ได้ อยู่ในรู ปแบบที่เป็ นมาตรฐาน จึงไม่ถือว่าเป็ นการส่ง ข้ อมูลด้ วยระบบ EDI
  • 23. 14 ประเภทของระบบ EDI (กมลชนก สุท ธิ ว าทนฤพุ ฒิ , กศลิ ษ า ภมรสถิ ต ย์ ก และ จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา,ก2547,กหน้ าก62-64) กล่าวถึง มีระบบ EDI หลายประเภทที่ใช้ อยู่ใน ปั จจุบน ระบบหลักคือระบบเจ้ าของคนเดียว (Proprietary System) ระบบโครงข่ายมูลค่าเพิ่ม ั (Value Added Networks หรื อ VANs) และระบบสมาคมอุตสาหกรรม ข้ อแตกต่างระหว่างระบบ เจ้ าของคนเดียวและ VANs ระบบเจ้ าของคนเดียว(Proprietary System) หรื อ “One to Many System” คือระบบ EDI ที่มีเจ้ าของเป็ นรายเดียวที่เป็ นทังผู้บริหารและบํารุ งรักษาระบบและจัดการ ้ เชื่อมต่อโดยตรงเข้ ากับลูกค้ าและผู้จดจําหน่ายอื่นๆ ระบบเจ้ าของคนเดียวสามารถใช้ ได้ อย่างมี ั ประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อบริ ษัทที่เป็ นเจ้ าของระบบเป็ นบริ ษัทขนาดใหญ่และมีความได้ เปรี ยบด้ านด อํานาจการต่อรองกับลูกค้ าหรื อผู้จดจําหน่าย และสามารถชักชวนให้ ทงลูกค้ าและผู้จดจําหน่าย ั ั้ ั เข้ ามาเป็ นส่วนหนึงของโครงข่ายเชื่อมโยงได้ ่ ข้ อดีของระบบเจ้ าของคนเดียวคือ มีประสิทธิภาพในการควบคุมสูง ข้ อเสียของระบบเจ้ าของคนเดียวคือ มีต้นทุนการลงทุนและบํารุ งรักษาสูง รวมทังลูกค้ าผู้ ้ จัดจําหน่ายอาจไม่ต้องการเป็ นส่วนหนึ่งของระบบเนื่องจากขาดความยืดหยุ่นและบางครังอาจ ้ จําเป็ นต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เสริ มที่มีลกษณะเฉพาะเป็ นพิเศษระบบโครงข่ายมูลค่าเพิ่ม ั (Value Added Networks - VANs) เป็ นบุคคลที่สามที่ให้ บริ การ EDI แก่ผ้ ผลิตและผู้จดจําหน่าย ู ั หลายราย และเป็ นรู ปแบบของระบบ EDI ที่นิยมใช้ มากที่สด ภายใต้ VANs รายการติดต่อผ่าน ุ ข้ อมูลทาง EDI ทังหมดจะถูกส่งไปยัง VANs ส่วนกลางที่ทําหน้ าที่คล้ ายไปรษณีย์กลาง ้
  • 24. 15 ระบบเจ้ าของคนเดียว ผู้จดจําหน่าย ั (ONE-TO-MANY) ผู้ผลิต ผู้จดจําหน่าย ั ผู้จดจําหน่าย ั ระบบโครงข่ายมูลค่าเพิ่ม (MANY-TO-MANY) ผู้จดจําหน่าย ั ผู้ผลิต บุคคลที่ 3 ผู้ผลิต VAN ผู้จดจําหน่าย ั ผู้ผลิต ผู้จดจําหน่าย ั ภาพ 3กกแสดงองค์ ประกอบของ EDI ข้ อได้ เปรี ยบประการสุดท้ ายของ VANs คือ ความสามารถในการับส่งข้ อมูลไปยังระบบ EDI ที่มีมาตรฐานเดียวกันได้ ซึงหมายความว่าผู้จดจําหน่ายและกลุมลูกค้ าผู้ใช้ บริ การของระบบ ่ ั ่ มาตรฐานเดียวกันไม่จะเป็ นต้ องมีคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เฉพาะหรื อมีการเชื่อมโยงโดยตรงกันแต่ ละระบบ ความสามารถของ VANs ดังกล่างสามารถเพิ่มความยอมรับของการบริ หารโครงข่าย เชื่อมโยงกับลูกค้ าผู้ใช้ ระบบมาตรฐานเดียว ประโยชน์ของ EDI 1.กกลดภาระงานด้ านการสร้ างและเก็บแฟมเอกสาร ้ 2.กกเพิ่มความถูกต้ องแม่นยําเนื่องจากลดการประมวลผลด้ วยมือ 3.กกเพิ่มความรวดเร็ วในการส่งคําสังซื ้อและข้ อมูลอื่น ่ 4.กกลดภาระงานด้ านเสมียนและงานด้ านการลงบันทึกคําสังซื ้อ การส่งจดหมาย และ ่ งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง 5.กกเพิ่มโอกาสในการพัฒนางานด้ านการจัดซื ้อเนื่องจากใช้ เวลาในวงจรคําสังซื ้อน้ อยลง ่